แผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2561 – 2564 สํานักงานจังหวัดมหาสารคาม กลุมงานยุทธศาสตร#และข&อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด โทร / 043-777320 โทรสาร / 043-777๔๙๒ ตุลาคม 2559
สารบัญ หนา บทที่ 1 บริบทปจจัยสภาพแวดลอมในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด 1.1 นโยบายรัฐบาล 1 1.2 ยุทธศาสตรแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) 3 1.3 ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 6 1.4 ยุทธศาสตรการพัฒนาภูมิภาค 18 1.5 แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (พ.ศ. 2561-2564) 19 และตําแหนงการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (ร<อยแกนสารสินธุ) ตามแผนพัฒนากลุมจังหวัด (พ.ศ. 2561-2564) บทที่ 2 สภาพทั่วไปของจังหวัดมหาสารคาม 2.1 ข<อมูลด<านกายภาพ 22 2.2 การปกครองและประชากร 22 2.3 การบริหารราชการในพื้นที่ 23 2.4 โครงสร<างพื้นฐาน 23 2.5 ด<านเศรษฐกิจ 26 2.6 ด<านสังคมและคุณภาพชีวิต 31 2.7 ด<านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล<อม 32 2.8 การทองเที่ยว 34 ตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม 37 สรุปผลการดําเนินงานที่ผ+านมาตามประเด็นยุทธศาสตร0ของแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม 40 บทที่ 3 การวิเคราะห0สภาวการณ0และศักยภาพจังหวัดมหาสารคาม 3.1 ตอนที่ 1 วิเคราะหความต<องการและศักยภาพของประชาชนในท<องถิ่น 54 3.1 ตอนที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม 70 3.1 ตอนที่ 3 การวิเคราะหสภาวะแวดล<อมจังหวัดมหาสารคาม 78 บทที่ 4 ความเชื่อมโยงของแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม (พ.ศ.2561 – 2564) กับนโยบาย 82 รัฐบาล 4.1 วิสัยทัศนจังหวัดมหาสารคาม พันธกิจ เปBาประสงครวม ประเด็นยุทธศาสตร 82 4.2 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตรชาติกับแผนในระดับตางๆ 83 4.3 แบบสรุปบัญชีรายการจุดโครงการ [แบบ จ.๑ (กรณีจังหวัด) 93 4.3.1 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 : ปรับโครงสร<างการผลิตด<านการเกษตรให<เอื้อตอการผลิต 96 สินค<าเกษตรและอาหารคุณภาพ 4.3.2 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 : สงเสริมการค<า การลงทุน การทองเที่ยวเชิงสร<างสรรค 115 และวัฒนธรรม เปIนมิตรกับสิ่งแวดล<อม 4.3.3 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : สงเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับสูการเปIน 148 ศูนยกลางบริการทางการศึกษาและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สารบัญ (ตอ) หนา 4.3.4 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สูสังคมรู<รักสามัคคี 149 เทิดทูนสถาบันของชาติ เอื้ออาทรและสมานฉันท ค+าใชจ+ายในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ 149 สรุปโครงการแบบย+อ (Project idea) ประเด็นยุทธศาสตร0ที่ 1 1. โครงการสงเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัด 150 2. โครงการผลิตสินค<าเกษตรปลอดภัย 153 3. โครงการสร<างความเข<มแข็งให<กับภาคการเกษตร 156 4. โครงการพัฒนาปรับปรุงแหลงน้ําเพื่อการเกษตร/อุปโภคบริโภค 159 ประเด็นยุทธศาสตร0ที่ 2 1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ OTOP และการตลาด 162 2. โครงการเปPดบ<านมหาสารคาม 165 3. โครงการรักษาสิ่งแวดล<อม 168 4. โครงการปรับปรุงเส<นทางคมนาคมขนสง 170 ประเด็นยุทธศาสตร0ที่ 3 1. โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 173 2. โครงการสงเสริมความรู<เพื่อชุมชนในการประกอบอาชีพ 176 ประเด็นยุทธศาสตร0ที่ 4 1. โครงการสงเสริมความเข<มแข็งให<ชุมชนและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก 179 2. โครงการสงเสริมอาชีพ 182 3. โครงการเมืองปลอดภัย 184 ภาคผนวก ภาคผนวก ก. รายการตรวจสอบการดําเนินการตามพระราชกฤษฎีกาวาด<วยการบริหารงานจังหวัด 187 แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ภาคผนวก ข. สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 188 ภาคผนวก ค. จุดเน<นทางยุทธศาสตร (Positioning) ของกลุมจังหวัดและรายจังหวัดภายในกลุม 189 จังหวัด ตามแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561 - 2564
บทที่ 1 บริบทปจจัยสภาพแวดลอมในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม (พ.ศ. 2561-2564) การจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม (พ.ศ. 2561-2564) ครั้งนี้ จังหวัดได\"นําป$จจัย สภาพแวดล\"อม ได\"แก) นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ)นดิน พ.ศ. 2534 ยุทธศาสตร3ชาติระยะ 20 ป6 (พ.ศ. 2560 - 2579) ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห)งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร3การ พัฒนาภูมิภาค แผนพัฒนากลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (พ.ศ. 2561-2564) แผนยุทธศาสตร3การพัฒนา เพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ ยึดถือเปBนแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพ ของแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ. 2561-2564) ให\"สอดคล\"องเชื่อมโยงกัน โดยนําประเด็นที่เปBนองค3ประกอบ สาระสําคัญมีรายละเอียด ดังนี้ 1. นโยบายรัฐบาล 2. ยุทธศาสตร3แห)งชาติ 20 ป6 (พ.ศ. 2560 - 2579) 3. ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห)งชาติ ฉบับที่ 12 4. ยุทธศาสตร3การพัฒนาภูมิภาค 5. แผนพัฒนากลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (พ.ศ. 2561-2564) และตําแหน)งการพัฒนากลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (ร\"อยแก)นสารสินธุ3) ตามแผนพัฒนากลุ)มจังหวัด (พ.ศ. 2561-2564) 1. นโยบายรัฐบาล แถลงต)อสภานิติบัญญัติแห)งชาติ วันศุกร3ที่ 12 กันยายน 2557 ประกอบด\"วยนโยบายต)างๆ 11 ด\"าน ดังนี้ 1. การปกปIองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย3 2. การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต)างประเทศ ในระยะเร)งด)วน ให\"ความสําคัญต)อการเตรียมความพร\"อมสู)ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน 5 ด\"าน ได\"แก) การบริหารจัดการชายแดน การสร\"างความมั่นคงทางทะเลการแก\"ไขป$ญหา อาชญากรรมข\"ามชาติ การสร\"างความไว\"วางใจกับประเทศเพื่อนบ\"าน และการเสริมสร\"างศักยภาพ ในการปฏิบัติการทางทหารร)วมกันของอาเซียน 3. การลดความเหลื่อมล้ําของสังคม และการสร\"างโอกาสการเข\"าถึงบริการของรัฐในระยะเฉพาะ หน\"า จะเร)งสร\"างโอกาสอาชีพและการมีรายได\"ที่มั่นคงแก)ผู\"ที่เข\"าสู)ตลาดแรงงาน รวมทั้งสตรี ผู\"ด\"อยโอกาส และแรงงานข\"ามชาติที่ถูกกฎหมาย การปIองกันและแก\"ไขป$ญหาการค\"ามนุษย3 ในระยะต)อไปจะพัฒนาระบบ การคุ\"มครองทางสังคม ระบบการออม และระบบสวัสดิการชุมชนให\"มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมาก ยิ่งขึ้น เตรียมความพร\"อมเข\"าสู)สังคมผู\"สูงอายุ เพื่อส)งเสริมคุณภาพชีวิต 4. การศึกษาและเรียนรู\" การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม โดยการปฏิรูปการศึกษา และทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพร\"อมกัน เปLดโอกาสให\"องค3กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค3กรปกครองส)วนท\"องถิ่น และประชาชนทั่วไปมีโอกาสร)วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง และร)วมในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู\" พร\"อมทั้งอนุรักษ3 ฟNOนฟู และเผยแพร)มรดกทางวัฒนธรรม ๑
ภาษาไทยและภาษาถิ่นภูมิป$ญญาท\"องถิ่น รวมทั้งความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อการเรียนรู\" สร\"างความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร3 5. การยกระดับคุณภาพบริการด\"านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน 6. การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ 6.1 ระยะเร)งด)วน กระตุ\"นการลงทุนด\"วยการเร)งพิจารณาโครงการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ 6.2 ดูแลเกษตรกรให\"มีรายได\"ที่เหมาะสมด\"วยวิธีการต)าง ๆ เช)น การลดต\"นทุนการผลิต การช)วยเหลือในเรื่องป$จจัยการผลิตอย)างทั่วถึง 6.3 ระยะต)อไปก็คือการปรับปรุงวิธีการจัดเก็บภาษีให\"จัดเก็บได\"อย)างครบถ\"วน โดยปรับปรุง โครงสร\"างภาษีให\"คงอัตราภาษีเงินได\"ไว\"ในระดับป$จจุบัน ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล แต)ปรับปรุงโครงสร\"าง อัตราภาษีทางด\"านการค\"าและขยายฐานการจัดเก็บภาษีประเภทใหม) ซึ่งจะเก็บจากทรัพย3สิน เช)น ภาษีมรดก ภาษีจากที่ดินและสิ่งปลูกสร\"าง โดยให\"มีผลกระทบต)อผู\"มีรายได\"น\"อยให\"น\"อยที่สุด 6.4 ในระยะยาว พัฒนาโครงสร\"างพื้นฐานด\"านการขนส)งและคมนาคม ด\"านคมนาคมทางบก โดยเริ่มโครงการรถไฟฟIาขนส)งมวลชนในกรุงเทพมหานครและรถไฟฟIาเชื่อมกรุงเทพมหานคร กับเมืองบริวาร เพิ่มเติมเพื่อลดเวลาในการเดินทางของประชาชนและเพื่อให\"มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 6.5 ในด\"านเกษตรกรรม ดําเนินการใน 2 เรื่องใหญ) คือ การปรับโครงสร\"างการผลิตสินค\"า เกษตรให\"สอดคล\"องกับความต\"องการด\"วยวิธีการต)าง ๆ เช)น การแบ)งเขตเพื่อปลูกพืชผลแต)ละชนิด และการ สนับสนุนให\"สหกรณ3ของกลุ)มเกษตรกรที่ผลิตสินค\"าเกษตรเพิ่มบทบาทในฐานะผู\"ซื้อพืชผลจนถึงการแปรรูป และการส)งออกได\" 6.6 ในด\"านอุตสาหกรรม ส)งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล\"องกับศักยภาพพื้นฐาน ของประเทศ เช)น ส)งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ตั้งแต)ต\"นน้ําจนถึงปลายน้ํา 7. การส)งเสริมบทบาทและการใช\"โอกาสในประชาคมอาเซียน 7.1 เร)งส)งเสริมความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ การค\"า การลงทุน ในภูมิภาคอาเซียน และขยาย ความร)วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ\"าน 7.2 ต)อเชื่อมเส\"นทางคมนาคมขนส)งและระบบโลจิสติกส3จากฐานการผลิตในชุมชนสู)แหล)ง แปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค)าทั้งภายในประเทศและเชื่อมโยงกับอาเซียน 7.3 พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยเริ่มจากการพัฒนาด)านการค\"าชายแดน และโครงข)ายการ คมนาคมขนส)งบริเวณประตูการค\"าหลักของประเทศเพื่อรองรับการเชื่อมโยงกระบวนการผลิต และการลงทุน ข\"ามแดน 8. การพัฒนาและส)งเสริมการใช\"ประโยชน3จากวิทยาศาสตร3 เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม รัฐบาลให\"ความสําคัญต)อการวิจัย การพัฒนาต)อยอด และการสร\"างนวัตกรรมเพื่อนําไปสู)การ ผลิตและบริการที่ทันสมัย 9. การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร\"างสมดุลระหว)างการอนุรักษ3กับการใช\" ประโยชน3อย)างยั่งยืน 10. การส)งเสริมการบริหารราชการแผ)นดินที่มีธรรมาภิบาลและการปIองกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ 11. การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ๒
2. ยุทธศาสตร0ชาติ 20 ป3 (พ.ศ. 2560 - 2579) วิสัยทัศน0 : “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบดวย มั่นคง มีเปIาหมายดังนี้ 1. การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอก ประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และป$จเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล\"อม และการเมือง 2. ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย3ที่ เข\"มแข็ง เปBนศูนย3กลางและเปBนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองที่มั่นคงเปBนกลไกที่ นําไปสู)การบริหาร ประเทศที่ต)อเนื่องและโปร)งใสตามหลักธรรมาภิบาล 3. สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชน มีความ เข\"มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ)น 4. ประชาชน มีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได\"ที่มั่นคงพอเพียงกับการดํารงชีวิต มีที่อยู)อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย3สิน 5. ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล\"อม มีความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้ํา มั่งคั่ง มีเปIาหมายดังนี้ 1. ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย)างต)อเนื่อง ยกระดับเข\"าสู)กลุ)มประเทศ รายได\"สูง ความเหลื่อมล้ําของการพัฒนาลดลง ประชากรได\"รับผลประโยชน3จากการพัฒนาอย)างเท)าเทียมกันมากขึ้น 2. เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข)งขันสูง สามารถสร\"างรายได\"ทั้งจากภายในและ ภายนอก ประเทศ สร\"างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห)งอนาคต และเปBนจุดสําคัญของการเชื่อมโยง ในภูมิภาคทั้งการ คมนาคมขนส)ง การผลิต การค\"า การลงทุน และการทําธุรกิจ มีบทบาทสําคัญ ในระดับภูมิภาคและระดับโลก เกิดสายสัมพันธ3ทางเศรษฐกิจและการค\"าอย)างมีพลัง 3. ความสมบูรณ3ในทุนที่จะสามารถสร\"างการพัฒนาต)อเนื่อง ได\"แก) ทุนมนุษย3 ทุนทางป$ญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เปBนเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล\"อม ยั่งยืน มีเปIาหมายดังนี้ 1. การพัฒนาที่สามารถสร\"างความเจริญ รายได\" และคุณภาพชีวิตของประชาชนให\" เพิ่มขึ้นอย)าง ต)อเนื่อง ซึ่งเปBนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม)ใช\"ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม)สร\"างมลภาวะต)อ สิ่งแวดล\"อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศน3 2. การผลิตและการบริโภคเปBนมิตรกับสิ่งแวดล\"อม และสอดคล\"องกับกฎระเบียบของ ประชาคม โลกซึ่งเปBนที่ยอมรับร)วมกัน ความอุดมสมบูรณ3ของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล\"อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมี ความรับผิดชอบต)อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อ ผลประโยชน3ส)วนรวม 3. มุ)งประโยชน3ส)วนรวมอย)างยั่งยืน ให\"ความสําคัญกับการมีส)วนร)วมของประชาชนทุก ภาคส)วน เพื่อการพัฒนาในทุกระดับอย)างสมดุล มีเสถียรภาพ และยั่งยืน 4. ประชาชนทุกภาคส)วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓
ดังนั้น เพื่อให\"บรรลุวิสัยทัศน3 “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปBนประเทศพัฒนาแล\"ว ด\"วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” นําไปสู)การพัฒนาให\"คนไทยมีความสุข และตอบ สนองตอบต)อการบรรลุซึ่งผลประโยชน3แห)งชาติในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร\"างรายได\"ระดับสูง เปBนประเทศพัฒนาแล\"ว และสร\"างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเปBนธรรม ประเทศ สามารถแข)งขันได\"ในระบบเศรษฐกิจ จึงได\"วางกรอบแนวทางที่สําคัญของยุทธศาสตร3ชาติระยะ 20 ป6 (พ.ศ. 2560-2597 ไว\"ดังนี้ ดาน แนวทางการดําเนินงาน 1. ด\"านความมั่นคง 1.1 เสริมสร\"างความมั่นคงของสถาบันหลักและการ ปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย3 ทรงเปBนประมุข 1.2 ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนา ความมั่นคงทางการ เมือง ขจัดคอร3รัปชั่น สร\"างความ เชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม 1.3 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบ เรียบร\"อยภายใน ตลอดจนการบริหารจัดการความ มั่นคงชายแดนและชายฝ$Uงทะเล 1.4 การพัฒนาระบบกลไก มาตรการและความ ร)วมมือระหว)าง ประเทศทุกระดับ และรักษาดุลย ภาพความสัมพันธ3กับประเทศ มหาอํานาจ เพื่อ ปIองกันและแก\"ไขป$ญหาความมั่นคงรูปแบบใหม) 1.5 การพัฒนาเสริมสร\"างศักยภาพการผนึกกําลัง ปIองกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร\"อย ภายในประเทศ สร\"างความร)วมมือกับ ประเทศเพื่อน บ\"านและมิตรประเทศ 1.6 การพัฒนาระบบการเตรียมพร\"อมแห)งชาติและ ระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ รักษาความมั่นคงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล\"อม 1.7 การปรับกระบวนการทํางานของกลไกที่ เกี่ยวข\"องจากแนวดิ่งสู)แนวระนาบมากขึ้น 2. ด\"านการสร\"างความสามารถในการแข)งขัน 2.1 การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ส)งเสริม การค\"า การลงทุน พัฒนาสู)ชาติการค\"า 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร\"าง ฐานการผลิตเข\"มแข็ง ยั่งยืน และส)งเสริมเกษตรกร รายย)อยสู)เกษตรยั่งยืนเปBนมิตรกับ สิ่งแวดล\"อม 2.3 การพัฒนาผู\"ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะ ผู\"ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพ ๔
ดาน แนวทางการดําเนินงาน แรงงานและพัฒนา SMEs สู)สากล 2.4 การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน และพัฒนา ระบบเมืองศูนย3กลางความเจริญ 2.5 การลงทุนพัฒนาโครงสร\"างพื้นฐาน ด\"านการ ขนส)ง ความมั่นคงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ และการวิจัย และพัฒนา 2.6 การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร\"างความเปBนหุ\"นส)วน การพัฒนากับนานาประเทศ ส)งเสริมให\"ไทยเปBนฐานของการประกอบ ธุรกิจ ฯลฯ 3. ด\"านการพัฒนาและเสริมสร\"างศักยภาพคน 3.1 พัฒนาศักยภาพคนตลอดช)วงชีวิต 3.2 การยกระดับการศึกษาและการเรียนรู\"ให\"มี คุณภาพเท)าเทียมและทั่วถึง 3.3 ปลูกฝ$งระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค)านิยมที่พึงประสงค3 3.4 การสร\"างเสริมให\"คนมีสุขภาวะที่ดี 3.5 การสร\"างความอยู)ดีมีสุขของครอบครัวไทย 4. ด\"านการสร\"างโอกาสความเสมอภาค และเท)า 4.1 สร\"างความมั่นคงและการลดความเหลื่อมล้ํา เทียมกันทางสังคม ทางเศรษฐกิจและสังคม 4.2 พัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการ สุขภาพ 4.3 มีสภาพแวดล\"อมและนวัตกรรมที่เอื้อต)อการ ดํารงชีวิตในสังคมสูงวัย 4.4 สร\"างความเข\"มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุน ทางวัฒนธรรมและ ความเข\"มแข็งของชุมชน 4.5 พัฒนาการสื่อสารมวลชนให\"เปBนกลไกในการ สนับสนุนการพัฒนา 5. ด\"านการสร\"างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่เปBน 5.1 จัดระบบอนุรักษ3 ฟNOนฟูและปIองกันการทําลาย มิตรกับสิ่งแวดล\"อม ทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 วางระบบบริหารจัดการน้ําให\"มีประสิทธิภาพทั้ง 25 ลุ)มน้ํา เน\"นการปรับระบบการบริหารจัดการ อุทกภัย อย)างบูรณาการ 5.3 การพัฒนาและใช\"พลังงานที่เปBนมิตรกับ สิ่งแวดล\"อม 5.4 การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมือง ที่เปBนมิตรกับสิ่งแวดล\"อม ๕
ดาน แนวทางการดําเนินงาน 5.5 การร)วมลดป$ญหาโลกร\"อนและปรับตัวให\"พร\"อม กับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.6 การใช\"เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร3และนโยบาย การคลัง เพื่อสิ่งแวดล\"อม 6. ด\"านการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหาร 6.1 การปรับปรุงโครงสร\"าง บทบาท ภารกิจของ จัดการภาครัฐ หน)วยงาน ภาครัฐ ให\"มีขนาดที่เหมาะสม 6.2 การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนและ พัฒนา บุคลากรภาครัฐ 6.4 การต)อต\"านการทุจริตและประพฤติมิชอบ 6.5 การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต)าง ๆ ให\" ทันสมัย เปBนธรรมและเปBนสากล 6.6 พัฒนาระบบการให\"บริการประชาชนของ หน)วยงานภาครัฐ 6.7 ปรับปรุงการบริหารจัดการรายได\"และรายจ)าย ของภาครัฐ 3. ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห<งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ช)วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห)งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประเทศไทยจะ ยังคงประสบสภาวะแวดล\"อมและบริบทของการเปลี่ยนแปลงต)างๆ ที่อาจก)อให\"เกิดความเสี่ยงทั้งจากภายใน และภายนอกประเทศ อาทิ กระแสการเปLดเศรษฐกิจเสรี ความท\"าทายของเทคโนโลยีใหม)ๆ การเข\"าสู)สังคม ผู\"สูงอายุ การเกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรง ประกอบกับสภาวการณ3ด\"านต)างๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล\"อมของประเทศในป$จจุบันที่ยังคงประสบป$ญหาในหลายด\"าน เช)น ป$ญหาผลิตภาพการ ผลิต ความสามารถในการแข)งขัน คุณภาพการศึกษา ความเหลื่อมล้ําทางสังคม เปBนต\"น ทําให\"การพัฒนา ในช)วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงจําเปBนต\"องยึดกรอบแนวคิดและหลักการในการวางแผนที่สําคัญ ดังนี้ (1) การน\"อมนําและประยุกต3ใช\"หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) คนเปBนศูนย3กลางของการพัฒนา อย)างมีส)วนร)วม (3) การสนับสนุนและส)งเสริมแนวคิดการปฏิรูปประเทศ และ (4) การพัฒนาสู)ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สังคมอยู) ร)วมกันอย)างมีความสุข ดังนั้น จังหวัดมหาสารคามจึงได\"สรุปสถานการณ3การ เปลี่ยนแปลงและเปIาหมายการพัฒนาในแต)ละประเด็นยุทธศาสตร3ของแผนฯ ทั้ง 10 ประเด็นยุทธศาสตร3 เพื่อเปBนกรอบในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจําป6 ดังนี้ ยุทธศาสตร0ที่ 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย0 เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 1 คนไทยทุกกลุ)มวัยมีทักษะ และความรู\" 1. ส)งเสริมให\"เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะสมอง ความสามารถที่จะเปBนฐานใน การพัฒนาประเทศ และทักษะทางสังคมที่เหมาะสม 2. พัฒนาเด็กวัยเรียนให\"มีทักษะการคิดวิเคราะห3 ๖
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา คิดสร\"างสรรค3 มีทักษะการทํางานและการใช\" ชีวิตที่ พร\"อมเข\"าสู)ตลาดงาน 3. ส)งเสริมแรงงานให\"มีความรู\"และทักษะในการ ประกอบอาชีพที่สอดคล\"องกับความต\"องการ ของ ตลาดงาน 4. พัฒนาศักยภาพของกลุ)มผู\"สูงอายุให\"มีโอกาส เข\"า สู)ตลาดงานเพิ่มขึ้น 5. การสร\"างสภาพแวดล\"อมและนวัตกรรม ที่ เหมาะสมกับสังคมสูงวัย เปIาหมายที่ 2 คนไทยมีการเรียนรู\" อย)างต)อเนื่อง 1. ขยายผลความร)วมมือระหว)าง สถาบันการศึกษา ตลอดชีวิต ภาคเอกชน และผู\"เชี่ยวชาญในการยกระดับ คุณภาพ การศึกษาสู)ความเปBนเลิศ 2. ส)งเสริมระบบทวิภาคีหรือสหกิจศึกษา 3. พัฒนาคุณภาพครู 4. พัฒนาสื่อการเรียนรู\"ที่หลากหลาย 5. ส)งเสริมการสร\"างเครือข)าย ระหว)างบ\"าน วัด โรงเรียนในการพัฒนาแหล)งเรียนรู\"ในชุมชน เปIาหมายที่ 3 คนไทยมีพฤติกรรม เสี่ยงทางสุขภาพที่ 1. พัฒนาความรู\"ในการดูแลสุขภาพ ด\"วยตนเอง ลดลงและ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. พัฒนารูปแบบการออกกําลังกาย และโภชนาการ 3. ควบคุมการส)งเสริมการตลาด ในผลิตภัณฑ3ที่ ส)งผลเสียต)อ สุขภาพ 4. สร\"างกลไกในการจัดทํานโยบายสาธารณะที่ต\"อง คํานึงถึงผลกระทบต)อสุขภาพ เป>าหมายที่ 4 คนไทยมีจิตสํานึกพลเมืองและมี 1. การเสริมสร\"างความอยู)ดีมีสุข ของสถาบัน ค)านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคมไทย ครอบครัวในการ บ)มเพาะคนให\"มีคุณภาพ 2. การหล)อหลอมคนไทยให\"มี ความเปBนพลเมืองที่ดี และภาค ธุรกิจทําธุรกิจเพื่อสังคม ยุทธศาสตร0ที่ 2 การสรางความเป?นธรรมลดความเหลื่อมล้ําในสังคม เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 1 ลดป$ญหาความเหลื่อมล้ําด\"านรายได\" 1. การพัฒนาระบบฐานข\"อมูลรายได\"ให\"ครอบคลุม ของ กลุ)มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมแตกต)างกัน ประชากรทั่วประเทศ เพื่อ ขยายความคุ\"มครองทาง และแก\"ไขป$ญหา ความยากจน สังคมและการจัดสวัสดิการที่สามารถเจาะจง กลุ)มเปIาหมายได\" ๗
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา 2. การเสริมสร\"างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน และการสร\"าง ความเข\"มแข็งการเงินฐานราก โดยสร\"างและพัฒนาผู\"นําการเปลี่ยนแปลงในชุมชน เสริมสร\"างกระบวนการวิจัยในชุมชนเพื่อนําไปสู)การ แก\"ไขป$ญหาใน ชุมชน ส)งเสริมการใช\" ICT ในการสร\"าง การจัดการความรู\"ในชุมชน ส)งเสริม การประกอบอาชีพ ของผู\"ประกอบการระดับ 3. การกําหนดนโยบายการคลังเพื่อลดความเหลื่อมล้ํา ในสังคมและเอื้อประโยชน3ต)อกลุ)มคนที่มีรายได\"น\"อยให\" มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มการ จัดเก็บภาษีจาก ฐานทรัพย3สิน จัดสรรงบประมาณเชิงบูรณาการและเชิง พื้นที่ ที่มีการกําหนดเปIาหมายเพื่อลดความยากจนและ ลดความเหลื่อมล้ําในสังคม ควบคู)ไปกับเปIาหมายทาง เศรษฐกิจ เปIาหมายที่ 2 เพิ่มโอกาสการเข\"าถึงบริการพื้นฐาน 1. การให\"ความช)วยเหลือทางสังคมเพื่อเปBนแต\"มต)อแก) ทางสังคมของ ภาครัฐ กลุ)มเปIาหมาย ประชากรร\"อยละ 40 ที่มีรายได\"ต่ําสุด อาทิ การสร\"างโอกาสการเข\"าถึง การศึกษาที่มีคุณภาพ ให\"แก)กลุ)มเปIาหมายอย)างต)อเนื่องการจัดบริการด\"าน สุขภาพให\"กับประชากรที่อยู)ในพื้นที่ห)างไกล การเพิ่ม แต\"มต)อในการ จัดการคุ\"มครองทางสังคมและสวัสดิการ 2. การเข\"าถึงกระบวนการยุติธรรมอย)างเสมอภาค โดย การให\"ความรู\" เบื้องต\"นเกี่ยวกับสิทธิและหน\"าที่ตาม กฎหมายแก)ประชาชน การพัฒนา ศักยภาพชุมชนให\"มี ส)วนร)วมในกระบวนการยุติธรรมเพื่อเสริมสร\"างความ เข\"มแข็งของระบบยุติธรรมชุมชน 3. การกระจายการให\"บริการภาครัฐทุกประเภทให\"มี ความครอบคลุมทั่วถึง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากรให\"มีการ กระจายตัวอย)าง เปBนธรรม 4. การส)งเสริมความเท)าเทียมทางเพศและบทบาทสตรี ในระดับการบริหาร และการตัดสินใจทั้งในระดับชาติ และระดับท\"องถิ่น ๘
ยุทธศาสตร0ที่ 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและ แข<งขันไดอย<างยั่งยืน เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา ดานเศรษฐกิจ ขยายตัว อย<างมี เสถียรภาพ และยั่งยืน ประกอบด\"วย 1. เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยไม)ต่ํากว)าร\"อยละ 5 โดยมีรายได\"ต)อหัวเปBน 8,200 ดอลลาร3 สรอ. 2. การขยายตัวของการลงทุนภาครัฐและ เอกชนเฉลี่ยไม)ต่ํากว)าร\"อยละ 10 และ 7.5 ต)อป6 ตามลําดับ 3. มูลค)าและปริมาณการส)งออกขยายตัวเฉลี่ย ไม)ต่ํากว)าร\"อยละ 4.0 4. ผลิตภาพการผลิตของป$จจัยการผลิตโดยรวม เพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม)ต่ํากว)าร\"อยละ 2.5 ต)อป6และ ป$จจัยแรงงานเพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม)ต่ํากว)าร\"อยละ 2.5 ต)อป6 5. กรอบอัตราเงินเฟIอระยะปานกลางอยู)ที่ร\"อย ละ 2.5 +/- 1.5 หนี้สาธารณะคงค\"าง ณ สิ้น แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ไม)เกินร\"อยละ 55 ของ GDP และดุลบัญชีเดินสะพัดไม)ขาดดุล 6. การพัฒนาโครงสร\"างพื้นฐานเปBนการลงทุน จากความร)วมมือภาครัฐและภาคเอกชน เฉลี่ยป6 ละ 47,000 ล\"านบาท 7. ประชาชนและผู\"ประกอบการที่เข\"าข)ายต\"อง เสียภาษีมีการยื่นแบบเพื่อชําระภาษีที่ถูกต\"อง เพิ่มขึ้น 8. เลื่อนอันดับความสามารถในการแข)งขันทาง เศรษฐกิจของประเทศโดย IMD ให\"อยู)ในกลุ)ม 1 ใน 25 ของประเทศแรกที่ได\"รับการจัดอันดับ ทั้งหมด ดานการสรางความเขมแข็งใหเศรษฐกิจราย สาขา ประกอบด\"วย 1. ภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ (นอกเหนือจากบริการภาครัฐ) ขยายตัวเฉลี่ยไม) ต่ํากว)าร\"อยละ 3, 4.5 และ 6 ต)อป6 ตามลําดับ 2. เกษตรกรมีรายได\"เงินสดสุทธิทางการเกษตร เพิ่มขึ้นเปBน 59,460 บาท/ครัวเรือน และพื้นที่ การทําเกษตรอินทรีย3เพิ่มขึ้นเปBน 500,000 ไร) ๙
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา 3. มีพื้นที่ที่ได\"รับการพัฒนาสู)เมืองอุตสาหกรรม นิเวศ จํานวน 15 พื้นที่ 4. ประเทศไทยมีรายได\"จากการท)องเที่ยวไม)ต่ํา กว)า 3 ล\"านล\"านบาท และอันดับความสามารถใน การแข)งขันด\"านการท)องเที่ยวไม)ต่ํากว)าอันดับที่ 30 5. สัดส)วน GDP SMEs ต)อ GDP ทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นไม)น\"อยกว)าร\"อยละ 45 6. เพื่อพัฒนาป$จจัยสนับสนุนด\"านการเงิน ประกอบด\"วย (1) ปรับเพิ่มอันดับขีด ความสามารถในการแข)งขันในภาคการเงิน (2) เพิ่มคะแนนทักษะทางการเงินของคนไทยเท)ากับ คะแนนเฉลี่ยของโลก (3) ลดสัดส)วนการกู\"เงิน นอกระบบให\"เหลือไม)เกินร\"อยละ 2 และ (4) เพิ่มปริมาณการใช\"บริการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส3เปBน 200 ครั้ง/ป6/คน เปIาหมายที่ 1 เศรษฐกิจขยายตัวอย)างมี 1. เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการงบประมาณของ เสถียรภาพและยั่งยืน ประเทศ 2. พัฒนาการจัดเก็บรายได\"ภาครัฐ 3. ใช\"มาตรการภาษีสร\"างแรงจูงใจในการอนุรักษ3 สิ่งแวดล\"อม 4. ปรับโครงสร\"าง ฟNOนฟู และพัฒนาประสิทธิภาพ รัฐวิสาหกิจที่มีป$ญหาฐานะ การเงิน 5. ลดความเสี่ยงทางการคลังจากภาระค)าใช\"จ)ายด\"าน สวัสดิการสังคม 6. กระจายอํานาจการปกครองทางการคลังให\"แก)องค3กร ปกครองส)วนท\"องถิ่น 7. ทบทวนบทบาทของส)วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ใน การจัดบริการ สาธารณะ แนวทางการพัฒนาด\"านการเงิน โดยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการเงินและสถาบัน การเงิน ขยายการเข\"าถึง บริการทางการเงิน พัฒนา นวัตกรรมทางการเงินรูปแบบใหม)ๆ และเพิ่ม ประสิทธิภาพและเสถียรภาพของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ให\"เปBนกลไก ที่สนับสนุนด)าเนินนโยบายของรัฐบาลได\" อย)างมีประสิทธิภาพ ๑๐
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 2 การสร\"างความเข\"มแข็งให\" 1. การพัฒนาภาคการเกษตร โดยพัฒนาแหล)งน้ํา ขยาย เศรษฐกิจรายสาขา โอกาสในการเข\"าถึง พื้นที่ทํากิน เสริมสร\"างขีด ความสามารถการผลิตในห)วงโซ)อุตสาหกรรม เกษตร เร)ง ขยายผลแนวคิดการทําการเกษตรตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง และพัฒนาป$จจัยสนับสนุนในการ บริหารจัดการภาคเกษตร 2. การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม โดยพัฒนาความเข\"มแข็ง ของอุตสาหกรรม ศักยภาพป$จจุบัน และวางรากฐานการ พัฒนาอุตสาหกรรมสําหรับอนาคต 3. การพัฒนาภาคบริการและการท)องเที่ยว โดย เสริมสร\"างขีดความสามารถ การแข)งขันในเชิงธุรกิจของ ภาคบริการให\"เติบโตและสนับสนุนภาคการผลิต ส)งเสริม การลงทุนเพื่อการพัฒนาป$จจัยสนับสนุนภาคบริการและ การท)องเที่ยว และปรับโครงสร\"างการบริหารจัดการด\"าน การท)องเที่ยว 4. การพัฒนาภาคการค\"าและการลงทุน เพื่อรองรับความ เปBนชาติการค\"า 5. การพัฒนาป$จจัยสนับสนุนความสามารถในการ แข)งขัน อาทิ ฝ6มือ แรงงาน ระบบทรัพย3สินทางป$ญญา และกฎระเบียบต)าง ๆ ยุทธศาสตร0ที่ 4 การเติบโตที่เป?นมิตรกับสิงแวดลอมเพื่อ การพัฒนาอย<างยั่งยืน เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 1 เพิ่มพื้นที่ปeาไม\" และแก\"ไขป$ญหา 1. อนุรักษ3ฟNOนฟูทรัพยากรปeาไม\" การบุกรุกที่ดิน ของรัฐ 2. ใช\"ประโยชน3ความหลากหลาย ทางชีวภาพอย)างยั่งยืน 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่ดินและแก\"ไขการบุกรุก ที่ดิน ของรัฐ 4. คุ\"มครองทรัพยากรทางทะเล และชายฝ$Uง 5. วางแผนบริหารจัดการทรัพยากรแร) เปIาหมายที่ 2 การใช\"ประโยชน3ทรัพยากรน้ําใน 1. สนับสนุนให\"มีแผนแม)บทการจัดการ ทรัพยากรน้ําแบบ พื้นที่ 25 ลุ)มน้ําของประเทศอย)าง มั่นคง บูรณาการในระดับลุ)มน้ําทั้ง 25 ลุ)มน้ํา ปลอดภัยและเท)าเทียม 2. ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ทั้งระบบอย)างยั่งยืน 3. น)ากระบวนการประเมินสิ่งแวดล\"อมระดับยุทธศาสตร3 ๑๑
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา มาใช\"เปBนเครื่องมือในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา 4. สร\"างความมั่นคงและเท)าเทียมด\"านน้ํา เพื่อการบริโภค อุปโภค และน้ําเพื่อสนับสนุนภาคการผลิต เปIาหมายที่ 3 สร\"างคุณภาพสิ่งแวดล\"อมที่ดี ลด 1. เร)งรัดแก\"ไขป$ญหาการจัดการขยะ มลพิษและผลกระทบต)อสุขภาพของ ประชาชน 2. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคุณภาพน้ํา และอากาศ และระบบนิเวศ 3. พัฒนาโครงสร\"างพื้นฐานเมืองเพื่อรองรับ การเติบโตที่ เปBนมิตรกับสิ่งแวดล\"อม 4. ส)งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เปBนมิตร กับ สิ่งแวดล\"อม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไก แก\"ไขป$ญหา ความขัดแย\"งด\"านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล\"อม อาทิ การประเมินสิ่งแวดล\"อมระดับยุทธศาสตร3 เปIาหมายที่ 4 เพิ่มศักยภาพในการ ลดการปล)อย 1. ลดการปล)อยกfาซเรือนกระจก และเพิ่มขีด กfาซเรือนกระจก และ เพิ่มขีดความสามารถใน ความสามารถใน การปรับตัวต)อการเปลี่ยนแปลง สภาพ การปรับตัว ต)อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภูมิอากาศ 2. บริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ด\"านภัยพิบัติ 3. การพัฒนาความร)วมมือด\"าน สิ่งแวดล\"อมระหว)าง ประเทศ ยุทธศาสตร0ที่ 5 ความมั่นคง เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 1 ปกปIองและเชิดชูสถาบัน 1. จัดกิจกรรมเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย3 พระมหากษัตริย3 ให\"เปBนสถาบันหลักของประเทศ 2. เสริมสร\"างความมั่นคงและปIองกันการล)วงละเมิด ตลอดไป สถาบันหลักของชาติ เปIาหมายที่ 2 ประเทศชาติมีความมั่นคงทุกมิติ และ สร\"างความรู\"และความเข\"าใจเกี่ยวกับความคิดเห็นที่ สังคมมีความสมานฉันท3เพิ่มขึ้น แตกต)างบนพื้นฐานสิทธิและหน\"าที่ตามระบอบ ประชาธิปไตย เปIาหมายที่ 3 พื้นที่จังหวัดชายแดนใต\"มีเศรษฐกิจ ดี ขจัดความขัดแย\"ง ลดความรุนแรง ตามแนวทาง ขึ้นและประชาชนมีสันติสุขและปลอดภัย “เข\"าใจ เข\"าถึง พัฒนา” พร\"อมทั้งสร\"างโอกาสในการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ เปIาหมายที่ 4 ประเทศไทยสามารถรับมือกับ ภัย 1. พัฒนาศักยภาพและความพร\"อมกําลังปIองกัน คุกคามและมีความสัมพันธ3ระหว)างประเทศ เพิ่มขึ้น ประเทศ และรักษาผลประโยชน3ของชาติ 2. ด)าเนินความสัมพันธ3กับต)างประเทศอย)างสมดุล ๑๒
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 5 ความเสี่ยงจากการก)อการร\"าย ต่ํากว)า พัฒนาระบบงานด\"านการข)าวกรอง ควบคู)กับการ อันดับที่ 20 และด\"านไซเบอร3ต่ํากว)าอันดับ ที่ 10 พัฒนา แผนหลักนิยมที่เกี่ยวข\"องให\"มีประสิทธิภาพ ของโลก เปIาหมายที่ 6 สาธารณภัยต)างๆ มีแนวโน\"มลดลง พัฒนาระบบการแจ\"งเตือน การปIองกัน การเผชิญเหตุ ในภาวะวิกฤติ ยุทธศาสตร0ที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ในภาครัฐและธรรมาภิบาลใน สังคมไทย เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 1. ปรับปรุงโครงสร\"างหน)วยงาน บทบาท ภารกิจ ภาครัฐและประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจให\"อยู)ใน และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให\"มี ความโปร)งใส อันดับสองของอาเซียน ทันสมัย คล)องตัว มีขนาด ที่เหมาะสม เกิดความ คุ\"มค)า 2. ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ และสร\"าง กลไกในการติดตามตรวจสอบการเงิน การคลัง ภาครัฐ เพื่อให\"การจัดสรรและการใช\" จ)ายมี ประสิทธิภาพ 3. เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับการให\"บริการ สาธารณะให\"ได\"มาตรฐานสากล เปIาหมายที่ 2 เพิ่มจ\"านวน องค3กรปกครองส)วน 1. เร)งทบทวนการกระจายอํานาจการถ)ายโอนภารกิจ ท\"องถิ่น ที่มีการบริหารจัดการที่ดี เรื่องการศึกษาและสาธารณสุข 2. พัฒนาความรู\"ความสามารถของ บุคลากร 3. เพิ่มความคล)องตัวในการบริหาร จัดการ และ ปรับปรุงระบบบริหารจัดการรายได\"และเงินอุดหนุน ของท\"องถิ่น เปIาหมายที่ 3 เพิ่มคะแนนดัชนี ภาพลักษณ3คอร3รัป 1. ปลูกฝ$งให\"คนไทยไม)โกง ชันให\"อยู) สูงกว)าร\"อยละ 50 2. ปIองกันการทุจริต โดยอุดช)องโหว) ของกฎหมายใน การต)อต\"าน การทุจริต 3. วางระบบและกระบวนการจัดการต)อกรณีทุจริต ให\"มีประสิทธิภาพ เปIาหมายที่ 4 ลดข\"อร\"องเรียนของประชาชนที่ไม)ได\" ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมให\"มีความ รับการอํานวยความยุติธรรมอย)าง เสมอภาค เปBน ทันสมัยเปBนธรรม และสอดคล\"องกับ ข\"อบังคับสากล ธรรม แนวทางการพัฒนา หรือข\"อตกลง ระหว)างประเทศ ๑๓
ยุทธศาสตร0ที่ 7 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกส0 เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 1 การพัฒนาโครงสร\"าง พื้นฐานและ พัฒนาระบบขนส)งทาง ราง ขนส)งสาธารณะ ในเขต ระบบ โลจิสติกส3ในภาพรวม เมือง โครงข)าย ทางถนน ระบบขนส)ง ทางอากาศ และระบบ ขนส)งทางน้ํา เปIาหมายที่ 2 การพัฒนา โครงสร\"างพื้นฐาน ด\"าน สนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรมต)อเนื่อง ที่เกิดจาก ระบบคมนาคม ลงทุนด\"าน โครงสร\"างพื้นฐาน และ พัฒนาระบบการ กํากับ ดูแลในระบบขนส)ง เปIาหมายที่ 3 การพัฒนาระบบ โลจิสติกส3 พัฒนาและยกระดับ มาตรฐานระบบบริหาร จัดการโลจิสติกส3และ โซ)อุปทาน ระบบการอ)านวย ความสะดวกทางการค\"า และบริหารจัดการระบบ ติดตามประเมินผล การพัฒนาระบบโลจิสติกส3 ของ ประเทศ เปIาหมายที่ 4 การพัฒนาด\"านพลังงาน 1.ส)งเสริมการอนุรักษ3พลังงานและ เพิ่มประสิทธิภาพ การใช\"พลังงาน 2.จัดหาพลังงานให\"เพียงพอต)อ ความต\"องการใช\" และ สร\"าง ความมั่นคงทางพลังงาน 3.เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการ การผลิต และการ ใช\"พลังงาน ทดแทนและพลังงานสะอาด 4.ส)งเสริมให\"ประเทศไทยเปBน ศูนย3กลางพลังงานและ เพิ่มโอกาส ของไทยในการพัฒนาพลังงาน ในภูมิภาค อาเซียน เปIาหมายที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 1. พัฒนาและปรับปรุงโครงสร\"าง พื้นฐาน โทรคมนาคมของประเทศ ให\"ทั่วถึงและมี ประสิทธิภาพ 2. ส)งเสริมการใช\"เทคโนโลยีดิจิทัล ในการสร\"าง มูลค)าเพิ่มทางธุรกิจ 3. ส)งเสริมนวัตกรรม การวิจัย และพัฒนา อุตสาหกรรม ดิจิทัลและเทคโนโลยีอวกาศ ของไทย พัฒนาความรู\"และ ทักษะของประชาชน 4. สร\"างความมั่นคงปลอดภัย ทางไซเบอร3 ๑๔
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 6 การพัฒนา สาธารณูปการ (น้ําประปา) 1. พัฒนาระบบน้ําประปา ให\"ครอบคลุมและทั่วถึง 2. บริหารจัดการการใช\"น้ํา อย)างมีประสิทธิภาพและ การสร\"างนวัตกรรม 3. เร)งรัดการลดอัตราน้ํา สูญเสียในเชิงรุกควบคู)กับ การบําบัดรักษาเชิงปIองกัน ของระบบประปาทั่ว ประเทศ 4. เร)งปรับปรุงโครงสร\"าง การบริหารกิจการประปา ยุทธศาสตร0ที่ 8 วิทยาศาสตร0 เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เป>าหมายที่ 1 เพิ่มสัดส)วนค)าใช\"จ)าย การลงทุนเพื่อ 1. เร)งส)งเสริมให\"เกิดสังคมนวัตกรรม และ ผลักดัน การวิจัยและพัฒนา สู)ร\"อยละ 1.5 ของ GDP และมี งานวิจัยสู)การใช\"ประโยชน3 โดยเสริมสร\"างนวัตกรรม สัดส)วนการลงทุนวิจัยและพัฒนาของ ภาคเอกชนต)อ ภาคธุรกิจ พัฒนานวัตกรรมภาครัฐและภาคสังคม ภาครัฐเปBน 70:30 ตลอดจนผลักดันงานวิจัยสู)นวัตกรรม เพื่อให\"เกิด ประโยชน3คุ\"มค)า 2. พัฒนาสภาวะแวดล\"อมของการพัฒนา วิทยาศาสตร3 เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม เปIาหมายที่ 2 เพิ่มจ\"านวนบุคลากรด\"านการวิจัยและ พัฒนาเปBน 25 คนต)อประชากร 10,000 คน เปIาหมายที่ 3 เพิ่มอันดับความสามารถการแข)งขัน 1. เร)งการผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตร3และ โครงสร\"างพื้นฐานด\"านวิทยาศาสตร3และด\"าน เทคโนโลยีให\"พอเพียง และสอดคล\"องกับความ เทคโนโลยี ต\"องการในอนาคต เร)งสร\"างนักวิจัยมืออาชีพ 2. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยให\"มีทั้งความรู\"และความ เข\"าใจใน เทคโนโลยี 3. พัฒนาเส\"นทางความก\"าวหน\"าในสายอาชีพของ บุคลากรวิจัยทั้งใน หน)วยงานภาครัฐและเอกชน 4. ดึงดูดบุคลากรผู\"เชี่ยวชาญ นักวิจัย และ นักวิทยาศาสตร3ใน ต)างประเทศ ให\"มาทํางานใน ประเทศไทย 5. ส)งเสริมระบบการเรียนการสอนที่เชื่อมโยง ระหว)างวิทยาศาสตร3 เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร3 และคณิตศาสตร3 เปIาหมายที่ 3 เพิ่มอันดับความสามารถการแข)งขัน 1. ปรับปรุงและพัฒนาระบบรองรับเทคโนโลยี โครงสร\"างพื้นฐานด\"านวิทยาศาสตร3และด\"าน สําคัญๆ ให\"เกิดประสิทธิภาพ เทคโนโลยีจัดโดย IMD ให\"อยู)ในลําดับ 1 ใน 30 2. ส)งเสริมการพัฒนาระบบคุณภาพและมาตรฐาน 3. สนับสนุนให\"ต)างชาติเข\"ามาลงทุนจัดตั้งศูนย3วิจัย ๑๕
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา พัฒนาในประเทศ 4. สนับสนุนเครื่องมือทางการเงินใหม)ๆ และ หลากหลายเพื่อเปBน กลไกระดมทุน 5. เร)งพัฒนาและประชาสัมพันธ3ศูนย3แห)งความเปBน เลิศทาง วิทยาศาสตร3และเทคโนโลยี และอุทยาน วิทยาศาสตร3ทั้งส)วนกลาง และภูมิภาค 6. สนับสนุนให\"เกิดการร)วมทํางานและแบ)งป$น ทรัพยากรด\"านอุปกรณ3 เครื่องมือ และห\"องปฏิบัติการ ทดลองระหว)างสถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา ภาครัฐ และภาคเอกชน ยุทธศาสตร0ที่ 9 การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เป>าหมายที่ 1 ช)องว)างรายได\"ระหว)างภาค ลดลง 1. พัฒนาการท)องเที่ยวให\"มีคุณภาพและความ และมีการกระจายรายได\"ของประชาชน อย)างเปBน ยั่งยืน / ยกระดับการท)องเที่ยวสู)นานาชาติ / ธรรมมากขึ้น เสริมสร\"างมาตรฐานสินค\"าและธุรกิจบริการ ด\"านการ ท)องเที่ยว 2. พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร 3. พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปไปสู) ผลิตภัณฑ3 ที่มีมูลค)าเพิ่มสูง 4. ฟNOนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล\"อม / วาง ระบบปIองกันและแก\"ไขป$ญหาความเสื่อม โทรม 5. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ําเพื่อ การ พัฒนาที่ยั่งยืน 6. พัฒนาระบบการดูแลผู\"สูงอายุ 7. ยกระดับฐานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปIาหมายที่ 2 เมืองศูนย3กลางของ จังหวัดเปBนเมือง 1. พัฒนาเมืองหลักพัฒนาสภาพแวดล\"อมเมือง น)าอยู)และปลอดภัย สิ่งแวดล\"อมดี เศรษฐกิจดี และ ศูนย3กลาง ของจังหวัดให\"เปBนเมืองน)าอยู) และ การ เดินทางสะดวก ปลอดภัย พัฒนาระบบขนส)ง สาธารณะในเขตเมือง รักษาอัตลักษณ3ของเมือง เพิ่มประสิทธิภาพการ บริหาร จัดการเมือง 2. พัฒนาเมืองสําคัญอาทิกรุงเทพฯเมืองปริมณฑล ขอนแก)น นครราชสีมา ภูเก็ต หาดใหญ) และเมือง ใหม)บริเวณ ชุมทางเชื่อมโยงการขนส)งระบบ รางที่ เกิดขึ้นใหม)ที่สําคัญ ๑๖
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 3 พื้นที่ฐานเศรษฐกิจ หลักมีระบบการ 1. เร)งรัดการแก\"ป$ญหามลพิษและ สิ่งแวดล\"อมใน ผลิตที่เปBนมิตร ต)อสิ่งแวดล\"อม พื้นที่เศรษฐกิจหลัก ให\"เกิดผลในทางปฏิบัติอย)าง เปBน รูปธรรม 2. สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่เปBนมิตรต)อ สิ่งแวดล\"อมในพื้นที่ ฐานเศรษฐกิจหลัก 3. พัฒนาโครงสร\"างพื้นฐานและ คุณภาพบริการ สังคมเพื่อรองรับ การดูแลคุณภาพชีวิตประชาชน และการเปBนฐานเศรษฐกิจหลัก ของประเทศ เปIาหมายที่ 4 พื้นที่เศรษฐกิจใหม) บริเวณชายแดนมี 1. ส)งเสริมและอ)านวยความสะดวกการลงทุนใน การพัฒนาที่เกิดผล เปBนรูปธรรม พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 2. สนับสนุนการพัฒนากิจกรรมเศรษฐกิจที่ สอดคล\"องกับศักยภาพ ของพื้นที่และยกระดับ กิจกรรม ทางเศรษฐกิจในพื้นที่ 3. ส)งเสริมให\"ภาคประชาชนและภาคีการพัฒนาที่ เกี่ยวข\"องเข\"ามามีส)วนร)วมและได\"รับประโยชน3จาก การพัฒนา 4. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล\"อมในพื้นที่เศรษฐกิจ พิเศษชายแดน ยุทธศาสตร0ที่ 10 การต<างประเทศ ประเทศเพื่อนบาน และ ภูมิภาค เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 1 ประเทศไทยบทบาทน\"าในภูมิภาค ทั้ง เร)งพัฒนาความเชื่อมโยงด\"านการคมนาคมขนส)ง ด\"านโลจิสติกส3 การค\"า การบริการ และการลงทุน โลจิสติกส3และโทรคมนาคม ภายใต\" ความร)วมมือ ระดับ อนุภูมิภาคและภูมิภาค อาเซียน เปIาหมายที่ 2 ประเทศไทยเปBนศูนย3กลางการ พัฒนาและส)งเสริม ให\"ไทยเปBนฐานของ การประกอบ กระจายความเจริญ ในภูมิภาคเอเชีย กลุ)มอาเซียน ธุรกิจ และการบริการและการลงทุนที่มีสมรรถนะสูง และ อนุภูมิภาค และเปBนที่ยอมรับในภูมิภาค เปIาหมายที่ 3 ระบบ ห)วงโซ)มูลค)าในอนุภูมิภาค และ ส)งเสริม Outward Investment เพื่อขยายฐานการ ภูมิภาคอาเซียน มีความเชื่อมโยง กัน เพื่อรองรับการ ผลิตการค\"า การบริหาร ของผู\"ประกอบการไทย สร\"าง พัฒนา เศรษฐกิจอย)างต)อเนื่อง ผลตอบแทนจากเงินทุนและ know how ของไทย และพัฒนาประเทศไทยไปสู)การเปBน ชาติการค\"า (Trading Nation) เปIาหมายที่ 4 ไทยมี ภาพลักษณ3ที่ดี เปBนที่ เชื่อมั่น มุ)งเปLดประตูการค\"าและ พัฒนาความร)วมมือกับ ของนานาชาติ ในฐานะประเทศที่ มาตรฐานด\"านเนิน ประเทศเพื่อนบ\"านประเทศเพื่อนบ\"านในลักษณะ การ ต)างๆ เปBนไปตาม มาตรฐานสากลและ บรรทัด หุ\"นส)วนทาง ยุทธศาสตร3 (Strategic Partner) ทั้งใน ฐานระหว)าง ประเทศ ระดับ อนุภูมิภาคและภูมิภาค ที่มีความเสมอภาคกัน ๑๗
เป>าหมายการพัฒนา แนวทางการพัฒนา เปIาหมายที่ 5 ไทยเปBน หุ\"นส)วนการพัฒนา ที่สําคัญ 1. การสร\"างความเปBน หุ\"นส)วนการพัฒนากับ ทั้งในระดับ อนุภูมิภาคและภูมิภาค โดยมีส)วนร)วม ประเทศในอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาประเทศ สําคัญ ในการกําหนดบรรทัด ฐานระหว)างประเทศ 2. การเข\"าร)วมเปBนภาคี ความร)วมมือระหว)าง ประเทศระหว)างภูมิภาค เปIาหมายที่ 6 ภาคเอกชนไทย มีเครือข)ายและองค3 บูรณาการความร)วมมือของ หน)วยงานต)าง ๆ ความรู\"ที่ส)งเสริมขีดความสามารถ ใน การ แข)ง ขัน ภายในประเทศและภารกิจด\"าน การต)างประเทศ การขยายตลาด ทั้งตลาดเดิมและ ตลาดใหม) 4. ยุทธศาสตร0การพัฒนาภูมิภาค ยุทธศาสตร3การพัฒนาภูมิภาค เปBนยุทธศาสตร3ที่ 9 (การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ) ซึ่งเปBน 1 ใน 10 ของยุทธศาสตร3 ของทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห)งชาติ ฉบับที่ 12 สําหรับ ในยุทธศาสตร3ด\"านนี้ จะเน\"นการพัฒนาประเทศเพื่อยกระดับฐานการผลิตและบริการเดิมให\"มีความเข\"มแข็ง มากขึ้น ดังนั้น ในการพัฒนาประเทศในแต)ละภูมิภาคนี้ จึงเน\"นการขยายตัวของภาคการผลิตทั้ง ภาคอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม ให\"มีประสิทธิภาพมากขึ้นตามศักยภาพของแต)ละภูมิภาค ที่แตกต)างกัน โดยในแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม (พ.ศ. 2561-2564) จะเน\"นอธิบายความสําคัญที่เปBนจุดเน\"นการ พัฒนาจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนี้ เพื่อให\"การพัฒนาจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือบรรลุผลสัมฤทธิ์ จึงกําหนดแนวทางการ พัฒนาไว\"ว)า “พัฒนาใหหลุดพนจากความยากจน สู*เป+าหมายการปลอดภัย” โดยกําหนดดังนี้ 1. เพิ่มศักยภาพการผลิตสินค\"าเกษตรไปสู)มาตรฐานเกษตรอินทรีย3และอาหารปลอดภัย 1.1 พัฒนาพื้นที่ทุ)งกุลาร\"องไห\" ในพื้นที่จังหวัดยโสธร สุรินทร3 ร\"อยเอ็ด มหาสารคาม ศรีสะเกษ ให\"เปBนแหล)งผลิตข\"าวหอมมะลิคุณภาพสูง 1.2 ส)งเสริมการปรับเปลี่ยนไปสู)สินค\"าเกษตรชนิดใหม)ตามศักยภาพของพื้นที่ 1.3 สนับสนุนเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให\"พึ่งตนเอง พัฒนาการเกษตรกรรุ)นใหม)ให\"เปBน มืออาชีพ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม) และโครงการ 1 ไร) 1 แสน ส)งเสริม การเรียนรู\"จากกลุ)มเกษตรกรที่ประสบความสําเร็จให\"เปBนต\"นแบบ 2. พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปไปสู)ผลิตภัณฑ3ที่มีมูลค)าเพิ่มสูง 3. ยกระดับการเท)องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรม อารยธรรมขอม ยุคก)อน ประวัติศาสตร3 ธรรมชาติ และกีฬาสู)นานาชาติ 3.1 ส)งเสริมการท)องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมในทุกพื้นที่ ท)องเที่ยวอารยธรรมขอมในพื้นที่ กลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ท)องเที่ยวยุคก)อนประวัติศาสตร3ในจังหวัด อุดรธานี ขอนแก)น กาฬสินธุ3 ท)องเที่ยวเชิงกีฬาในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย3 ศรีสะเกษ นครราชสีมา ท)องเที่ยวธรรมชาติในจังหวัด ชัยภูมิ เลย นครราชสีมา อุบลราชธานี 3.2 พัฒนาเส\"นทางเชื่อมโยงแหล)งท)องเที่ยวกับประเทศเพื่อนบ\"าน อาทิสี่เหลี่ยมวัฒนธรรม ล\"านช\"าง เลย-อุดรธานี-หนองบัวลําภู-หนองคาย+สปป.ลาว 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ําเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ๑๘
5. ฟNOนฟูทรัพยากรปeาไม)ให\"คงความอุดมสมบูรณ3และรักษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ต\"น น้ําของจังหวัดเลย อุดรธานี สกลนคร ชัยภูมิ นครราชสีมา 5. ยุทธศาสตร0การพัฒนากลุ<มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. 2561--2564 กลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ได\"กําหนดแผนยุทธศาสตร3การพัฒนากลุ)มจังหวัด พ.ศ. 2561—2564 เพื่อใช\"เปBนกรอบแนวทางของการพัฒนากลุ)มจังหวัด ภายใต\"ผลการวิเคราะห3 สภาพแวดล\"อม ศักยภาพ บริบทของการพัฒนาที่ผ)านมาและในอนาคต รวมทั้งสภาพของป$ญหาและ ความต\"องการของประชาชน โดยมียุทธศาสตร3ของการพัฒนากลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ดังนี้ 5.1 วิสัยทัศน0 “ศูนย.กลางอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร เชื่อมโยงการบริการ การท*องเที่ยว และโลจิสติกส. สู*อนุภูมิภาคลุ*มน้ําโขง” 5.2 เป>าประสงค0 (เชิงวิสัยทัศน0) เพื่อก\"าวไปสู)วิสัยทัศน3และการพัฒนากลุ)มจังหวัดที่พึงปรารถนาในระยะยาว 4 ป6 จึงได\"กําหนด เปIาหมายหลักในการพัฒนากลุ)มจังหวัดไว\"ดังนี้ 5.2.1 เพิ่มผลิตภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจหลักให\"ได\"มาตรฐาน 5.2.2 เพิ่มมูลค)าการค\"า การบริการและแปรรูปพืชเศรษฐกิจหลัก 5.2.3 เพิ่มรายได\"จากการท)องเที่ยวกลุ)มจังหวัด 5.3 ตัวชี้วัด 5.3.1 ร\"อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ3มวลรวมกลุ)มจังหวัด 5.3.2 อัตราการขยายตัวรายได\"การท)องเที่ยว กลุ)มจังหวัดที่เพิ่มขึ้น 5.4 ประเด็นยุทธศาสตร0/กลยุทธ0/แนวทางการพัฒนา กลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางได\"กําหนดประเด็นยุทธศาสตร3 ตัวชี้วัด และ กลยุทธ3การพัฒนาเพื่อบรรลุวิสัยทัศน3ของการพัฒนากลุ)มกลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. 2561--2564 จําแนกเปBน 3 ประเด็นยุทธศาสตร3 ปรากฏรายละเอียดดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร0ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพการผลิตการเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ที่เปBนมิตรต)อสิ่งแวดล\"อม ตัวชี้วัด 1. ร\"อยละของผลิตภัณฑ3มวลรวมภาคการเกษตรที่เพิ่มขึ้น 2. ร\"อยละของผลิตภัณฑ3มวลรวมภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น กลยุทธ0 1. เพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐานการผลิต 2. พัฒนาและสร\"างมูลค)าเพิ่มสินค\"าพืชเศรษฐกิจหลัก 3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ํา ๑๙
ประเด็นยุทธศาสตร0ที่ 2 การส<งเสริมการคา การบริการ และโลจิสติกส0 ตัวชี้วัด 1. ร\"อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ3มวลรวมภาคการค\"าและบริการกลุ)มจังหวัด 2. ร\"อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภาพแรงงาน กลยุทธ0 1. พัฒนาศักยภาพ SMEs และเครือข)ายผู\"ประกอบการ 2. พัฒนาและเชื่อมโยงโครงข)ายคมนาคมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส3 3. พัฒนาคุณภาพฝ6มือแรงงานและเพิ่มทักษะแก)ผู\"ประกอบการ 4. พัฒนาระบบการตลาดผลิตภัณฑ3กลุ)มจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร0ที่ 3 การเพิ่มศักยภาพการท)องเที่ยวอย)างครบวงจร ตัวชี้วัด 1. รายได\"จากการท)องเที่ยวกลุ)มจังหวัดที่เพิ่มขึ้น 2. มูลค)าการจําหน)ายผลิตภัณฑ3ไหมที่เพิ่มขึ้น กลยุทธ0 1. พัฒนาศักยภาพแหล)งท)องเที่ยวเชื่อมโยงกับผลิตภัณฑ3ชุมชน 2. พัฒนาเครือข)ายอุตสาหกรรมการท)องเที่ยวและบริการ 3. ส)งเสริมกิจกรรมและประชาสัมพันธ3การท)องเที่ยวกลุ)มจังหวัด 4. พัฒนาและยกระดับไหมให\"เปBนศูนย3กลางแฟชั่นผ\"าไหมในภูมิภาค 6. ตําแหน<งการพัฒนากลุ<มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (รอยแก<นสารสินธุ0) ตามแผนพัฒนากลุ<มจังหวัด (พ.ศ. 2561-2564) กลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (ร\"อยแก)นสารสินธุ3) ได\"ประชุมหารือคณะกรรมการ ที่เกี่ยวข\"องเพื่อวิเคราะห3ศักยภาพในด\"านต)าง ๆ ในการจัดทําแผนพัฒนากลุ)มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนกลาง (พ.ศ. 2561-2564) และได\"กําหนดจุดเน\"นหรือตําแหน)งการพัฒนากลุ)มจังหวัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ปรากฏดังนี้ จุดเนนทางยุทธศาสตร0ของกลุ<ม กลุ<มจังหวัด กาฬสินธุ0 ขอนแก<น มหาสารคาม รอยเอ็ด ฐานการผลิตและแปรรูป ข\"าวเหนียวเขาวง(GI) ข\"าวหอมมะลิ ข\"าวหอมมะลิ (GI) ข\"าวหอมมะลิ (GI) พืชเศรษฐกิจหลักที่ได มาตรฐาน แหล<งผลิตพลังงาน -มันสําปะหลัง - อ\"อย ทดแทน -อ\"อย - มันสําปะหลัง ๒๐
กลุ<มจังหวัด กาฬสินธุ0 ขอนแก<น มหาสารคาม รอยเอ็ด ศูนย0กลางอุตสาหกรรม -อุตสาหกรรมเอทา -สนามบิน,รถไฟรางคู) -โรงน้ําตาล -สนามบิน เกษตร การคา การลงทุน นอล -ศูนย3กลาง -โรงสีข\"าว -โรงสีข\"าว การบริการ -โรงงานแปรรูปมัน ประชุมสัมมนา -โรงงานแปรรูป สําปะหลัง -ศูนย3กลางการแพทย3 มัน -โรงน้ําตาล -โรงน้ําตาล -สําปะหลัง -โรงสีข\"าว -โรงสีข\"าว การท<องเที่ยวเชิง -การท)องเที่ยวเชิง -การท)องเที่ยวเชิง การท)องเที่ยวเชิง การท)องเที่ยวเชิง ประเพณีวัฒนธรรมและ วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรมประเพณี วัฒนธรรม ยุคก<อนประวัติศาสตร0 -แหล)งท)องเที่ยว -แหล)งท)องเที่ยว ประเพณี ไดโนเสาร3 ไดโนเสาร3 ไหมไทยสู<สากล ผ\"าไหมแพรวา (GI) ผ\"าไหมแพรวา (GI) ผ\"าไหมสร\"อย ผ\"าไหมสาเกต ดอกหมาก ******************************** ๒๑
บทที่ 2 สภาพทั่วไปของจังหวัดมหาสารคาม ในบทนี้เป นรวบรวมขอมูลและเอกสารที่เกี่ยวของ ตามลําดับดังนี้ 1. สภาพทั่วไปของจังหวัดมหาสารคาม 2. ตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม 3. สรุปผลการดําเนินงานที่ผ.านมาตามประเด็นยุทธศาสตร2ของแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม สภาพทั่วไปของจังหวัดมหาสารคาม 1. ดานกายภาพ 1.1 ที่ตั้งและขนาด จังหวัดตั้งอยู.บริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 5,291.683 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,307,301.875 ไร. มีอาณาเขตติดต.อกับจังหวัดใกลเคียง ดังนี้ ทางทิศเหนือติดต.อกับจังหวัดขอนแก.น และจังหวัดกาฬสินธุ2 ทิศใตติดต.อกับจังหวัดสุรินทร2และจังหวัดบุรีรัมย2 ทิศตะวันออกติดต.อกับจังหวัดกาฬสินธุ2 และจังหวัดรอยเอ็ด ทิศตะวันตกติดต.อกับจังหวัดขอนแก.นและจังหวัดบุรีรัมย2 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดมีสภาพพื้นที่ทั่วไปค.อนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความสูงจากระดับน้ําทะเล ประมาณ 130 - 230 เมตร ดานทิศตะวันตกและทิศเหนือเป นที่สูงในเขตอําเภอโกสุมพิสัย อําเภอเชียงยืน และอําเภอกันทรวิชัย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของจังหวัด และลาดเทมาทางทิศตะวันออกและทิศใต 1.3 สภาพภูมิอากาศ มีลักษณะฝนตกสลับกับอากาศแหง (Wet and dry climate) มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยต.อปR อยู.ที่ ประมาณ 118 มิลลิเมตร/ปR อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปRอยู.ที่ประมาณ 27.98 องศาเซลเซียส ในช.วงเดือนเมษายน ของทุกปRจังหวัดจะมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 39 องศาเซลเซียส ส.วนอุณหภูมิต่ําสุดวัดไดในช.วงเดือน มกราคมอยู.ที่ประมาณ 15 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปRอยู.ที่ประมาณ 27 องศาเซลเซียส จังหวัดมี ฤดูกาลต.างๆ แบ.งเป น 3 ฤดู คือ ฤดูรอน เริ่มตั้งแต.เดือนมีนาคมไปจนถึงเดือนมิถุนายน ฤดูฝนเริ่มตั้งแต. กรกฎาคมไปจนถึงเดือนตุลาคม และฤดูหนาวเริ่มตั้งแต.เดือนพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ2 2. การปกครองและประชากร 2.1 เขตปกครอง จังหวัดแบ.งเขตการปกครอง ออกเป นอําเภอ 13 อําเภอ องค2การบริหารส.วนตําบล 124 แห.ง เทศบาล 18 แห.ง และหมู.บาน 1,944 หมู.บาน โดยอําเภอที่มีพื้นที่มากที่สุด คือ อําเภอโกสุมพิสัย (827.876) รองลงมาคือ อําเภอบรบือ (681.622) อําเภอวาปRปทุม (605.774) และอําเภอเมืองมหาสารคาม (556.697) ตามลําดับ 2.2 ประชากร ขอมูลกรมการปกครอง (กรกฎาคม. 2559) พบว.า จังหวัดมีประชากรทั้งสิ้น 961,658 คน เป นชาย 472,253 คน และหญิง 489,405 คน ครัวเรือนทั้งสิ้น 285,303 ครัวเรือน อําเภอที่มี ประชากรมากที่สุดคือ อําเภอเมืองมหาสารคาม จํานวน 157,924 คน อันดับสอง คืออําเภอโกสุมพิสัย ๒๒
จํานวน 120,212 คน และอันดับสามคือ อําเภอวาปRปทุมจํานวน 114,297 คน ตามลําดับ สําหรับความ หนาแน.นของประชากร โดยเฉลี่ยของจังหวัดเท.ากับ 181.73/ตารางกิโลเมตร สําหรับอําเภอที่มีความหนาแน.น ของประชากรมากที่สุดคืออําเภอเมืองมหาสารคาม เท.ากับ 283.68 คน/ตร.กม. อันดับสอง คืออําเภอกันทรวิชัย เท.ากับ 229.43 คน และอันดับสามไดแก. ชื่นชม เท.ากับ 220.84 คน ตามลําดับ 3. การบริหารราชการในพื้นที่ จําแนกการบริหารราชการในพื้นที่ออกเป น 3 ส.วน คือ ส.วนราชการบริหารส.วนกลาง ส.วนราชการ บริหารส.วนภูมิภาค และส.วนราชการบริหารส.วนทองถิ่น ราชการบริหารส-วนภูมิภาค และส-วนกลาง มีจํานวน 81 หน.วยงาน ไดแก. 1. ส.วนราชการบริหารส.วนกลาง จํานวน 42 หน.วยงาน 2. ส.วนราชการบริหารส.วนภูมิภาคสังกัดกระทรวง ทบวง กรมอื่นๆ จํานวน 31 หน.วยงาน 3. ส.วนราชการบริหารส.วนภูมิภาคสังกัดกระทรวงมหาดไทย จํานวน 6 หน.วยงาน 4. ส.วนราชการองค2กรอิสระ จํานวน 5 หน.วยงาน 5. ส.วนราชการไม.สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง จํานวน 4 หน.วยงาน 6. ส.วนราชการสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา จํานวน 2 แห.ง 7. หน.วยงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน 3 หน.วยงาน ราชการบริหารส-วนทองถิ่น มี 3 รูปแบบ คือ องค2การบริหารส.วนจังหวัด 1 แห.ง เทศบาล เมือง 1 แห.ง เทศบาลตําบล 18 แห.ง และองค2การบริหารส.วนตําบล 124 แห.ง 4. โครงสรางพื้นฐาน 4.1 การใชไฟฟ3า ผลการสํารวจขอมูลจํานวนผูใชไฟฟ\\าและการจําหน.ายกระแสไฟฟ\\าจําแนกตามประเภทต.าง ๆ เมื่อปR พ.ศ. 2557 ของจังหวัดมหาสารคาม พบว.า (1) จํานวนผูใชไฟฟ\\า ทั้งสิ้น 265,227 ราย โดยอําเภอที่มีจํานวนผูใชไฟฟ\\ามากที่สุดอันดับแรก คือ อําเภอเมืองมหาสารคาม เท.ากับ 58,887 ราย รองลงมาไดแก. อ.พยัคฆภูมิพิสัย เท.ากับ 31,788 ราย อันดับสาม ไดแก. อ.ชื่นชม เท.ากับ 5,773 ราย (2) การจําหน.ายกระแสไฟฟ\\า (วัตต2/ชั่วโมง) จากสถิติของการไฟฟ\\าส.วนภูมิภาคจังหวัดมหาสารคาม เมื่อปR พ.ศ. 2557 พบว.า จังหวัดไดจําหน.ายกระแสไฟฟ\\าใหส.วนต.าง ๆ ไดแก. ที่อยู.อาศัย สถานธุรกิจ และอุตสาหกรรม สถานที่ราชการและสาธารณะ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 504,405,211.9 วัตต2/ชั่วโมง ทั้งนี้ การไฟฟ\\าส.วนภูมิภาคจังหวัดมหาสารคาม ไดทําการจําหน.ายกระแสไฟฟ\\าใหกับสถานธุรกิจ และอุตสาหกรรม มากที่สุด เท.ากับ 348,061,966.8 วัตต2/ชั่วโมง อันดับสอง ไดแก. ที่อยู.อาศัย เท.ากับ 112,583,641 วัตต2/ชั่วโมง อันดับสาม ไดแก. สถานที่ราชการและสาธารณะ เท.ากับ 35,055,540 วัตต2/ ชั่วโมง โดยมีการจําหน.ายกระแสไฟฟ\\าใหกับผูใชหรือสถานที่ต.างๆ ประเภทอื่นๆ เท.ากับ 8,704,064.1 วัตต2/ ชั่วโมง (ขอมูลจาก การไฟฟ\\าส.วนภูมิภาคจังหวัดมหาสารคาม. 2557) ๒๓
4.2 ประปา จังหวัดมีพื้นที่ใหบริการน้ําประปารวมทั้งสิ้น 6 อําเภอ ไดแก. อําเภอเมืองมหาสารคาม อําเภอกันทรวิชัย อําเภอโกสุมพิสัย อําเภอบรบือ อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอําเภอวาปRปทุม จําแนกการให บริหารออกเป น 2 สาขา คือ 4.2.1 การประปาส.วนภูมิภาค สาขามหาสารคาม มีพื้นที่ใหบริการน้ําประปา 4 อําเภอ ประกอบดวย (1) อําเภอเมืองมหาสารคาม ใหบริการพื้นที่ เทศบาลเมืองมหาสารคาม เทศบาล ตําบลแวงน.าง อบต.เกิ้ง อบต.แก.งเลิงจาน อบต.เขวา อบต.ท.าสองคอน อบต.ลาดพัฒนา อบต.แวงน.าง อบต.หนองกุง อบต.หนองโน อบต.หนองปลิง และ อบต.หวยแอ.ง (2) อําเภอกันทรวิชัย ใหบริการพื้นที่ เทศบาลตําบลขามเรียง เทศบาลตําบลโคกพระ เทศบาลตําบลท.าขอนยาง อบต.ขามเฒ.าพัฒนา อบต.คันธารราษฎร2 อบต.โคกพระ อบต.ศรีสุข และ อบต.มะค.า (3) อําเภอโกสุมพิสัย ใหบริการพื้นที่ เทศบาลตําบลหัวขวาง อบต.หัวขวาง (4) อําเภอบรบือ ใหบริการพื้นที่ เทศบาลตําบลบรบือ อบต.กําพี้ อบต.กุดรัง อบต.โนนราษี อบต.บรบือ อบต.บ.อใหญ. , อบต.วังไชย , อบต.วังใหม. , อบต.หนองโก , อบต.หนองจิก 4.2.2 การประปาส.วนภูมิภาคพยัคฆภูมิพิสัย มีพื้นที่รับผิดชอบในการใหบริการน้ําประปา 2 อําเภอ คือ อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอําเภอวาปRปทุม 4.3 การบริการโทรศัพท4 จากผลสํารวจการใหบริการโทรศัพท2ภายในจังหวัดมหาสารคาม ปรากฏตาราง 1 ดังนี้ ตาราง 1 ตารางสํารวจการใหบริการโทรศัพท2ภายในจังหวัดมหาสารคาม 2555 2556 2557 รายการ (2012) (2013) (2014) เลขหมายโทรศัพท4 บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) 37,631 37,805 37,106 บริษัทสัมปทาน 6,018 5,923 5,923 เลขหมายโทรศัพท4ที่มีผูเช-า บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) 27,524 26,669 25,052 ธุรกิจ 1,247 1,243 1,217 บานพัก 21,258 20,718 19,364 ราชการ 2,800 2,759 2,743 บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) 194 195 194 โทรศัพท2สาธารณะ 2,025 1,703 1,492 บริษัทสัมปทาน 2,231 1,931 42 (ที่มา : บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ๒๔
4.4 คมนาคม เสนทางคมนาคมของจังหวัด จําแนกเป น ถนนสายประธาน ถนนสายหลัก และถนนสายรอง ดังนี้ ถนนสายประธาน ประกอบดวย (1) ทางหลวงแผนดินหมายเลข 23 (บานไผ.-มหาสารคาม-รอยเอ็ด-ยโสธร-อุบลราชธานี) เป น เสนทางที่มีความสําคัญในระดับภาค เชื่อมโยงจังหวัดตอนกลางกับจังหวัดตอนล.างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดานทิศตะวันออก (2) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 23 (ตอนเลี่ยงเมืองดานตะวันออกและดานตะวันตก) เป น ระบบถนนวงแหวนของชุมชนเมืองมหาสารคาม เป นเสนทางที่แบ.งเบาปริมาณการจราจรของระบบถนนสาย หลัก และทําใหการเชื่อมโยงติดต.อของชุมชนภายในจังหวัดมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป นเสนทางเลี่ยงเมือง (BY PASS) กรณีไม.ตองการผ.านชุมชนเมืองมหาสารคาม (3) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 208 (มหาสารคาม-โกสุมพิสัย-ท.าพระเชื่อมโยงกับถนน มิตรภาพจังหวัดขอนแก.น) เชื่อมโยงระหว.างจังหวัดมหาสารคาม กับจังหวัดขอนแก.น ผ.านอําเภอโกสุมพิสัย เทศบาลตําบลท.าพระ และบรรจบกับทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ปeจจุบันไดรับจัดสรร งบประมาณจาก กระทรวง กรม ดําเนินการก.อสรางขยายเสนทางจาก 2 ช.องจราจร เป น 4 ช.องจราจร ตลอดเสนทางจราจรแลว (4) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 213 (มหาสารคาม-กันทรวิชัย-กาฬสินธุ2)เชื่อมโยงระหว.าง จังหวัดมหาสารคาม กับจังหวัดกาฬสินธุ2 ผ.านอําเภอกันทรวิชัย อําเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ2 (5) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 219 (บรบือ-นาเชือก-พยัคภูมิพิสัย-บุรีรัมย2) เชื่อมโยงระหว.าง จังหวัดมหาสารคาม กับจังหวัดบุรีรัมย2 และจังหวัดสุรินทร2 ซึ่งเป นจังหวัดทางตอนใตของภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ถนนสายหลัก เป นเสนทางที่เชื่อมโยงระหว.างเสนทางหลักและถนนสายรอง ภายในจังหวัด มหาสารคาม ใหสามารถติดต.อกันไดอย.างมีประสิทธิภาพ และมีบทบาทในการแบ.งเบาปริมาณการจราจรของ ระบบถนนประธานและทําหนาที่การเชื่อมโยงติดต.อระหว.างชุมชนสําคัญของจังหวัด ประกอบดวย 1) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2040 (อําเภอเมืองมหาสารคาม - อําเภอวาปRปทุม) 2) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2045 (อําเภอวาปRปทุม - อําเภอพยัคภูมิพิสัย - จังหวัดบุรีรัมย2) 3) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 209 (สายขอนแก.น - เชียงยืน - กาฬสินธุ2) 4) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 202 (สายพยัคภูมิพิสัย - พุทไธสง - สุวรรณภูมิ) 5) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2237 (สายโกสุมพิสัย - เชียงยืน) 6) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2152 (สายเชียงยืน - ชื่นชม - กระนวน) 7) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2300 (สายโกสุมพิสัย - กุดรัง) 8) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2322 (สายโกสุมพิสัย - กุดรัง - บรบือ - นาดูน) 9) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2063 (สายบรบือ - วาปRปทุม) 10) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2381 (สายนาเชือก - นาดูน) 11) ทางหลวงแผ.นดินหมายเลข 2118 (สายกันทรวิชัย - เชียงยืน) 12) ทางหลวงแผ.นดิน หมายเลข 2380 (สายมหาสารคาม - แกดํา) ถนนสายรอง ประกอบดวย ทางหลวงทองถิ่นและทางหลวงชนบท เป นระบบถนนที่เชื่อมโยง ติดต.อระหว.างชุมชนศูนย2กลางชนบทและพื้นที่ชนบท เป นเสนทางที่นําผลผลิตจากพื้นที่เกษตรกรรม มายังตลาด ที่เป นชุมชนศูนย2กลางของพื้นที่และการกระจายสินคา ตลอดจนการบริการต.างๆ ไปสู.พื้นที่ โดยรอบและมีบทบาทในการแบ.งเบาปริมาณการจราจรของระบบถนนประธานและทําหนาที่เชื่อมโยงติดต.อ ระหว.างชุมชนสําคัญของจังหวัด ๒๕
5. ดานเศรษฐกิจ 5.1 ผลิตภัณฑ4มวลรวมจังหวัด จากตัวเลขประมาณการของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห.งชาติ (แบบ TOP Down) พบว.า สถิติมูลค.าผลิตภัณฑ2มวลรวมจังหวัดปR 2557 เท.ากับ 48,772 ลานบาท รายไดเฉลี่ยต.อคน/ปR จํานวน 58,727 บาท ต.อคน/ปR โดยจําแนกไดว.า ในภาคการเกษตร มืค.าผลิตภัณฑ2 มวลรวมจํานวน 13,331 ลานบาท ในขณะที่ผลิตภัณฑ2มวลรวมภาคนอกการเกษตร มีจํานวน 35,441 ลานบาท ทั้งนี้ มีสาขาย.อยที่มีจํานวนสูงสุด ไดแก. สาขาการศึกษา จํานวน 10,081 ลานบาท และสาขา อุตสาหกรรม จํานวน 5,950 ลานบาท โดยเปรียบเทียบแนวโนมขอมูล 3 ยอนหลัง ปรากฏตาม ภาพประกอบ ภาพประกอบ เปรียบเทียบผลิตภัณฑ2มวลรวมจังหวัดมหาสารคาม ระหว.างปR 2555 – 2557 (ลานบาท) พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555 5.2 ดานการเกษตรกรรม จังหวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 3,307,301.875 ไร. และจากสถิติเมื่อปR พ.ศ. 2556 จังหวัดมีพื้นที่ ทําการเกษตรเท.ากับ 2,736,653 ไร. คิดเป นรอยละ 82.13 ของพื้นที่จังหวัด โดยมีพืชเศรษฐกิจหลัก ที่สําคัญ ไดแก. ขาวนาปR ออยโรงงาน และมันสําปะหลัง และปRเพาะปลูก 2558/2559 พบว.า มีพื้นที่ ปลูกขาวจํานวน 2,030,757 ไร. มีผลผลิตจํานวน 716,286.94 ตัน มันสําปะหลังมีเนื้อที่เพาะปลูก จํานวน 297,065 ไร. มีผลผลิตจํานวน 375,535.95 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต.อไร. 3,370 ก.ก./ไร. และ ออยโรงงาน 181,479 ไร. มีผลผลิต 1,505,328.75 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต.อไร.เท.ากับ 11,250 ก.ก./ไร. ตาราง 2 แสดงเนื้อที่ปลูกขาวนาปR เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ยต.อไร. จําแนกเป นรายอําเภอ ปRเพาะปลูก 2558/2559 ๒๖
ขาวนาป> อําเภอ เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ยต-อ ขาว (ไร-) (ไร-) ผลผลิต (ตัน) ไร- (กก.) รวมยอด 2,096,233 1,962,748 716,286.94 365 เมืองมหาสารคาม 190,089 186,624 72,036.86 386 กันทรวิชัย 170,354 162,200 69,097.20 426 โกสุมพิสัย 242,256 200,823 91,575.29 456 เชียงยืน 130,907 79,360 33,331.20 420 นาเชือก 135,890 133,781 46,555.79 348 บรบือ 270,374 267,148 92,700.36 347 พยัคฆภูมิพิสัย 285,197 281,447 92,033.17 327 วาปRปทุม 284,181 281,308 102,677.42 365 นาดูน 111,515 110,677 35,084.61 317 แกดํา 70,986 70,911 24,251.56 342 ยางสีสุราช 95,394 91,161 27,348.30 300 กุดรัง 78,958 76,368 23,292.24 305 ชื่นชม 33,132 20,940 6,302.94 301 ที่มา : สํานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ตาราง 3 แสดงเนื้อที่เพาะปลูกพืช เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ยต.อไร. จําแนกตามชนิดของพืช ไร. ปRเพาะปลูก 2558/2559 เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตเฉลี่ยต-อ รายการ (ไร-) (ไร-) (ตัน) ไร- (กก.) กก 270 263 366.10 1,392.00 มันแกว 3,169 3,002 9,622.61 3,205.40 ยูคาลิปตัส 10,588 5,366 111,290.84 20,737.00 ยางพารา 13,488 4,087 617.14 151.00 ออยโรงงาน 147,486 133,807 1,505,328.75 11,250.00 ยสูบเตอร2กิส 1,536 1,536 431.62 281.00 มันสําปะหลัง 115,200 111,435 375,535.95 3,370.00 โรงงาน นาปรัง 12,495 12,320 7,367.36 598 ที่มา : สํานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ๒๗
เนื่องจาก จังหวัดมหาสารคามมีแหล.งน้ําตนทุนสายหลัก คือ แม.น้ําชี แต.การบริหารจัดการใชแม.น้ําชี ยังไม.มีประสิทธิภาพมากพอ ประกอบกับสภาพดินมีความสามารถในการอุมน้ําต่ํา ขาดความอุดมสมบูรณ2 และระบบชลประทานไม.ทั่วถึง นั่นคือ พื้นที่ศักยภาพปลูกขาว 2,114,524 ไร. คิดเป นรอยละ 75.01 ของเนื้อ ที่ ถือครองทางการเกษตร และคิดเป นรอยละ 63.94 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น แยกเป น 1. พื้นที่เหมาะสมมากถึงปานกลาง 1,443,089 ไร. คิดเป นรอยละ 51.20 ของเนื้อที่ถือครอง การเกษตร และคิดเป นรอยละ 43.63 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น 2. พื้นที่ความเหมาะสมนอยถึงไม.เหมาะสม 671,435 ไร. คิดเป นรอยละ 23.81 ของเนื้อที่ถือ ครองการเกษตร และคิดเป นรอยละ 20.30 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น 3. อําเภอที่มีความเหมาะสมในการปลูกมากที่สุด (เหมาะสมมากถึงปานกลาง) คือ อําเภอโกสุม พิสัย 261,682 ไร. รองลงมาคือ อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย 225,257 ไร. และอําเภอวาปRปทุม 210,234 ไร. และในจังหวัดมหาสารคามมีพื้นที่ เกษตรกรรม จํานวน 2,257,721 ในจํานวนนี้ มีพื้นที่ ที่ไดรับการพัฒนา คุณภาพดิน ตั้งแต.ปR 2556 – 2558 จํานวนทั้งสิ้น 369,935 ไร. (คิดเป นรอยละ 16.4) ตารางที่ 4 แสดงการตรวจสอบพื้นที่ศักยภาพปลูกขาว รอยละของเนื้อที่ ถือ รอยละของพื้นที่ ความเหมาะสม พื้นที่ (ไร-) ครองการเกษตร จังหวัด มาก (S1) 271,601 9.64 8.21 ปานกลาง (S2) 1,171,488 41.56 35.42 นอย (S3) 379,624 13.46 11.48 ไม.เหมาะสม (N) 291,811 10.35 8.82 รวมพื้นที่ 2,114,524 75.01 63.94 ที่มา : สํานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ตาราง 5 แสดงจํานวนพื้นที่เกษตรกรรม ที่มีระบบชลประทาน และ ไม.มีระบบชลประทาน 2556 2557 2558 พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ อําเภอ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ มีระบบ ไม-มีระบบ มีระบบ ไม-มีระบบ มีระบบ ไม-มีระบบ ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน เมืองมหาสารคาม 53,224 139,499 111,148 138,008 111,148 138,008 แกดํา 1,700 75,422 1,700 76,743 1,700 76,743 โกสุมพิสัย 1,929 166,872 49,351 130,986 51,351 128,986 กันทรวิชัย 130,622 116,995 144,618 199,650 149,878 197,650 เชียงยืน 600 129,619 36,856 110,349 36,856 110,349 บรบือ 68,926 203,415 11,260 293,677 11,260 293,677 นาเชือก 18,510 119,920 18,510 187,858 18,510 187,858 พยัคฆภูมิพิสัย - 292,783 - 268,450 - 268,450 วาปRปทุม 14,620 285,472 12,917 270,539 12,917 270,539 นาดูน - 116,086 - 109,068 - 109,068 ๒๘
2556 2557 2558 พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ อําเภอ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ เกษตรกรรมที่ มีระบบ ไม-มีระบบ มีระบบ ไม-มีระบบ มีระบบ ไม-มีระบบ ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน ชลประทาน ยางสีสุราช - 95,433 - 93,756 - 93,756 กุดรัง - 92,580 - 140,525 - 140,525 ชื่นชม - 34,430 7,395 46,986 8,395 45,986 รวมทั้งสิ้น 290,131 1,868,526 393,755 2,066,595 402,015 2,061,595 จากขอมูลตาราง 5 พบว.า พื้นที่เกษตรกรรมที่มีระบบชลประทาน มีสัดส.วนเพียงรอยละ 15.5 เท.านั้น เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรกรรมที่ไม.มีระบบชลประทาน ในปR 2556 (ในปR 2557 มีสัดส.วนรอยละ 19.1) และ (ในปR 2558 มีสัดส.วนรอยละ 19.5) แต.อย.างไรก็ตาม จํานวนพื้นที่เกษตรกรรมที่มีระบบ ชลประทานมีเพิ่มมากขึ้น นั่นคือในปR 2556 มีจํานวน 290,131 ไร. เพิ่มขึ้น ในปR 2557 จํานวน 393,755 ไร. และเพิ่มขึ้นในปR 2558 จํานวน 402,015 ไร. สําหรับในดานการปศุสัตว2 เป นเกษตรกรรมที่สําคัญที่จังหวัดไดขับเคลื่อนใหเกษตรกรหันมาเลี้ยงสัตว2 เป นอาชีพหลักเพิ่มมากขึ้น เพื่อทดแทนการปลูกขาวเพื่อสนองตอบนโยบายของรัฐบาลในการลดการใชน้ําเพื่อ การเกษตร โดยจังหวัดมีสัตว2เศรษฐกิจที่สําคัญ ตาราง 6 แสดงจํานวนการตรวจสอบและยืนยันการปรับปรุงฐานขอมูลเกษตรกรผูเลี้ยงสัตว2 ปR 2558 โคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร อําเภอ จํานวน เกษตรกร จํานวน เกษตรกร จํานวน เกษตรกร จํานวน เกษตรกร เมือง 11,074 2,595 260 11 4,019 904 2,997 274 แกดํา 6,436 1,695 36 2 2,694 809 2,125 194 โกสุมพิสัย 6,938 1,772 287 23 2,414 762 6,787 286 กันทรวิชัย 6,745 2,305 1,257 30 1,318 319 8,613 252 เชียงยืน 4,064 1,366 0 0 1,538 564 1,861 257 บรบือ 19,510 5,468 1,876 83 4,230 1,466 3,296 554 นาเชือก 4,867 1,370 9 7 967 373 5,421 670 พยัคฆภูมิพิสัย 12,015 2,852 0 0 5,361 1,280 2,555 287 วาปRปทุม 14,500 4,730 175 3 3,858 1,354 3,422 384 นาดูน 15,732 3,315 0 0 2,028 563 1,892 342 ยางสีสุราช 7,073 1,698 0 0 1,356 305 12,417 151 กุดรัง 6,436 1,425 0 0 2,201 714 1,608 222 ชื่นชม 1,050 919 0 0 454 133 1,381 58 รวม 116,440 31,510 3,900 159 32,438 9,546 54,375 3,931 (ที่มา : สํานักงานปศุสัตว2จังหวัดมหาสารคาม) ๒๙
5.3 ดานการอุตสาหกรรม สถิติขอมูลสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ (สะสม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จํานวน 442 แห.ง เพิ่มขึ้นจากเดิม 9 แห.ง มีจํานวนเงินทุนรวมทั้งสิ้น 11,255,856,285 บาท สําหรับประเภทสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่มีมากที่สุดคือ อุตสาหกรรมอโลหะ มี 81 แห.ง รองลงมา คือ อุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑ2จากไม มี 53 แห.ง สถานประกอบการอุตสาหกรรม ที่มีเงินทุนจดทะเบียนมาก ที่สุดคือ อาหาร มีเงินทุน 3,352.96 ลานบาท รองลงมาคือ การเกษตร มีเงินทุน 2,362.57 ลานบาท 5.4 การพาณิชย4 ดัชนีราคาผูบริโภคของจังหวัดมหาสารคามเดือนพฤษภาคม 2559 เท.ากับ 111.1 เมื่อเทียบ กับดัชนีราคาเดือนเมษายน 2559 เท.ากับ 108.3 สูงขึ้นรอยละ 2.6 ดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม เพิ่มขึ้นรอยละ 5.1 สาเหตุมาจากไข.และผลิตภัณฑ2นม เพิ่มขึ้นรอยละ 5.9 เนื้อสัตว2 เป ด ไก. และสัตว2น้ํา เพิ่มขึ้นรอยละ 1.4 ผักและผลไม เพิ่มขึ้นรอยละ 5.9 เครื่องประกอบอาหาร รอยละ 0.2 สําหรับดัชนีราคา หมวดอื่น ๆ ที่ไม.ใช.อาหารและเครื่องดื่ม สูงขึ้นรอยละ 0.2 สาเหตุมาจากหมวดพาหนะ การขนส.ง และการ สื่อสาร สูงขึ้นรอยละ 1.4 ดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐาน ลดลงรอยละ 0.1 ตาราง 7 ดัชนีราคาผูบริโภคจังหวัดมหาสารคาม จําแนกตามประเภทของดัชนีและหมวดสินคา หมวด มีนาคม 2559 เมษายน 2559 พฤษภาคม 2559 ดัชนีราคาผูบริโภค 107.9 108.3 111.1 หมวดอาหารและเครื่องดื่ม 114.0 114.0 120.5 หมวดอื่นๆที่ไม.ใช.อาหารและเครื่องดื่ม 102.4 102.5 102.7 ดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐาน 105.3 105.3 105.2 ที่มา : สํานักงานพาณิชย2จังหวัดมหาสารคาม ทั้งนี้ การสํารวจจํานวนธนาคารพาณิชย2และสถาบันการเงิน ปรากฏขอมูลดังนี้ 1) ธนาคารพาณิชย2 จํานวน 30 สาขา ประดวย ธนาคารกรุงไทย (10 สาขา), ธนาคาร กรุงเทพ (6 สาขา) ,ธนาคารไทยพาณิชย2 (5 สาขา) ,ธนาคารทหารไทย (2 สาขา) ,ธนาคารกสิกรไทย (2 สาขา) ,ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (1 สาขา), ธนาคารนครหลวงไทย (1 สาขา) ,ธนาคารธนชาต (1 สาขา) , ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย (2 สาขา) 2) สถาบันการเงินจํานวน 18 สาขา จําแนกไดดังนี้ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ2 การเกษตร (9 สาขา) ,ธนาคารออมสิน (7 สาขา) , ธนาคารอาคารสงเคราะห2 (1 สาขา) , ธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย.อมแห.งประเทศไทย (1 สาขา) (ที่มา : ธนาคารแห.งประเทศไทย สํานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) 5.5 ประเภทนิติบุคคล จากการสํารวจของสํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดมหาสารคาม พบว.า จังหวัดมีประเภท นิติบุคคล ดังนี้ 1) สมาคมการคา จํานวน 36 ราย 2) หอการคา จํานวน 1 ราย 3) หางหุนส.วนสามัญนิติ บุคคล จํานวน 6 ราย 4) หางหุนส.วนจํากัด จํานวน 1,010 ราย และ 5) บริษัทจํากัด จํานวน 414 ราย 5.6 แรงงาน ผลสํารวจของ (สํานักงานแรงงานจังหวัดมหาสารคาม ไตรมาสที่ 1/59) สถานการณ2แรงงานใน ปeจจุบัน พบว.า จังหวัดมีประชากรผูอยู.ในวัยทํางาน อายุ 15 ปRขึ้นไป จํานวน 676,736 คน กลุ.มผูอยู.ในกําลัง ๓๐
แรงงาน (ผูมีอายุ 15 ปRขึ้นไป) จํานวน 437,022 คน โดยจําแนกเป น ผูมีงานทํา จํานวน 429,939 คน คิดเป นรอยละ 98.38 ของผูอยู.ในกําลังแรงงานทั้งหมด ขณะที่เป นผูว.างงาน จํานวน 6,781 คน คิดเป นรอย ละ 1.55 ของผูอยู.ในกําลังแรงงานทั้งหมด สําหรับผูมีงานทําจํานวน 429,937 คน พบว.า ทํางานในภาคเกษตรกรรม จํานวน 156,798 คน คิดเป นรอยละ 36.47 ของผูมีงานทําทั้งหมด ส.วนผูทํางานนอกภาคเกษตรกรรมมี จํานวน 273,139 คนคิดเป นรอยละ 63.53 ของผูมีงานทําทั้งหมด โดยกลุ.มผูที่ทํางานนอกภาคเกษตรกรรม จะทํางานในสาขา การขายส.ง การขายปลีก การซ.อมแซมยานยนต2 รถจักรยานยนต2 ของใชส.วนบุคคล ฯลฯ มากที่สุด จํานวน 77,506 คน รอยละ 28.38 ของผูที่ทํางานนอกภาคการเกษตรทั้งหมด อาชีพที่มีผูทํางานมากที่สุดคือ ผูปฏิบัติงานที่มีฝRมือในดานการเกษตรและการประมง จํานวน 141,186 คน รอยละ 32.84 ระดับการศึกษา ของผูมีงานทํา พบว.า ผูมีงานทําส.วนใหญ.มีการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 126,889 คน รอยละ 29.51 สถานภาพการทํางานของผูมีงานทําส.วนใหญ.ทํางานส.วนตัวมากที่สุด 194,043 คน รอยละ 45.13 โดยพบว.า อัตราการว.างงานซึ่งคํานวณจากผูว.างงาน ต.อผูอยู.ในกําลังแรงงานมีอัตรารอยละ 1.55 (6,781 คน) โดยเพศหญิงจะมีอัตราการว.างมากกว.าเพศชาย กล.าวคือเพศหญิง รอยละ 0.96 (4,178 คน) ของผู อยู.ในกําลังแรงงานทั้งหมด ขณะที่เพศหญิง รอยละ 0.60 (2,603 คน) 6. ดานสังคม และคุณภาพชีวิต ในดานสังคมและคุณภาพชีวิต มีประเด็นที่เกี่ยวของ ดังนี้ 6.1 ดานการศึกษา จังหวัดมีสถาบันการศึกษาจําแนกตามระบบการศึกษาและสังกัด ดังนี้ 6.1.1 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 633 แห.ง ประกอบดวย (สพป.มค. เขต 1 จํานวน 217 แห.ง , สพป.มค. เขต 2 จํานวน 235 แห.ง , สพป.มค. เขต 3 จํานวน 147 แห.ง และ สพม.เขต 26 จํานวน 34 แห.ง) 6.1.2 ศูนย2การศึกษาพิเศษประจําจังหวัดมหาสารคาม 1 แห.ง 6.1.3 สํานักงานการส.งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1 แห.ง ระดับอําเภอ 12 แห.ง 6.1.4 โรงเรียนในสังกัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองจํานวน 7 แห.ง 6.1.5 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประกอบดวย 1) มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 18 คณะ และ 2) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 7 คณะ 6.1.6 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จํานวน 6 แห.งประกอบดวย 1) วิทยาลัยเทคนิค มหาสารคาม (2) วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม 3) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดมหาสารคาม 4) วิทยาลัยสารพัดช.างมหาสารคาม 5) วิทยาลัยการอาชีพวาปRปทุม 6) วิทยาลัยการอาชีพพยัคฆภูมิพิสัย 6.1.7 สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตมหาสารคาม จํานวน 1 แห.ง 6.1.8 สถาบันศึกษาสังกัดกรมการศาสนา ประกอบดวย 1) โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก สามัญ จํานวน 11 แห.ง 2) โรงเรียนศาสนาแผนกธรรม จํานวน 13 แห.ง 3) โรงเรียนศาสนาแผนก บาลี จํานวน 11 แห.ง 4) ศูนย2พัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 143 แห.ง 6.1.9 สถานศึกษาอื่น ๆ ประกอบดวย 1) สํานักบริหารการศึกษาส.วนทองถิ่น 7 แห.ง 2) ศูนย2พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดกรมพัฒนาชุมชน จํานวน 110 แห.ง 3) วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม 4) สังกัดองค2การบริหารส.วนตําบล 11 แห.ง สังกัดองค2การบริหารส.วนจังหวัดจํานวน 20 แห.ง ๓๑
6.2 สถานบริการสาธารณสุข จังหวัดมีสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ 2 ประเภท ไดแก. 6.2.1 สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ ไดแก. 1) โรงพยาบาลมหาสารคาม มีขนาด 580 เตียง 2) โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร2 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3) โรงพยาบาลชุมชน (รพ.โกสุมพิสัย) ขนาด 120 เตียง 4) โรงพยาบาล.พยัคฆภูมิพิสัยและโรงพยาบาลวาปRปทุม มีจํานวน 90 เตียง 5) โรงพยาบาลบรบือและโรงพยาบาลเชียงยืน มีจํานวน 60 เตียง 6) โรงพยาบาลที่มีจํานวนเตียง จํานวน 30 เตียง มีจํานวน 5 แห.ง ไดแก. รพ.กันทรวิชัย , รพ.ยางสีสุราช , รพ.นาดูน , รพ.แกดํา และรพ.นาเชือก นอกจากนี้ยังมีสถานบริการสาธารณสุขอื่น ๆ ไดแก. 1) โรงพยาบาลส.งเสริมสุขภาพตําบล 175 แห.ง 2) ศูนย2สุขภาพชุมชนเมือง 4 แห.ง 3) โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 1 แห.ง 6.2.2 สถานบริการสาธารณสุขของเอกชน ผลการสํารวจของกลุ.มงานคุมครองผูบริโภค และเภสัชสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม ( วันที่ 21 พฤษภาคม 2559) พบว.า จังหวัดมีสถานบริการสาธารณสุขเอกชน ดังนี้ 1) โรงพยาบาลอินเตอร2มหาสารคาม ขนาด 55 เตียง 2) คลินิกเวชกรรม 99 แห.ง 3) คลินิกทันตกรรม19 แห.ง 3) สถานพยาบาลและการผดุงครรภ2 74 แห.ง 4) เทคนิคการแพทย2 4 แห.ง 5) คลินิกแพทย2แผนไทย 4 แห.ง ,คลินิกกายภาพ 1 แห.ง , สหคลินิก 3 แห.ง 6) ประเภทรานขายยา ประกอบดวย รานขายยาแผนปeจจุบัน 126 แห.ง ,รานขายยาแผนปeจจุบันเฉพาะ บรรจุเสร็จ 32 แห.ง ,รานขายยาแผนปeจจุบันบรรจุเสร็จสําหรับสัตว2 20 แห.ง ,รานขายยาแผนโบราณ 20 แห.ง , รานจําหน.ายวัตถุออกฤทธิ์ประเภท 3 หรือ 4 จํานวน 9 แห.ง , สถานที่ผลิตยาแผนโบราณ 8 แห.ง 7. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัดมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่สําคัญดังนี้ 7.1 ทรัพยากรปGาไม ส.วนใหญ.เป นปpาเต็งรังอยู.ทางทิศใตของพื้นที่จังหวัด ณ บริเวณอําเภอกุดรัง อําเภอบรบือ อําเภอนาเชือก อําเภอนาดูนและอําเภอวาปRปทุม และจังหวัดยังมีปpาสงวนแห.งชาติซึ่งไดมอบให สปก. ปฏิรูปที่ดินแลว อีกจํานวน 10 แห.ง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ปpาสงวนแห.งชาติ ไดแก. วนอุทยาน 2 แห.ง คือ วนอุทยานโกสัมพี ตั้งอยู.อําเภอโกสุมพิสัย เนื้อที่ 177.243 ไร. และวนอุทยาน ชีหลง ตั้งอยู.อําเภอ กันทรวิชัย เนื้อที่ 279.159 ไร. สําหรับสวนรุกชาติในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามพบว.า มีจํานวน 2 แห.ง ไดแก. สวนรุกชาติพุทธมณฑล อําเภอนาดูน และสวนรุกชาติท.าสองคอน อําเภอเมืองมหาสารคาม และยังมี เขตหามล.าสัตว2ปpา 1 แห.ง โดยจังหวัดมีพื้นที่ซึ่งไดประกาศเป นเขตคุมครองสิ่งแวดลอม ไดแก. เขตหามล.า สัตว2ปpาดูนลําพัน อําเภอนาเชือก เนื้อที่ประมาณ 376.025 ไร. 7.2 แหล-งน้ําและพื้นที่ชลประทาน เนื่องจากจังหวัดมีพื้นที่ทําการเกษตรประมาณ 2.6 ลานไร. คิดเป นรอยละ 78.79 ของพื้นที่ จังหวัด (3.3 ลานไร.) ปeญหาคือ จังหวัดยังขาดระบบชลประทานเพื่อส.งเสริมการเพาะปลูกเป นอย.างมาก เห็นไดจากจังหวัดมีพื้นที่การเพาะปลูกพืชในระบบชลประทานเพียงรอยละ 20 แต.มีพื้นที่เพาะปลูกพืชนอก เขตระบบชลประทานมากถึงรอยละ 80 ดังนั้นจังหวัดจึงไดอาศัยแหล.งน้ําละพื้นที่ชลประทาน เป นหลักใน การประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการบริโภค ดังนี้ 7.2.1 แหล.งน้ําชลประทานจังหวัดมหาสารคาม ประกอบดวย อ.างเก็บน้ําขนาดกลาง 18 แห.ง รวมพื้นที่ชลประทาน 52,920 ไร. ๓๒
ตาราง 8 แสดงขอมูลอ.างเก็บน้ําขนาดกลางของจังหวัดมหาสารคาม พื้นที่รับน้ําฝน ความจุ พื้นที่ชลประทาน อ-างเก็บน้ํา อําเภอ ระดับเก็บกัก ลุ-มน้ํา (ตร.กม.) (ลาน ลบ.ม.) (ไร-) หวยคะคาง เมือง 72.50 162.850 4.126 4,186 ชี แก.งเลิงจาน เมือง 208.00 143.830 8.024 3,000 ชี หนองกระทุ.ม เมือง 38.00 140.150 2.636 2,409 ชี หนองแวงนอย เมือง 24.40 152.000 0.385 อุปโภค-บริโภค ชี หวยขอนสัก โกสุมพิสัย 78.10 175.000 8.659 7,366 ชี หนองแกดํา แกดํา 43.50 161.780 1.625 1,500 ชี หนองบัว กันทรวิชัย 26.00 144.840 3.580 1,929 ชี หนองเทวราช เชียงยืน 8.95 198.000 1.606 600 ชี หวยประดู. บรบือ 16.75 162.320 2.804 2,720 ชี ร.องหัวชาง บรบือ 25.00 167.770 1.290 1,460 ชี หวยเชียงคํา บรบือ 21.80 178.700 5.066 3,200 มูล หนองบ.อ บรบือ 20.50 171.000 3.584 2,000 มูล เอกสัตย2สุนทร บรบือ 8.00 179.530 0.870 1,500 มูล หนองคูขาด บรบือ 2.24 201.000 0.368 380 มูล หวยคอ นาเชือก 208.00 166.000 31.418 18,510 มูล หวยจอกขวาง วาปRปทุม 141.000 140.000 3.036 1,013 มูล หนองไฮ วาปRปทุม 7.80 144.160 2.244 1,147 มูล ฮองซองแมว วาปRปทุม 3.00 152.000 0.564 อุปโภค-บริโภค มูล รวม 81.885 52,920 ตาราง 9 แสดงขอมูลพื้นที่ชลประทานของโครงการคาบเกี่ยวในเขตจังหวัดมหาสารคาม โครงการ อําเภอ พื้นที่ชลประทาน(ไร-) ลุ-มน้ํา โครงการหนองหวาย เชียงยืน,โกสุม 123,256 ชี พิสัย โครงการฝายวังยาง เมือง 2,980 ชี โครงการอ.างฯหวยแอ.ง เมือง 3,694 ชี โครงการอ.างฯหวยแลง วาปRปทุม 1,880 มูล รวม 131,810 7.3 ทรัพยากรดิน พื้นที่จังหวัดจําแนกกลุ.มดินเป น 3 กลุ.มใหญ. 1) กลุ.มดินไร. โดยแบ.งเป น 2 กลุ.มย.อย กลุ-มแรก เป นกลุ.มดินไร.ทั่วไปซึ่งมีเล็กนอย ส.วนใหญ.อยู.ในพื้นที่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด ประกอบดวย บางส.วนของอําเภอวาปRปทุมและอําเภอแกดํา ๓๓
กลุ-มที่สอง เป นกลุ.มดินไร.ทราย ส.วนใหญ.จะอยู.ในบริเวณทิศตะวันตกของจังหวัด บริเวณอําเภอโกสุมพิสัย อําเภอบรบือ และอําเภอนาเชือก 2) กลุ.มดินนา ครอบคลุมพื้นที่ทางทิศเหนือและทิศใตของจังหวัด แยกออกเป นกลุ.มย.อย กลุ-มแรก เรียกว.า กลุ.มดินนาทั่วไป ครอบคลุมพื้นที่อําเภอเชียงยืน อําเภอวาปRปทุม อําเภอนาดูน อําเภอ พยัคฆภูมิพิสัย และบางส.วนของอําเภอเมือง กลุ-มสอง เป นกลุ.มดินนาดี อยู.บริเวณลุ.มแม.น้ําชีทางทิศเหนือ ของจังหวัด ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของอําเภอโกสุมพิสัยและอําเภอกันทรวิชัย และบางส.วนจะอยู.ทางตอนใตของ จังหวัด และ 3) กลุ.มดินคละ ส.วนใหญ.อยู.ในบริเวณตอนกลางของจังหวัด สามารถแบ.งย.อยไดเป น กลุ.มดินไร. ทั่วไป คละกับดินนาทั่วไป ครอบคลุมพื้นที่ของอําเภอเมือง อําเภอบรบือ อําเภอนาเชือก อําเภอนาดูน และ อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย และกลุ.มดินไร.ทรายคละกับดินไร.ทั่วไป อยู.ในพื้นที่อําเภอเมือง อําเภอแกดํา และอําเภอ วาปRปทุม และยังพบว.า ในพื้นที่จังหวัดยังมีปeญหาเรื่องดินเค็ม ดินทรายจัด และดินปนกรวด กระจายทั่วไป ทั้งพื้นที่จังหวัดประมาณ 2,442,724 ไร. 8. การท-องเที่ยว ในปR 2556 จังหวัดมีรายไดจากการท.องเที่ยวจํานวน 630.24 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากเดิมในปR พ.ศ. 2555 จํานวน 550.86 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปR 2554 จํานวน 435.86 ลานบาท และเพิ่มขึ้นจากปR 2553 จํานวน 288.11 ลานบาท แสดงใหเห็นว.า รายไดจากการท.องเที่ยวมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้น และเป นไปในทิศทางเดียวกันกับ ที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเช.นกัน มีจํานวนนักท.องเที่ยวในปR 2554 จํานวน 377,476 คน เพิ่มขึ้นในปR 2555 จํานวน 427,047 คน และเพิ่มขึ้นในปR 2556 จํานวน 479,083 คน จากการสํารวจความตองการของประชาชนในพื้นที่ พบว.า ตองการใหพัฒนาแหล.งท.องเที่ยวใน จังหวัดใหเป นรูปธรรม เช.น หมู.บานโฮมสเตย2ในแหล.งท.องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาการท.องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร2และวัฒนธรรม เพื่อใหจังหวัดมหาสารคามเป นศูนย2กลางการท.องเที่ยวและแหล.งเรียนรูทาง ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร2ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อพิจารณารายไดจากการท.องเที่ยวในจังหวัดมหาสารคามในระหว.างปR 2554 – 2556 และจํานวนนักท.องเที่ยวเพิ่มขึ้นทุกปRเช.นกัน พบว.า รายไดจากการท.องเที่ยวมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกปR ตาราง 10 แสดงจํานวนรายไดจากการท-องเที่ยวและจํานวนนักท-องเที่ยว ระหว-างป> 2554 – 2556 ป> พ.ศ. รายไดจากการท-องเที่ยว(ลานบาท) จํานวนนักท-องเที่ยว 2553 288.11 - 2554 435.86 377,476 2555 550.86 427,047 2556 630.24 479,083 ที่มา : การท.องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมหาสารคาม ผลจากแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม 4 ปR (พ.ศ. 2558 – 2561) นั้น จังหวัดไดเนนไปที่การ ท.องเที่ยวเชิงสรางสรรค2และวัฒนธรรมในจังหวัดมหาสารคาม เพื่อก.อใหเกิดรายไดจากการท.องเที่ยวใน จังหวัด เช.น หมู.บานโฮมสเตย2ในแหล.งท.องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาการท.องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร2 และวัฒนธรรม ๓๔
ปeจจุบันจํานวนแหล.งท.องเที่ยวเชิงอนุรักษ2และวัฒนธรรมทั้งหมด ที่เปrดใหบริหารนักท.องเที่ยว/ผูมา เยี่ยมเยียน ปR 2554 – 2557 นั่นคือ ในปR 2554 จํานวนแหล.งท.องเที่ยว 17 แห.ง เพิ่มขึ้นในปR 2555 จํานวน 20 แห.ง เพิ่มขึ้นในปR 2556 จํานวน 22 แห.ง และในปR 2557 จํานวน 22 แห.ง ตาราง 11 แสดงจํานวนแหล.งท.องเที่ยวเชิงอนุรักษ2และวัฒนธรรมทั้งหมด ที่เปrดใหบริการนักท.องเที่ยว/ ผูเยี่ยมเยียน ปR 2554 – 2557 ป> พ.ศ. รายการสถิติทางการ 2554 2555 2556 2557 จํานวนแหล.งท.องเที่ยวเชิง อนุรักษ2และวัฒนธรรมทั้งหมดที่ 17 20 22 22 เปrดใหบริการนักท.องเที่ยว/ผู เยี่ยมเยียน ที่มา : การท.องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมหาสารคาม จากการจัดเก็บสถิติการท.องเที่ยวภายในจังหวัดของสํานักงานการท.องเที่ยวแห.งประเทศไทย พบว.า สถานการณ2ท.องเที่ยวของจังหวัดมหาสารคาม ในปR 2558 จังหวัดมีรายไดจากการท.องเที่ยวจํานวน 673.30 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากเดิมในปR พ.ศ. 2557 จํานวน 26.65 ลานบาท มีนักท.องเที่ยว ทั้งชาวไทย จํานวน 483,836 คน และชาวต.างชาติ 8,273 คน รวมทั้งสิ้นจํานวน 492,109 คน เพิ่มขึ้นจากปR 2557 จํานวน 4,827 คน ตามตารางที่ 13 ตาราง 12 แสดงสถิตินักท.องเที่ยวจังหวัดมหาสารคาม ปR 2557 - 2558 รายไดจากนักท-องเที่ยว รายไดจากนักท-องเที่ยว ป> พ.ศ. รวม (ลานบาท) ชาวไทย (ลานบาท) ชาวต-างชาติ (ลานบาท) 2557 633.28 13.37 646.65 2558 659.68 13.62 673.30 ที่มา : การท.องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมหาสารคาม สถานที่ท-องเที่ยวแนะนําของจังหวัดมหาสารคาม - พระบรมธาตุนาดูน ตั้งอยู.ที่บานนาดูน เขตอําเภอนาดูน เป นเขตที่มีการขุดพบหลักฐาน ทางประวัติศาสตร2 โบราณคดีที่แสดงถึงความเจริญรุ.งเรืองในอดีต เพราะบริเวณนี้ไดเคยเป นที่ตั้งของนคร จําปาศรีมาก.อน โบราณวัตถุต.างๆ ที่คนพบไดนําไปแสดงไวที่พิพิธภัณฑสถานแห.งชาติจังหวัดขอนแก.นและที่ สําคัญยิ่งก็คือการขุดพบสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุบรรจุในตลับทองคํา เงิน และสําริด ซึ่งสันนิษฐานว.ามี อายุอยู.ในพุทธศตวรรษที่ 13-15 สมัยทวาราวดี รัฐบาลจึงอนุมัติใหดําเนินการก.อสรางพระธาตุนาดูนขึ้นใน เนื้อที่ 902 ไร. โดยบริเวณรอบๆ จะมีพิพิธภัณฑ2ทางศาสนาและวัฒนธรรม สวนรุกขชาติ สวนสมุนไพร ซึ่ง ตกแต.งใหเป นสถานที่สําคัญทางพุทธศาสนา ๓๕
- เขตหามล-าสัตว4ปGาดูนลําพัน ตั้งอยู.ตําบลนาเชือก อําเภอนาเชือก เป นแหล.งท.องเที่ยวที่มี ลักษณะเป นปpาธรรมชาติ มีน้ําไหลเฉพาะที่ตลอดเวลาหรือที่เรียกว.าปpาน้ําซับ นอกจากนั้นยังมีพืชและสัตว2ที่ ไม.ค.อยพบในที่อื่น ๆ และหายากเช.น ตนลําพัน, เห็ดลาบ, ปลาคอกั้ง, งูขา และ ปูทูลกระหม.อม หรือปูแป\\ง เป นปูน้ําจืดที่สวยที่สุดในโลก ตัวขนาดใหญ.กว.าปูนา ลําตัวมีหลายสี เช.นม.วง, สม, เหลือง และขาว และปpาดูน ลําพันนี้เป นสถานที่แห.งเดียวในโลกที่พบปูชนิดนี้ เป นอีกหนึ่งสีสันแห.งผืนปpาภาคอีสานที่ทุกท.านไม.ควรพลาด การเที่ยวชม - วนอุทยานโกสัมพี ตั้งอยู.ที่หมู. 1 ตําบลหัวขวาง อําเภอโกสุมพิสัย มีเนื้อที่ 125 ไร. มีลักษณะเป นสวนปpามีตนไมหลายชนิด เช.น ตนยางขนาดใหญ. ตนตะแบก และยังมีลิงแสมฝูงใหญ.จํานวน หลายพันตัว มีลิงแสมขนสีทอง ซึ่งเป นพันธุ2ที่หายาก ไม.ดุราย วนอุทยานโกสัมพีมีสิ่งที่น.าสนใจคือแก.งตาด ในช.วงเดือนพฤศจิกายนถึงพฤษภาคม น้ําจะตื้นเขินมองเห็นหินดาน - อุทยานมัจฉาโขงกุดหวาย ตั้งอยู.ที่บานโขงกุดหวาย หมู.ที 7 ตําบลเกิ้ง อําเภอเมือง เป นแหล.งท.องเที่ยวเชิงอนุรักษ2เชิงชนบทโดยไดรับการประกาศเป นแหล.งท.องเที่ยวของจังหวัดมหาสารคาม เมื่อปR 2540 เนื่องจากแหล.งท.องเที่ยวแห.งนี้มีฝูงปลาหลายรอยชนิดที่มาจากแม.น้ําชีไดทะลักเขามาอยู.ตั้งแต. ตัวเล็ก และส.วนมากจะเป นปลาเผาะซึ่งเป นปลาเนื้ออ.อน ตนตระกูลของปลานี้จะอยู.ในแม.น้ําโขง ชาวบาน ส.วนใหญ.อนุรักษ2ไวเพื่อใหนักท.องเที่ยวไดมาดูและศึกษาชนิดพันธุ2ปลาต.างๆ เหล.านี้ - หมู-บานหัตถกรรมบานหนองเขื่อนชาง ตั้งอยู.ที่หมู. 7 ตําบลท.าสองคอน อําเภอเมือง ชาวบานหนองเขื่อนชางไดดําเนินการทอผาพื้นเมือง และผลิตภัณฑ2งานประดิษฐ2จากสิ่งทอ ตั้งแต.อดีตเป นตน มา และไดดําเนินการอย.างจริงจัง เมื่อปR พ.ศ 2514 โดยไดรับคําแนะนําจากทางวิทยาลัยครูและสถาบันอื่นๆ ในเรื่องการออกแบบ เทคนิคการประดิษฐ2 เพื่อใหตรงตามความตองการของตลาด นอกจากทอผาแลวยังได นําเอาผาที่ทอแลว มาประดิษฐ2ผลิตภัณฑ2ต.าง ๆ อีกเป นจํานวนมาก - หมู-บานปKLนหมอ ตั้งอยู.ที่ตําบลเขวา อําเภอเมือง ชาวบานมีอาชีพปesนหมอดินเผา ซึ่งชาว อีสานใชใส.น้ําและเป นภาชนะในการปรุงอาหาร คนในหมู.บานส.วนใหญ.อพยพมาจากจังหวัดนครราชสีมา ยึดการปesนหมอเป นอาชีพหลัก การทํานาเป นอาชีพรอง ดินที่ใชปesนหมอไดจากหนองน้ําใกลหมู.บาน เรียกว.า “หนองเบ็น” การปesนหมอ ยังใชกรรมวิธีแบบดั้งเดิมดวยการนําดินมาขึ้นรูปปากหมอก.อน แลวใชความ ชํานาญของมือและเข.าหมุนวนเพื่อขดปากหมอใหกลมโดยไม.ใชแป\\นหมุน ใชไมแบนตีดานนอก อีกมือหนึ่งใช หินดุ (ดินเผารูปโคงมน) ดุนไวภายในหมอ ตีผิวใหไดความหนาสม่ําเสมอจนจดกนหมอ ขัดผิวใหเรียบดวยน้ํา โคลนเหลว ผึ่งลมไว 2-วัน จึงนําไปเผา - เสื่อกกบานแพง ตั้งอยู.ที่บานแพง ตําบลแพง อําเภอโกสุมพิสัย เป นหมู.บานที่มีอาชีพ การทอเสื่อกก เป นอาชีพเสริมอีกอาชีพหนึ่ง ในช.วงยามว.างจากการทํานาของชาวบานแพง ชาวบานจะมี เครื่องทอเสื่อกกกันแทบทุกบาน เสื่อกกนั้นทอไม.ยากและวัตถุดิบหาไดจากธรรมชาติเพราะตนกกจะเกิดขึ้น ในหนองน้ําอยู.ตลอดเวลา หลังจากที่มีผูมาพบการทอเสื่อกกของบานแพง แลวไดนําเอาไอเดียและผลงาน นําเสนอชาวญี่ปุpน ปรากฏว.าชาวญี่ปุpนชอบเสื่อกกของไทยมาก ขอใหทอดวยสีและลวดลายธรรมชาติ และสั่งซื้อจนกําลังการผลิตของชาวบานไม.เพียงพอ และตนกกก็มีไม.เพียงพอจนตองมีการปลูกขึ้นมา และสั่ง จากหมู.บานใกลเคียง นอกจากนั้นยังมีการพัฒนาผลิตภัณฑ2จากกกอีกมากมายหลายรูปแบบสําหรับตลาด ยุโรปและคนไทย - สะดืออีสาน (บึงกุย) ตั้งอยู.ที่หมู.ที่ 13 ตําบลหัวขวาง อําเภอโกสุมพิสัย บึงกุยเป นหนอง น้ําขนาดใหญ. ตั้งอยู.ในเขตพื้นที่ของ ตําบลหัวขวาง ตําบลแกงแก และตําบลเหล.า อําเภอโกสุมพิสัย จังหวัด มหาสารคาม และเป นสะดืออีสาน มีสิ่งก.อสรางที่มีสัญลักษณ2ของสะดืออีสาน มีพื้นที่ 2,750 ไร. จุน้ําได ๓๖
4.3 ลานลูกบาศก2เมตร \"บึงกุย\" หมายความว.า หนองน้ําที่มีกลิ่นเหม็นคาวปลา เนื่องจากมีปลาและสัตว2อาศัย อยู.หนาแน.มาก เกิดกลิ่นเหม็นคาว เลยทําใหน้ําเน.าเหม็น จึงเรียก \"บึงกุย\" ซึ่งบ.งบอกถึงความอุดมสมบรูณ2 ชาวบานในเขตอําเภอโกสุมพิสัยและอําเภอใกลเคียงไดอาศัยบึงกุยเป นแหล.งทํามาหากิน โดยเฉพาะการ ประมง มีการจับปลาจากบึงกุยมาขาย แลกเปลี่ยนเป นอาชีพหลักและอาชีพรอง ถือเป นแหล.งสรางรายได ใหแก.คนในชุมชนโดยรอบ - สิมวัดปGาเลไล ตั้งอยู.ที่บานหนองพอก ตําบลดงบัง อําเภอนาดูน เรื่องราวในฮูปแตม บนผนังทั้งดานในและดานนอกของสิมทึบพื้นบานอีสานบริสุทธิ์ ณ สิมวัดปpาเลไลย2 ซึ่งบอกเล.าเรื่องราว พุทธประวัติ พระมาลัย วรรณกรรมเรื่องรามเกียรติ์ และเรื่องราวพระเวสสันดรชาดก พรอมสอดแทรก ภาพวิถีชีวิตและการละเล.นพื้นบานอีสานอันน.าสนใจ - สิมโบราณวัดยางทวงวราราม ตั้งอยู.ที่บานยาง ตําบลบานยาง อําเภอบรบือ ที่นี่จัดว.า เป นวัดที่มีสิมและฮูปแตมสวยงามที่สุดแห.งหนึ่ง ลวดลายงดงามที่ยังคงปรากฏเด.นชัดนั้น นอกจากพุทธ ประวัติที่อยู.ดานบนของภาพแลว ดานล.างยังคงเป นภาพวิถีชีวิตของคนอีสาน ดานในแตกต.างดวยฮูปแตม พระองค2ใหญ.สลับแจกันดอกไมโดยรอบ ขณะที่บริเวณทางเขามีรูปปesนคนอยู.ดานหนาสิงห2ทั้งสองดาน - สะพานไมแกดํา ตั้งอยู.ที่ตําบลแกดํา อําเภอแกดํา เป นสะพานไมยาวประมาณ 1 กิโลเมตร ทอดจากชายฝewงหนองแกดําดานวัดดาวดึงษ2แกดํา ไปยังหมู.บานหัวขัว คําว.า ขัว ภาษาอีสาน แปลว.า สะพาน ชื่อหมู.บานที่ตั้งมานี้น.าจะเป นไปไดว.า สะพานและหมู.บานสรางขึ้นมาพรอมๆ คนแก.คนเฒ.าที่รูจักในหมู.บาน อายุ 80 กว.าปR ก็บอกว.าเกิดมาก็เห็นสะพานอยู.อย.างนี้แลวเหมือนกัน แต.ถาถามถึงคนผูสรางสะพานลวนลม หายตายจากไปหมดแลว จึงประมาณอายุของสะพานไดน.าจะ 100 ปR สรางขึ้นมาเพื่อใชในการไปมาหาสู.กัน ระหว.างคน 2 ฟากฝewงหนอง ตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห.งชาติ ไดจัดทําตัวชี้วัดเพื่อวิเคราะห2 ศักยภาพ จุดแข็ง จุดอ.อน ในการพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม ปรากฏตามภาพดังนี้ ๓๗
๓๘
๓๙
ผลจากการวิเคราะห2ขอมูลตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดมหาสารคามจากสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห.งชาติที่ปรากฏตามแผนภาพ จังหวัดจึงไดนํามาวิเคราะห2เพื่อจัดทําเป น แผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ. 2561-2564) เพื่อแกไขปeญหาจังหวัดและตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและ ความตองการของประชาชนต.อไป รายละเอียดปรากฏตามบัญชีโครงการนําเสนอทายเล.มแผนพัฒนาจังหวัด สรุปผลการดําเนินงานที่ผ-านมาตามประเด็นยุทธศาสตร4ของแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม จากผลสําเร็จการดําเนินงานตามแผนพัฒนาจังหวัดที่ผ.านมา จังหวัดไดดําเนินโครงการตาม แผนปฏิบัติราชการประจําปRงบประมาณ พ.ศ. 2559 โดยสรุปแผนงาน/โครงการ ที่มีผลการดําเนินงานใน แต.ละประเด็นยุทธศาสตร2 ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร4ที่ 1 : ปรับโครงสรางการผลิตดานการเกษตรใหเอื้อต-อการผลิตสินคาเกษตร และอาหารคุณภาพ จุดแข็งที่จังหวัดมีพืชและสัตว2เศรษฐกิจหลัก ไดแก. ขาว ออย โคเนื้อ ประกอบกับนโยบายของ รัฐบาลที่ส.งเสริมการเกษตรอินทรีย2 และกระแสความตองการบริโภคที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูง ทําใหเกษตรกรมีการปลูกขาวโดยใชพันธุ2ขาวหอมมะลิ 105, ขาว กข6, และ ชัยนาท 1 และมีจํานวน พื้นที่ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกขาวมากที่สุด นั่นคือ ระหว.างปR 2554 – 2558 คิดเป นรอยละ ( 91.74 , 88.75, 90.62, 88.91, และ 89.41) ตามลําดับ มีจํานวนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนขาว จากปR 2554–2556 (จํานวน 127,199 130,914 129,405 137,707 และ 141,380 คน) ในจํานวนนี้ มีเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนและไดรับเมล็ดพันธุ2ที่ดี ในปR 2554 – 2558 (จํานวน 2,800 2,000 2,000 3,000 และ 2,000 คน) ผลผลิตต.อไร.ของชนิด พันธุ2ขาวที่เหมาะสม พบว.า ขาวหอมมะลิ 105 มีผลผลิตต.อไร.ในปR 2555 – 2557 (จํานวน 401, 406 และ 431 กก./ไร.) จะเห็นไดว.า เกษตรกรส.วนใหญ.มีการปลูกขาว “หอมมะลิ” จึงเห็นควรส.งเสริม/ สนับสนุน ใหเกษตรกรปลูกขาว “หอมมะลิอินทรีย2” มากขึ้น โดยผลการสํารวจพบว.า จังหวัดมีพื้นที่เหมาะสม มากถึงปานกลาง 1,443,089 ไร. คิดเป นรอยละ 51.20 ของเนื้อที่ถือครองการเกษตร และคิดเป นรอยละ 43.63 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น มีพื้นที่ความเหมาะสมนอยถึงไม.เหมาะสม 671,435 ไร. คิดเป นรอยละ 23.81 ของเนื้อที่ถือครองการเกษตร และคิดเป นรอยละ 20.30 ของพื้นที่จังหวัดทั้งสิ้น และมีอําเภอที่มี ความเหมาะสมในการปลูกมากที่สุด (เหมาะสมมากถึงปานกลาง) คือ อําเภอโกสุมพิสัย 261,682 ไร. รองลงมาคือ อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย 225,257 ไร. และอําเภอวาปRปทุม 210,234 ไร. จากแผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม 4 ป> (พ.ศ. 2557 – 2560) พบว-า จังหวัดประสบปeญหา ดานการเกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลูกขาวเจา ที่มีปeญหาเกี่ยวกับคุณภาพของขาว เช.น ผลผลิตเฉลี่ยต.อไร.ต่ํา และผลผลิตส.วนใหญ.ยังไม.เป นไปตามมาตรฐาน GAP ถึงแมว.า จังหวัดจะมีพื้นที่การปลูกขาวมากที่สุด แต.ก็มีความตองการพัฒนาดานเกษตรกรรม และปeญหาของการขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก ดินขาดความ อุดมสมบูรณ2 ขาดเมล็ดพันธุ2ที่มีคุณภาพ รวมถึงการใชเทคโนโลยีผลิตที่ไม.ถูกตองเหมาะสม แนวทางแกปKญหา คือ ปรับเปลี่ยนแนวทางการปลูกขาวใหเกษตรกรหันมาพึ่งพาตนเอง โดยลด การใชปุyยเคมี หันมาใชวิถีเกษตรกรรมธรรมชาติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ ในการปลูกขาว เจา จําเป นตองการบูรณาการจัดการเรื่องน้ําจากแหล.งตนน้ําหลักแม.น้ําชีเขาสู.พื้นที่เกษตรกรรม ปรับปรุงและ พัฒนาระบบคลองชลประทาน พัฒนาแหล.งน้ําขนาดเล็กใหกระจายครอบคลุมในหลายพื้นที่ ส.งเสริมให เกษตรกรทําเกษตรอินทรีย2ครบวงจร โดยลดเลิกการใชสารเคมีทั้งหมด พัฒนาที่ดินและกําจัดศัตรูพืช ๔๐
นอกจากนี้แหล.งผลิตพืชเศรษฐกิจและพืชทดแทนพลังงานจัดตลาดนัดสินคาเกษตร สรางคลองส.งน้ําเพื่อ การเกษตรใหทั่วถึงทุกพื้นที่ รวมถึงการเพิ่ม/ขยาย/ปรับปรุงถนน เพื่อขนส.งผลผลิตทางการเกษตร ปeญหาการปลูกขาวเจาที่ไดผลผลิตเฉลี่ยต.อไร.ต่ําและผลผลิตส.วนใหญ.ยังไม.เป นไปตามมาตรฐาน GAP ผลการวิเคราะห2ผลผลิตขาวของจังหวัดปรากฏตามแผนภาพดังนี้ การวิเคราะห์ข้อมูล เรืองข้าวหอมมะลิ เพือการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ขั้นตอนที่ ๒ จังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่เหมาะสม สําหรับปลูกข'าว มีเพียงอําเภอกันทรวิชัย เท-านั้น และมีพื้นที่เล็กน'อยเท-านั้น ที่มี พื้นที่เหมาะสมในการปลูกข'าว แต-อย-างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาผลผลิต ข'าวเจ'าหอมมะลิเฉลี่ยต-อไร-โดยภาพรวมทั้ง จังหวัด มีจํานวน 434.1 กิโลกรัมต-อไร- ซึ่ง ถือว-าต่ํากว-าเกณฑ?ผลผลิตเฉลี่ยต-อไร-ของ ประเทศ (466 กก./ไร-) การวิเคราะห์ข้อมูล เรื องข้าวหอมมะลิ เพื อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ขั้นตอนที่ ๒ แผนภูมิ แสดงเนื้อที่เกษตรทั้งหมดและเนื้อที่ปลูกข'าวเจ'าหอมมะลิจําแนกเปFนรายอําเภอ สัดสวนเนื้อที่การปลูกขาวเจา หนวย/พันไร หอมมะลิเปรียบเทียบกับเนื้อที่ เกษตรทั้งสิ้น พบวา สวนใหญ เกือบทุกอําเภอ จะมีสัดสวน รอยละ 50 ขึ้นไปที่มีการปลูก ขาวเจาหอมมะลิ มีเพียง 2 อําเภอที่มีสัดสวนการปลูกขาว เจาหอมมะลิ ต่ํากวารอยละ 50 คือ อําเภอกุดรัง (รอยละ 44.93) และ อําเภอชื่นชม (รอยละ 39.81) 13/08/58 6 ๔๑
ผลการดําเนินโครงการที่เกี่ยวของในประเด็นยุทธศาสตร2ที่ 1 ยกตัวอย.างโครงการที่ประสบสําเร็จ ในพื้นที่ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาระบบการผลิตโคเนื้อ เพื่อสรางอาหารปลอดภัยจังหวัดมหาสารคาม ปRงบประมาณ พ.ศ. 2559 เมื่อปR 2555 เกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อมากกว.า 2 แสนตัว ถึงแมว.าในปR 2557 ปริมาณการเลี้ยง จะลดลง แต.นโยบายทั้งของรัฐบาลและจังหวัด กําหนดพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจ (Zoning) เพื่อส.งเสริมให เกษตรกรลดการปลูกขาวหันมาปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว2ทดแทน ดังนั้น จังหวัดจึงไดเล็งเห็นว.าการเลี้ยงโคเนื้อจะ เป นทางออกที่สําคัญที่ทําใหคุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น สิ่งที่ไดดําเนินงาน เพื่อใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ จึงไดวางแนวทางดําเนินงานโดย สรุป คือ 1) มีการคัดเลือกเกษตรกรผูเลี้ยงโคเนื้อจากพื้นที่ Zoning ที่มีความเหมาะสมที่สุด ในพื้นที่ 13 อําเภอ พรอมทั้งการสํารวจความตองการในกลุ.มประชาชนที่มีศักยภาพและความสนใจในการเลี้ยงโคเนื้อ เพื่อ พัฒนาเป นเกษตรกรรายใหม. 2) สนับสนุนการจัดทําแปลงหญาอาหารสัตว2และปeจจัยการผลิตในการเลี้ยงโค เนื้อ และพัฒนาฟาร2มโคเนื้อของเกษตรกรเขาสู.ระบบมาตรฐาน เพื่อเป นศูนย2เรียนรูตนแบบ 3 ฟาร2ม 3) จัดการประกวดโคเนื้อและแสดงพันธุ2สัตว2จัดเวทีสัมมนาเชิงวิชาการ เพื่อกระตุนใหเกษตรกรและประชาชนที่ มีความสนใจหันมาประกอบอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อเพิ่มมากขึ้น ผูไดรับประโยชน2 (ประชาชน/ประเทศชาติ) และไดรับประโยชน2จากการสรางมูลค.าเพิ่มโคเนื้อ ใหสูงขึ้น โดยมีการบูรณาการร.วมกับองค2กรหรือหน.วยงานที่เกี่ยวของ และยังเป นการออมทรัพย2 เป นหลักประกันของครอบครัวเกษตรกร และสามารถใชมูลสัตว2เป นปุyยเพื่อปรับปรุงบํารุงดินในระบบ การเกษตร ทําใหเกิดการพึ่งพาตนเองภายในทองถิ่น ๔๒
2. ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพและผลผลิตขาวหอมมะลิครบวงจร งบประมาณ 33,766,350 บาท 2.1 วัตถุประสงค4โครงการ เพื่อส.งเสริมการผลิตขาวคุณภาพดี, เมล็ดพันธุ2ขาวแก.เกษตรกร เพื่อสราง องค2ความรูใหแก.เกษตรกรในการผลิตขาว เพื่อตรวจสอบและรับรอง ระบบการผลิตทางการเกษตรที่ดี/เกษตร อินทรีย2 เพื่อใชเครื่องจักรกลในการผลิตและแปรรูป เป นการลดตนทุนการผลิตดานแรงงาน 2.2 เป3าหมาย พื้นที่ปลูกขาว 10,000 ไร.ไดรับการส.งเสริมการผลิตขาวคุณภาพดี พื้นที่ปลูกขาว 10,000 ไร. ไดรับการตรวจรับรองมาตรฐาน GAP/Organic โดยพื้นที่ดําเนินการ ประกอบดวย 12 อําเภอ ไดแก. อําเภอเมือง อําเภอบรบือ อําเภอวาปRปทุม อําเภอโกสุมพิสัย อําเภอกันทรวิชัย อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย อําเภอเชียงยืน อําเภอนาเชือก อําเภอนาดูน อําเภอแกดํา อําเภอยางสีสุราช อําเภอกุดรัง 2.3 กิจกรรมสําคัญ ไดแก- ส.งเสริมการผลิตขาวคุณภาพดี อบรมถ.ายทอดความรู การตรวจรับรอง ระบบมาตรฐาน GAP ขาว ครุภัณฑ2การเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ครุภัณฑ2อุปกรณ2ตรวจสอบและ วิเคราะห2คุณภาพขาว อํานวยการ (ติดตามประเมินผล) 2.4 ผลการดําเนินงาน (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ดานเชิงปริมาณ - พื้นที่ปลูกขาว จํานวน 20 กลุ.ม พื้นที่ 10,000 ไร. มีการดําเนินงาน รูปแบบแปลงใหญ. เกษตรกร 1,000 ราย ไดรับการส.งเสริมการผลิตขาวตามมาตรฐานสากล เชิงคุณภาพ - เกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น - ผลผลิตขาวมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 2.5 ภาพถ-ายผลการดําเนินโครงการ กิจกรรมที่ 1 ส.งเสริมการผลิตขาวคุณภาพดี กิจกรรมที่ 2 อบรมถ.ายทอดความรู กิจกรรมที่ 3 การตรวจรับรองระบบมาตรฐาน GAP ขาว ๔๓
3. โครงการส-งเสริมและพัฒนาอาชีพการเลี้ยงไก-งวง ซึ่งถือว.าเป นสัตว2เศรษฐกิจทางเลือกสําหรับเกษตรกร จากการศึกษาพบว.า การเลี้ยงไก.งวง จํานวน 6 ตัว ที่ประกอบดวยพ.อพันธุ2 1 ตัว และแม.พันธุ2 5 ตัว ภายใต ระบบการจัดการและใหอาหารในระบบธรรมชาติทําใหเกษตรกรมีรายไดเฉลี่ย 3,850 บาท/เดือน หรือ 46,200 บาท/ปR หรือมีตนทุนการเลี้ยงเฉลี่ย 325 บาท/ตัว ในขณะที่สามารถจําหน.ายไดในราคาเฉลี่ย 720 บาท/ตัว โดยสามารถลดตนทุนค.าอาหารไดถึงรอยละ 60 ดังนั้น ไก.งวงจึงเหมาะสมสําหรับนํามาส.งเสริม และพัฒนาใหเป นอาชีพที่สรางรายไดใหกับเกษตรกรรายย.อยในพื้นที่จังหวัด สิ่งที่ไดดําเนินงานเพื่อใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จ จึงไดวางแนวทางดําเนินงาน ดังนี้ 1. คัดเลือกกลุ.มเกษตรกรผูเลี้ยงไก.งวง พรอมทั้ง พัฒนากลุ.มเกษตรกรผูผลิตไก.งวงในระบบ ปล.อยเลี้ยงอิสระ 2. ดําเนินการกับกลุ.มผูแปรรูปผลิตภัณฑ2อาหารจากไก.งวง 3. การจัดประชุมเสวนาเพื่อเชื่อมโยงเครือข.ายผูผลิตและผูแปรรูปผลิตภัณฑ2จากไก.งวง 4. จัดงานวันไก.งวงเมืองตักสิลา ครั้งที่ 5 เพื่อถ.ายทอดองค2ความรู นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับ ธุรกิจไก.งวง ผลสําเร็จของการดําเนินงาน เกษตรกรมีรายไดจากการส.งเสริมและพัฒนาอาชีพการเลี้ยงไก.งวง จํานวน 190 ครัวเรือนๆละ 46,200 บาท/ปRคิดเป นมูลค.าการผลิต 8,778,000 บาท/ปR ผูแปรรูปมีรายได จากการส.งเสริมและพัฒนาอาชีพ จํานวน 60 ครัวเรือนๆละ 42,750 บาท/ปR คิดเป นมูลค.าการผลิต 2,565,000 บาท/ปR ๔๔
โครงการดานพัฒนาแหล-งน้ําเพื่อการเกษตร ไดแก. 1. โครงการขุดลอกลําหวยชางโตน ๔๕
๔๖
๔๗
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195