Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GR27 ขยะล้นเมือง

GR27 ขยะล้นเมือง

Published by Lib SRC, 2022-01-25 03:32:37

Description: GR27.1

Search

Read the Text Version

ISSN:1686-1612 Research ปที่ 11 ฉบับที่ 27 มิถุนายน 2557 เร�องเดนประจำฉบบั ตดิ ตามเฝา ระวงั กา วหนา พฒั นา การศกึ ษาการปนเปอน ความลม เหลวของการ ทาทีของสหประชาชาติ ยทุ ธศาสตรก ารคาปจ จุบัน แนวคดิ เชิงรุก และทิศทางการดำเนินงาน อยทู ีฉ่ ลากสง่ิ แวดลอ ม สารอันตรายในพื้นท่ี จดั การขยะมลู ฝอย ดา นการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ “ดอยยาว - ดอยผาหมน” ชุมชน ตำบลหนองแหน ของประเทศไทย ของประเทศไทย จัดการตนเองเพอ� แกไ ขปญ หาหมอกควัน อำเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

บ.ก.เเถลง EDITOR’S TALK กลบั มาพบกันอีกครัง้ ส�ำหรับ “Green Research” ฉบบั ที่ 27 ประจำ� เดือนมิถนุ ายน 2557 ซึง่ ภายในเลม่ ยงั คง เต็มเปีย่ มไปดว้ ยเน้ือหาสาระและประเดน็ ส�ำคัญดา้ นงานวิจัยสิ่งแวดล้อมในหลายๆ เรือ่ งทนี่ า่ ตดิ ตามเป็นอย่างยิง่ โดยฉบบั น้ี ประเดน็ เร่อื ง “ปัญหาขยะล้นเมอื ง” ซงึ่ เพราะปัญหาดงั กลา่ วนี้เริ่มเปน็ ทอล์คออฟเดอะทาวนอ์ ย่างมากในสังคม ซ่งึ แตเ่ ดิม นบั ว่าเป็นปญั หาเล็กๆ ท่เี ราสามารถควบคมุ ได้ เเต่ทวา่ ปัจจุบนั จากการขยายตวั ของจ�ำนวนประชากร ทำ� ใหป้ ญั หาขยะมลู ฝอย ขยายวงกว้างจนส่งผลกระทบต่อสภาพความเป็นอยแู่ ละสภาพสิ่งแวดล้อมโดยทวั่ ไป ปจั จบุ นั แตล่ ะจงั หวดั ทว่ั ประเทศ ตอ้ งประสบกบั ปญั หาขยะลน้ เมอื งไปตามๆ กนั ดว้ ยเหตนุ ท้ี ง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน และ ประชาชนในทอ้ งถ่ินจึงตอ้ งเริ่มตืน่ ตัว พรอ้ มร่วมมือกันฝ่าฟันปัญหาขยะล้นเมือง จดุ เร่ิมของปัญหาส่ิงแวดล้อมท่กี �ำลงั ลุกลาม เปน็ ปญั หาระดบั ชาติ หลายจงั หวดั เรง่ แกไ้ ขนำ� โมเดลทเ่ี หมาะสมกบั พนื้ ทม่ี าใชเ้ พอ่ื ไปสเู่ ปา้ หมายยทุ ธศาสตรเ์ มอื งสะอาดตอ่ ไป ในอนาคต และนอกจากนน้ั Green Research ฉบบั น้ี ยงั ไดร้ วบรวมบทความอ่นื ๆ ทีน่ ่าสนใจไว้ใหไ้ ด้ตดิ ตามกนั เช่นเคยตลอด ทั้งเล่ม แล้วมาพบกนั ใหม่ในฉบับหน้าค่ะ GREEN RESEARCH CONTENTS มิถนุ ายน 2557 เรอื่ งเด่นประจ�ำฉบบั ท่ปี รกึ ษา P.01_ขยะลน้ เมือง ผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมท่เี กดิ จากตวั เรา P.05_การศึกษาการปนเปอื้ นสารอนั ตรายในพ้นื ทต่ี ำ� บลหนองแหน จตพุ ร บรุ ุษพัฒน์ เสริมยศ สมมั่น อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิ เทรา สากล ฐนิ ะกลุ P.11_ความล้มเหลวของการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย บรรณาธกิ ารบรหิ าร Pติด.1ต4า_มทเา่ ฝทขีา้ อรงะสวหังประชาชาตแิ ละทศิ ทางการด�ำเนนิ งานดา้ นการ สุวรรณา เตยี รถส์ วุ รรณ เปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศของประเทศไทย กองบรรณาธกิ าร ก้าวหน้าพัฒนา โสฬส ขนั ธเ์ ครือ PPP...222581___“คยดทุวอาธยมศยคาาดิสว-ตเดชรอิง์กยบาผวรากคหต้ามป่อน่ ัจก”จาบุชรพมนัุ ชฒั แนนนจาดัวคกคนาิดรเตชนงิ เรอุกงอเพยอื่ ทู่ แฉ่ี กลไ้ ขากปญสั ่ิงหแาวหดมลอกอ้ คมวนั นติ ยา นักระนาด มิลน์ ศริ ินภา ศรที องทมิ พึง่ พาธรรมชาติ หทยั รตั น์ การีเวทย์ P.31_ความหลากหลายทางชีวภาพในเมอื ง : หนทางสคู่ วามสุขแห่งวิถีชีวติ เจนวิทย์ วงษ์ศานูน คนเมืองอยา่ งยง่ั ยนื (ตอนที่ 2) ปัญจา ใยถาวร P.31 จนิ ดารัตน์ เรืองโชตวิ ทิ ย์ อาทิตยา พามี P.1 ศนู ยว์ จิ ยั และฝึกอบรมดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม P.14 กรมส่งเสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม เทคโนธานี ตำ� บลคลองห้า อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 02-577-4182-9 โทรสาร 02-577-1138 www.degp.go.th/website/20/

เรอื่ งเด่นประจ�ำฉบับ ขยะลน้ เมอื ง ผลกระทบตอ่ สภาวะแวดลอ้ มทเ่ี กดิ จากตัวเรา ขยะมลู ฝอยนน้ั นบั วนั จะเพม่ิ มากขนึ้ ตามจำ� นวนของประชากร 4) นำ�้ เสยี ทเี่ กดิ จากกองขยะมลู ฝอยที่ ถา้ หากไมม่ กี ารกำ� จดั ขยะมลู ฝอยใหถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสมแลว้ ปญั หา กองทง้ิ ไว้ เปน็ นำ้� เสยี ทม่ี คี วามสกปรกสงู มาก ความสกปรกตา่ งๆ ทเี่ กดิ จากขยะมลู ฝอยจะตอ้ งเกดิ ขน้ึ อยา่ งแนน่ อน ซึ่งมที ้งั สารอนิ ทรีย์ สารอนนิ ทรยี ์ เชอ้ื โรค และสารพิษต่างๆ เจือปนอยู่ เมื่อน้�ำเสีย ถา้ มองกนั อยา่ งผวิ เผนิ แลว้ ขยะมลู ฝอยนนั้ ไมไ่ ดม้ ผี ลกระทบตอ่ จากกองขยะมูลฝอยไหลไปตามพ้ืนดิน มนุษย์มากนัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อมนุษย์ บริเวณใด ก็จะท�ำให้บริเวณนั้นเกิดความ ยังอยู่ในข้ันท่ีไม่รุนแรงมากนัก ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจึงไม่ชัดเจนเท่าไร สกปรกและความเส่ือมโทรมของพื้นดิน แตใ่ นความเปน็ จรงิ แลว้ ขยะมลู ฝอยจะกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาตอ่ สภาพแวดลอ้ ม และอาจเปลย่ี นสภาพ ทำ� ใหด้ นิ มคี ณุ สมบตั ิ เป็นอย่างมาก และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย เปน็ ดนิ ดา่ งหรอื ดนิ กรดได้ ในกรณที น่ี ำ้� เสยี ท้งั โดยทางตรงและทางออ้ ม ทัง้ น้เี นอื่ งจาก จากกองขยะมูลฝอยไหลลงสู่แหล่งน�้ำก็จะ ท�ำให้คุณภาพน�้ำเสียไป ทั้งน้ีไม่ว่าจะเป็น 1) ขยะมลู ฝอย เปน็ แหลง่ อาหารและแหลง่ เพาะพนั ธข์ุ องแมลง แหล่งน้�ำผิวดินหรือแหล่งน�้ำใต้ดินก็ตาม นำ� โรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยงุ ฯลฯ และเปน็ ที่ซกุ ซอ่ นของหนู ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้ใช้น้�ำและส่ิงมีชีวิต และสตั วอ์ ื่นๆ 2) ขยะมลู ฝอย ทำ� ใหเ้ กดิ กลนิ่ เหมน็ และกอ่ ใหเ้ กดิ ความรำ� คาญ ทีอ่ าศยั ในแหล่งน้ำ� นำ้� ทีส่ กปรกมากหรือมี 3) ขยะมลู ฝอยทท่ี ง้ิ เกลอ่ื นกลาด ถกู ลมพดั กระจดั กระจายไปตกอยู่ สารพิษเจือปนอยู่ ก็อาจท�ำให้สัตว์น้�ำตาย ตามพน้ื ท�ำใหพ้ ื้นที่บรเิ วณน้นั สกปรก ขาดความสวยงาม เปน็ ที่รงั เกยี จ ในเวลาอันสั้น นอกจากนน้ั ส่ิงสกปรกตา่ งๆ แก่ผูพ้ บเห็น และผูท้ อี่ าศยั บรเิ วณใกล้เคยี ง นอกจากนี้ขยะมูลฝอยทต่ี ก ที่เจือปนในน�้ำ ก็จะส่งผลต่อระบบนิเวศ อยู่หรือถูกท้ิงลงในคูคลอง หรอื ทางระบายนำ�้ จะไปสกดั กนั้ การไหลของ ของนำ้� ทำ� ใหส้ ตั วน์ ำ�้ ทม่ี คี า่ บางชนดิ สญู พนั ธไ์ุ ป น้ำ� ท�ำให้แหลง่ นำ้� สกปรกและเกิดการเน่าเสีย GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบบั ที่ 27 มิถนุ ายน 2557 1

นอกจากนี้น�้ำท่ีมีสิ่งสกปรก เจือปนย่อมไม่เหมาะแก่การอุปโภค บริโภค แม้จะน�ำไปปรับปรงุ คุณภาพ แล้วก็ตาม เช่น การท�ำระบบ นำ�้ ประปา ซงึ่ กต็ อ้ งสนิ้ เปลอื งคา่ ใชจ้ า่ ย ในกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน�้ำ มากข้นึ 5) ขยะมูลฝอยทำ�ให้เกิด มลพิษแก่อากาศ ขยะมูลฝอยท่กี อง ท้ิงไว้ในเขตชุมชน หรือท่ีกองทง้ิ ไว้ ในแหล่งกำ�จัดซ่ึงไม่มีการฝังกลบ หรอื ขณะทท่ี ำ�การเกบ็ ขนโดยพาหนะ ที่ไม่มีการปกปิดอย่างมิดชิด ขยะ มู ล ฝ อ ย เ ห ล่ า น้ั น ส่ ง ก ล่ิ น เ ห ม็ น น่ารังเกียจออกมา เศษช้ินส่วนของ ขยะมูลฝอยจะสามารถปลิวไปในอากาศ ทำ�ให้เกิดความสกปรกแก่บรรยากาศ ซึ่งมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์และทำ� ความสกปรกใหก้ บั บรเิ วณข้างเคียงได้ นอกจากนข้ี ยะมลู ฝอยทก่ี องทงิ้ ไวน้ านๆ จะไดม้ กี า๊ ซทเ่ี กดิ จากการหมกั ขนึ้ ไดแ้ ก่ กา๊ ซชวี ภาพซง่ึ ตดิ ไฟหรอื เกดิ ระเบิดขนึ้ ได้ และกา๊ ซไข่เนา่  (ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด)์ ซึง่ มีกล่ินเหม็น ปัญหาสิง่ แวดล้อมเน่ืองจากขยะ ทกุ วันนค้ี นไทยกว่า 60 ล้านคน สามารถสรา้ งขยะได้มากถงึ  14 ล้านตนั ตอ่ ป ี แต่ความสามารถในการจดั เก็บ ขยะกลบั มไี ม่ถงึ 70 % ของขยะที่เกิดขน้ึ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ปรมิ าณมลู ฝอยตกค้างตามสถานที่ตา่ งๆ หรือมีการนำ� ไปก�ำจัด โดยวธิ กี องบนพนื้ ซ่งึ ไมถ่ กู ต้องตามหลกั สุขาภิบาลกอ่ ให้เกดิ ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม ระยะเวลาทขี่ ยะแต่ละชนิดย่อยสลายตามธรรมชาติ ชนิดของขยะ ระยะเวลายอ่ ยสลาย เศษกระดาษ 2-5 เดือน เปลอื กสม้ 6 เดอื น ถ้วยกระดาษเคลือบ กน้ กรองบุหร่ี 5 ปี รองเท้าหนัง 12 ปี กระปอ๋ งอะลูมเิ นยี ม 25-40 ปี ถงุ พลาสติก 80-100 ปี โฟม 450 ปี ไม่ยอ่ ยสลาย ควรหลกี เล่ยี งการใช้ 2 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับที่ 27 มถิ ุนายน 2557

ท่านเป็นผู้หน่ึงท่ีสามารถแก้ไขปัญหาขยะ มลู ฝอยได้โดยการ… 1. กอ่ นจะทง้ิ ขยะ หยดุ คดิ สกั นดิ วา่ เราจะสามารถ ลดปริมาณขยะและน�ำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้ไหม มีแนวคิดอย ู่ 7R คือ  • REFUSE การปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงสิ่งของหรือ บรรจภุ ณั ฑท์ จี่ ะสรา้ งปญั หาขยะรวมทง้ั เปน็ มลพษิ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ กลอ่ งโฟม หรอื ขยะมพี ษิ อนื่ ๆ • REFILL การเลือกใช้สินค้าชนิดเติมซึ่งใช้ • มูลฝอยย่อยสลาย บรรจุภัณฑ์น้อยชิน้ กวา่ ขยะก็น้อยกว่าดว้ ย • RETURN การเลือกใช้สินค้าท่ีสามารถส่งคืน หมายความว่า มูลฝอยท่ีย่อยสลายได้เองตาม บรรจุภัณฑ์กลับสู่ผู้ผลิตได้ เช่น ขวดเครื่องดื่ม ธรรมชาตแิ ละ/หรอื สามารถนำ� มาหมกั ทำ� ปยุ๋ ได้ เชน่ เศษอาหาร ประเภทต่างๆ มูลสัตว์ ซากหรอื เศษของพชื ผัก ผลไม้ หรือสัตว์ เป็นต้น • REPAIR การซ่อมแซมเครื่องใช้ ให้สามารถใช้ แต่ไม่รวมถึงซากหรือเศษของพชื ผัก ผลไม้ หรอื สัตว์ท่ี ประโยชนไ์ ดต้ อ่ ไป ไม่ให้กลายเปน็ ขยะ เกิดจากการทดลองในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ • REUSE การนำ� บรรจภุ ณั ฑใ์ ชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ • มูลฝอยที่ยังใชไ้ ด้ (รไี ซเคลิ ) เชน่ ใชถ้ งุ ผ้าไปช็อปปงิ้ แทนถงุ กอ๊ บแกบ๊ หมายความว่า มูลฝอยท่ีสามารถน�ำกลับมาท�ำ • RECYCLE การแยกขยะที่ยังใช้ประโยชน์ได้ เป็นผลิตภัณฑ์ได้ใหม่ โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตทาง ใหง้ า่ ยตอ่ การจดั เกบ็ และสง่ แปรรปู เชน่ บรรจภุ ณั ฑ์ อุตสาหกรรม เช่น เศษเหล็ก แก้ว พลาสตกิ กระดาษ พลาสตกิ แกว้ กระปอ๋ งเคร่อื งด่มื ต่างๆ เปน็ ต้น • มูลฝอยอนั ตราย • REDUCE การลดการบริโภคและหาทางเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพการใชง้ านของสง่ิ ของเครอื่ งใชต้ า่ งๆ หมายความวา่ มลู ฝอยทป่ี นเปอ้ื น หรอื มสี ว่ นประกอบ 2. ทงิ้ ขยะในทท่ี จ่ี ดั ไวใ้ ห้ และควรมกี ารคดั แยกขยะ ของวตั ถดุ ังตอ่ ไปนี้ 1. วัตถรุ ะเบิดได้ • มูลฝอยทั่วไป 2. วตั ถไุ วไฟ หมายความว่า มูลฝอยที่ย่อยสลายได้ยากหรือ อาจจะย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ แตไ่ มค่ มุ้ กับตน้ ทนุ 3. วตั ถอุ อกไซดแ์ ละวตั ถุเปอรอ์ อกไซด์ ในการน�ำกลับมาท�ำเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่านกรรมวิธี 4. วตั ถมุ ีพิษ การผลิตทางอุตสาหกรรม เช่น กล่องบรรจุนมพร้อมดื่ม 5. วตั ถุที่ทำ� ใหเ้ กิดโรค โฟม ซองหรือถุงพลาสติกส�ำหรับบรรจุอาหารด้วยวิธี 6. วตั ถกุ มั มนั ตรงั สี สญุ ญากาศ ซองหรอื ถงุ พลาสตกิ สำ� หรบั บรรจเุ ครอ่ื งอปุ โภค ดว้ ยวิธรี ดี ความร้อน เป็นตน้ 7. วตั ถทุ กี่ อ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรม GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มถิ ุนายน 2557 3

8. วัตถุกัดกรอ่ น 9. วัตถุท่กี ่อให้เกดิ การระคายเคือง 10. วัตถุอย่างอื่นท่ีอาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อมหรอื อาจ ทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกบ่ คุ คล สตั ว์ พชื หรอื ทรพั ย์ เชน่ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ถ่านไฟฉายหรือ แบตเตอรโี่ ทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ ภาชนะทใ่ี ชบ้ รรจุ สารก�ำจัดแมลงหรือวัชพืช กระป๋องสเปรย์ บรรจสุ ีหรอื สารเคมี เป็นต้น ถงั สีฟา้ รองรบั ขยะทย่ี อ่ ยสลายไมไ่ ด้ รไี ซเคลิ ยาก แตไ่ มเ่ ปน็ พษิ เชน่ พลาสตกิ หอ่ ลกู อม ซองบะหมส่ี ำ� เรจ็ รปู ถงุ พลาสตกิ เปอื้ นเศษอาหาร โฟมเปื้อนอาหาร ฟอลย์ เป้ือนอาหาร ถงั สเี ขยี ว รองรับขยะท่เี นา่ เสยี และยอ่ ยสลายได้เร็ว สามารถนำ� มาหมกั ท�ำปยุ๋ ได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ถังสีเหลือง รองรับขยะท่ีสามารถน�ำมารไี ซเคลิ หรือขายได้ เชน่ แก้ว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ ถงั สเี ทา - ส้ม (เเดง) รองรบั ขยะทมี่ อี นั ตรายตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ขวดยา ถา่ นไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจสุ ารอันตรายต่างๆ เอกสารอ้างองิ : http://www.sanook.com, www.thailegs.com, www.google.com 4 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มถิ ุนายน 2557

เรือ่ งเดน่ ประจำ� ฉบับ การศึกษาการปนเปอื้ นสารอันตราย ในพน้ื ทต่ี �ำบลหนองแหน อำ� เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ดร.แฟรดาซ์ มาเหล็ม นายพีรพงษ์ สุนทรเดชะ นกั วชิ าการส่ิงแวดล้อมชำ� นาญการ ศนู ย์วิจัยเเละฝึกอบรมดา้ นสงิ่ เเวดลอ้ ม 1. ท่ีมาและความสำ� คญั ของปัญหา จากเหตุการณ์ท่ีผู้ชุมนุมซึ่งเป็นชาวบ้านจากต�ำบลหนองแหนและต�ำบลเกาะขนุน อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เดนิ ทางมาย่ืนหนังสอื ขอ้ เรยี กร้องต่อนายกรฐั มนตรี ในวนั ที่ 21 สงิ หาคม 2555 รอ้ งเรยี นการลกั ลอบนำ� นำ�้ เสยี และสารเคมจี ากโรงงานอตุ สาหกรรม มาทง้ิ ในตำ� บลหนองแหนและตำ� บลเกาะขนนุ จากเหตกุ ารณค์ รง้ั นน้ั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ เเละสง่ิ เเวดลอ้ มไดห้ ารอื รว่ มกบั รองเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอ่ืน ในวันท่ี 13 กันยายน 2555 และได้มีการมอบหมายให้ หลายหนว่ ยงานดำ� เนนิ การเเกไ้ ขปญั หาในพน้ื ที่ ซงึ่ กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มไดร้ บั มอบหมาย ใหด้ ำ� เนนิ การสำ� รวจความคดิ เหน็ ของประชาชนในพน้ื ทท่ี ไี่ ดร้ บั ผลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั งิ านฟน้ื ฟู พน้ื ทปี่ นเปอ้ื น และรว่ มกบั กรมควบคมุ มลพษิ และกรมทรพั ยากรนำ�้ บาดาลในการวเิ คราะหค์ ณุ ภาพนำ�้ และตะกอนดินในบอ่ ที่ท�ำการฟืน้ ฟู และตรวจสอบสภาพการปนเปื้อนของสารโลหะหนกั และ สารอนิ ทรยี ์ระเหยง่ายในน้�ำใต้ดนิ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้ด�ำเนินการส�ำรวจความคิดเห็นของประชาชน ในพื้นท่ีที่ได้รับผลกระทบต่อการปฏิบัติงานฟื้นฟูพ้ืนที่ปนเปื้อน โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับที่ 27 มิถุนายน 2557 5

ค่ามาตรฐานในบ่อน้�ำตื้นของชาวบ้านบางบ่อ และบ่อท่ีจะใช้ เป็นประปาหมู่บ้าน นอกจากน้ีในเดือนเมษายน 2556 กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อมยังได้ด�ำเนินการตรวจสอบ เบอื้ งตน้ หาสารอนั ตรายกลมุ่ สารประกอบอนิ ทรยี ใ์ นพน้ื ทโี่ ดยการ เกบ็ ตวั อย่างนำ้� จากบอ่ ทีใ่ ช้ทำ� เป็นประปาหม่บู า้ น บ่อชาวบา้ น สำ� หรบั อปุ โภคบรโิ ภค คลองตาดนอ้ ยและพ้นื ทเ่ี กษตรกรรม ที่อยู่ใกล้กับสถานประกอบการก�ำจัดของเสียอุตสาหกรรม จากการวเิ คราะหเ์ บอื้ งตน้ พบสารปนเปอ้ื นหลายชนดิ ประกอบดว้ ย ตวั ท�ำละลาย (solvent) สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนสายยาว สารประกอบฟีนอลและอนพุ นั ธ์ สารกลุ่มอลั ดไี ฮด์ เปน็ ตน้ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ฉะเชงิ เทราไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะทำ� งาน รวมท้ังหมด 492 คน ประกอบดว้ ย เพศชายร้อยละ 32 และ ขึ้นมาเพ่ือติดตามการแก้ไขปัญหาด้วย ทั้งนี้ข้อมูลจาก เพศหญงิ รอ้ ยละ 68 สว่ นใหญเ่ ปน็ ประชาชนทว่ั ไปทอ่ี าศยั อยู่ กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ (DSI) แสดงใหเ้ หน็ วา่ มกี ารลกั ลอบทง้ิ ในพน้ื ทตี่ ามภมู ลิ ำ� เนาเดมิ สามารถประเมนิ ผลทเี่ หน็ ชดั เจนวา่ กากของเสียอันตรายหลายจุดท้ังในต�ำบลหนองแหนและ ความคดิ เหน็ ตอ่ สภาวะแวดลอ้ มทมี่ ผี ลกระทบจากกากของเสยี ใกล้เคียง โดยพ้ืนท่ีหนองแหนมีจุดเส่ียงต่อการปนเปื้อน ในพนื้ ท่ี ประชาชนสว่ นใหญร่ อ้ ยละ 98 ทราบวา่ มกี ารปนเปอ้ื น สารเคมีอันตรายในส่ิงแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์ จากกากของเสีย โดยทราบข้อมูลจากญาติพ่ีน้องหรือ และสัตว์เลีย้ ง แบง่ เปน็ 3 ประเภท คอื 1) โรงงานรไี ซเคิล เพอื่ นบา้ นมากทส่ี ดุ (34%) ทราบดว้ ยตวั เอง (20%) ผใู้ หญบ่ า้ น น้�ำมันซ่ึงต้ังอยู่ติดกับคลองชลประทาน ตรงกันข้ามกับ หรอื กำ� นนั (17%) และขา่ วสารจากชมุ ชนหรอื หอกระจายขา่ ว จุดสูบน้�ำเพ่ือท�ำประปาหมู่บ้าน และโรงงานรับก�ำจัดกาก ชมุ ชน (14%) ปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ประชาชนคดิ วา่ สง่ ผลกระทบใน ของเสียอุตสาหกรรมซึ่งตั้งอยู่ติดริมล�ำห้วยตาดน้อยท่ีไหล เรอื่ งกล่ินและบ่อนำ�้ ตื้นมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 51 และ 31 ไปยังหมู่บ้าน 2) หลุมฝังกลบขยะทั้งขยะจาก กทม.และ ตามลำ� ดบั ซงึ่ บอ่ ทง้ิ จากกากของเสยี ดงั กลา่ ว ทำ� ใหป้ ระชาชน กากของเสยี จากโรงงาน และ 3) บอ่ ดนิ ลกู รงั ซงึ่ มกี ารลกั ลอบ ในพนื้ ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการปนเปอ้ื นในเรอ่ื งกลนิ่ มากทสี่ ดุ ท้ิงกากของเสียฯ ซึ่งจุดเสี่ยงเหล่าน้ีส่วนใหญ่ตั้งอยู่ต้นน�้ำ คิดเป็นร้อยละ 66 มีลักษณะกลิ่นเหม็นฉุน ท�ำให้มีอาการ โดยทชี่ มุ ชนอยทู่ า้ ยนำ�้ ชาวบา้ นตำ� บลหนองแหนเกอื บทกุ บา้ น เวยี นศรี ษะ แนน่ หนา้ อก หายใจตดิ ขดั แสบจมกู และผลกระทบ มบี อ่ น้ำ� ต้ืนเพื่อใช้อปุ โภค บรโิ ภค เล้ียงสตั ว์และการเกษตร รองลงมาคดิ เปน็ รอ้ ยละ 31 คอื นำ�้ สว่ นผลกระทบในเรอ่ื งดนิ คิดเป็นรอ้ ยละ 3 ซ่ึงปจั จบุ ันมีผลกระทบน้อยมาก แต่คิดว่า อนาคตอาจจะมกี ารปนเปอ้ื น ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วกรมสง่ เสรมิ คุณภาพสิ่งแวดล้อมได้ด�ำเนินการตรวจวัดคุณภาพน้�ำ และโลหะหนัก ในบ่อนำ�้ ต้นื และบ่อทีจ่ ะใช้เปน็ ประปาหมู่บา้ น ตรวจวัดคุณภาพน�้ำ จากตัวอย่างน้�ำจากบ่อน้�ำตื้นชาวบ้าน 30 บอ่ บอ่ ประปาหมบู่ า้ น 4 บอ่ และบอ่ เกบ็ นำ�้ ขนาดใหญ่ 2 บอ่ พบวา่ ลกั ษณะทางเคมแี ละโลหะหนกั ประกอบดว้ ย เหลก็ (Fe), แมงกานีส (Mn), ทองแดง (Cu), สังกะสี (Zn), สารหนู (As), ไซยาไนด์ (CN), ตะก่ัว (Pb), ปรอท (Hg), แคดเมยี ม(Cd) และซลี เี นยี ม (Se), ซลั เฟต (SO4), คลอไรด์ (Cl), ฟลอู อไรด์ (F) และไนเตรต (NO3-) ส่วนใหญ่มีปรมิ าณความ เข้มข้นน้อย ผ่านเกณฑ์ค่ามาตรฐานที่เหมาะสมและเกณฑ์ อนุโลมสูงสุด แต่พบแมงกานีส (Mn) มีปริมาณมากกว่า 6 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบับที่ 27 มิถุนายน 2557

2. การด�ำเนินงานของกรมส่งเสรมิ ขอ้ มลู การตรวจวเิ คราะหต์ วั อยา่ งนำ�้ ของกรมทรพั ยากรนำ�้ บาดาล คุณภาพสิ่งแวดล้อม พบว่า มีการปนเปื้อนสารอันตรายโดยเฉพาะสารประกอบจ�ำพวกฟีนอล กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มเหน็ วา่ ในบอ่ นำ้� ตนื้ หลายบอ่ ในลกั ษณะกระจายทวั่ พน้ื ทหี่ นองแหน จงึ ไดห้ า้ มชาวบา้ น พื้นท่ีลักลอบท้ิงกากอุตสาหกรรมอาจมีสาร นำ� มาใชบ้ รโิ ภค สว่ นบางบอ่ บรโิ ภคไดห้ ากมกี ารบำ� บดั ลดปรมิ าณเหลก็ และ อนั ตรายอน่ื นอกจากสารฟนี อลทส่ี ง่ ผลตอ่ สขุ ภาพ แมงกานสี ก่อน ทั้งน้ีขอ้ มลู การตรวจวเิ คราะห์ตวั อย่างน�ำ้ ของกรมโรงงาน ประชาชนและสัตว์เลี้ยง ในการแก้ไขปัญหา และกรมควบคมุ มลพษิ กม็ ผี ลไปในทศิ ทางทส่ี อดคลอ้ งกนั การปนเปอ้ื นสาร ในพ้ืนที่จ�ำเป็นต้องมีการศึกษาเพ่ิมเติมโดย อันตรายในแหล่งน้�ำดังกล่าวท�ำให้เกิดข้อสันนิษฐานว่าอาจส่งผลกระทบ ต้องทราบว่าเป็นสารอันตรายชนิดใดและมี ตอ่ สตั วเ์ ลย้ี งและสขุ ภาพอนามยั ของประชาชน เนอื่ งจากในปี 2555 ฟารม์ หมู ปรมิ าณความเขม้ ข้นเทา่ ใด กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพ หลายแห่งมีลูกหมูแรกคลอดตายยกครอก แม่หมูแท้ง คลอดก่อน สิ่งแวดล้อมได้ลงพ้ืนที่เก็บตัวอย่างในเดือน กำ� หนด ลกู หมพู กิ ารแรกคลอด แมห่ มเู บอื่ อาหาร นำ้� นมแหง้ ลกู หมผู อม โตชา้ กรกฎาคม 2556 ซ่ึงการเก็บตัวอย่างครั้งนี้มี จนบางฟารม์ ตอ้ งปดิ กจิ การ มผี ลกระทบตอ่ พชื ผลทางการเกษตร ชาวบา้ น วัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณ ที่ปลูกผักขายได้ลดลงเน่ืองจากผู้บริโภคไม่มั่นใจเร่ืองความปลอดภัย ของสารอันตราย โดยได้สุ่มเก็บตัวอย่างน้�ำจาก ในช่วงเวลาที่มีการลักลอบท้ิงน้�ำเสียอันตรายในบ่อดิน 15 ไร่ บ่อน�้ำตื้นของประชาชนรวมทั้งบ่อท่ีใช้ในการ มีชาวบ้านได้รับผลกระทบจากการได้รับกล่ิน มาขอรับการรักษาที่ เลี้ยงหมู (มคี วามลกึ ประมาณ 10 เมตร) จำ� นวน รพ.สต.หนองแหนและ รพ.สต.ปลายกระจับจ�ำนวนมาก ด้วยอาการที่ 15 บอ่ บ่อนำ้� ใช้ของโรงเรียนหนองแหน 2 บอ่ คล้ายกัน ไดแ้ ก่ เวยี นศรี ษะ มึนงง แสบจมูก หายใจลำ� บาก อ่อนเพลีย บ่อสังเกตการณ์ของกรมทรัพยากรน�้ำบาดาล นอกจากนีพ้ บวา่ มชี าวบา้ นบางคนตรวจพบฟนี อลในกระแสเลือดตามทีไ่ ด้ 12 บ่อ อีกทั้งได้เก็บตัวอย่างน�้ำและดินใกล้ มกี ารรายงานจากส�ำนกั งานสุขภาพเเห่งชาติ สถานประกอบการรับก�ำจัดของเสีย 2 แห่ง ในคราวประชมุ คณะรฐั มนตรนี อกสถานที่อยา่ งเปน็ ทางการ เม่ือ เพ่ือประเมินโอกาสการปนเปื้อนที่อาจมาจาก วันที่ 31 มีนาคม 2556 ณ จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มราษฎร “กลุ่มเรา สถานประกอบการดงั กลา่ ว โดยไดเ้ กบ็ ตวั อยา่ งนำ�้ รกั ษห์ นองแหน” ประมาณ 100 คนไดย้ นื่ หนงั สอื เรยี นนายกรฐั มนตรขี อให้ จากล�ำรางสาธารณะท่ีอยู่ใกล้สถานประกอบการ ช่วยเร่งรัดแก้ไขปัญหากรณีราษฎรได้รับผลกระทบจากผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมลักลอบทิ้งกากขยะและน้�ำเสียอันตรายท�ำให้กระทบต่อ วถิ ชี วี ติ ของประชาชนในพนื้ ทบ่ี รเิ วณกวา้ ง สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี ได้ให้ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ ม รว่ มกบั คณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ (สช.) และนกั วชิ าการ จากคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร พจิ ารณาดำ� เนนิ การบำ� บดั ฟน้ื ฟพู น้ื ทปี่ นเปอ้ื นสารเคมี ในพน้ื ทต่ี ำ� บลหนองแหน อำ� เภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ตามขอ้ เรยี กรอ้ งของประชาชน รายละเอยี ดปรากฏใน หนงั สอื ดว่ นท่สี ดุ ท่ี นร 0405(ลน3)/7085 ลงวนั ที่ 23 พฤษภาคม 2556 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 27 มถิ ุนายน 2557 7

ดงั กลา่ วทงั้ 2 แหง่ จำ� นวน 4 ตวั อยา่ ง และเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ ตาม การตัดสินใจเพ่อื การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาในพืน้ ท่ี ความลึกโดยใช้เครื่องขุดเจาะเก็บตัวอย่างดินอย่างต่อเน่ือง (Geoprobe) โดยด�ำเนินการขุดเจาะในพ้ืนท่ีประชาชน สารกลุ่มพาธาเลท (Phthalate) สารบิสฟีนอลเอ ที่อยู่ใกล้กับสถานประกอบการดังกล่าวทั้ง 2 แห่ง จ�ำนวน (Bis Phenol A) และสารกลุ่มฟีนอล (Phenol) เป็นกลุม่ สาร 5 จดุ มีความลกึ ประมาณ 3-4 เมตร เก็บตัวอยา่ งดินตงั้ แต่ อันตรายท่ีสง่ ผลต่อสขุ ภาพ พื้นผิวและทกุ 50 เซนตเิ มตร หรือตามการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพของดนิ เชน่ สีของเน้อื ดิน เปน็ ต้น สารกลุ่มพาธาเลท (Phthalate) เป็นสารท่ีใช้เป็น พลาสตไิ ซเซอร์ (plasticizers) เปน็ สารทใี่ สใ่ นผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ สารปนเปื้อนที่ศึกษา ประกอบด้วย 1) สารกลุ่ม เพ่อื ลดจดุ หลอมท่ีทำ� ใหเ้ กิดการไหล (flexing temperature) ฟีนอล (phenol) จ�ำนวน 10 ชนิด ดังนี้ Phenol, ของพลาสตกิ ทำ� ใหเ้ มด็ พลาสตกิ มคี วามยดื หยนุ่ และออ่ นนมุ่ ขน้ึ 2-chlorophenol, 2-methylphenol, 2-Nitrophenol, สารพาธาเลทเป็นสารที่มีผลต่อการสืบพันธุ์ ตับ รวมท้ังเป็น 2,4-dimethylphenol, 2,4-dichlorophenol, 4-chloro-3- สารทอี่ าจกอ่ มะเรง็ และจากรายงานวจิ ยั ตา่ งประเทศ ซง่ึ พบวา่ methylphenol, 2,4,6-trichlorophenol, 4-nitrophenol, สารกลุ่มพาธาเลทมีผลต่อการสร้างกระดูกของหนูที่ก�ำลัง และ Pentachlorophenol 2) สารกลมุ่ พาธาเลท (Phthalate) เจรญิ เติบโต จำ� นวนหนทู ี่มชี ีวิตหลงั คลอดลดลง จ�ำนวน 4 ชนิด ดังน้ี Di (2-ethylhexyl) phthalate (DEHP), สารบสิ ฟีนอลเอ (Bis Phenol A) ซ่ึงเป็นสารเคมี Dibutyl phthalate (DBP), Benzylbutylphthalate (BBP), ท่ีใช้ในบรรจุภัณฑ์พลาสติกของอาหาร เช่น ขวดน้�ำ ขวด Di (n-octyl) phthalate (DnOP) 3) สารบิสฟีนอลเอ นมเด็ก เป็นต้น จากการศึกษาโดย National Institute of (Bis Phenol A) ทงั้ นงี้ านดา้ นการวเิ คราะหเ์ ปน็ การศกึ ษารว่ มกนั Environmental Health Science ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหวา่ งศูนย์วิจยั และฝกึ อบรมด้านสิ่งแวดลอ้ ม กรมสง่ เสรมิ รายงานว่าสารบิสฟีนอลเอ เป็นสารท่ีอาจส่งผลกระทบต่อ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ มและ รศ.ดร.อรพนิ ท์ เจยี รถาวร ภาควิชา ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมน การพัฒนาการทางสมองของ เคมี สาขาเคมีวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งมี ทารกในครรภ์และเด็กทารก ซึ่งปัจจุบันบางประเทศ เช่น ความเช่ียวชาญด้านการวิเคราะห์สารเคมีอินทรีย์ (Organic สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ห้ามการใช้สารบิสฟีนอลเอ Chemistry) เป็นอย่างยิ่ง ข้อมูลน้ีมีความส�ำคัญอย่างย่ิงใน ในการผลติ ผลิตภัณฑส์ ำ� หรับเดก็ 8 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มิถุนายน 2557

ตัวอย่างสง่ิ แวดล้อม จุดทต่ี รวจพบสารดงั กลา่ ว ประกอบดว้ ยบอ่ นำ้� ตนื้ ชาวบา้ นในหมู่ 9 และหมู่ 12 จำ� นวน 3 บ่อ บ่อนำ้� ในโรงเรียนบา้ นหนองแหน และน้�ำจากล�ำรางสาธารณะที่อยู่ใกล้สถาน ประกอบการรบั ก�ำจดั ของเสีย สารกลมุ่ ฟีนอล (Phenol) ท่เี ป็นสารประกอบฟนี อลสงั เคราะห์ นอกจากนี้ได้ตรวจพบสารกลุ่มฟีนอล ใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น อุตสาหกรรมพลาสติก เป็นสาร ประกอบด้วย Phenol, 2-Nitrophenol, ท�ำความสะอาด ฆ่าเช้ือ ฟอกหนัง ผลิตยา เป็นต้น โดยสารประกอบ 2,4,6-trichlorophenol, และ Pentachlorophenol ฟนี อลจะสง่ ผลตอ่ รา่ งกายทำ� ใหเ้ กดิ อาการระคายเคอื งผวิ หนงั ปวดศรี ษะ จุดที่ตรวจพบสารดังกล่าวประกอบด้วยบ่อน้�ำตื้น คลื่นไส้ ความบกพรอ่ งทางระบบประสาท มผี ลต่อตับและไต ระบบหัวใจ ชาวบ้านและบ่อน้�ำตื้นส�ำหรับการเล้ียงหมู และหลอดเลอื ด ทำ� ใหห้ วั ใจลม้ เหลว มผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของตวั ออ่ น ในหมู่ 7 หมู่ 9 และหมู่ 12 จำ� นวน 7 บอ่ บอ่ นำ�้ ใน และระบบสืบพนั ธ์ุของมนุษย์ โรงเรยี นบา้ นหนองแหน และบอ่ สงั เกตการณข์ อง กรมทรัพยากรน�้ำบาดาลที่อยู่ใกล้กับบ่อลักลอบ ทงิ้ กากอตุ สาหกรรมทมี่ พี นื้ ท่ี 15 ไร่ (มกั ถกู เรยี กวา่ บ่อ 15 ไร่) ซ่ึงกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ให้ มีการบ�ำบัดแล้วแต่ประชาชนในพ้ืนที่ไม่แน่ใจ ว่าการบ�ำบัดเหมาะสมถูกต้องตามหลักวิชาการ หรือไม่ ทั้งนี้บางจุดพบสารกลุ่มฟีนอลมากกว่า 1 ชนิด และเป็นทน่ี า่ สนใจวา่ พบสารฟนี อลชนดิ Pentachlorophenol ในบ่อสังเกตการณ์ของ กรมทรัพยากรน้�ำบาดาลท่ีอยู่ใกล้กับบ่อลักลอบ ทง้ิ กากอตุ สาหกรรมทมี่ พี น้ื ที่ 15 ไร่ ในปรมิ าณทส่ี งู เกนิ กวา่ คา่ มาตรฐานนำ้� ใตด้ นิ (1 ppb) ซง่ึ ตรวจพบ ในบอ่ สังเกตการณ์ในปรมิ าณ 3.3 ppb จากการศึกษาในคร้ังน้ีพบกลุ่มสารท้ังสามชนิดในตัวอย่างน้�ำ และดินในพื้นที่ต�ำบลหนองแหนและต�ำบลเกาะขนุน โดยตรวจพบสาร กลมุ่ พาธาเลท เชน่ Di (2-ethylhexyl) phthalate โดยในตวั อย่างนำ้� พบ สงู สดุ 85 ppb (ค่าสูงสุดที่รบั ไดข้ อง USEPA 6 ppb) จุดท่ีตรวจพบสาร ดงั กลา่ วประกอบดว้ ยบอ่ นำ้� ตน้ื ชาวบา้ นหมทู่ ี่ 7 ทอี่ ยใู่ กลส้ ถานประกอบการ รับก�ำจัดของเสีย บ่อน้�ำในโรงเรียนบ้านหนองแหน และน�้ำจากล�ำราง สาธารณะท่อี ยูใ่ กล้สถานประกอบการรับก�ำจดั ของเสีย การศึกษาครัง้ น้ียังได้ตรวจพบสารประเภท Bis Phenol A ใน ตัวอย่างน�้ำพบสูงสุด 53 ppb ท้ังน้ียังไม่มีการก�ำหนดค่ามาตรฐานใน GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 27 มถิ นุ ายน 2557 9

สำ� หรบั ผลการวเิ คราะหส์ ารปนเปอ้ื นในชนั้ ดนิ ใกลส้ ถานประกอบการรบั กำ� จดั ของเสยี ทง้ั 2 แหง่ พบวา่ ดนิ มกี ารปนเปอ้ื น สารกลมุ่ Phthalate และ Bis Phenol A โดยพบการปนเปือ้ นของสารชนดิ Di (2-ethylhexyl) phthalate สูงสุด 2265 ไมโครกรัมตอ่ กิโลกรมั และพบ Bis Phenol A สงู สดุ 2100 ไมโครกรมั ต่อกิโลกรัม โดยสรปุ จากผลการตรวจสอบการปนเปื้อนของสารกล่มุ พาธาเลท (Phthalate) สารบสิ ฟีนอลเอ (Bis Phenol A) สารกลมุ่ ฟนี อล (Phenol) ในพน้ื ทพี่ บวา่ มกี ารปนเปอ้ื นกระจายทวั่ พนื้ ทพ่ี บการปนเปอ้ื นทงั้ ในบอ่ นำ้� ตนื้ ประชาชน บรเิ วณใกลส้ ถาน ประกอบการกำ� จดั ของเสยี อีกทั้งพบการปนเปือ้ นในบอ่ น�้ำของโรงเรยี นซง่ึ เดิมมกี ารใช้น้�ำในบอ่ ส�ำหรับนักเรยี น การปนเป้อื น สารอันตรายในพืน้ ทม่ี คี วามจ�ำเปน็ อย่างยิง่ ในการด�ำเนนิ การแก้ไขโดยด่วน สำ� หรบั แผนการด�ำเนนิ งานตอ่ ไปในปีงบประมาณ 2557 ของศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม จะด�ำเนินการศึกษาการกระจายตัวของสารปนเปื้อนในพื้นท่ี เพ่ือใช้เป็น ข้อมลู ในการแก้ไขปัญหาการปนเปอื้ นในพื้นที่ต่อไป รปู แสดงจุดเก็บตัวอยา่ งนำ�้ ท่ตี รวจพบการปนเปอ้ื นของสารอันตราย จดุ ท่ีตรวจพบสาร Nitrophenol จดุ ท่ีตรวจพบสาร 2,4,6-trichlorophenol จดุ ที่ตรวจพบสาร 2,4 dichlorophenol จดุ ท่ีตรวจพบสาร Pentachlorophenol จดุ ทต่ี รวจพบสาร Bis Phenol A จดุ ทต่ี รวจพบสาร Phenol จุดที่ตรวจพบสาร Di (2-ethylhexyl) phthalate 10 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มถิ ุนายน 2557

เร่อื งเดน่ ประจำ� ฉบบั ขขคออวงางมปกลราะรม้ เจทเหดัศลกไวทายรขยะมูลฝอย ดร.วรรณา เลาวกุล นักวิชาการสิ่งแวดลอ้ มช�ำนาญการพเิ ศษ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม สถานการณ์ของขยะมูลฝอย เปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี ่าปัญหาขยะมลู ฝอยนบั วนั จะทวีความรุนแรงมากข้นึ เนื่องจากปัจจบุ นั ประเทศไทยมีปริมาณ ขยะมลู ฝอยประมาณ 26.77 ลา้ นตนั เพมิ่ ขน้ึ จากปี 2555 ถงึ 2 ลา้ นตนั และมปี ญั หาการจดั การขยะมลู ฝอยเปน็ อยา่ งมาก ขยะมลู ฝอยท่ไี ดร้ บั การกำ� จดั อยา่ งถกู หลกั สุขาภิบาลมเี พยี ง 7.2 ล้านตัน (ร้อยละ 27) เทา่ น้ัน และมีการน�ำกลับมาใช้ ประโยชน์ใหมเ่ พียง 5.1 ลา้ นตนั (รอ้ ยละ 19) น�ำกลบั ไป ถูกหลกั แนวทางจดั การขยะมลู ฝอยในภาพรวม ใช้ประโยชน์ สขุ าภบิ าล ในการจัดการขยะมูลฝอยมีทั้งกฎหมายและ 19% 27% แผนการจัดการขยะแห่งชาติ ได้แก่ พระราชบัญญัติ ไม่ไดม้ กี าร ไม่ถกู หลกั ส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. เก็บขน สขุ าภิบาล 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 แผนการจัดการขยะแห่งชาติ ซึ่งจัดท�ำโดยกระทรวง 28% 26% ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตามมติ คณะรฐั มนตรเี มอื่ วนั ท่ี 21 มกราคม พ.ศ. 2546 เพอื่ ใชเ้ ปน็ การจัดการขยะมลู ฝอย ปี 2556 กรอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ ในภาพรวมของประเทศ ซึ่งแนวทางการจัดการขยะ เเหลง่ ท่ีมา : กรมควบคุมมลพษิ มลู ฝอยในภาพรวม สรปุ ไดด้ ังน้ี GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับท่ี 27 มิถุนายน 2557 11

ก�ำจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอยา่ งถูกสุขลักษณะ และ การหมกั ทำ� ปยุ๋ เปน็ ตน้ ซง่ึ แตล่ ะวธิ มี คี วามแตกตา่ งกนั ในดา้ น ต้นทุนการด�ำเนินงาน ความพร้อมขององค์กร ปริมาณและ ประเภทของขยะ เป็นต้น จดั การขยะ โดยอาศยั หลกั 7 R คือ Reduce Reuse Recycle Refuse Refill Repair และ Return การแยกขยะ เพ่อื ลดขยะท่ตี อ้ งน�ำไปก�ำจัดจรงิ ๆ ใหเ้ หลอื นอ้ ยทสี่ ดุ เชน่ ขยะแหง้ บางชนดิ ทส่ี ามารถแปรสภาพ นำ� กลบั มาใชไ้ ดอ้ กี ไดแ้ ก่ ขวดแกว้ โลหะ พลาสตกิ ขยะเปยี ก สามารถนำ� มาหมกั ทำ� ปยุ๋ นำ�้ ชวี ภาพ ขยะอนั ตราย เชน่ หลอดไฟ ถา่ นไฟฉาย กระป๋องฉดี สเปรย์ ตอ้ งมีวธิ กี ำ� จัดที่ปลอดภยั การจัดการขยะแบบครบวงจร สง่ เสรมิ การผลติ ทสี่ ะอาดในภาคการผลติ โดยลด การใช้วสั ดุ ลดพลงั งาน และลดมลพษิ เพ่ิมศกั ยภาพการใช้ ทรพั ยากรหมนุ เวยี น การนำ� ของเสยี กลบั มาใชป้ ระโยชน์ และ การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานไดน้ านขึ้น ส่งเสริมใหภ้ าคธุรกจิ เอกชนมีส่วนรว่ มลงทุนและ ดำ� เนนิ การจดั การขยะ ตวั อย่างการน�ำเศษวสั ดทุ ่เี หลอื ใชม้ าแปรรูปให้เกดิ มูลคา่ เพิม่ ให้ความรู้แก่ประชาชนในเร่ืองการจัดการขยะ มหี ลายหนว่ ยงานตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของปญั หา อย่างถกู หลกั วชิ าการ รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตส�ำนึก ขยะมูลฝอยท่ีเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว และพยายามรณรงค์ ให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่าเป็นภาระหน้าท่ีของตนเอง การน�ำขยะกลับมาใช้ใหม่เพื่อลดปริมาณขยะ ได้มีการจัดท�ำ ในการรว่ มมือกันจดั การขยะมูลฝอยทเี่ กดิ ขน้ึ ในชมุ ชน โครงการตา่ งๆ ขนึ้ เชน่ โครงการคนไทยหวั ใจสเี ขยี ว โครงการ ส่งเสริมพหุภาคีในการพัฒนาชุมชนอย่างย่ังยืนภายใต้ แผนปฏบิ ตั ิการ 21 ระดับทอ้ งถิ่น โดยกรมส่งเสริมคณุ ภาพ สิ่งแวดล้อม การจัดการขยะอย่างยั่งยืนของเทศบาลต�ำบล พงั โคน โครงการธนาคารขยะรไี ซเคลิ ศนู ยว์ สั ดรุ ไี ซเคลิ ชมุ ชน โครงการเรียกคืนบรรจุภัณฑ์โดยผู้ประกอบการ โครงการ ชุมชนปลอดขยะและการซ้ือขายขยะท่ีน�ำกลับมาแปรรูปใช้ ใหมไ่ ดโ้ ดยรา้ นรบั ซอื้ ของเกา่ โครงการ 45 วนั รวมพลงั ลดถงุ พลาสตกิ ลดโลกร้อน ดำ� เนนิ การรณรงคแ์ ละประชาสมั พันธ์ รว่ มกบั ผปู้ ระกอบการหา้ งสรรพสนิ คา้ และประชาชน โครงการ จดั การขยะครบวงจร เปน็ ตน้ แตใ่ นทางปฏบิ ตั กิ ารนำ� ขยะกลบั มาใชใ้ หม่ยังอย่ใู นระดบั ตำ�่ ประมาณรอ้ ยละ 19 เทา่ นนั้ และ ยังคงมีปริมาณขยะมูลฝอยที่ตกค้างสะสมท้ังประเทศอยู่เป็น ปริมาณมากถงึ 19.9 ลา้ นตนั หรือประมาณร้อยละ 74 12 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มิถุนายน 2557

สาเหตขุ องความลม้ เหลวในการจดั การขยะมลู ฝอย มีหลายหน่วยงานและหลายองค์กร พยายามน�ำ การใช้เตาเผาขยะเปน็ ทางเลอื กในการกำ� จัดขยะ แนวทางดงั กลา่ วขา้ งตน้ มาใชป้ ฏบิ ตั ิ อยา่ งไรกต็ าม การจดั การ แต่ท�ำได้ยาก เน่ืองจากต้องได้รับการยอมรับจากประชาชน ขยะมลู ฝอย กย็ งั มปี ญั หาและมีหลายสาเหตุ สรุปได้ดงั นี้ ทอี่ ยู่ในบริเวณใกลเ้ คียงพื้นทีก่ �ำจดั ขยะ ทั้งน้ี อาจเปน็ เพราะ ประชาชนขาดความเข้าใจทถี่ ูกตอ้ งในการใชเ้ ตาเผาขยะ การด�ำเนินงานจัดการขยะ การให้บริการเก็บ ขน และการก�ำจัดขยะมูลฝอยยังขาดประสิทธิภาพ และไม่ ปัญหาขยะนอกเขตเทศบาล ยังคงใช้วิธีเก็บ สามารถด�ำเนนิ การไดอ้ ย่างทั่วถึง รวบรวมจากแหล่งชุมชนมากองรวบรวมบนพื้นดินในพื้นท่ี วา่ งๆ แลว้ ปลอ่ ยใหย้ อ่ ยสลายเองตามธรรมชาติ ไมม่ กี ารกำ� จดั โครงการรณรงค์ให้ประชาชนคัดแยกขยะยังไม่ ตามหลักการสขุ าภิบาล หรืออาจมีการเผากลางแจ้ง ประสบความส�ำเร็จเท่าท่ีควร เพราะเมื่อประชาชนคัดแยก ขยะแลว้ กลบั ไมม่ กี ารเกบ็ ขยะแบบแยกเพอ่ื นำ� ไปกำ� จดั อยา่ ง ปญั หาบอ่ ขยะหรือแหล่งทงิ้ ขยะหลายพน้ื ทีท่ ่ีขาด ถูกวิธี ประชาชนส่วนใหญ่รู้สึกว่าแยกขยะไปก็เท่าน้ันเพราะ การจัดการท่ีดีพอ และมักมีปัญหาไฟไหม้บ่อขยะหลายแห่ง ในที่สุดรถเก็บขยะของส�ำนกั งานเขตเทศบาลกเ็ ทกองรวมกนั และบอ่ ย ทำ� ใหม้ ผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชนในบรเิ วณ อย่ดู ี หรือกลายเปน็ หน้าท่ขี องซาเลง้ ทจ่ี ะเป็นผู้คัดแยก ใกลเ้ คยี ง และเกิดการรอ้ งเรยี นหลายพื้นที่ ระบบก�ำจัดขยะบางแห่งยังไม่ถูกหลักสุขาภิบาล ขาดความเข้มงวดทางด้านกฎหมาย ไม่น�ำมา บางแหง่ หยดุ เดนิ ระบบ เนอื่ งจากตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม ปฏิบัติอย่างจริงจัง ในการลงโทษผู้กระท�ำผิด กรณีที่มีการ ระบบ ลักลอบน�ำเอาขยะอุตสาหกรรมหรือขยะพิษมาท้ิงปนกันกับ ขยะมลู ฝอยชมุ ชน ระบบก�ำจัดขยะท่ีสร้างแล้วบางแห่งไม่เคย เดนิ ระบบเนอื่ งจากประชาชนทง้ั ในทอ้ งถน่ิ และพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี ง จากปญั หาปรมิ าณขยะมลู ฝอยทเ่ี หลอื ตกคา้ งสะสม ต่อตา้ น เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้มีการกองทิ้งตามบ่อขยะหรือแหล่ง ทงิ้ ขยะหลายพนื้ ท่ี ซง่ึ ขาดการจดั การทดี่ พี อ และบางครง้ั ขอ้ จำ� กดั ของทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนในดา้ นการ มกี ารลกั ลอบนำ� เอาขยะอตุ สาหกรรมหรอื ขยะพษิ มาทงิ้ ปน ลงทุนเพื่อการจัดการขยะโดยใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสาน กนั กบั ขยะมลู ฝอยชมุ ชน ทำ� ใหม้ กี ารสะสมกลนิ่ และสารพษิ หลายวิธี ความไม่ชัดเจนในการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐ ทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของประชาชน และหากมไี ฟไหม้ และภาคเอกชน บ่อขยะดังกล่าวก็ย่ิงส่งผลกระทบรุนแรงต่อส่ิงแวดล้อม และสขุ ภาพของประชาชนในวงกวา้ ง ซงึ่ รายละเอยี ดทา่ น ขาดระบบการจดั เกบ็ คา่ ธรรมเนยี มทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถตดิ ตามไดใ้ นวารสาร Green Research ศนู ยว์ จิ ยั การด�ำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และฝกึ อบรมดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ฉบบั หนา้ ในการบรหิ ารจดั การขยะประสบปญั หาขาดแคลนงบประมาณ และก�ำลังคนในการจัดการ ขาดความรู้ความเข้าใจในการ เอกสารอา้ งอิง จัดการและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมทั้งเกิดความ ขดั แยง้ ในการด�ำเนินการ แผนการจดั การขยะมลู ฝอยในระดบั ทอ้ งถน่ิ ยงั ไมม่ ี กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. 2554. รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2553. ISBN 978-974-286-919-9. การพจิ ารณาดำ� เนนิ การในลกั ษณะศนู ยก์ ำ� จดั ขยะมลู ฝอยรวม สถานการณม์ ลพษิ ของประเทศไทย ปี 2556. ขา่ วสารสง่ิ แวดลอ้ ม. กระทรวง ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื งศนู ยก์ ำ� จดั ขยะ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ฉบบั ที่ 14/2557 วันท่ี 19 มูลฝอยรวมยงั ไมเ่ คยมกี ารก�ำหนดข้นึ อยา่ งชดั เจน มนี าคม 2557. [Online] Available from http://www.pcd.go.th/ Public/News/GetNewsThai.cfm?task=lt2009&id=17119 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มิถนุ ายน 2557 13

ตดิ ตามเฝ้าระวงั ท่าทีของสหประชาชาติและทิศทางการด�ำเนนิ งาน ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศของประเทศไทย ดร.สทุ ธริ ัตน์ กติ ตพิ งษ์วิเศษ สถาบนั วิจัยสภาวะแวดลอ้ ม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ดร.วรางคณา จุตดิ ำ� รงคพ์ นั ธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.สุดา อทิ ธสิ ุภรณ์รตั น์ ศูนย์วิจัยและฝกึ อบรมดา้ นสงิ่ แวดล้อม การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิบัติภัย เป็นปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีทวีความรุนแรงมากข้ึนทั่วโลก ซึ่งจากการ ศึกษาโดยกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติพบว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นผลจากการเพ่ิมข้ึนของปริมาณก๊าซเรือนกระจก ในช้ันบรรยากาศท่ีมีระดับสูงเกินกว่าสภาพที่เหมาะสมต่อการควบคุมอุณหภูมิและความอบอุ่นของพ้ืนผิวโลก และหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์ยังแสดงให้เห็นว่า กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ อาทิเช่น การเผาไหม้น�้ำมันและถ่านหิน (Fossil Fuels) จากภาคอุตสาหกรรมและขนส่ง น่าจะเป็นตัวการหลักของการเปล่ียนแปลงภาวะเรือนกระจกในช้ันบรรยากาศ การเพ่ิมขึ้น ของอุณหภูมิเฉลีย่ ผวิ โลก รวมถงึ ความแปรปรวนของสภาพดนิ ฟ้าอากาศในชว่ งระยะเวลา 100 ปีที่ผ่านมา (IPCC, 2007) อาทิเช่น ภาวะแห้งแล้งและน้�ำท่วมอย่างฉับพลันในหลายพื้นที่ท่ัวโลก รูปแบบและปริมาณการเกิดฝนที่เปล่ียนแปลงไป เปน็ ตน้ ด้วยเหตุน้เี อง กล่มุ นักวิชาการและผเู้ ชีย่ วชาญจงึ ตืน่ ตวั ในการทบทวนนโยบายและหามาตรการแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั ในเวทีการประชุมระดับโลก เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของแนวทางแก้ไขปัญหาโดยอาศัยการปรับกระบวนทัศน์เชิงบริหารจัดการ รวมทง้ั ขับเคลือ่ นประชาคมโลกไปส่สู ังคมที่มัน่ คงและทนทานต่อความเสีย่ งจากภูมิอากาศ (Climate Resilience Society) อย่างย่งั ยนื ต่อไป (ชยันต์และคณะ, 2556) ทา่ ทขี องสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ COP คอื อะไร? เนอื่ งดว้ ยปญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศเปน็ ประเด็นที่ ถูกจัดอย่ใู นวาระสากล หนว่ ยงานสหประชาชาตจิ งึ เข้ามามบี ทบาทส�ำคัญ ในการประสานงานและก�ำหนดกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการเปล่ียนแปลง สภาพภมู อิ ากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change - UNFCCC) ในปี ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) โดยมีเป้าหมาย หลักเพื่อควบคุมปริมาณก๊าซเรือนกระจกให้อยู่ในระดับที่ไม่ส่งผลกระทบ ต่อระบบภูมิอากาศ อีกทั้งยังก�ำหนดให้มีการประชุมสมัชชาประเทศภาคี 14 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มถิ ุนายน 2557

(The Conference of the Parties - COP) ภายใต้กรอบอนุสญั ญาฯ อย่างต่อเนื่อง เป็นประจ�ำทุกปีเรม่ิ ตงั้ แตส่ มยั ที่ 1 ใน ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) จนถึงปัจจุบนั (คร้งั ที่ 18 ในปี ค.ศ. 2012 ; พ.ศ. 2555) เพ่ือเปน็ การตรวจสอบ ติดตามผล การดำ� เนนิ งานและเจรจารว่ มกนั ในประเดน็ ทางกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (UNFCCC, 1992) ดงั สรปุ รายละเอยี ด ไว้ในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สาระจากทีป่ ระชมุ สมชั ชาประเทศภาคีอนสุ ัญญาฯ (UNFCCC, 2014 ; EPPO, 2011) COP1 เบอร์ลิน เจรจาเพ่ือจัดท�ำข้อตกลงโดย ก) ประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือสมาชิกในกลุ่ม (1995) สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี Annex I มีพนั ธสัญญาในการลดการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกดว้ ยวธิ ีทเ่ี หมาะสม ข) ประเทศกำ� ลงั พฒั นาหรอื สมาชกิ ในกลมุ่ Non-Annex I ได้รบั การยกเวน้ การปฏิบัติตามพันธสัญญาฯ แต่ควรมีความรับผิดชอบท่ีจะเข้าร่วมลดการ ปล่อยก๊าซเรอื นกระจกตามความสามารถและศกั ยภาพท่ีมีอยู่ (Common But Differentiated Responsibilities) COP2 เจนวี า จดั ตง้ั คณะกรรมการเฉพาะกจิ ทเี่ รยี กวา่ Ad Hoc Group on Berlin Mandate (1996) ประเทศสวสิ เซอร์แลนด์ (AGBM) เพ่ือท�ำการยกร่างพิธีสาร เพื่อใช้ในการเจรจาหารือเก่ียวกับการต้ัง เปา้ หมายปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก COP3 เกียวโต กำ� หนดพธิ สี ารฉบบั แรกของโลก วา่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดย (1997) ประเทศญ่ปี นุ่ กำ� หนดใหป้ ระเทศสมาชกิ Annex I มเี ปา้ หมายลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก1 อย่างน้อยรอ้ ยละ 5 เทยี บกบั ระดับการปล่อยในปีฐาน (ค.ศ. 1990) ภายในปี ค.ศ. 2012 ทั้งน้ีประเทศภาคีสมาชิก สามารถด�ำเนินงานตามกลไกยืดหยุ่น 3 แนวทางดงั นี้ ก) กลไกการด�ำเนินการร่วมกนั (Joint Implementation: JI) ข) กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ค) กลไกการซื้อขายสิทธ์ิการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก (Emission Trading: ET) (UNFCCC, 1997) COP4 บัวโนส ไอเรส วางแผนเพื่อสร้างเสริมขีดความสามารถและศักยภาพในการด�ำเนินกิจกรรม (1998) ประเทศอารเ์ จนตนิ า ภายใต้กลไกของพิธีสารเกียวโต ทั้งรูปแบบการด�ำเนินงาน กลไกการเงิน การพฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยี ตลอดจนหารอื ในประเดน็ การเปลยี่ นแปลง การใชท้ ดี่ นิ และป่าไม้ เพ่อื รกั ษาปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก (Carbon Sink Mechanism) COP5 กรุงบอนน์ พัฒนาแนวทางการจัดท�ำฐานข้อมูลบัญชีก๊าซเรือนกระจกของแต่ละประเทศ (1999) สหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมนี (National Greenhouse Gas Inventory) โดยก�ำหนดให้ประเทศสมาชิก Annex I ต้องสง่ ฐานข้อมลู ดงั กลา่ ว ภายในปี ค.ศ. 2000 และ 2001 COP6 กรงุ เฮก สนับสนุนทางการเงินส�ำหรับแผนงานลดก๊าซเรือนกระจก ภายใต้พิธีสาร (2000) ประเทศเนเธอร์แลนด์ เกียวโต โดยอาศัยความช่วยเหลือจากกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (Global Environment Facility: GEF) เป็นกลไกพฒั นาโครงการฯ ในประเทศกำ� ลัง พฒั นา หรือสมาชกิ ในกลุ่ม Non-Annex I 1 กา๊ ซเรือนกระจกที่ระบใุ นพิธีสารเกียวโตมี 6 ชนิด ได้แก่ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรสั ออกไซด์ (N2O) ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) เปอรฟ์ ลโู อคาร์บอน (PFCs) ซลั เฟอร์เฮกซาฟลโู อไรด์ (SF6) GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 27 มิถุนายน 2557 15

COP7 มาราเก็ช ทบทวนข้อปฏิบัติและแนวทางปรับปรุงการดำ�เนินงาน ตลอดจนพัฒนา (2001) ประเทศโมร็อกโก ศกั ยภาพในการจดั ทำ�บญั ชกี า๊ ซเรอื นกระจกตามสถานการณข์ องแตล่ ะประเทศ COP8 นวิ เดลี ท้ังน้ีผู้เช่ียวชาญในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ต้องให้ความช่วยเหลือและ (2002) ประเทศอนิ เดยี คำ�ปรึกษาเชิงเทคนิคแก่สมาชิกในกลุ่ม Non-Annex I ตลอดจนมีการจัดตั้ง COP9 มิลาน กองทุนขึ้นมา 3 แหล่ง เพื่อรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ (2003) ประเทศอิตาลี ภูมิอากาศได้แก่ ก) The Least Developed Countries Fund (LDC) COP10 บวั โนส ไอเรส ข) Special Climate Change Fund (SCCF) และ ค) Adaptation Fund (2004) ประเทศอารเ์ จนตินา กำ�หนดขอ้ มลู เกยี่ วกบั การดำ�เนนิ โครงการตามกลไกการพฒั นาทสี่ ะอาด (CDM) COP11 มอนทรอี อล ครอบคลุมถึงรูปแบบกิจกรรม ขั้นตอนการดำ�เนินงานและเอกสารประกอบ (2005) ประเทศแคนาดา โครงการ (Project Design Document: PDD) การคำ�นวณปริมาณก๊าซ เรอื นกระจกทล่ี ดไดเ้ ทยี บกบั กรณฐี าน (Emission Reduction Unit) การขน้ึ ทะเบยี น และซื้อขายคาร์บอนเครดิต (Certified Emissions Reductions : CERs) รวมถึงการพัฒนามาตรฐานเชงิ เทคนคิ สำ�หรับการแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่าง ระบบลงทะเบยี นภายใตพ้ ิธีสารเกยี วโต ทบทวนบทบาทหน้าที่ของสหประชาชาติ (UNFCCC) ในการตรวจสอบ/ ทวนสอบความถกู ตอ้ ง และขน้ึ ทะเบยี นคารบ์ อนเครดติ ใหแ้ กผ่ พู้ ฒั นาโครงการ ตามกลไกการพฒั นาทส่ี ะอาด รวมถงึ ใหภ้ าคสี มาชกิ ใชแ้ นวทางปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี เกย่ี วกบั กิจกรรมการใช้ท่ีดิน การเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์จากท่ีดินและป่าไม้ ตลอดจนการปลูกป่าและฟื้นฟูป่า (Land Use, Land Use Change and Forestry : LULUCF) โดยจัดรวมไว้ในภาคหลักของบัญชีก๊าซเรือนกระจก ของประเทศน้ันๆ สนับสนุนให้ภาคีสมาชิกด�ำเนินงาน เพื่อปรับตัวและรับมือต่อปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation and Response to Climate Change) รวมทั้งสนับสนุนกลยุทธ์เชิงบริหารจัดการความเส่ียงทางการเงิน การพัฒนาแบบจ�ำลองผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมอันเกิดจากปัญหา การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ นอกจากน้ี ท่ีประชุมยังรับทราบมาตรการ สนับสนุนการจัดต้ังหน่วยงานท่ีมีอ�ำนาจด�ำเนินงานตามกลไกการพัฒนาที่ สะอาด (CDM) ท่ดี �ำเนนิ การในกลุ่มประเทศกำ� ลังพฒั นา เห็นชอบให้กองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF) ด�ำเนินงานเพ่ือสนับสนุนและ ชว่ ยเหลอื สมาชกิ ประเทศ Non-Annex I ในการพฒั นาจดั ทำ� รายงานแหง่ ชาติ รวมถึงพิจารณาสนับสนุนเทคโนโลยีการกักเก็บก๊าซเรือนกระจก (Carbon Capture and Storage Technologies) เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางการด�ำเนนิ งาน ตามพันธกรณีของแต่ละประเทศที่ได้ก�ำหนดไว้ ตลอดจนจัดต้ังคณะท�ำงาน เฉพาะกิจก�ำหนดพันธกรณีลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศในกลุ่ม Annex I ภายใตพ้ ธิ สี ารเกยี วโต (Ad Hoc Working Groups on Further Commitment for Annex I Parties under the Kyoto Protocol: AWG-KP) 16 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 27 มถิ ุนายน 2557

COP12 กรุงไนโรบี กำ� หนดกรอบดำ� เนนิ งาน เพอื่ เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ใิ หแ้ กป่ ระเทศสมาชกิ ไดใ้ ชเ้ งนิ (2006) ประเทศเคนยา จากกองทนุ สง่ิ แวดลอ้ มโลก (GEF)เพอ่ื พฒั นากจิ กรรมตามขอ้ กำ� หนดของ COP ในดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ ก) การปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพพลงั งาน การใชพ้ ลงั งานทดแทน COP13 บาหลี  หรอื เทคโนโลยเี ชอ้ื เพลงิ ทม่ี รี ะดบั การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกตำ่� ข) การพฒั นา (2007) ประเทศอนิ โดนเี ซีย งานศกึ ษา วจิ ยั ทเี่ กย่ี วกบั การปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพพลงั งานในภาคอตุ สาหกรรม COP14 พอซแนน และขนสง่ ค) การพฒั นาเทคโนโลยที างการเกษตรท่เี ปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม (2008) ประเทศโปแลนด์ ง) การปลกู ป่าและใช้ประโยชน์จากที่ดนิ ว่างเปล่า และ จ) การผลิตกา๊ ซมเี ทน COP15 กรุงโคเปนเฮเกน จากขยะและน�้ำเสีย (2009) ประเทศเดนมาร์ก สนบั สนนุ แนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนระยะยาวของภาคสี มาชกิ ในการลด COP16 แคนคูน การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกลง ตามความสามารถและศกั ยภาพทมี่ อี ยู่ (Common (2010) ประเทศเม็กซโิ ก But Differentiated Responsibilities)โดยจดั ตง้ั คณะทำ� งานเฉพาะกจิ ดา้ นความ ร่วมมอื ระยะยาวภายใต้อนสุ ัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Ad Hoc Working Group on Long-term Cooperative Action: AWG-LCA) ดำ� เนนิ งาน อย่างเต็มรูปแบบและมีประสิทธิภาพ โดยหวังท่ีจะบรรลุเป้าหมายภายในปี ค.ศ. 2012 ตามท่มี ีการระบไุ วใ้ นพธิ สี ารเกยี วโต สง่ เสรมิ กลยทุ ธด์ า้ นการถา่ ยทอดเทคโนโลยี (Poznan Strategic Programme on Technology Transfer) และสรา้ งเสรมิ กลไกความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ รวมท้ังยกระดับการลงทุน เพ่ือด�ำเนินกิจกรรมท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมและ สภาพภูมิอากาศในประเทศก�ำลังพัฒนา ตลอดจนติดตามความก้าวหน้าจาก แผนงานระยะยาวในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากประเทศภาคี สมาชกิ พจิ ารณาตวั เลขเปา้ หมายการลดกา๊ ซเรอื นกระจกของประเทศในกลมุ่ Annex I ตามพันธสัญญาภายใต้พิธีสารเกียวโต และติดตามผลการด�ำเนินงานของ คณะท�ำงาน AWG-LCA ภายใต้ความร่วมมือระยะยาวในการลดการปล่อย กา๊ ซเรอื นกระจก มตริ บั รองเอกสาร Cancun Agreement ซง่ึ กำ� หนดใหม้ กี ารขยายผลการดำ� เนนิ การ ในการลดก๊าซเรอื นกระจกโดย ก) ด�ำเนินมาตรการในการลดกา๊ ซเรือนกระจก ท่ีเหมาะสม โดยให้ประเทศท่ีพัฒนาแล้วจัดท�ำยุทธศาสตร์หรือการพัฒนา แบบการปล่อยคาร์บอนต่ำ� (Low-Carbon Development Strategies) และ ข) จดั ทำ� มาตรการในการลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี หมาะสม โดยประเทศกำ� ลงั พฒั นา (Nationally Appropriate Mitigation Action by Developing Country Parties: NAMAs) ควรดำ� เนนิ มาตรการตามความเหมาะสม (ตามความสมคั รใจ) หรือ NAMAs ในบริบทของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ซึง่ อาจไดร้ บั การสนับสนุน ดา้ นเงนิ ทนุ และเทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศ เพอ่ื มงุ่ ไปสเู่ ปา้ หมายในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงภายในปี ค.ศ. 2012 (OAE, 2011) GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มถิ ุนายน 2557 17

COP17 เดอรบ์ ัน จดั ตัง้ คณะท�ำงาน Ad Hoc Working Group on the Durban Platform for (2011) ประเทศแอฟริกาใต้ Enhanced Action ซงึ่ มหี นา้ ทว่ี างแผนการดำ� เนนิ งาน และเจรจาอยา่ งเรง่ ดว่ น COP18 กรุงโดฮา ในครง่ึ ปแี รกของปี ค.ศ. 2012 โดยเรมิ่ กระบวนการพฒั นา “พธิ สี าร หรอื ตราสาร (2012) รฐั กาตาร์ กฎหมาย หรือข้อตกลงท่ีมีผลทางกฎหมาย ทม่ี ผี ลบงั คบั ใช้กบั ทุกประเทศภาคี โดยครอบคลุมถึงแนวทางการบรรเทา (Mitigation) ปรับตัว (Adaptation) กลไกทางการเงิน การถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่เก่ียวข้องกับองค์ความรู้ด้าน การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนมีการหารือถึงแผนงานลดก๊าซ เรอื นกระจกของประเทศก�ำลังพฒั นา (NAMA) และประเดน็ อนื่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง มตทิ ปี่ ระชมุ ตดั สนิ ใจดำ� เนนิ งานตามแนวทางทจี่ ะนำ� ไปสู่ ก) การรบั รองพธิ สี าร หรอื ตราสาร หรอื ขอ้ ตกลงทมี่ ผี ลทางกฎหมาย ภายใตอ้ นสุ ญั ญาฯ เพอื่ ใชก้ บั ทกุ ประเทศภาคสี มาชกิ ซึ่งมผี ลบงั คบั ใช้และด�ำเนนิ การไดน้ ับจากปี ค.ศ. 2020 (พนั ธกรณที ี่ 2) และ ข) บง่ ชแ้ี ละแสวงหาทางเลอื ก เพอื่ เปน็ ขอบเขตดำ� เนนิ งาน ในการลดก๊าซเรือนกระจกในปริมาณที่มากที่สุดเท่าท่ีจะท�ำได้ (Work Plan on Enhancing Mitigation Ambition) รวมท้ังเห็นชอบให้ประเทศในกลุ่ม สมาชกิ Annex I มกี ารทบทวนเปา้ หมายการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก (Quantified Emission Limitation and Reduction Commitment: QELRC) ภายในปี ค.ศ. 2014 เพ่อื เพิ่มเปา้ หมายการลดการปลดปล่อยก๊าซเรอื นกระจกรวมของ ประเทศ Annex I (Aggregate Reduction of Emission) อยา่ งนอ้ ย 25-40% เทยี บกบั ปีฐาน (ค.ศ. 1990) ภายในปี ค.ศ. 2020 รวมท้งั เสรมิ สร้างศักยภาพ ในการจดั ทำ� รายงาน NAMAs และกลยทุ ธใ์ นการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก (Low Emission Development Strategies) ตามท่ีประเทศก�ำลังพัฒนา พึงจะทำ� ไดต้ ามความสามารถของตน ทศิ ทางหลังพิธสี ารเกียวโตและบทบาทของประเทศไทย ภายหลังจากท่ีพิธีสารเกียวโตได้สิ้นสุดพันธกรณีแรกลงในปี ค.ศ. 2012 มติที่ประชุมสหประชาชาติยังคงมีความ เหน็ พอ้ งใหม้ ขี อ้ ตกลงตามพนั ธกรณรี อบทส่ี อง โดยดำ� เนนิ การอยา่ งเรง่ ดว่ นในการลดกา๊ ซเรอื นกระจกลงรอ้ ยละ 25-40 ภายใน ปี ค.ศ. 2020 เทียบกับปฐี าน (ค.ศ. 1990) และเพือ่ ให้อณุ หภมู ิเฉล่ยี ของโลกเพ่ิมข้นึ ไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส ผ่านวสิ ยั ทศั น์ ความร่วมมือกนั ในระยะยาว (Share Vision in Long-term Cooperative Action) ในการขยายผลการดำ� เนินงานลดกา๊ ซ เรือนกระจกดังต่อไปน้ี (แสดงไว้ในรปู ภาพที่ 1) เร่งรัดให้ประเทศพัฒนาแล้วด�ำเนินมาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ีเหมาะสม โดยสร้างความชัดเจน เก่ียวกับเป้าหมายและแนวทางลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกสาขาเศรษฐกิจ ตลอดจนให้ประเทศพัฒนาแล้ว สง่ รายละเอียดเพ่มิ เติมเก่ียวกบั รปู แบบการดำ� เนนิ โครงการเพ่อื นำ� ไปสู่เป้าหมาย วิธกี ารปรบั ปรุงรายงานแหง่ ชาติ (National Communication) และ/หรอื จดั ทำ� ยทุ ธศาสตรแ์ ผนการพฒั นาการปลอ่ ยคารบ์ อนตำ่� (Low-Carbon Development Strategies or Plans) เพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มลู สนบั สนุนในรายงานแหง่ ชาตติ อ่ ไป ประเทศกำ� ลงั พฒั นา (ซง่ึ รวมถงึ ประเทศไทย) ตอ้ งดำ� เนนิ งานลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี หมาะสม (NAMAs) ในบรบิ ท การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ภายใตค้ วามสมคั รใจ รวมทง้ั ควรไดร้ บั การสนบั สนนุ ดา้ นเทคโนโลยี การเงนิ และเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพในการ ปรับตัวต่อสภาพภูมอิ ากาศทเี่ ปลี่ยนแปลง ในลักษณะที่ตรวจสอบได้ รายงานได้และทวนสอบได้ (Measurement, Reporting and Verification: MRVs) (MRVs เป็นแนวทางการค�ำนวณหาปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ีลดลงจากการด�ำเนินโครงการ 18 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบบั ที่ 27 มถิ ุนายน 2557

สามารถตรวจวัดได้ท้ังทางตรงจากเคร่ืองมือท่ีได้มาตรฐาน และ/หรือทางอ้อมจากการค�ำนวณตามหลักทฤษฎี ซึ่งหลักการ ดังกล่าวเป็นการน�ำเสนอรายละเอียดของโครงการในรูปแบบที่ถูกต้อง สมบูรณ์ และยังสะท้อนถึงกระบวนการทวนสอบที่มี ความโปร่งใสจากการอ้างอิงมาตรฐาน หรือการประกันคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง ของโครงการน้ันๆ) อนุสญั ญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยการ เปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (UNFCCC) การประชมุ สมชั ชาประเทศภาคีอนุสญั ญาฯ (COP) คณะทำ� งานเฉพาะกจิ ดา้ น การบรรเทา (mitigation) คณะทำ� งานเฉพาะกิจ ความรว่ มมอื ระยะยาวภายใต้ การปรับตวั (adaptation) กำ� หนดพันธกรณลี ดก๊าซ อนสุ ัญญาฯ (AWG-LCA) กลไกทางการเงนิ เรือนกระจกภายใต้พิธีสาร การถ่ายทอดเทคโนโลยี/องค์ความรู้ เกยี วโต (AWG-KP) มาตรการในการลดก๊าซเรอื นกระจก แผนยทุ ธศาสตรห์ รอื แนวทางการ ท่ีเหมาะสมของประเทศ (NAMA) บรหิ ารจดั การคารบ์ อนตำ่� (Low Carbon Development Strategies or Plans) รูปภาพที่ 1 แนวทางการด�ำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกระยะยาวภายใต้พิธีสารเกียวโต ปัญหาและความทา้ ทายของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินโครงการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ภายใต้การประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ว่าดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ยงั ตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หาและความท้าทายในหลายประเดน็ ดงั นี้ ขาดความชดั เจนและตอ่ เนอ่ื งของกรอบการดำ� เนนิ งานลดปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจก เนอื่ งจากปจั จบุ นั (ค.ศ. 2014) ประเทศไทยยังคงถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศสมาชิก Non-Annex I ซ่ึงเป็นกลุ่มที่ยังไม่มีพันธกรณีหรือเป้าหมายเชิงปริมาณ ที่ชัดเจนในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก ดังนั้นการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดๆ ย่อมเป็นไปตามความสมัครใจของ ผู้พัฒนาโครงการฯ และผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสียเท่านนั้ ขาดองค์ความรู้เชิงเทคนิค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การดำ� เนนิ โครงการลดกา๊ ซเรอื นกระจกในลกั ษณะทต่ี รวจสอบได้ รายงานได้และทวนสอบได้ (MRVs) เน่ืองจากแนวคิด ดังกล่าวจัดว่าเป็นประเด็นใหม่ ส�ำหรับการพัฒนาโครงการ ของผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียของกิจกรรมนั้นๆ ขาดความชัดเจนท้ังในแง่รูปแบบโครงการและ เงอื่ นไขเวลา ในการดำ� เนนิ งานลดกา๊ ซเรอื นกระจก โดยเฉพาะ แนวทางปฏิบัติตามกลไกทางเศรษฐกิจ หรือระบบ การซอื้ -ขายคารบ์ อนเครดติ (Carbon Market) ทง้ั ในประเทศ และตา่ งประเทศ รวมทงั้ ตลาดคารบ์ อนภาคสมคั รใจในระดบั ภมู ภิ าค GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 27 มิถุนายน 2557 19

ทวนสอบได้ (MRVs) เพอื่ นำ� ไปใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู สนบั สนนุ การ ดำ� เนนิ งานและตัดสินใจแก่ผู้มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งต่อไป • ควรจดั เวทปี ระชมุ ระหวา่ งคณะทำ� งาน แลกเปลย่ี น องค์ความรู้เชิงเทคนิคและสร้างความสัมพันธ์เชิงร่วมมือ ในระดับภูมิภาค เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถและผลักดันการ ด�ำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็น รูปธรรม • พฒั นาบคุ ลากรและสนบั สนนุ งานวจิ ยั ในรปู แบบ สหสาขาวิชาและการข้ามผ่านสาขาวิชาการ โดยบูรณาการ งานวิจัยเร่ืองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเข้ากับ องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม เศรษฐศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ เป็นตน้ • พฒั นาและผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ตลาดคารบ์ อน (Carbon Market) อย่างเป็นรูปธรรมและส่งเสริมกลไกสนับสนุนการ ด�ำเนินงานในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร หรือความช่วยเหลือทางเทคนิคและการเงินแก่ ผพู้ ฒั นาโครงการฯ ตลอดจนผู้มสี ่วนเก่ียวข้องในทุกภาคสว่ น ดังน้ัน ผ้มู สี ว่ นเกยี่ วข้องในการพฒั นาโครงการลด เอกสารอ้างองิ ก๊าซเรือนกระจก ควรพิจารณาถึงข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ชยนั ต์ ตันตวิ สั ดาการ ชโลทร แกน่ สันติสุขมงคล, นริ มล สุธรรมกิจ, บัณฑูร ส�ำหรับพฒั นาโครงการฯ ในระยะต่อไป ดังต่อไปน้ี เศรษฐศโิ รตม,์ ศุภกร ชนิ วรรณโณ, สริ ลิ กั ษณ์ เจียรากร, และ • จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรียมตัวรับมือ คณะ. 2556. รบั มือโลกร้อนกอ่ น 4 องศา : ส่ิงทป่ี ระเทศไทย หากประเทศไทยถูกก�ำหนดให้มีพันธกรณี หรือเป้าหมายเชิง ท�ำได้. วกิ ิฯ: กรุงเทพฯ. ปริมาณ ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามอนุสัญญา EPPO. 2011. Conference of the Parties (COP), Energy Policy and สหประชาชาตฯิ ในอนาคตตอ่ ไป โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภาคสว่ น Planning Office, Ministry of Energy, Thailand. [Online] อตุ สาหกรรม ขนส่ง พลังงาน และการเกษตร มีความจำ� เปน็ Available from http://www.eppo.go.th/ccep/cop.html ในการจัดท�ำกรอบทิศทางการด�ำเนินงานอย่างชัดเจนและ IPCC. 2007. Climate Change 2007: The Physical Science Basis, เป็นระบบ Summary for Policymakers. [Online] Available from http:// www.ipcc.ch/ • ควรมีการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility OAE. 2011. Cancun Agreement on Long-term Cooperative Action, Study) และประเมินศักยภาพในการลดปริมาณการปล่อย Office of Agricultural Economics. [Online] Available from กา๊ ซเรอื นกระจกจากทกุ ภาคสว่ น โดยเฉพาะรปู แบบโครงการ http://www.oae.go.th/main.php?filename=COP16_Cancun ลดก๊าซเรือนกระจก ที่สามารถตรวจสอบได้ รายงานได้และ UNFCCC. 1992. United Nations Framework Convention on Climate Change, IUCC/Geneva UNFCCC. 1997. Kyoto Protocol to the United Nations Framework Convention on Climate Change. [Online] Available from http://unfccc.int/cop5/resource/docs/cop3/l07a01.pdf UNFCCC. 2014. Conference of the Parties (COP). [Online] Available from https://unfccc.int/bodies/body/6383/php/view/ reports.php 20 GREEN RESEARCH ปที ี่ 11 ฉบบั ที่ 27 มถิ นุ ายน 2557

ก้าวหนา้ พัฒนา “ดอยยาว-ดอยผาหมน่ ” ชมุ ชนจดั การตนเองเพอื่ แก้ไขปัญหาหมอกควนั นางจินดารตั น์ เรืองโชตวิ ทิ ย์ นกั วิชาการส่งิ แวดลอ้ มช�ำนาญการ ศนู ยว์ จิ ัยและฝกึ อบรมด้านสิง่ แวดล้อม นายธีรวัฒน์ ท่อเสถียรธรรม รองประธานและผูป้ ระสานงานองค์กรเครือขา่ ย การเรยี นรู้ฟื้นฟนู ิเวศนว์ ฒั นธรรมชุมชนดอยยาว-ดอยผาหม่น พื้นทดี่ อยยาว-ดอยผาหม่น เปน็ พน้ื ท่ปี ่าตน้ น้ำ� ภายใต้ระบบนเิ วศวทิ ยา ลุ่มน้�ำโขง มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศลาว ตามแนวเทือกเขาหลวงพระบาง (เทอื กเขาบอ่ แกว้ และเทอื กเขาไชยะบรุ )ี ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ เปน็ ภดู อย สลบั ลำ� หว้ ย มที ร่ี าบเพยี งเล็กน้อย แต่มีทรัพยากรธรรมชาตทิ ีห่ ลากหลาย มีแหล่งท่องเทย่ี ว ท่โี ด่งดังระดบั ประเทศ เช่น ภูช้ีฟา้ ผาตง้ั อาณาเขตพ้ืนที่ดอยยาว-ดอยผาหมน่ ครอบคลุมพ้ืนท่ีในเขตต�ำบลปอ ของอ�ำเภอเวียงแก่น และต�ำบลตับเต่า ของอ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย เป็นพื้นที่ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์ม้งมากที่สุด ในจงั หวดั เชยี งราย นอกจากนนั้ พน้ื ทด่ี อยยาว-ดอยผาหมน่ ยงั มปี า่ ตน้ นำ�้ ทส่ี ำ� คญั หลายแห่ง อาทเิ ชน่ น้�ำหว้ ยคุ น้ำ� หว้ ยหาน นำ้� ประชาภักดี น�้ำห้วยเมีย้ ง น้ำ� หว้ ย ทรายกาด และหว้ ยไคร้ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี พน้ื ทด่ี อยยาว-ดอยผาหมน่ ยงั เปน็ หนง่ึ ใน พ้ืนท่ีประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ในยุคสงครามเย็นระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์ แหง่ ประเทศไทยกบั รฐั บาลไทย และหลงั จากรฐั บาลไดม้ ขี อ้ ตกลงเจรจาใหป้ ระชาชน และแนวร่วมพรรคคอมมวิ นิสตแ์ หง่ ประเทศไทย (พคท.) เขา้ ร่วมเปน็ ผพู้ ัฒนา ชาติไทยโดยให้วางอาวุธมอบตัวแล้วรัฐบาลได้จัดสรรที่ท�ำกินและท่ีอยู่อาศัย ใหก้ บั ทกุ คน ในปัจจุบันประชาชนในเขตพื้นท่ีดอยยาว-ดอยผาหม่นก็ยังคงมี ปัญหาทางเศรษฐกิจท�ำให้ชุมชนมีการขยายพ้ืนที่การผลิตเกษตรเชิงเด่ียว GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับที่ 27 มถิ นุ ายน 2557 21

หากขาดการมสี ว่ นรว่ มจากชาวบา้ น และทกุ ฝา่ ยทม่ี กี ารจดั การ บนพน้ื ฐานวถิ วี ฒั นธรรมแลว้ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ระหวา่ ง ชมุ ชนกบั หนว่ ยงานภาครฐั เชน่ การขยายพน้ื ทเ่ี กษตรในพนื้ ท่ี อุทยาน และการใช้สารเคมีในการท�ำเกษตรเชิงเดี่ยว ส่วน ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ทอ่ งเทยี่ วกม็ กี ารกอ่ สรา้ งขยายกจิ การ ซงึ่ ล้วนแต่กระทบตอ่ ระบบนเิ วศ ดิน น้�ำ ปา่ แมจ้ ะมีการแกไ้ ข ปญั หาโดยหนว่ ยงานหลายหนว่ ยงาน แตก่ ลบั พบวา่ การแกไ้ ข ปญั หาของหนว่ ยงานตา่ งๆ นน้ั แยกสว่ นกนั ไมม่ กี ารบรู ณาการ รว่ มกนั ขาดการวางแผนและการจัดการรว่ มกับชมุ ชน ศนู ย์วจิ ยั และฝึกอบรมด้านสิง่ แวดล้อม ได้ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการเเก้ไขปัญหาหมอกควันท่ีมีสาเหตุท่ี เเตกต่างกนั ในบรบิ ทของพนื้ ที่ จงึ ได้รว่ มกบั สมาชกิ เครอื ข่าย นกั วจิ ยั ด้านส่ิงเเวดลอ้ มในพ้ืนทด่ี อยยาว-ดอยผาหม่น จัดทำ� โครงการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเพ่ือส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้ของชุมชนในการพัฒนารูปแบบทางเลือกในการแก้ไข ปญั หาหมอกควันในพืน้ ทด่ี อยยาว-ดอยผาหมน่ โดยมองเห็น เพอ่ื แลกกบั รายไดท้ เี่ พมิ่ ขนึ้ มาจนุ เจอื ครอบครวั ซง่ึ เปน็ สาเหตหุ ลกั วา่ สาเหตุหลกั ของปญั หาหมอกควันของพน้ื ทีเ่ กิดจากการเผา ของปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เกิดจากการใช้สารเคมีในการท�ำ เศษวชั พชื ทางการเกษตร ซง่ึ การจดั การพนื้ ทเ่ี กษตรดว้ ยวธิ นี ี้ การเกษตรทไี่ มถ่ กู หลกั วชิ าการ และปญั หาหมอกควนั ทเี่ กดิ จาก ถือเป็นการจัดการแบบระบบเก่าท่ีมีมาอย่างช้านาน ซึ่งยาก การเผาเศษวัชพืชเหลือใช้จากการเกษตร ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อการใช้มาตรการเปล่ียนแปลงในระยะเวลาอันส้ัน เพราะ ต่อสุขภาพของชุมชน และระบบนิเวศป่า ซ่ึงภาครัฐเอง ยังไม่มีการพัฒนารูปแบบซ่ึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมต่อการ กพ็ ยายามกำ� หนดนโยบายดา้ นการแกไ้ ขปญั หาหมอกควนั เชน่ ประกอบอาชีพในภาคการเกษตรอย่างแท้จริง ดังนั้นเมื่อ คำ� สง่ั จงั หวดั หา้ มเผาทไี่ รแ่ ละทป่ี า่ ในเดอื นมกราคมถงึ เมษายน ปัญหาเกิดจากระบบการด�ำรงชีพจากภาคเกษตรที่มีอยู่เดิม ทุกปีและในพ้ืนที่มีการจัดต้ังหน่วยงานควบคุมไฟป่ามาดูแล จึงจ�ำเป็นต้องค้นหารูปแบบทางเลือกในการจัดการปัญหา โดยมุ่งใหเ้ กดิ การแก้ไขปัญหา ในทางตรงกนั ขา้ มวธิ ีเหลา่ นั้น หมอกควันที่ย่ังยืน โดยเฉพาะอย่างย่ิงรูปแบบทางเลือกใน ยังไมส่ ามารถแก้ไขปัญหาด้านส่งิ แวดลอ้ มได้ ทง้ั ยังทวคี วาม การจดั การปญั หาหมอกควนั ในภาคการเกษตร ทส่ี ามารถตอบ รุนแรงเพ่ิมมากข้นึ อาจเพราะยังไมม่ ีแนวทางแก้ไขทีต่ รงจดุ โจทย์ของตัวเกษตรกรได้ เพ่ือเป็นกลไกในการจัดการปัญหา หรือเป็นเพราะสาเหตุของปัญหาในเชิงพ้ืนท่ีไม่เหมือนกัน หมอกควัน และการเผาในที่โล่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงยากตอ่ การจัดการปญั หา และวฒั นธรรมการอยูร่ ่วมกับป่า ท่ีมีมาต้ังแต่อดีตเริ่มสูญหาย ปัญหาทางเศรษฐกิจท�ำให้ ชาวบา้ นสนใจเรอ่ื งราว ภมู ปิ ญั ญาในการดแู ลรกั ษาปา่ นอ้ ยลง และไม่มีการสืบทอดองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาแก่ลูกหลาน นอกจากนี้ยังพบว่าอคติจากคนภายนอกท่ีไม่รู้จักชุมชน ยงั มองว่าชุมชนกลุม่ น้เี ปน็ กลุม่ ทท่ี ำ� ลายป่า จนทำ� ให้บางครัง้ เกดิ ความขดั แยง้ กบั ชมุ ชนโดยสว่ นรวม แทท้ จ่ี รงิ แลว้ ชมุ ชนเอง ก็ยังมีวิธีการบริหารจัดการดูแลป่าต้นน้�ำ และที่ดินท�ำกิน โดยอาศยั ภมู ปิ ญั ญาแหง่ วถิ วี ฒั นธรรมของชมุ ชนมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพียงแต่ยังขาดกระบวนการเช่ือมโยงเครือข่ายชุมชนและ การสนบั สนุนจากหน่วยงานภาครฐั ซง่ึ ผลกระทบทีจ่ ะตามมา 22 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มถิ นุ ายน 2557

มีโอกาสร่วมระดมความเห็นในการพัฒนารูปแบบ ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหมอกควันท่ีเหมาะสม กบั พนื้ ทขี่ องตนเอง ซงึ่ ผลจากการระดมความคดิ เหน็ ในคร้ังน้ี ชุมชนได้ร่วมกันพัฒนารูปแบบทางเลือก ในการแก้ไขปัญหาหมอกควันในพ้ืนที่ดอยยาว- ดอยผาหมน่ ภายใตช้ อ่ื โครงการชมุ ชนจดั การตนเอง เพ่ือแก้ไขปัญหาหมอกควันในพื้นที่ดอยยาว- ดอยผาหม่น รวมท้ังการฟื้นฟูวิถีวัฒนธรรมชุมชนท่ีเกี่ยวกับการจัดการระบบนิเวศ การจัดเวทีระดมความคิดเห็นดังกล่าว ป่ามาดูแลรักษาให้ป่าด�ำรงอยู่คู่กับชุมชนได้อย่างยั่งยืน ตลอดจน นอกจากจะเป็นกระบวนการจัดการความรู้ และ ส่งเสริมให้ชุมชนเกิดการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการจัดการตนเอง สร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในการพัฒนา เพ่ือแก้ไขปัญหาหมอกควันอย่างย่ังยืนไปพร้อมๆ กับการยกระดับ รูปแบบทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหมอกควัน คุณภาพชีวิตของชุมชนในพ้ืนที่ดอยยาว-ดอยผาหม่นให้ดีข้ึนต่อไป ทย่ี ง่ั ยนื ในพน้ื ทด่ี อยยาว-ดอยผาหมน่ แลว้ ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ในอนาคต ก า ร ร ว ม ตั ว กั น ข อ ง ชุ ม ช น ใ น พื้ น ท่ี ด อ ย ย า ว - ดอยผาหมน่ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นใหเ้ กดิ การจดั การตนเอง ของชุมชนเพ่ือน�ำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต ของชมุ ชนทดี่ ขี ้ึนในอนาคต ทัง้ นช้ี มุ ชนยงั ต้องการ การสนับสนุนด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ และ งบประมาณในการดำ� เนนิ โครงการชมุ ชนจดั การตนเอง เพื่อแก้ไขปัญหาหมอกควันในพ้ืนที่ดอยยาว- ดอยผาหม่น ทั้งจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานอื่น ทเ่ี กยี่ วข้องในพนื้ ท่ตี ่อไป... ภายใต้โครงการศึกษาวิจัยดังกล่าว ศูนย์วิจัยและฝึกอบรม ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ไดด้ ำ� เนนิ การสำ� รวจบรบิ ทชมุ ชน โดยการสงั เกตเเละ สัมภาษณ์ผู้น�ำชุมชน การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และจัดการ องคค์ วามรใู้ หก้ บั ชมุ ชน รวมทง้ั สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการดำ� เนนิ โครงการ ของชมุ ชนในทกุ กระบวนการ (วเิ คราะหป์ ญั หา/วางแผน/ลงมอื ปฏบิ ตั /ิ ประเมนิ ผล) เพอ่ื ใหช้ มุ ชนตนื่ รแู้ ละเกดิ ความตระหนกั ในการดแู ลรกั ษา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มของตนเอง รวมทงั้ สามารถหารปู แบบ ทางเลือกในการจัดการปัญหาหมอกควันที่เหมาะสมกับพ้ืนท่ีของ ชุมชนเองได้ ซ่งึ จะได้รบั จากประสบการณท์ ่ีชมุ ชนได้เขา้ รว่ มลงมอื ท�ำ กิจกรรมตา่ งๆ ทีจ่ ะเกดิ ขึ้นตามมา กระบวนการเรียนรู้เร่ิมแรกที่ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้าน สง่ิ แวดลอ้ มไดด้ ำ� เนนิ การใหก้ บั ชมุ ชน ไดแ้ ก่ การจดั เวทใี หก้ บั ชมุ ชนได้ GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มิถนุ ายน 2557 23

การพัฒนารูปแบบทางเลือกในการแกไ้ ขปญั หาหมอกควันทย่ี ่งั ยืนในพื้นทีด่ อยยาว-ดอยผาหม่น ภายใตก้ ารดำ� เนนิ โครงการชมุ ชนจดั การตนเองเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาหมอกควนั ในพนื้ ทด่ี อยยาว-ดอยผาหมน่ จงั หวดั เชยี งราย เปา้ หมาย : ฟ้ืนฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม/ ลดพืน้ ที่การเผา จากภาคการเกษตร และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของชุมชนในพ้นื ท่ี พ้นื ทีเ่ ปา้ หมาย โครงการชุมชนจดั การตนเอง เพอื่ แก้ไขปัญหาหมอกควัน กลมุ่ เป้าหมาย ก�ำนนั ผใู้ หญบ่ ้าน อ.เวยี งแกน่ ม.8,9,11,12,13,14,15,18 ในพ้ืนทดี่ อยยาว-ดอยผาหมน่ จังหวัดเชยี งราย ผู้บรหิ าร อบต. เกษตรกร เยาวชน อ.ตับเตา่ ม.19,23,24 ผ้ปู ระกอบการ ในพน้ื ท่เี ป้าหมาย คณะกรรมกเพาร่อื บแรกิหไ้ าขรปโคญั รหงากหามรชอมุกคชนวนัจฯดั การตนเอง องค์ประกอบคณะกรรมการฯ กำ� นัน ผู้ใหญ่บา้ น ผูบ้ รหิ าร อบต. ในพนื้ ทเี่ ปา้ หมาย หน้าท่ี กำ� กบั ดแู ล สนับสนุน การด�ำเนนิ โครงการ ชุมชนจดั การตนเองฯ คณะทำ�งานขับเคลอ่ื นการดำ�เนนิ โครงการ องค์ประกอบคณะท�ำงานฯ ชุมชนจดั การตนเอง คัดเลือกจากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนารูปแบบ ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหมอกควันของกรมส่งเสริม เพ่ือแก้ไขปัญหาหมอกควนั ฯ คณุ ภาพสิ่งแวดล้อม เม่อื วนั ที่ 1-2 เม.ย. 57 หนา้ ท่ี ขับเคลื่อนและประสานการดำ� เนนิ โครงการชุมชน จดั การตนเองฯ ในพน้ื ท่ี รปู แบบทางเลอื กพฒั นาจากการมสี ว่ นรว่ มของผนู้ ำ� ชมุ ชน/ รปู แบบทางเลอื กในการแกไ้ ขปญั หา กลไกการขับเคล่ือนการดำ� เนินกจิ กรรมภายใต้โครงการ เกษตรกร/เยาวชน/ผู้ประกอบการ ภายใต้การประชุม หมอกควนั ภายใตโ้ ครงการชุมชน ชมุ ชนจดั การตนเองฯ เชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนารูปแบบทางเลือกในการแก้ไข ปญั หาหมอกควนั ของกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม เมอื่ จดั การตนเองฯ - สร้างกระบวนการเรยี นรขู้ องชุมชน วนั ท่ี 1-2 เม.ย. 57 - สรา้ งกระบวนการจัดการความรูข้ องชุมชน - สร้างการมีส่วนร่วมในการด�ำเนินโครงการของ ชมุ ชน (วางแผน/ลงมือปฏบิ ตั ิ/ประเมนิ ผล) รปู แบบทางเลอื กท่ี 1: รปู แบบทางเลอื กท่ี 2: รปู แบบทางเลอื กท่ี 3: รปู แบบทางเลอื กท่ี 4: การจดั การพน้ื ทเ่ี พาะปลกู การสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ จากวสั ดเุ หลอื ทง้ิ การพฒั นาระบบเกษตรกรรมยง่ั ยนื การฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศปา่ และการจดั การปญั หา ทางการเกษตร หมอกควนั แบบบรู ณาการ 4.1 การปลกู ปา่ ฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศดอยยาว 1.1 การปลกู ขา้ วโพดแบบไมเ่ ผาและเหลอื่ ม 2.1 การผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี จ์ ากวสั ดเุ หลอื ทง้ิ จาก 3.1 การพฒั นาระบบเกษตรอนิ ทรยี ต์ น้ แบบ -ดอยผาหมน่ ดว้ ยพชื ตระกลู ถว่ั การเกษตรและมลู สตั ว์ - พฒั นาการผลติ เกษตรอนิ ทรยี ์ 4.2 การจดั การปญั หาหมอกควนั 1.2 การปลกู กะหลำ�่ ปลแี บบไมใ่ ชส้ ารเคมี 2.2 การทำ�ถา่ นอดั แทง่ จากเศษซงั ขา้ วโพด - พฒั นาระบบตลาดเกษตรอนิ ทรยี ท์ ี่ แบบบรู ณาการในพนื้ ทด่ี อยยาว 1.3 การพฒั นาตน้ แบบสวนยางพาราทย่ี งั่ ยนื 2.3 การนำ�เศษซงั ขา้ วโพดมาเพาะเหด็ เปน็ ธรรมใหก้ บั ชมุ ชน -ดอยผาหมน่ - พฒั นามาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ 4.3 จดั ตงั้ เครอื ขา่ ยอาสาสมคั รชมุ ชนและ รปู แบบทางเลอื กท่ี 5: ของชมุ ชน เยาวชน ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วทยี่ งั่ ยนื ในพน้ื ทด่ี อยยาว-ดอยผาหมน่ - พฒั นาการแปรรปู ผลผลติ เกษตร ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม อนิ ทรยี ์ 5.1 การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม 3.2 การปลกู หญา้ เลยี้ งสตั วท์ ดแทนการ รปู แบบทางเลอื กที่ 6: 5.2 การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม (พน้ื ทร่ี ปู ธรรมปลกู ขา้ วโพดแบบไมเ่ ผา/การทำ� เลยี้ งววั ตามธรรมชาติ การอนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟวู ฒั นธรรมชมุ ชน เกษตรอนิ ทรยี แ์ ละปยุ๋ อนิ ทรยี /์ การทำ� ถา่ นอดั แทง่ จากเศษซงั ขา้ วโพด) 3.3 การอนรุ ักษ์พนั ธ์พุ ืชชนเผา่ ท่เี ปน็ 5.3 การพฒั นากลไกความรว่ มมอื ระหวา่ งผปู้ ระกอบการทพ่ี กั กบั เกษตรกรในพน้ื ท ่ี เอกลกั ษณ์ของชนเผา่ ดอยยาว-ดอยผาหมน่ 5.4 การพฒั นาระบบตลาดอนิ ทรยี ท์ เี่ ปน็ ธรรมใหก้ บั กลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ ว 3.4 การสง่ เสรมิ การผลติ พชื ผลทางการเกษตร 6.1 จดั ตงั้ เครอื ขา่ ยเยาวชนอนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟู ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องพน้ื ทด่ี อยยาว วฒั นธรรมชมุ ชนในพน้ื ทดี่ อยยาว -ดอยผาหมน่ -ดอยผาหมน่ 3.5 การพฒั นาระบบการปลกู พชื เลยี้ งสตั ว์ 6.2 การจดั การองคค์ วามรู้ เพอ่ื อนรุ กั ษ์ แบบผสมผสาน วฒั นธรรมชมุ ชนในพน้ื ทด่ี อยยาว 3.6 การผลติ พนั ธพ์ุ ชื อนิ ทรยี /์ การปรบั ปรงุ -ดอยผาหมน่ พนั ธพ์ุ ชื 24 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มถิ นุ ายน 2557

ก้าวหนา้ พัฒนา ตคอ่ วกาามรคพิดฒั เชนงิ บาควกน นายรฐั เรอื งโชตวิ ิทย์ นักวิชาการสง่ิ แวดล้อมช�ำนาญการพิเศษ ศูนยว์ จิ ัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดลอ้ ม การพฒั นาคน ในปจั จบุ นั คอื การพฒั นา ต้องสร้างความม่ันใจ ย้ิมได้เม่ือภัยมานั้นต้องฝึกหัดตัวเองให้ ศักยภาพของคน ทั้งความรู้ ความสามารถ คนุ้ เคยกับความจรงิ ของชวี ิต วา่ ทกุ อย่างมีขน้ึ มลี ง ไม่เทีย่ ง เราจึงไม่ควร และการปรับตัวเข้ากับงาน ความคิดเชิงบวก ยึดมั่นกับสภาวะใดสภาวะหน่ึง แต่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงทุกอย่างที่ (positive thinking) มีความส�ำคัญต่อการ เกดิ ขน้ึ ไมต่ โี พยตพี าย ตตี วั ไปกอ่ นไข้ แตพ่ ยายามมสี ติ รเู้ ทา่ ทนั อยเู่ สมอ ทำ� ใจ ท�ำงาน มุมมองต่อการพัฒนางานในอนาคต ใหน้ ง่ิ แลว้ รวบรวมสตปิ ญั ญาเพอื่ แกป้ ญั หาทป่ี ระสบอยใู่ หบ้ รรเทาเบาบางลง ความหมายของการคดิ เชงิ บวก หรอื การมองโลก หรือหมดไป มีเร่ืองจริงที่เกิดข้ึนในอเมริกาสมัยสงครามกลางเมืองมี ในแงด่ ี แงบ่ วก หมายถงึ การมองทกุ ปญั หานนั้ เจา้ ของฟารม์ อยใู่ นชนบทเลยี้ งมา้ ทส่ี วยงามไวห้ ลายตวั วนั หนง่ึ มา้ ตวั โปรด มีหนทางแก้ไขได้ ส่วนอีกพวกหน่ึงมองโลก หายไปในปา่ ทงั้ เจา้ ของฟารม์ และบตุ รชายกร็ สู้ กึ เสยี ดายมากออกตดิ ตาม แง่ลบ หมายถึง หมดหวัง ท้อแท้ เบ่ือหน่าย หาก็ไม่พบ แต่ผา่ นไปประมาณ 4-5 วัน มา้ ดงั กลา่ วก็กลบั มาเองพร้อมกับ คล้ายกบั ว่าทุกหนทางมีปัญหา ท่านทีผ่ า่ นชีวิต มีม้าป่าตามมาด้วยตัวหนึ่ง ทุกคนรู้สึกดีใจว่าโชคร้ายกลับกลายเป็นดี มาพอสมควรคงจะสังเกตความจริงเหล่าน้ีได้ ลูกชายเจ้าของฟาร์มอยากจะลองขี่ม้าป่าที่ตามมาพยายามจะฝึก และพิจารณาดูชีวิตของเราเอง เราก็คงจะ บอกได้ว่าเราเป็นคนประเภทใด หรือมีส่วน ประสมของสองลักษณะเขา้ ด้วยกนั บางช่วงก็ มองโลกในแง่ดีมีความหวังมากแต่พอประสบ ความผดิ หวงั ในบางเรอ่ื ง กพ็ าลจะทอ้ แทย้ อมแพ้ เอาง่ายๆ และท�ำให้เริ่มมองโลกในแง่ลบไป จนกระท่ังมีคนเตือนสติหรืออ่านข้อคิดของคน บางคนที่ตกในท่ีน่ังล�ำบากกว่าเรา เขายังฮึดสู้ จนพบความสำ� เรจ็ ในที่สุด สำ� คัญทีส่ ดุ คิดและ เริม่ จากตัวเราดังน้ี GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับท่ี 27 มิถุนายน 2557 25

(ส�ำหรับคุณ) คนจีนจึงมีค�ำพูดท่ีสอนลูกหลานว่า “ถ้าคุณ เรม่ิ เดนิ ไปกเ็ รมิ่ เหน็ ทางชดั เจนขน้ึ ” สมยั กอ่ นเวลาไปไหนใหมๆ่ ก็เป็นป่ารก แต่พอคุณเริ่มเดินบ่อยเข้า ทางก็เริ่มเกิดแนว ชัดเจนและขยายใหญ่ข้ึนเรื่อยๆ สุภาษิตสเปนก็สอนไว้ว่า “If you cannot build a castle in the air, you cannot build it anywhere” แปลท�ำนองว่า ถ้าคุณไม่กล้าคิด สร้างวิมานในอากาศก่อน คุณก็ไม่สามารถสร้างความส�ำเร็จ ทไ่ี หนไดเ้ ลย หมายความวา่ คณุ ตอ้ งกลา้ คดิ กลา้ ฝนั กอ่ นวา่ เปน็ แต่ม้าป่าก็พยศมาก จนในท่ีสุดลูกชายเจ้าของฟาร์มก็ตกม้า ไปได้ จึงจะเป็นไปไดใ้ นชีวิตจริง ขาหกั เขา้ เฝอื กและเดนิ กะเผลกเสยี ความสงา่ งามไป กร็ สู้ กึ วา่ โชคดกี ก็ ลบั เปน็ โชครา้ ยอกี แตไ่ มน่ านหลงั จากขาหกั กม็ กี ารเกณฑ์ การคิดในทางบวก เร่ิมต้นท่ีการเข้าใจ ตนเอง เข้าใจผู้อื่นและธรรมชาติท�ำให้เห็น 3.เอาคนหนุ่มไปเป็นทหารออกรบในสงครามกลางเมือง ความดีของตนเอง ของผู้อ่ืนและธรรมชาติท่ีแวดล้อมเรา ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ท�ำให้สามารถชื่นชมส่ิงดีๆ มี แตเ่ นอ่ื งจากขาหกั -พกิ ารจงึ ถกู ยกเวน้ ปรากฏวา่ ทหารทไ่ี ปออกรบ ความสุขใจมากกว่าทุกข์ใจ มีเพ่ือนมากกว่ามีศัตรู มีสุขภาพ เสียชีวิตหมด จึงรู้สึกว่าการตกม้าขาหักก็ท�ำให้กลายเป็น ที่ดีมากกว่าโรคภัยไข้เจ็บ ซ่ึงปัจจุบันวิทยาศาสตร์สามารถ โชคดี ไม่ต้องไปรบ ซงึ่ อาจทำ� ใหเ้ สยี ชวี ิตเชน่ ทหารคนอืน่ ๆ อธิบายได้ชัดเจนขึ้นว่า คนท่ีมองโลกในแง่บวกจะสุขใจและ มอี ายยุ นื ยาวกวา่ การทม่ี องโลกในแงล่ บ เพราะความสขุ ใจหรอื เรื่องดังกล่าวข้างต้นสอนเราให้มองทุกอย่างว่ามี ความปีติที่เกิดข้ึนนั้นจะกระตุ้นสมองให้หลั่ง “สารสุข” หรือ 2 ด้านปนกนั เสมอ โชคดกี ็มาพรอ้ มกบั โชครา้ ย และโชครา้ ย “Endorphine” ออกมา ท�ำให้แก้ปวด คลายเครียด เพ่ิม กอ็ าจกลายเปน็ โชคดกี ไ็ ด้ ดงั นน้ั เราจงึ ควรทำ� ใจใหเ้ ปน็ กลางๆ ภมู ติ า้ นทานโรคแกร่ า่ งกาย กนิ ได้ นอนหลบั ดี สขุ ภาพโดยรวมก็ ยอมรับทุกอย่างท่ีผ่านเข้ามาในชีวิตด้วยใจเป็นกลาง ไม่วิตก ยอ่ มดขี นึ้ ตรงกนั ขา้ มคนทเ่ี ครยี ดตลอดเวลา จะหลง่ั “สารทกุ ข”์ กังวลถึงอนาคต แต่ก็ไม่ประมาทและท�ำชีวิตวันนี้ให้ดีที่สุด คอื Adrenaline ออกมามาก กจ็ ะกระตนุ้ ใหใ้ จสน่ั นอนไมห่ ลบั เพื่อให้วันน้ีกลายเป็นวันวานที่ดีเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ในท่ีสุด ทอ้ งผกู เบอ่ื อาหาร อ่อนเพลีย และมกั จะเกดิ โรคแทรก หรอื เราก็ได้สะสมวันวานท่ีดีมากข้ึน บวกกับวันนี้ที่คิดดีท�ำดี โรคจิต ประสาทขึ้นมาได้ บางคนเกิดภาวะซึมเศร้า ถึงกับ มคี วามหวงั เพมิ่ ขน้ึ ทกุ วนั กจ็ ะเปน็ แรงผลกั ดนั ไปสอู่ นาคตทด่ี ี ฆ่าตัวตายได้ หลวงวิจิตรวาทการ จึงสอนเราในโคลงกลอน มคี วามสขุ สมหวงั อยา่ งแนน่ อน กลา่ วนำ� อารมั ภบทมาพอสมควร อกี ตอนหนง่ึ วา่ สองคนยลตามชอ่ ง คนหนง่ึ มองเหน็ โคลนตม แตก่ ย็ งั มคี นขสี้ งสยั ตง้ั คำ� ถามวา่ ทำ� ไมตอ้ งหดั คดิ ในทางบวก? ซงึ่ พอจะตอบได้ดงั นี้ 1.โดยเฉลย่ี อายุ ถา้ กรรมพนั ธอ์ุ ายยุ นื ยาว และ ชีวิตคนเราส้ันนัก ประมาณ 70-80 ปี อกี คนตาแหลมคม เหน็ ดวงดาวพราวแพรว เรยี นรดู้ แู ลสขุ ภาพกายและจติ ดๆี กม็ สี ทิ ธทิ จี่ ะอยถู่ งึ 100 ปไี ด้ แต่ก็ด้วยความล�ำบากล�ำบน ดังน้ันชีวิตที่มีอยู่ไม่ยาวนานนัก เฉพาะคดิ แคด่ า้ นดๆี กม็ เี วลาไมม่ าก จงึ ไมค่ วรเสยี เวลาไปคดิ สง่ิ ทรี่ า้ ยๆ ทำ� ใหเ้ กดิ ความวติ กกงั วลโดยไมจ่ �ำเปน็ เปน็ การลด คุณภาพของวันคืนท่ีเรามีเหลืออยู่ มีประโยคภาษาอังกฤษ กลา่ วสอนเราวา่ “It’s better to add life to your years than to add years to your life” แปลทำ� นองว่า เพมิ่ คณุ ภาพให้ 2.ชวี ิตดกี ว่าเพ่มิ ปริมาณหรือจำ� นวนปใี หช้ วี ิต คุณเป็นอย่างที่คุณคิด คุณคิดว่ามีทางเป็น ไปได้ คุณก็พยายามจนพบหนทาง แต่ถ้า เริ่มต้นก็บอกไว้ก่อนว่าเป็นไปไม่ได้ มันก็คงจะเป็นไปไม่ได้ 26 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 27 มถิ นุ ายน 2557

4.Positive Thinking เปน็ ของฟรแี ทบไม่ตอ้ ง โรคอ่อนเพลียเรื้อรังได้ เม่ือร่างกายรู้สึกสดชื่น จิตใจ และ ลงทุนเลยแต่สามารถน�ำไปเพิ่มคุณค่าแก่ วิญญาณย่อมได้รับการฟื้นฟูเช่นเดียวกัน ความคิดท่ีออกมา 7.ชีวิตทุกๆ ด้าน เพียงแต่เราต้องเร่ิมต้นและฝึกหัด จากสิ่งท่ี กเ็ ปน็ ความคดิ ในทางบวก ท่ีมีพลังสรา้ งสรรคม์ ากย่ิงขน้ึ ใกล้ตัวเราในชวี ิตประจ�ำวัน เช่น การฝึกใชค้ �ำพดู ในทางบวก จงชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื โดยเฉพาะผทู้ ล่ี ำ� บากกวา่ เรา และมคี วามเชอื่ มน่ั เสมอ เชน่ แทนทจ่ี ะพดู วา่ “ผมจะพยายาม จะช่วยให้เราลืมความทุกข์ท่ีรุมเร้า และมี เลิกบุหรี่ให้ได้” เราควรพูดให้หนักแน่นว่า “ผมต้องเลิกบุหรี่ ชัยชนะโดยง่าย เชน่ คนไข้รายหนงึ่ ค้าขายวัสดุกอ่ สร้างด้วย ให้ได้” ขณะเดียวกันเราต้องเลี่ยงค�ำพูดที่ดูถูกตนเอง เช่น ความขยัน วันหนึ่งเกิดไฟไหม้โกดังสินค้าเสียหาย ขาดทุน “ผมเปน็ แคค่ นขายของชำ� จะไปชว่ ยสงั คมไดอ้ ยา่ งไร” เราอาจ มากมาย เป็นความทุกข์ท่ีท�ำให้ผู้ป่วยมีอารมณ์ซึมเศร้ามาก พดู วา่ “ผมขายของชำ� แตผ่ มกม็ สี ว่ นในการพฒั นาชมุ ชนของเรา” และหลายครง้ั อยากฆา่ ตวั ตาย ในชว่ งนน้ั ประมาณปี พ.ศ. 2530 เมอ่ื ฝึกบอ่ ยๆ เขา้ เรากจ็ ะเห็นโอกาส และสงิ่ ดๆี ท่ซี อ่ นอยูใ่ น เกิดพายุถล่มหมู่บ้านชายทะเลจังหวัดชุมพร บ้านเรือน ตวั เรา ในคนข้างเคียง และในสิง่ แวดล้อมของเรา เชน่ มคี น พังพินาศหมด และสวนมะพร้าวล้มลงไปนอนกับพื้นดิน พูดว่า “ในน�ำ้ เน่า ยงั มเี งาจันทร์” หรือ “ศิลปนิ ไม่หมิ่นศิลปะ เสียหายหมด คนท่ีเคยมีรายได้ดีจากสวนมะพร้าวก็หมดเน้ือ กองขยะมองดีๆ ยังมีศิลป์” ในภาษาอังกฤษมีประโยคที่มี หมดตัว และไม่มีบ้านพักพิงกายด้วย ผู้ป่วยรายนี้ได้เห็น 5. 8.ความหมายคลา้ ยกันคือ Every cloud have a silver lining. ความทกุ ขข์ องชาวชมุ พรดงั กลา่ วแลว้ กท็ ำ� ใจไดก้ บั ความทกุ ข์ Positive Thinking เป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ที่ ของตนเอง จงึ หยดุ ทจี่ ะนำ� อดตี ทผ่ี า่ นพน้ ไปแลว้ มาซำ�้ เตมิ ปจั จบุ นั ทำ� ใหค้ นขา้ งเคยี งเกดิ การเลยี นแบบ มผี ลตอ่ ใหม้ ีทกุ ขซ์ ้ำ� ซากตอ่ ไปอกี การพัฒนาตัวเราเองและคนข้างเคียงและสังคมโดยรวม นอกจากนั้นยังมีผู้กล่าวว่า ความคิดของคนเราท่ีคิดด้วย จงนับส่วนที่ท่านมี อย่านับส่วนที่ท่านขาด ในชีวิตจริงน้ัน คนส่วนใหญ่มีส่วนท่ีดี และ ความเชื่อมั่นในทางบวก เหมือนมีกระแสแม่เหล็กท่ีดึงคนท่ี สว่ นทบี่ กพรอ่ ง และสว่ นทมี่ สี ว่ นทข่ี าดคละกนั ไป แตว่ ธิ มี องนน้ั คิดในลกั ษณะเดยี วกนั ใหเ้ ข้ามาหากัน เกิดเพิ่มกลมุ่ แกนท่คี ดิ ท�ำให้คนมีชีวิตที่ต่างกันโดยส้ินเชิง คนที่มองส่วนท่ีมีก็จะ ในทางบวกมาเสริมกัน ท�ำให้มพี ลงั ขับเคล่อื นสงั คมไปในทาง รจู้ กั ชนื่ ชมยินดี สว่ นคนทม่ี องแต่ส่วนท่ขี าด ก็จะน�ำไปเทยี บ 6.ท่ดี ี กลายเปน็ หนังสอื ที่ยิ่งใหญเ่ ล่มหน่ึง กับคนอนื่ ทม่ี มี ากกว่า ทำ� ใหเ้ กิดความอจิ ฉา เกิดความทุกข์ใจ การไปพกั ผอ่ นหรอื เปลย่ี นวถิ ชี วี ติ เชน่ ไปเดนิ นอ้ ยใจ เชน่ คนหนึ่งบ่นนอ้ ยใจที่ตนเองไม่มเี งินซอื้ รองเท้าดๆี ทา่ มกลางธรรมชาติ สดู กลนิ่ ไอดนิ กลนิ่ หญา้ ฟาง มาใส่ ใส่แต่รองเท้าเกา่ ๆ ขาดๆ จนกระทั่งวันหนงึ่ ไปเหน็ คน เดินลุยน�้ำกลางล�ำธาร ภายใต้สายลม แสงแดด ฟังเสียง ที่ไม่มีแม้แต่เท้า (คนขาด้วน) จะใส่รองเท้า จึงเลิกบ่นเร่ือง นกร้อง สิ่งเหล่านี้ช่วยให้ร่างกายและจิตใจได้รับการฟื้นฟู รองเทา้ เกา่ ของตนเอง ท่านอาจจะหายจากความดันโลหิตสูง โรคนอนไม่หลับ หรือ ในวงจรการศกึ ษา การพฒั นาตนเองของคนท�ำงาน ส่วนหนึ่งท่ีประสบความส�ำเร็จมาจากความคิดเชิงบวก การพัฒนาอารมณ์จิตใจจึงเป็นส่ิงจ�ำเป็น การปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมด้วยเช่นกัน วันน้ีเราอาจเห็นวิกฤติการณ์ รอบด้านท่ีไม่สามารถตอบค�ำถามได้ทันที ต้องรอเวลาและ ไม่พึงพอใจ แต่น่ันหมายถึงหากมองในเชิงบวกจะเห็นว่าเรา ไดฝ้ กึ ฝนกบั ความอดทน และทนทานตอ่ สภาพปญั หาทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต นนั่ หมายถงึ ความคดิ เชงิ บวก จะเปน็ ภมู ติ า้ นทานที่ จะชว่ ยใหก้ ารดำ� รงชวี ติ ในวนั ขา้ งหนา้ เดนิ ไปอยา่ งมนั่ คง และ มีความหวงั เพ่อื สง่ิ ต่างๆ ท่ีดใี นอนาคต GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มถิ นุ ายน 2557 27

กา้ วหน้าพฒั นา ยทุ ธศาสตรก์ ารคา้ ปจั จบุ นั แนวคดิ เชงิ รกุ อยทู่ ฉี่ ลากสง่ิ แวดลอ้ ม นายรัฐ เรอื งโชติวทิ ย์ นกั วิชาการสง่ิ แวดล้อมชำ� นาญการพิเศษ ศนู ยว์ ิจัยและฝึกอบรมดา้ นสิ่งแวดล้อม มีข้อตกลงการค้าเสรีระหว่าง และจากทย่ี กใหเ้ รอ่ื งของ ฉลาก เปน็ การแสดงความเปน็ ตวั ตนของผลติ ภณั ฑ์ ประเทศ จึงเกิดการค้ากับมาตรการกีดกัน และบริการในด้านส่ิงแวดล้อม มีฉลากที่เกิดข้ึนเพ่ือตอบสนองต่อความ ทางการค้า ที่มีประเด็นในหลายเรื่องถูก ต้องการของผู้ผลิตท่ีต้องแสดงถึงความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมจาก หยบิ ยกมาเพอื่ เปน็ ขอ้ ตกลงทด่ี เู หมอื นจะไม่ ข้อกำ� หนดตา่ งๆ เช่น สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนิกส์ ตอ้ งมีการ เกยี่ วกบั การคา้ เชน่ เรอ่ื งมาตรฐานการผลติ ก�ำจัดซาก การจัดการของเสียอย่างถูกวิธี และผู้ผลิตต้องรับผิดชอบจัดการ ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ปัญหาแรงงาน การออกฉลากประหยัดไฟฟ้าส�ำหรับผลิตภัณฑ์เคร่ืองไฟฟ้าเป็นส่วนหน่ึง การใช้แรงงานเด็ก ความปลอดภัยในการ ในการเลือกสินคา้ ของผูบ้ ริโภค ทำ� งาน ซง่ึ จากทก่ี ลา่ วมาแลว้ ประเดน็ ดา้ น สิ่งแวดล้อม จากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ประชาชน ภูมิอากาศ ความปลอดภัยในการบริโภค ทเี่ กย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ้ มถกู หยบิ ยกเปน็ ขอ้ กำ� หนด ภาคเอกชน เปลยี่ นเทคโนโลยี ภาครัฐ ทางการคา้ ทหี่ ลายประเทศ ใหค้ วามเขม้ งวด เปลยี่ นพฤตกิ รรม มีการตรวจสอบอย่างมากและก�ำหนด เปลย่ี นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน เงอื่ นไขทางสงิ่ แวดลอ้ มทงั้ การผลติ การใช้ เปลีย่ นเชิง institutional ประโยชนแ์ ละการกำ� จดั ซากจากการบรโิ ภค เปลยี่ นความคิด ทผ่ี ผู้ ลติ ตอ้ งใหค้ วามสนใจ จงึ ตอ้ งพจิ ารณา ถึงการปรับเปลี่ยนการผลิตโดยภาคส่วน อตุ สาหกรรม ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วพนั กนั ดงั แผนภาพที่ 1 แสดง แผนภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธใ์ นการปรับเปล่ยี นการผลติ ทเี่ ป็นมติ รตอ่ ความสัมพันธ์จากการผลิตจนถึงผู้บริโภค ที่จะขับเคล่ือนให้เกิดการปรับเปลี่ยน ส่ิงแวดลอ้ มกบั ภาคส่วนต่างๆ 28 GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มิถุนายน 2557

ฉลากสิ่งแวดล้อม (Environmental Label) เป็นส่วนหน่ึงท่ีผู้ผลิต ใหค้ วามสนใจ ในประเทศไทยมฉี ลากสง่ิ แวดลอ้ มซงึ่ หมายถงึ ฉลากทผ่ี ผู้ ลติ ให้ ความสำ� คัญต่อข้อก�ำหนด มาตรฐานการจดั การสิ่งแวดล้อมในการผลติ จนถึง การก�ำจัดซาก มีมาตรฐานรองรับตามท่ีหน่วยงานระหว่างประเทศก�ำหนดไว้ แบง่ เปน็ ประเภทต่างๆ อยู่ 3 ประเภท ได้แก่ ฉลากส่งิ แวดล้อมประเภทท่ี 1 ฉลากที่มีมาตรฐานรองรับ มีผู้ก�ำหนดคุณลักษณะสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม มผี ตู้ รวจสอบตามเกณฑท์ กี่ ำ� หนดไว้ ประเทศไทย ไดแ้ ก่ ฉลากเขยี ว (Green label) รับผิดชอบโดย ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และสถาบันสงิ่ แวดล้อมไทย ซึง่ เป็นที่รจู้ ักกันในนานาประเทศ ฉลาก สง่ิ แวดลอ้ มประเภทที่ 2 แบบรบั รองตนเอง ฉลากนเ้ี ปน็ ไปตาม ISO 14021 ทผ่ี ปู้ ระกอบการสามารถแสดงตวั ตนทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มโดยตนเอง ตาม ประเดน็ ดา้ นส่งิ แวดลอ้ มท่ีกำ� หนดปัจจบุ นั มี 16 ประเด็น ในการผลิตและการ บรโิ ภคที่เปน็ มติ รต่อส่งิ แวดลอ้ มสำ� หรับผลิตภัณฑ์หรอื บริการน้นั มีหน่วยงาน จากที่กล่าวมาแล้วถึงฉลากท้ัง 3 รบั ผดิ ชอบชว่ ยในการประชาสัมพันธ์ สรา้ งกลไกการรับรองตนเองของผูผ้ ลิต ประเภท ในประเทศไทยนับว่าเป็นประเทศ โดยผา่ นชอ่ งทาง website thaiecoproducr.com ทางศนู ย์เทคโนโลยโี ลหะ แรกๆ ในกลุ่มอาเซียนท่ีริเริ่มระบบฉลาก และวัสดุแห่งชาติรับผิดชอบอยู่ และเชื่อมกับต่างประเทศ ผู้ผลิตสามารถ ดังกล่าว ซึ่งจะท�ำให้เกิดความเข้มแข็งใน ดำ� เนนิ การดว้ ยตนเอง และผปู้ ระกอบการขนาดใหญใ่ ชฉ้ ลากนใ้ี นการรบั รองตนเอง กระบวนการค้าระหว่างประเทศท่ีเริ่มให้ สำ� หรบั ผลติ ภณั ฑข์ องตน เชน่ ฉลาก eco value ของบรษิ ทั ปูนซิเมนต์ไทย ค ว า ม ส� ำ คั ญ กั บ ก า ร พั ฒ น า ที่ ย่ั ง ยื น จำ� กดั (มหาชน) หรอื ขวดนำ้� ดมื่ ทใี่ ชข้ วดพลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้ เปน็ ตน้ ฉลาก การรับผิดชอบต่อสังคม การจัดการปัญหา สงิ่ แวดลอ้ มประเภทท่ี 3 ฉลากทต่ี อ้ งไดร้ บั การตรวจประเมนิ และมกี ารทวนสอบ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ซงึ่ ดจู ะเปน็ แสดงตัวตนของผลติ ภณั ฑท์ เี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม แสดงความรับผิดชอบ กบั ดกั สำ� คญั ทจ่ี ะใชเ้ ปน็ มาตรการทางดา้ นการคา้ ต่อสังคม เช่น ฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ซ่ึงผู้ประกอบการต้องอาศัยบุคคล กับส่ิงแวดล้อม ประเทศไทยเองพยายาม ผ้เู ชี่ยวชาญจากภายนอกมาตรวจสอบและประเมินสภาพทางการผลิต ตลอด เป็นผู้น�ำในการส่งออกสินค้าหลายประเภท วงจรชวี ติ ของผลติ ภณั ฑ์ รบั ผดิ ชอบโดยองคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก ท่ีส�ำคัญคือต้องมีความพร้อมการเตรียมตัว (TGO) ท้งั น้ีรวมถงึ คา่ การใชน้ ้�ำทีเ่ รียกว่า ฉลากวอรเ์ ตอรฟ์ ตุ พรน้ิ ท์ หรอื ฉลาก รองรบั ตอ่ กตกิ าตา่ งๆ ของโลก และเมอ่ื จะเขา้ สู่ เบอร์ 5 ประหยดั พลงั งานสงู สำ� หรับสนิ คา้ อิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ ต้น AEC ประเทศไทยเองคงตอ้ งมองและพฒั นา ผ้ปู ระกอบการให้ยนื ในสังคมการค้าโลก เชน่ กลุ่มผลิตภณั ฑ์ชุมชน (OTOP) กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน SMEs ดงั นน้ั ในบทความนนี้ อกจากจะ ให้เห็นถึงความเป็นไปของสังคมการค้าโลก กับส่ิงแวดล้อมเป็นส่ิงที่แยกกันไม่ได้ และ อยากจะเสนอแนวคดิ เชงิ รกุ ดงั น้ี 1. ต้องมีแนวคิดที่จะให้ความรู้ กับผ้ปู ระกอบการรายยอ่ ย ท่เี สนอแนวคิดนี้ เปน็ ลำ� ดบั แรกเพราะประเทศไทยมผี ปู้ ระกอบการ รายย่อยจ�ำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับการ สง่ ออกทั้งทางตรงและทางออ้ ม สินค้าท่ีเปน็ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน หรอื ผปู้ ระกอบการขนาดเลก็ มีความสามารถในการปรับเปล่ียนการผลิตที่ GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 27 มถิ นุ ายน 2557 29

4. การสร้างระบบการติดตามและประเมินกฎ กตกิ าดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทจี่ ะเกดิ ขน้ึ เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มให้ ทันต่อสถานการณ์ ซงึ่ จะเห็นไดว้ า่ มีข้อก�ำหนดใหม่ๆ ส�ำหรับ ประเทศท่ีเปน็ ลูกคา้ ก�ำหนดใหผ้ ู้ผลิตตอ้ งปรบั ตวั ระบบฉลาก สิ่งแวดล้อมจะเป็นส่วนหน่ึงท่ีแสดงตัวตนที่ปฏิบัติหรือ ทำ� ตามขอ้ กำ� หนด กตกิ านนั้ ในเชงิ รกุ มากกวา่ ทจี่ ะรอขอ้ กำ� หนด มาท�ำให้ต้องปรับตัวตาม ส่วนส�ำคัญคือภาครัฐและเอกชนท่ี เข้มแข็งต้องพยายามติดตามข้อก�ำหนดเหล่านี้ ท้ังท่ีมาจาก อนสุ ญั ญา การประชุมส�ำคัญๆ ระหวา่ งประเทศ โดยเฉพาะ เออ้ื ต่อกฎกติกาของประเทศทเี่ ปน็ ลกู คา้ ท�ำได้ยาก ตอ้ งอาศัย เวทีการค้าโลกท่ีมักจะหยิบยกประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม เวลาและทุนในการปรบั เปลี่ยน ยกตัวอยา่ งเช่น การควบคมุ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกมาเป็นตัวก�ำหนด สที มี่ สี ารตะกวั่ ปนเปอ้ื นในผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ บรรจภุ ณั ฑ์ จงึ ตอ้ ง ทศิ ทางการพฒั นาการค้าโลก มีการลงทุนในการศึกษาวิจัยและพัฒนาการผลิตให้เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม และเม่ือมีการพัฒนาแล้วต้องมีการประกาศ การค้าโลกที่มีกติกามากมายท่ีเกิดขึ้นแล้วใน ตนเองให้ลูกค้าทราบ โดยอาศัยระบบฉลากสินค้าท่ีเป็นมิตร อนาคตท่ีจะตามมาอีกมากมาย ท�ำให้ผู้ผลิตต้องปรับตัว ต่อส่ิงแวดลอ้ มเขา้ ช่วยดงั ที่กลา่ วมาแลว้ ข้างตน้ ในเชิงรุกมากกว่าจะต้ังรับและไม่ทันต่อสถานการณ์ ต้อง 2. การพฒั นากลไกการประชาสัมพนั ธส์ นิ ค้าไทย ยอมรับว่าการแข่งขันทางการค้าในเวทีโลกเป็นไปอย่าง ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มมากขน้ึ จากทผี่ า่ นมาระบบสนิ คา้ ไทย เขม้ ขน้ ผแู้ ขง็ แกรง่ และทนั ตอ่ สถานการณย์ อ่ มจะดำ� รงอยไู่ ด้ อยไู่ ด้ ซง่ึ ไดร้ บั การยอมรบั และลกู คา้ จากตา่ งประเทศเขา้ มา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มไดเ้ ปลย่ี นแปลงไปนนั้ เย่ียมชม แต่สินค้าหลายชนิดพลาดโอกาสเพราะแม้ฝีมือดี หมายถึงการแข่งขันทางการค้า และการผลิตที่เป็นมิตร แต่ขาดในเร่ืองการตลาด การประชาสัมพันธ์สินค้า และ ต่อส่ิงแวดล้อม ต้องได้รับความสนใจอย่างจริงจัง สร้าง ย่ิงสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมต้องได้รับโอกาสในการ กระบวนการค้าท่ีเป็นธรรมมากข้ึน รวมท้ังการรับผิดชอบ ประชาสมั พนั ธม์ ากกวา่ น้ี การทหี่ นว่ ยงานภาครฐั หลายหนว่ ยงาน ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม คงจะไม่ใช่แค่ค�ำพูดสวยหรู ทำ� road show ไปยงั ประเทศตา่ งๆ ตอ้ งทำ� อยา่ งจริงจงั และ แตต่ ้องท�ำใหไ้ ด้ในเวลานีเ้ พือ่ อนาคตของโลกใบนี้. แสดงสินค้ากลุ่มที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้ทั่วโลกได้รับรู้ ยกตวั อยา่ งเชน่ การจดั ทำ� โรงแรมสเี ขยี วทเ่ี กาะสมยุ มมี าตรฐาน รองรับด้านสิ่งแวดล้อมท�ำให้นักท่องเท่ียวส่วนหน่ึงเลือกท่ีจะ จองห้องพักกับโรงแรมสีเขียวที่มีการแนะน�ำบน website คารบ์ อนฟตุ พรน้ื ทข์ องผลติ ภณั ฑ์ การท่องเทยี่ วจากท่วั โลก กลไกตลาดและการประชาสมั พันธ์ 487 ผลติ ภณั ฑ์ / 120 บรษิ ทั (12/06/55) จึงเป็นประโยชนอ์ ย่างยิ่งต่อผูป้ ระกอบการ 3. การจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการค้าและ ส่ิงแวดล้อม จากที่เสนอมาแล้ว 2 ข้อ กระแสของสินค้า ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยแสดงออกทางระบบฉลาก สิ่งแวดลอ้ ม เราตอ้ งเปลีย่ นความเชอื่ ว่าสินคา้ ทดี่ ี เปน็ ความ เช่ือม่ันในตัวสินค้า โดยระยะยาวต้องมียุทธศาสตร์ที่จะ สนบั สนนุ ให้การคา้ และส่งิ แวดลอ้ มเปน็ ไปอย่างมีระบบ และ เอกสารอา้ งอิง มีประสิทธิภาพ แบ่งงานกันท�ำในแต่ละภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. รายงาน และเอกชน สร้างภูมิคุ้มกันต่อระบบการค้าและส่ิงแวดล้อม ท่ีมจี งั หวะก้าวอยา่ งมัน่ คงและยัง่ ยนื การศึกษา การคา้ และสิง่ แวดลอ้ ม. กันยายน 2555, กรงุ เทพฯ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก. เอกสารประกอบการบรรยาย ฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์. สมาคมผู้ประกอบการอุตสาหกรรม. กรงุ เทพฯ, กนั ยายน 2555 30 GREEN RESEARCH ปีที่ 11 ฉบับท่ี 27 มิถุนายน 2557

พึ่งพาธรรมชาติ ทาคงชวาวี มภหาพลาใกนหเมลือางย: หนทางสคู่ วามสุข แหง่ วิถีชีวิตคนเมอื งอยา่ งย่ังยืน (ตอนที่ 2) ดร.จุฑาธิป อยู่เยน็ นักวิชาการสง่ิ เเวดลอ้ มชำ� นาญการ ศนู ยว์ ิจยั และฝึกอบรมด้านส่ิงแวดล้อม บทความตอนท่ีแล้วได้บรรยายถึงความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ในเมือง และสาเหตุแห่งปัญหา บทความตอนน้ีสืบเนื่องจากตอนท่ีแล้ว กล่าวถึงความเป็นมาแห่งความหลากหลาย ทางชีวภาพในเมืองและแนวคิดในการสรา้ งสรรค์ ความคิดในการจัดการความหลากหลายทาง มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมให้เมืองใหญ่หันมาให้ความ ชีวภาพในเมืองมีการริเริ่มจากการประชุม “Cities and ส�ำคัญกับการฟื้นฟูและอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ Biodiversity Achieving the 2010 Biodiversity Target” และระบบนิเวศอันหลากหลายท่ีมีอยู่ในเมืองท่ีเป็นที่อยู่ ณ เมืองคูริติบา สหพันธรัฐบราซิล เม่ือวันที่ 26-28 มีนาคม อาศัยของส่ิงมีชีวิตต่างๆ เพ่ือด�ำรงไว้ซึ่งความสมดุลของการ 2550 ได้ให้การรับรองปฏิญญาคูริติบาว่าด้วยเมืองกับ พัฒนาเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดย ความหลากหลายทางชีวภาพ (The Curitiba Declaration คัดเลือกเทศบาลนครเชียงรายเป็น 1 ใน 3 เมืองน�ำร่องของ on Cities and Biodiversity) ท่ีให้ความส�ำคัญเร่งด่วนกับ ประเทศไทย สร้างกิจกรรมความร่วมมือภาคี กระบวนการ การสนับสนุนให้องค์กรปกครองท้องถิ่นในการด�ำเนินงาน มีส่วนร่วมท้ังระดับท้องถ่ิน ระดับภูมิภาค และระดับชาติ และเพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายที่ 7 ของเป้าหมายการ ในการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ในพ้ืนท่ีป่า พัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goal) แหล่งสุดท้าย “ป่าดอยสะเก็ด” ป่าปลูก “ป่าดอยพระบาท” ในเรอ่ื งสง่ิ แวดลอ้ มทย่ี ง่ั ยนื นนั้ จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื การศกึ ษารวบรวมชนดิ พนั ธไ์ุ ลเคนสเ์ พอ่ื ใชเ้ ปน็ ดชั นชี วี้ ดั คณุ ภาพ จากองค์กรท้องถิ่น ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และ อากาศจากมลพิษในเขตเมือง การด�ำเนินงานของเทศบาล ความร่วมมือจากพลเมืองทุกคน เป็นตัวอย่างที่ดีจนท�ำให้ได้รับรางวัลตัวอย่างที่ดี ในงาน การสร้างให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ วันท่ีอยู่อาศัยโลก ปี 2011 ณ ประเทศเม็กซิโก ในเมืองของประเทศไทย เช่น ในปี 2008 มูลนิธิสถาบัน การสร้างความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง ส่ิงแวดล้อมไทยได้เร่ิมโครงการ “อนุรักษ์ระบบนิเวศและ โดยแนวคิดและแนวทางการปลูกป่านิเวศส�ำหรับพื้นที่ ความหลากหลายทางชีวภาพของเมือง (Enhancing Urban เขตเมือง เพ่ือจ�ำลองป่ามาไว้ในเมืองตามหลักการและ Ecosystem and Biodiversity in Chiang Rai City)” แนวทางสร้างป่านิเวศ เป็นการบูรณาการองค์ความรู้ GREEN RESEARCH ปที ่ี 11 ฉบับที่ 27 มถิ นุ ายน 2557 31

2551 2552 2554 ภาพที่ 1 การปลกู ป่านิเวศแบบมีสว่ นร่วมกบั ชมุ ชนในโรงงานโตโยต้าท่อี �ำเภอบ้านโพธ์ิ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา แสดงการเติบโดของพชื ระหว่างปี 2551-2554 ปลูกแบบ ศ.ดร.มิยาวากิ ปลูกแบบท่ัวไป ภาพท่ี 2 การเตบิ โตของป่านเิ วศ (ปา่ ธรรมชาต)ิ ท่โี รงงานโตโยตา้ บ้านโพธิ์ เปรียบเทียบระหว่างวธิ กี ารปลกู ป่านเิ วศของผูค้ ิดค้น (ศ.ดร.มยิ าวากิ) และการปลกู แบบท่ัวไป 32 GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มถิ นุ ายน 2557

ภาพที่ 3 โครงการปลูกป่านเิ วศของจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย จงั หวัดสระบรุ ี การบริโภคที่ลดระยะทางขนส่งอาหารตลอดไปจนถึง การกระจายอาหารใหเ้ ขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยดว้ ยตนเอง เปน็ การสรา้ ง ทางด้านนิเวศวิทยา (สังคมพืช) วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม ศักยภาพในการเข้าถึงอาหารและการกระจายอ�ำนาจ (ดิน น�้ำ ลม ไฟ) และสงั คมศาสตร์ (การมีสว่ นรว่ ม ความสมั พันธ์ ในระบบอาหาร เกษตรในเมอื ง ยงั รวมถงึ การนำ� กลบั มา ระหวา่ งคนกบั ปา่ ) (อนงค์ ชานะมูล, 2556) สำ� หรบั ประเทศไทย ใชใ้ หม่ การสร้างผลิตภณั ฑ์ และการบรกิ ารที่เกีย่ วข้อง การสรา้ งปา่ นเิ วศในพนื้ ทเ่ี ขตเมอื งเพอื่ ฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศปา่ ธรรมชาติ เกษตรเมืองนอกจากเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อรับมือ สร้างความหลากหลายทางชีวภาพได้ด�ำเนินมาตั้งแต่ พ.ศ. 2551 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ยังเพิ่มแหล่งอาหาร ในพน้ื ทต่ี า่ งๆ เชน่ พนื้ ทว่ี า่ งเปลา่ ของโรงงานโตโยตา้ อำ� เภอบา้ นโพธิ์ เพมิ่ อาชพี เพม่ิ รายได้ สรา้ งการบรโิ ภคทถ่ี กู สขุ ขอนามยั จังหวดั ฉะเชงิ เทรา เพอ่ื เป็นแหล่งเรียนร้เู ชงิ นิเวศ คาดว่าผืนป่านี้ การสร้างกิจกรรมยามว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ชว่ ยดูดซบั ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศได้เฉลยี่ 800 ตนั และสงั คมด้วยราคาถกู และใชพ้ ืน้ ทีน่ ้อย ต่อปี การริเริ่มโครงการ “อาสาสมัครรักษ์ป่า พัฒนาส่ิงแวดล้อม พร้อมใจเทิดไท้องค์ราชา” อย่างไรก็ดีข้อเสียของการปลูกป่านิเวศ ภาพที่ 4 แสดงการท�ำเกษตรในเมืองในพื้นทหี่ ลากหลายรปู แบบ คอื คา่ ใชจ้ า่ ยสงู เพราะใชก้ ลา้ ไมท้ อ้ งถนิ่ จำ� นวนมากกวา่ การปลกู ปา่ (www.google.com) ปกติ การเตรียมดิน การบ�ำรุงดิน และส�ำหรับในบางพ้ืนท่ีการมี เอกสารอ้างอิง ป่าทึบเกินไปในเขตเมืองอาจเป็นมุมสร้างแหล่งอาชญากรรม เช่น กรงุ เทพฯ อนงค์ ชานะมูล 2556. หลักการและแนวทางการปลูกป่านิเวศ สำ� หรบั พนื้ ทเี่ ขตเมอื ง การสมั มนาวชิ าการภาคพนื้ เอเซยี แนวคดิ การสรา้ งความหลากหลายในเขตเมอื งกรณมี พี นื้ ท่ี เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง คร้ังท่ี 1 จำ� กดั คอื เกษตรเมอื ง การปลกู ผกั กนิ เองของคนเมอื งในสงั คมไทย : การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง เกดิ ขนึ้ ในชว่ ง 10 ปที ผ่ี า่ นมา พรอ้ มๆ กบั การขยายตวั ของเมอื ง และ อย่างยั่งยืนเพ่ือการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบ ภาวะเศรษฐกจิ และสขุ อนามยั ของบคุ คลและครอบครวั เกษตรเมอื ง จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The 1st Urban (Urban Agriculture) หมายถึงการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ซ่ึงเป็น Biodiversity Regional Seminar: “Sustaining Urban กระบวนการสรา้ งอาหารใหก้ บั ครอบครวั ชมุ ชน รวมถงึ กระบวนการอนื่ ๆ Biodiversity for Climate Change Adaptation and ในห่วงโซ่อาหาร เช่น กระบวนแปรรูปต่างๆ หรือการผลิต Mitigation” โรงแรมดสุ ติ ไอสแ์ ลนด์ รสี อรท์ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดเชยี งราย, 18-20 ธนั วาคม 2556. บรษิ ัท โตโยต้า ประเทศไทย จำ� กัด (2554) www.google.com, 2554 หมายเหตุ : ภาพท่ี 1, 2 และ 3 ได้รบั ความอนุเคราะห์จาก สำ� นักสง่ เสรมิ ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม บริษทั โตโยตา้ ประเทศไทย จ�ำกัด GREEN RESEARCH ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 27 มถิ ุนายน 2557 33

โ ค ร ง ก า ร ฝ ึ ก อ บ ร ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร การรบั รองตนเองด้านส่ิงแวดล้อม “เตาเผาขยะชีวมวลไร้ควัน” นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ ลดมลพิษ ลดหมอกควัน ในพน้ื ท่ี 9 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน เมื่อวนั ที่ 22 เมษายน ถึงวันท่ี 8 พฤษภาคม เม่อื วนั ท่ี 21 พฤษภาคม 2557 ทีผ่ ่านมา ศูนย์วิจยั และฝึกอบรม 2557 ที่ผ่านมา นางนิตยา นักระนาด มิลน์ ด้านส่ิงแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ร่วมกับมหาวิทยาลัย นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช�ำนาญการพิเศษ และ เทคโนโลยีราชมงคล และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้จัดการ ทมี วจิ ยั เตาเผาขยะชวี มวลไรค้ วนั เปน็ วทิ ยากรในการ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื งการรบั รองตนเองดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มตามมาตรฐาน ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “เตาเผาขยะชีวมวล ISO 14021 คร้ังที่ 1 ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาการส่งเสริม ไร้ควัน” นวัตกรรมส่ิงประดิษฐ์ ลดมลพิษ ลด การผลติ และการบรโิ ภคสนิ คา้ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ณ โรงแรมเดอะทวนิ หมอกควัน ในพื้นท่ี 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ทาวเวอร์ กรงุ เทพฯ โดยมนี ายโสฬส ขนั ธเ์ ครอื ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ ประสาน ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ล�ำพูน ล�ำปาง แพร่ ความร่วมมือนักวิจัยด้านส่ิงแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม น่าน พะเยา แมฮ่ อ่ งสอน และตาก ภายใต้โครงการ เป็นผู้กล่าวเปิดการอบรมดังกล่าว พร้อมท้ังยังมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างจิตส�ำนึกป้องกัน ร่วมบรรยายให้ความรู้ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมอบรมฯ ลดการเผาในทโี่ ลง่ และหมอกควนั เพอื่ เปน็ การสรา้ ง มีความรู้ความเข้าใจในการจัดท�ำรายงานส่ิงแวดล้อม ซึ่งผู้ประกอบการ จิตส�ำนึกและกระตุ้นให้เกิดความตระหนัก ส่งเสริม จะต้องวิเคราะห์จุดเด่นของผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตที่เป็นมิตร ความร่วมมอื ในการลดปัญหาหมอกควัน ไฟปา่ และ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ตามขอ้ กำ� หนดแนวทาง ISO 14021 ไดเ้ ขา้ ใจขน้ั ตอน และ การเผาในทโี่ ลง่ มกี ารแบง่ กลมุ่ ผอู้ บรมเพอ่ื ฝกึ ปฏบิ ตั ิ สามารถนำ� ไปใช้ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเป็นประโยชน์มากท่สี ุด การประกอบ และใช้งานเตาเผาขยะชีวมวลไร้ควัน และการตรวจวดั กา๊ ซทป่ี ลดปลอ่ ยจากการเผา เพอ่ื ให้ กรูาปรแสบ่งบเสทราิมงเกลรือะบกวเนพก่ือาแรกเร้ไียขนปรัญู้ขอหงาหชุมมชอนกคในวกันารในพพัฒ้ืนนทา่ี ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถใช้เตาเผาขยะชีวมวล ดอยยาว-ดอยผาหม่น ไรค้ วนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง นอกจากนยี้ งั มกี ารแลกเปลย่ี น ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ระหว่างวิทยากรและ เมอ่ื วนั ที่ 6-13 มถิ นุ ายน 2557 ศนู ยว์ จิ ยั และฝกึ อบรมดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพ่ือน�ำไปสู่การขยายผลในการ กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม รว่ มกบั เกษตรกรภายใตโ้ ครงการวจิ ยั เชงิ ลดปัญหาหมอกควันจากการเผาในท่ีโล่ง และการ ปฏิบัติการ เร่ือง การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในการพัฒนา ผลิตถ่านใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนลดโลกร้อน รปู แบบทางเลือกเพ่อื แก้ไขปญั หาหมอกควันในพื้นท่ดี อยยาว-ดอยผาหมน่ อยา่ งยั่งยืนตอ่ ไป จัดท�ำพื้นท่ีสาธิตการน�ำเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์ ซงึ่ ประกอบด้วย การผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ โดยใช้จุลนิ ทรียอ์ ดั เม็ด และการผลติ นำ้� หมกั สมนุ ไพรกำ� จดั แมลงศตั รพู ชื ซง่ึ ปยุ๋ หมกั และนำ�้ หมกั สมนุ ไพรกำ� จดั แมลงศตั รพู ชื ทผ่ี ลติ ได้ จะนำ� ไปใชใ้ นพน้ื ทสี่ าธติ นำ� รอ่ งตน้ แบบการปลกู พชื ปลอดสารพษิ แบบเกษตรอนิ ทรยี ต์ อ่ ไป ทง้ั น้ี พน้ื ทส่ี าธติ ดงั กลา่ วเปน็ หนง่ึ ใน รปู แบบทางเลอื กทพี่ ฒั นาขนึ้ จากเวทกี ารระดมความคดิ เหน็ ของเกษตรกรท่ี เขา้ ร่วมโครงการวจิ ยั ดังกล่าว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook