Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GR26 ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากสังคมเทคโนโลยี

GR26 ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากสังคมเทคโนโลยี

Published by Lib SRC, 2022-01-25 03:32:19

Description: GR26.1

Search

Read the Text Version

GREEN ResearchMarch2014 Content wwwJournalNo.26 deqp.go.th/website/20/ Editor’s Talk [บรรณาธกิ าร ชวนคยุ ] สวัสดีค่ะ กลับมาพบกันอีกครั้งฉบับน้ีกับการเร่ิมต้นปี 2557 ซ่ึงยังคงมีประเด็นด้านงานวิจัย สิ่งแวดล้อม และการติดตามเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยในหลายๆ เรื่องท่ีน่าสนใจ โดยในฉบับนี้ประเด็น เรอื่ ง “ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กบั ปญั หาสงิ่ แวดล้อมจากสังคมเทคโนโลย”ี เปน็ ประเดน็ ทีท่ างทีมงานจะนำ� มาเสนอให้ผู้ อา่ นไดร้ บั ทราบขอ้ มลู เบอื้ งตน้ กอ่ นทเ่ี ราจะมงี านวจิ ยั ทมี่ รี ายละเอยี ดมากกวา่ น้ี กลบั มานำ� เสนออกี ครงั้ ประเทศไทย จัดเป็นประเทศท่ีรับเทคโนโลยีมาจากท่ัวโลก  โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ โทรทศั น์ LCD, LED คอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และชน้ิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ งๆ แตเ่ มอ่ื เทคโนโลยเี หลา่ นนั้ หมด อายกุ ารใชง้ าน  การทิง้ ขยะอเิ ลก็ ทรอนิกส์เหลา่ นี้ คือ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ ในอนาคตกบั ประเทศไทยอย่างหลกี เลีย่ ง ไมไ่ ด้ ตัวอย่างล่าสุดท่ีสร้างผลกระทบชัดเจน คือ มลพิษทางน�้ำ กรณีปลาตายเป็นแพตามล�ำน้�ำเจ้าพระยา ซ่ึงก่อผลกระทบต่อคนนับล้านคน ไม่ใช่เฉพาะผู้เลี้ยงปลาแต่ผู้ท่ีจ�ำเป็นต้องบริโภคน�้ำจากแม่น�้ำไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อมและก็แน่นอนคงไม่พ้นโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นลักษณะอุตสาหกรรมเก่าไม่มีความต้ังใจจริงกับการ ลงทุนด้านการก�ำจัดของเสียและมลพิษทางอิเล็กทรอนิกส์ หรืออาจจะเกิดจากการท้ิงขยะอิเล็กทรอนิกส์จาก ผใู้ ช้งานด้วย ปจั จบุ นั การลงทนุ จากสง่ิ เหลา่ นปี้ ระเทศไทยซง่ึ ปจั จบุ นั มกี ฎหมายหรอื ระเบยี บควบคมุ ทางสงิ่ แวดลอ้ ม อยพู่ อสมควร จะมกี ารน�ำมาบงั คบั ใชห้ รอื ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากผผู้ ลติ และผใู้ ชม้ ากนอ้ ยแคไ่ หนนน้ั นบั เปน็ ประเดน็ ทนี่ า่ ตดิ ตามวา่ ทศิ ทางดงั กลา่ วจะสง่ ผลในอนาคตดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มยา่ งไรบา้ ง ทง้ั หมดนเ้ี ปน็ เพยี งการหยบิ ยกตวั อยา่ ง บางส่วนหากมีรายงานวิจยั เร่อื งดังกลา่ วทนี่ ่าสนใจ ทางบรรณาธกิ ารจะน�ำเสนอให้ผู้อ่านไดร้ ับทราบในโอกาสตอ่ ไป นะคะ่ และนอกจากนท้ี มี งานไดร้ วบรวมบทความอน่ื ๆ ทนี่ า่ สนใจไวใ้ หไ้ ดต้ ดิ ตามกนั เชน่ เคย แลว้ พบกนั ใหมก่ บั การเกาะ ตดิ ประเดน็ ที่นา่ สนใจอกี คร้ังคะ่ เร่อื งเด่นประจ�ำฉบบั • ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มจากสงั คมเทคโนโลย ี 1 • ความหลากหลายทางชวี ภาพในเมือง 5 • ตา่ งชาติสะดดุ ตางานวจิ ยั เดก็ ไทย มุ่งแก้ไขสง่ิ แวดลอ้ มท้องถ่ิน 9 • แนวคดิ CSR ช่วยแก้ปัญหาส่งิ แวดลอ้ มไทยได้จรงิ หรือไม่ 11 ติดตามเฝา้ ระวัง • การเฝา้ ระวงั โรคเหตุสง่ิ แวดลอ้ ม 13 • การสำ� รวจการปนเปอื้ นของสารพษิ ท่ีมากบั น�้ำมันรัว่ ในอา่ วไทย 16 ก้าวหนา้ พัฒนา • บทบาท AEC ต้องไม่ละเลยทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 18 • แนวคดิ ส่ือธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมในชมุ ชนพฒั นาเด็กได้มากกวา่ ทคี่ ดิ 21 • เศรษฐกิจ-ส่ิงแวดลอ้ ม ตอ้ งพฒั นาคู่ขนาน 25 • ทศิ ทางการวจิ ัยที่ตอบโจทย์ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม 27 • การเลือกใช้ Green technology 30 พ่ึงพาธรรมชาติ • จรยิ ธรรมกบั สิง่ แวดล้อม 32 ERTC Focus • ธรรมาภบิ าลส่งิ แวดลอ้ ม 34 คณะผู้จัดท�ำ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมดา้ นสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เทคโนธานี ต�ำบลคลองหา้ อำ� เภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 02-577-4182-9 โทรสาร 0-2577-1138 ทป่ี รกึ ษา จตพุ ร บรุ ษุ พัฒน์, เสรมิ ยศ สมม่ัน, สากล ฐินะกลุ บรรณาธิการบรหิ าร สวุ รรณา เตยี รถ์สวุ รรณ บรรณาธกิ าร ณัฐพล ตยิ ชิรวงศ์ กองบรรณาธกิ าร โสฬส ขนั ธเ์ ครอื , นติ ยา นกั ระนาด มลิ น,์ ศริ นิ ภา ศรที องทมิ , หทยั รตั น์ การเี วทย,์ เจนวทิ ย ์ วงษศ์ านนู , ปญั จา ใยถาวร, จนิ ดารตั น์ เรอื งโชตวิ ทิ ย,์ อาทติ ยา พามี

เรื่องเด่นประจำ� ฉบับ “ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส”์ ปัญหาสง่ิ แวดล้อมจากสังคมเทคโนโลยี การบริโภคสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยความหลากหลายของเทคโนโลยีที่มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเหตุ เพิ่มข้ึนอย่างไม่หยุดย้ัง และ ให้การบริโภคสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง และกระจายไปสู่ประชากรทุก กระจายไปสู่ประชากรทุกชนชั้น ชนช้ัน ท้ังโทรศัพทม์ อื ถือ โทรทัศน์ร่นุ ใหม่ คอมพิวเตอร์ และอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ต่างๆ ทั้งโทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์รุ่น ประกอบกบั การก้าวกระโดดของภาคอตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนกิ สท์ ่ีท�ำใหก้ ารล้าสมยั ของ ใหม่ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์หลายชนิดเปน็ ไปอย่างรวดเรว็ เชน่ กนั อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ประกอบ ในปีหนง่ึ ๆ เราบริโภคสินคา้ ประเภทอิเลก็ ทรอนิกสก์ นั มากน้อยเพียงใด บางคน กั บ ก า ร ก้ า ว ก ร ะ โ ด ด ข อ ง ภ า ค อาจจะตอบวา่ เปลย่ี นโทรศพั ทม์ อื ถอื ทกุ ปี เพราะรนุ่ ใหมๆ่ ออกมาอยตู่ ลอด ถา้ ไมเ่ ปลยี่ น อตุ สาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ท่ี �ำ ให้ อาจจะตกเทรนด์ โดยเฉพาะโทรทัศน์จอแอลซีดีที่มีราคาต่�ำลงจนน่าตกใจ ยังไม่รวม การลา้ สมัย คอมพิวเตอร์ที่หลายท่านมีไว้ในครอบครองทั้งพีซีและโน้ตบุ้ค ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เหล่านี้ หลายท่านก็ใชไ้ ดไ้ ม่เตม็ ประสทิ ธิภาพหรือเต็มอายุสินค้านกั ก็อาจจะเปลย่ี นใหม่ เรามกั จะหาซอื้ มาใชก้ นั มากมาย โดยไมไ่ ดค้ ำ� นงึ ถงึ วา่ ผลติ ภณั ฑเ์ หลา่ นจ้ี ะเสอื่ มสภาพการ ใช้งานเมื่อใดและจะน�ำไปก�ำจัดท้ิงอย่างไร เพ่ือไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของ ประชาชน และผลเสยี ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มนน่ั ทำ� ใหเ้ ราเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มอยา่ งไมต่ ง้ั ใจในการสรา้ ง กองภเู ขาใหญท่ ่ีช่ือ “ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส”์ ในวิกิพีเดียสารานุกรมเสรี ให้ความหมายไว้ว่า ขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ “อเี วสต”์ (e-waste) เปน็ ของเสยี ทป่ี ระกอบดว้ ย เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ หรอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทเ่ี สยี หรอื ไมม่ คี นตอ้ งการแลว้ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ปน็ ประเดน็ วติ กกงั วล เนอื่ งจากชน้ิ สว่ น หลายช้ินในอุปกรณ์เหล่าน้ันถือว่าเป็นพิษ และไม่สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้ ความกา้ วลำ�้ ทางเทคโนโลยที กุ วนั น้ี ยงั มสี ว่ นเรง่ ใหส้ นิ คา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อยใู่ นสภาพตกรนุ่ เร็วย่ิงข้ึน โดยเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและโทรศัพท์มือถือ ซ่ึงมีอัตราการ เปลีย่ นเครือ่ งบอ่ ยทสี่ ดุ อายกุ ารใช้งานของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ปัจจุบนั อยูร่ ะหวา่ ง 3-5 ปี ขณะทโ่ี ทรศพั ทม์ อื ถอื มอี ายใุ ชง้ านเฉลย่ี 18 เดอื น อายกุ ารใชง้ านบวกกบั จำ� นวนผใู้ ชเ้ ครอื่ ง คอมพวิ เตอรแ์ ละโทรศพั ท์มอื ถอื ซง่ึ ปัจจบุ นั มมี ากกวา่ 1 พนั ลา้ นคนทว่ั โลกน้ัน กำ� ลงั เปน็ ปัจจัยทีเ่ พ่ิมขึน้ ของขยะอเิ ล็กทรอนิกสไ์ ปพร้อมๆ กัน No.26 March 2014 Green Research 1

เรอื่ งเดน่ ประจ�ำฉบับ ปจั จบุ นั ปญั หาขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ อี ตั ราการเพม่ิ สงู ขนึ้ เปน็ ทไี่ ต ทำ� ลายระบบประสาท สง่ ผลต่อพฒั นาการและการมีบุตร หรือ 3 เท่าของขยะมูลฝอยในชุมชน โดยเฉพาะขยะที่มาจากผลิตภัณฑ์ อาจมีผลกระทบตอ่ พันธกุ รรม ดา้ นเทคโนโลยตี า่ งๆ เชน่ คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ทม์ อื ถอื ทม่ี อี ตั ราการ เปลยี่ นแปลงรนุ่ และตกรนุ่ อยตู่ ลอดเวลา ทำ� ใหม้ กี ารเลกิ ใชแ้ ละถกู ทงิ้ ปรอท มักพบในตวั ตัดความร้อน สวิตซ์ และจอแบน โดย เป็นขยะสะสมเป็นปริมาณมากตามความต้องการของตลาด จะสง่ ผลในการทำ� ลายอวยั วะตา่ งๆ รวมทง้ั สมอง ไต และเดก็ ในครรภ์ นอกจากน้ีประเทศไทยกลายเป็นส่วนหนึ่งของปลายทางขยะ มารดาได้ และถา้ ลงสแู่ หลง่ นำ้� จะเปลย่ี นรปู เปน็ Methylated Mercury อิเล็กทรอนิกส์จากทั่วโลก ซึ่งถูกแฝงมาในรูปของการน�ำเข้าสินค้า และตกตะกอน ซง่ึ สะสมในสงิ่ มชี วี ติ ไดง้ า่ ย และสะสมตอ่ ไปตามหว่ ง คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือท่ีใช้แล้วจากต่างประเทศ ซ่ึงมีอายุ โซ่อาหาร การใชง้ านสนั้ และพรอ้ มจะเปน็ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สส์ รา้ งปญั หามลพษิ โครเมยี มเฮกซาวาเลน ใชใ้ นการปอ้ งกนั การกดั กรอ่ นของ ต่อไป แผน่ โลหะเคลอื บสงั กะสี ซง่ึ สามารถผา่ นเขา้ สผู่ นงั เซลลไ์ ดง้ า่ ย จะสง่ ถ้าหากใครเคยไปเดินที่พันธท์ ิพย์ จะเหน็ ว่ามีคอมพวิ เตอร์ ผลในการทำ� ลายดีเอน็ เอ และเปน็ สารก่อมะเร็งส�ำหรบั มนษุ ย์ มอื สองวางขายเป็นจ�ำนวนมาก และคนก็ชอบซอื้ เพราะราคาถูกกว่า เบริลเลียม ใช้ในแผนวงจรหลัก เป็นการก่อมะเร็งโดย 50-70% เลยทีเดยี ว เฉพาะมะเร็งปอด โดยผทู้ ่ีได้รบั สารน้อี ยา่ งต่อเน่ืองจากการสูดดมจะ กลายเปน็ โรค Beryllicosis ซึง่ มีผลกับปอด หากสัมผัสก็จะท�ำให้เกดิ วงจรชีวติ ของอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ แผลท่ผี ิวหนงั อย่างรนุ แรง ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนมากไม่ทราบถึง สารหนู ใชใ้ นแผงวงจร ซง่ึ ท�ำลายระบบประสาท ผวิ หนัง มหันตภัยร้ายแรงที่มีต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อมที่เกิดข้ึนจากวงจร และระบบการยอ่ ยอาหาร หากไดร้ บั ปรมิ าณมากอาจทำ� ใหถ้ งึ ตายได้ ชีวิตของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การใช้สารพิษท่ีเป็นอันตราย อยา่ งสารปรอท ตะกว่ั และสารทนไฟในกระบวนการผลติ ทสี่ ามารถ แบเรียม ใชใ้ นแผน่ หนา้ ของหลอดรังสีแคโทด ซงึ่ เป็นสาร กอ่ ใหเ้ กดิ การปนเปอ้ื นสารพษิ ในสง่ิ แวดลอ้ ม และสขุ ภาพของคนงาน ทม่ี ผี ลตอ่ สมอง ทำ� ใหส้ มองบวม กลา้ มเนอื้ ออ่ นลา้ ทำ� ลายหวั ใจ ตบั อีกทั้งเป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นในระหว่างข้ันตอนการรีไซเคิล และการ และม้าม กำ� จัดอีกด้วย ท�ำไมขยะอิเล็กทรอนิกส์จึงมผี ลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม? เนื่องจากสว่ นประกอบของผลติ ภณั ฑอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ มสี าร โลหะหนกั ทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ คณุ ภาพชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ สามารถ จ�ำแนกสารอันตรายที่อยู่ในผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ และเคร่ืองใช้ ไฟฟา้ ไวไ้ ด้ ดงั น้ี ตะกวั่ เป็นส่วนประกอบในการบดั กรแี ผ่นวงจรพิมพ์ และ หลอดภาพรงั สแี คโทด (CRT) เปน็ ตน้ โดยผลกระทบท่ีเกิดขึน้ จะไป ทำ� ลายระบบประสาทสว่ นกลาง ระบบโลหติ การทำ� งานของไต การ สืบพันธุ์ และมีผลต่อการพัฒนาสมองของเด็ก และท�ำลายระบบ ประสาท ระบบเลอื ด และระบบสบื พนั ธใ์ุ นผใู้ หญ่ นอกจากนี้ พษิ ยงั สามารถสะสมได้ในสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดผลเฉียบพลัน หรือแบบ เรอื้ รงั ไดใ้ นพืชและสตั ว์ แคดเมียม มักพบในแผ่นวงจรพิมพ์ ตัวต้านทาน และ หลอดภาพรงั สแี คโทด เปน็ ตน้ ซงึ่ สารนจี้ ะสะสมในรา่ งกายโดยเฉพาะ 2 Green Research No.26 March 2014

ตวั ทนไฟทำ� จากโบรมนี ใชใ้ นกลอ่ งพลาสตกิ ของอปุ กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ แผงวงจร และตัวเช่ือมต่อ ซึ่งเป็นสารท่ีมีพิษและ สามารถสะสมไดใ้ นสง่ิ มชี วี ติ ถา้ มที องแดงรว่ มดว้ ยจะเพม่ิ ความเสยี่ ง ในการเกิดไดออกซินและฟิวแรนระหว่างการเผา เน่ืองจากตัวทนไฟ ท�ำจากโบรมีนมีอยู่หลายรูปแบบ แบบที่มีอันตรายมากจะเป็นโพลี โบรมิเต็ดไบฟีนีล (Polybrominated Biphenyls-PBBs) ซึ่งก่อให้เกิด ไดออกซนิ สารกอ่ ใหเ้ กดิ มะเรง็ ทำ� ลายการทำ� งานของตบั มผี ลกระทบ ตอ่ ระบบประสาทและภมู ติ า้ นทาน ทำ� ใหก้ ารทำ� งานของตอ่ มไทรอยด์ ผิดพลาด รวมถึงระบบต่อมไร้ท่อสามารถสะสมในนำ�้ นมของมนุษย์ และกระแสเลอื ด สามารถถา่ ยทอดในห่วงโซอ่ าหาร ตัวอยา่ งสารพิษในขยะอิเล็กทรอนกิ ส์ ตะกวั่ ใชม้ ากในแบตเตอรี่ ผสมในฉนวนสายไฟ (PVC) แผน่ วงจรพิมพ์ (ตะกวั่ บดั กร)ี ปรอท พบในเครอื่ งมอื วดั สวติ ซ์ หลอดไฟ Thermostat รเี ลย์ แคดเมยี ม ใชใ้ นชนิ้ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ IR Detector จอภาพ รงั สแี คโทด ผสมในพีวีซี แคดเมียม 6 ผงสี ป้องกันการ กดั กรอ่ นใน Heat Exchange คลอรนี ฉนวนสายไฟ อารเ์ ซนกิ (สารหน)ู ในอุปกรณ์ความถี่สูง ในแผงวงจรไฟฟ้าของโทรศัพท์มือถือและ คอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยตัวเองเป็นสารพิษอันตราย และถ้าไปรวมกับ สิ่งแวดล้อม ท้ังการรีไซเคิลขยะในประเทศก�ำลังพัฒนายังมีต้นทุน วัสดมุ ีคา่ อน่ื ๆ เช่น ทองแดง ก็จะทำ� ใหท้ องแดงปนเปอื้ นอันตรายไป ถกู กวา่ เชน่ ต้นทุนการรีไซเคิลกระจกจากจอคอมพิวเตอรใ์ นสหรัฐฯ ดว้ ย คดิ เป็น 0.5 เหรยี ญตอ่ น�้ำหนกั 1 ปอนด์ เทยี บกับ 0.05 เหรียญใน ประเทศจีน และหลายครั้งการส่งออกดังกล่าวเป็นการละเมิด การรับมอื กับปัญหาขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ อนสุ ญั ญาบาเซล (มาตรการสกดั กน้ั การลกั ลอบเคลอ่ื นยา้ ยซากขยะ ขณะท่ีท่ัวโลกต่ืนตัวการรับมือขยะอิเล็กทรอนิกส์ สหภาพ อิเล็กทรอนิกส์ไปทิ้งในประเทศอ่ืน) และจากการตรวจสอบท่าเรือ ยุโรปได้ออกระเบียบว่าด้วยเศษซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและ 18 แหง่ ในยโุ รปเมอ่ื ปี 2548 พบวา่ มากถงึ รอ้ ยละ 47 ของขยะเหลา่ นี้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Waste Electrical and Electronic Equipment: WEEE) ซึ่งรวมท้ังขยะอิเล็กทรอนิกส์ถูกส่งออกไปอย่างผิดกฎหมาย เฉพาะ และระเบียบว่าด้วยการจ�ำกัดการใช้สารอันตรายบางชนิดใน ในองั กฤษ ขยะอิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ย่างน้อย 23,000 เมตรกิ ตนั ถกู สง่ ผลติ ภัณฑไ์ ฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (The Restriction of the use of ออกอยา่ งผดิ กฎหมายโดยไม่มีการระบวุ ่าเปน็ สนิ คา้ ประเภทใด ในปี certain Hazardous Substance in electrical and electronic equipment: 2546 ท่ีส่งไปยงั ตะวนั ออกไกล ไม่ว่าจะเป็นอนิ เดีย แอฟรกิ าและจนี RoHS) โดยใชบ้ งั คบั กบั ผนู้ ำ� เขา้ สนิ คา้ ดงั กลา่ ว และมผี ลบงั คบั ใชต้ ง้ั แต่ ในสหรฐั ฯ ประมาณกนั ว่ารอ้ ยละ 50-80 ของขยะที่ถกู รวบรวมเพอื่ ปี 2549 ซง่ึ กำ� หนดใหผ้ ผู้ ลติ อปุ กรณต์ อ้ งรบั ภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการเกบ็ การรไี ซเคลิ กจ็ ะถกู สง่ ออกไปในลกั ษณะเดยี วกนั แตก่ ารกระทำ� เชน่ รวบรวม กคู้ นื และกำ� จดั อปุ กรณท์ ผี่ บู้ รโิ ภคไมใ่ ชง้ านแลว้ เพอ่ื รณรงค์ นถ้ี อื วา่ ถกู กฎหมายเพราะวา่ สหรฐั ฯไมไ่ ดใ้ หส้ ตั ยาบนั รบั รองอนสุ ญั ญา ให้ผูบ้ รโิ ภคตระหนกั ถงึ ผลกระทบจากการทง้ิ อุปกรณ์ท่ยี งั สามารถใช้ บาเซล เมอ่ื ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สก์ ำ� ลงั เปน็ ปญั หาสำ� คญั กบั สง่ิ แวดลอ้ ม งานได้ต่อไป หรืออุปกรณ์ท่ีไม่สามารถใช้งานได้แล้วให้น�ำอุปกรณ์ องคก์ ารสหประชาชาตจิ งึ ไดร้ เิ รม่ิ “โครงการเพอ่ื สงิ่ แวดลอ้ มโครงการใหม่ เหล่านี้กลบั ไปใชใ้ หม่ หรือน�ำไปรีไซเคิลอย่างถกู วิธี และการรณรงค์ เพอื่ แกป้ ญั หาขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ (Solving the E-Waste Problem : StEP) ให้บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้พิจารณาและปรับปรุงการ ขน้ึ มาเพอ่ื รณรงคล์ ดปญั หาขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ เี่ กดิ ขนึ้ ทวั่ โลกภายใต้ พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ให้เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ มให้มากขึน้ ความรว่ มมอื ทง้ั จากหนว่ ยงานของภาครฐั และเอกชนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ ดว้ ยเหตุดงั กลา่ วประเทศที่พฒั นาแลว้ จึงมกี ารสง่ ออกขยะ อาทิ บริษัทไมโครซอฟท์ บริษัทอีริคสัน บริษัทฮิวเลตต์แพคการ์ด อิเล็กทรอนิกส์ไปยังประเทศก�ำลังพัฒนาเป็นประจ�ำ ซึ่งยังไม่มี (เอชพ)ี และบริษทั เดลล์ เปน็ ต้น กฎหมายหรือไม่มีการบังคับใช้กฎหมายเพ่ือคุ้มครองคนงานและ No.26 March 2014 Green Research 3

เร่อื งเด่นประจ�ำฉบับ การรณรงค์ลดปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์จะเร่ิมตั้งแต่การ สร้างจิตส�ำนึกในการใช้งานเทคโนโลยี ทั้งในส่วนของผู้ผลิตและผู้ จัดการกับขยะอิเล็กทรอนกิ ส์ ซง่ึ มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ การใชซ้ ำ�้ บริโภค ไม่ว่าจะเป็นการซ้ือคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็ดี การเปลี่ยน (Reuse) และการนำ� ไปใชอ้ ีก (Recycle) โทรศพั ทม์ ือถอื ตามแฟช่ันก็ดี การผลติ สินคา้ ไอทที ี่ต่�ำกวา่ มาตรฐาน ออกมาวางจำ� หนา่ ยกด็ ี ถา้ เปน็ เชน่ นตี้ อ่ ไปสกั วนั หนง่ึ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การใชซ้ �้ำ (Reuse) เปน็ การนำ� อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ทใี่ ช้ ก็คงจะล้นเมืองโปรดช่วยกันก่อนที่ประเทศไทยจะเต็มไปด้วยขยะ แลว้ และทไี่ มต่ อ้ งการใชก้ ลบั มาใชใ้ หมอ่ กี ครงั้ อาจจะนำ� มาซอ่ มแซม อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื นำ� ไปบรจิ าคใหก้ บั ผทู้ ขี่ าดแคลน ซง่ึ เปน็ วธิ ที ใ่ี ชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศท่ีพัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกา ได้น�ำ เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเลิกใช้แล้ว ไปบริจาคให้ประเทศท่ีกำ� ลังพัฒนา ในแถบแอฟรกิ าและเอเชยี การรไี ซเคลิ (Recycle) เปน็ การนำ� สว่ นทย่ี งั เปน็ ประโยชน์ ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกส่วนประกอบและวัตถุท่ีมีค่า ภายในออกมา อาทิ โลหะมีค่า เงิน ทองค�ำขาว และทองแดง เป็นต้น ซ่ึงสามารถน�ำไปรีไซเคิลและน�ำไปผลิตอุปกรณ์อย่างอ่ืนได้ อกี ทางหนงึ่ ดว้ ยแมว้ า่ จะเราจะมวี นั สงิ่ แวดลอ้ มโลก (World Environment Day) ในวนั ที่ 5 มถิ นุ ายน ของทกุ ปี เพอ่ื รณรงคใ์ หค้ นรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม แตป่ ัญหาเก่ียวกบั ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์คงไม่สามารถจบลงได้ดว้ ยการ รณรงคเ์ พยี งแค่ปลี ะ 1 วันเทา่ น้นั หากแตส่ ามารถแกไ้ ขได้ดว้ ยการ อ้างองิ www.okanation.net 4 Green Research No.26 March 2014

ความหลากหลายทางชวี ภาพในเมอื ง: หนทางสู่ความสขุ แห่งวิถชี ีวิตคนเมอื งอยา่ งยั่งยนื (1) จฑุ าธปิ อยู่เยน็ นกั วิชาการสง่ิ แวดลอ้ มชำ� นาญการ ศูนยว์ ิจยั และฝึกอบรมดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ในชว่ ง 10 ปที ผ่ี า่ นมาโลกกลา่ วขานรว่ มกนั ในเรอื่ งการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก รวมถึงบริการจากระบบนิเวศ ซง่ึ สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ มนษุ ย์ เกดิ ภยั พบิ ตั ใิ นทกุ หลายแหง่ ในโลกทงั้ รนุ แรง และตอ่ เนอ่ื ง ขาดปริมาณ และคุณภาพของ สาเหตมุ าจากการพฒั นาขยายตวั ของเมอื งอยา่ งไรท้ ศิ ทาง การพฒั นาอตุ สาหกรรมอยา่ งกา้ ว แหล่งนำ้� อาหาร โดยเฉพาะ กระโดด การน�ำทรัพยากรธรรมชาติมาใชป้ ระโชน์ในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์อย่างฟุม่ เฟอื ย ทรัพยากรชวี ภาพ ไดถ้ ูกคุกคาม สาเหตุจากการเพ่ิมข้ึนของประชากรโลก และอัตราการตายของประชากรลดลง ท�ำให้เกิด ลดจำ�นวนลงจนทำ�ให้สิ่งมีชีวิต การทำ� ลายทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งรนุ แรง ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศรวมถงึ บรกิ ารจากระบบนเิ วศ หลายชนิดสูญพันธ์ุ บางชนิด ขาดปรมิ าณ และคณุ ภาพของแหล่งน�ำ้ อาหาร โดยเฉพาะทรพั ยากรชวี ภาพ ไดถ้ ูกคุกคาม อยใู่ นภาวะอนั ตรายใกลส้ ญู พนั ธ์ุ ลดจำ� นวนลง จนทำ� ใหส้ งิ่ มชี วี ติ หลายชนดิ สญู พนั ธ์ุ บางชนดิ อยใู่ นภาวะอนั ตรายใกลส้ ญู พนั ธ์ุ ความหลากหลายทางชีวภาพท่ีเคยมีอย่างอุดมสมบูรณ์ถูกท�ำลายลง สิ่งเหล่านี้ส่งผล กระทบตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยแู่ ละสขุ ภาพของมนษุ ย์ เกดิ มลพษิ สง่ิ แวดลอ้ มทำ� ใหม้ นษุ ยม์ ชี วี ติ อยอู่ ย่างยากล�ำบาก จนมนุษยไ์ ดต้ ระหนกั และเริ่มเกิดจิตสำ� นกึ ที่จะหวลกลบั คืนสูธ่ รรมชาติ เกิดเป็นกระแสสู่โลกสีเขียว การผลิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ มากขึ้น ทเ่ี รียกว่าความหลากหลายทางชวี ภาพในเมือง เม่ือกล่าวถึงความหลากหลายทางชีวภาพ สิ่งท่ีเข้าใจคือ การมีสิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนดิ ในทน่ี ีค้ ือ species (สปีชีส)์ ในทางวชิ าการความหลากหลายทางชวี ภาพมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ 1. ความหลากหลายเรื่องชนิด (Species diversity) 2. ความหลากหลายของพนั ธุกรรม (Genetic diversity) 3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (Ecosystem diversity) ท่ีมีการศึกษา ไดแ้ ก่ - ความหลากหลายทางชวี ภาพทางการเกษตร - ความหลากหลายทางชวี ภาพในพืน้ ทแ่ี ห้งแล้งก่งึ ชน้ื - ความหลากหลายทางชวี ภาพแห่งป่าไม้ No.26 March 2014 Green Research 5

เรอื่ งเดน่ ประจำ� ฉบับ การเข้าถึงพ้ืนท่ีธรรมชาติของมนุษย์และ - ความหลากหลายทางชวี ภาพแห่งภูเขา สัตว์เลี้ยงในเมือง เป็นภัยคุกคามหน่ึง - ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลและชายฝัง่ - ความหลากหลายทางชวี ภาพแหง่ เกาะ ท่ีเห็นได้ชัดเจนในชุมชนเมือง และเป็น - ความหลากหลายทางชีวภาพของแหล่งนำ�้ ในแผน่ ดิน สาเหตุท่ีรบกวนระบบนิเวศ การบดอัดดิน (soil compaction) และวชั พืชหรือโรคภยั สู่ พน้ื ทธี่ รรมชาติ สง่ ผลตอ่ การสญู พนั ธข์ุ อง ส่ิงมีชีวิตในศตวรรษนี้ จากข้อมูลรายงาน ฉบบั ท่ี 4 ของ IPCC ระบวุ ่าประมาณรอ้ ยละ 20-30 ของชนิดพันธ์ุพืชและสัตว์มีความ เส่ียงต่อการสูญพันธ์ุสูงข้ึน หากการปลด ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยังมีอัตราเท่ากับ หรอื สงู ขึน้ กว่าอัตราในปจั จุบนั ภาพท่ี1. แสดงตัวอยา่ งระบบนเิ วศนใ์ นธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนเิ วศน์ (ที่มา: www.google.com. 2014) ในกรณขี องความหลากหลายชวี ภาพในเมืองส่วนมากมกั จะเป็นเรื่อง ของความหลากหลายในเร่ืองชนิดของส่ิงมีชีวิต ซ่งึ หมายถงึ ความหลากหลาย ของชนิดสิ่งมีชีวิต (species) ที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่งซ่ึงมีความหมายอยู่สองอย่าง คอื 1. ความมากชนดิ (species richness) 2. ความสมำ�่ เสมอของชนดิ (species evenness) พ้ืนท่ีเมืองท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง หมายถึง พ้ืนที่ ธรรมชาตแิ ละพนื้ ทที่ ถี่ กู สรา้ งขนึ้ โดยพนื้ ทเ่ี หลา่ นเี้ ปน็ แหลง่ รวมของความหลาก หลายทางชวี ภาพ ซง่ึ แสดงบทบาทสำ� คญั ตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ในเมอื ง ธรรมชาตใิ ห้ บริการจากระบบนิเวศซ่ึงมีผลโดยตรงต่อมนุษย์ เช่น อาหาร ยารักษาโรค อากาศบริสุทธ์ิ น้�ำสะอาด เพื่อการอุปโภคบริโภครวมไปถึงวัฒนธรรม การ นนั ทนาการและการเปน็ ศูนย์เรยี นร้กู ารศกึ ษา การสญู เสยี ความหลากลายทางชวี ภาพในเมอื งมสี าเหตมุ าจากหลาย ปัจจัย ซึ่งสามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี 6 Green Research No.26 March 2014

• การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ในหลายรปู แบบ พน้ื ทดี่ นิ ปา่ หลากหลายชนดิ ตามธรรมชาติ 1 และแหล่งนำ้� ได้ถกู เปลีย่ นแปลงไปเพอื่ เปน็ ทีอ่ ยอู่ าศัย แหล่งเกษตรกรรม รองรบั การเพิ่ม ขึ้นของประชากรและเป็นแหล่งอาหาร การขยายตัวของเมืองและใช้ประโยชน์ 2 ด้านอุตสาหกรรม การน�ำเทคโนโลยมี าใชเ้ พ่อื สร้างความสะดวกสบายตอ่ การดำ� รงชีวิต การคา้ และการคมนาคม เชน่ ถนน การประปา ไฟฟ้า และการสันทนาการของมนุษย์ 3 ในเมอื งกจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี ว สงิ่ เหลา่ นเี้ ปน็ สาเหตขุ องการสญู เสยี ความหลากหลายทาง ชวี ภาพ การรกุ ลำ�้ ของเมอื งเขา้ ไปในพนื้ ทธ่ี รรมชาติ ทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ การดำ� รงชวี ติ 1 http://www.alienspecies-in-thai.blogspot. ของท้งั มนุษย์และสิง่ มชี ีวิตอื่น เช่น การลดลงของพชื พรรณแห่งผนื ปา่ และสัตวป์ ่าซ่ึงสง่ com/2012_01_01_archive.html ผลกระทบทางออ้ ม โดยการสร้างมลภาวะในเมอื ง • การเกดิ มลพษิ ชมุ ชนเมอื งและพนื้ ทอี่ ตุ สาหกรรม เปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ 2 http://www.sarakadee.com/feature/2001/01/ มลพิษ ทั้งการเสื่อมของทรัพยากรธรรมชาติด้านคุณภาพและปริมาณ โรงงาน alien_species.html อุตสาหกรรม เป็นแหล่งเกิดของมลพิษทางอากาศและมลพิษทางน�้ำ การปลดปล่อย สารพิษ สารเคมีตกค้างจากพื้นที่เกษตรกรรม มีผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ 3 http://www.maehongson.prdnorth.in.th/ เกดิ การสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนดิ พนั ธป์ุ ลาและนกน�้ำ ผลกระทบตอ่ btong.html แม่น้ำ� และน้ำ� ใตด้ ิน ซ่งึ สง่ ผลตอ่ ห่วงโซ่อาหารของสัตว์น�้ำและมนุษย์อกี ดว้ ย • ชนดิ พนั ธเ์ุ ฉพาะทอ้ งถน่ิ ถกู รกุ รานจากชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถนิ่ ซงึ่ ชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถนิ่ ทถ่ี กู นำ� เข้ามาในทอ้ งถ่นิ ในหลายรูปแบบ มีความสามารถในการเจริญเตบิ โตแย่งชงิ พ้นื ทขี่ อง ชนดิ พนั ธท์ุ อ้ งถนิ่ จนทำ� ใหร้ ะบบนเิ วศธรรมชาตดิ งั้ เดมิ เปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งและลกั ษณะ ทางเคมขี องระบบนเิ วศ รวมถึงชนิดพันธเ์ุ ฉพาะถิน่ • การบรโิ ภคทรพั ยากรธรรมชาตขิ องชมุ ชนเมอื งทฟ่ี มุ่ เฟอื ย พฤตกิ รรมการบรโิ ภค ทรพั ยากรของชุมชนเมอื งของประเทศกำ� ลังพฒั นาอยา่ งฟุ่มเฟอื ยจะส่งผลกระทบตอ่ การ ขาดแคลนของทรพั ยากรในอนาคตและในระดบั โลก ภยั คกุ คามทสี่ ำ� คญั อยา่ งหนง่ึ สำ� หรบั ประเทศกำ� ลงั พัฒนาบางประเทศ คือ การค้าสัตวป์ า่ ผดิ กฎหมาย • การเปลยี่ นแปลงและใชป้ ระโยชนใ์ นพน้ื ทธ่ี รรมชาตโิ ดยขาดการวางแผนทด่ี แี ละ มปี ระสทิ ธภิ าพ ทำ� ใหก้ ารสรา้ งชมุ ชนเมอื งเพอ่ื การอยอู่ าศยั โดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ พน้ื ทธ่ี รรมชาติ ว่าเป็นส่วนหน่ึงของแหล่งที่อยู่อาศัย เพราะขาดข้อค�ำนึงที่ว่ามนุษย์ก็เป็นส่วนหน่ึงของ ธรรมชาติ ท�ำให้เกิดการแยกส่วนของแหล่งชุมชนเมืองและพื้นที่ธรรมชาติ การรบกวน พนื้ ทธ่ี รรมชาตขิ องมนษุ ยใ์ นเมอื งเปน็ ภยั คกุ คามและทำ� ลายระบบนเิ วศ การเปลยี่ นแปลง พน้ื ทธ่ี รรมชาตเิ พอ่ื สรา้ งทอี่ ยอู่ าศยั เชน่ การบดอดั ดนิ (soil compaction) การเปลย่ี นแปลง พนื้ ทีท่ ี่ท�ำใหเ้ กิดวัชพชื และโรคต่างๆ • การปรับพื้นท่ีธรรมชาติเพ่ือสร้างที่อยู่อาศัยของชุมชนเมือง โดยปรับเป็นพื้นท่ี เปน็ พนื้ ทเี่ ปดิ โลง่ เปน็ การสวนทางและอาจเกดิ ขอ้ ขดั แยง้ เกย่ี วกบั นโยบายการรกั ษาพนื้ ท่ี ให้คงสภาพธรรมชาติ เพื่อการรักษาระบบนิเวศและสภาพธรรมชาติเพ่ือการบริการของ ระบบนิเวศที่มีคุณภาพ เช่น การรักษาคุณภาพน�้ำ รักษาแหล่งที่อยู่อาศัยของพืชและ สตั ว์ การปอ้ งกันและจัดการภยั พบิ ตั แิ ละอุทกภยั No.26 March 2014 Green Research 7

เร่ืองเดน่ ประจ�ำฉบับ • การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก เป็นท่ีประจักษ์ชัดว่ากิจกรรมของ 1 มนษุ ยม์ ีผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศโลกซึ่งประมาณวา่ เปน็ สาเหตหุ ลกั 2 อยา่ งหนง่ึ ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ การสญู พนั ธข์ุ องสง่ิ มชี วี ติ จากขอ้ มลู รายงานฉบบั ที่ 4 ของ IPCC ระบุว่าประมาณร้อยละ 20-30 ของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์มีความเส่ียงต่อการ สูญพันธส์ุ งู ขนึ้ หากการปลดปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ยังมีอัตราเท่ากับหรือสงู ขึน้ กว่า อตั ราในปัจจบุ ัน ทั้งนใ้ี นรายงานโลกทรรศน์ ฉบับท่ี 3 ระบุวา่ “ผตู้ ดั สนิ ใจในระดบั นโยบายจะตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั ความเชอื่ มโยงระหวา่ งการสญู เสยี ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ” (chm-thai.onep.go.th/chm/city/ threat and /ass.html) • การใช้ประโยชน์ของแหล่งน�้ำ โดยเฉพาะแหล่งน้�ำจืด การเพิ่มขึ้นของ ประชากรทำ� ใหแ้ หลง่ นำ�้ จดื เสอื่ มลงทง้ั คณุ ภาพและปรมิ าณ เพอ่ื อำ� นวยความสะดวก สบายแกป่ ระชากรโดยเฉพาะในชมุ ชนเมอื ง เพอื่ การอปุ โภคบรโิ ภค และความตอ้ งการ พลงั งานทเ่ี พมิ่ สงู ขน้ึ ตามจำ� นวนประชากรทเี่ พม่ิ ขน้ึ การสรา้ งเขอื่ นสำ� หรบั ผลติ พลงั งาน มีผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลก 3 1 http://www.komchadluek.net 2 http://www.dailynew.co.th ท่มี า: www.google.com 3 http://www.facebook.com/note.php note_id = 178056372221625 เอกสารอา้ งอิง รายงานการสัมมนาวิชาการภาคพนื้ เอเซีย เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพในเมือง คร้ังที่ 1 : การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในเมืองอยา่ งยัง่ ยนื เพอ่ื การ ปรบั ตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (The 1st Urban Biodiversity Regional Seminar: “Sustaining Urban Biodiversity for Climate Change Adaptation and Mitigation” ณ โรงแรมดุสติ ไอส์แลนด์ รสี อร์ท อำ�เมอื งเมอื ง จงั หวัดเชียงราย, วนั ที่ 18-20 ธันวาคม 2556. สำ�นักความหลากหลายทางชีวภาพ สำ�นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม. (2556) ภัยคุกคามและการสญู เสยี ความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง. [ออนไลน]์ เข้าถงึ ได้ http://chm-thai.onep.go.th/chm/city/threat and /ass.html. 2013. 8 Green Research No.26 March 2014

ตา่ งชาติสะดุดตางานวจิ ยั เดก็ ไทย มงุ่ แก้ไขสงิ่ แวดล้อมท้องถิ่น ดุษฎี อุทยั ยะ ละอองฝนโปรยมาบางเบาก่อนจะจางหายไปเหมือนรู้ใจ น้�ำท่วมขัง กับดินทีช่ ้นื แฉะใตท้ างเดนิ ยกพนื้ ไม้นน้ั เด็กๆ ตอ้ งขดุ ดนิ นกั วทิ ยาศาสตร์ ครแู ละนกั เรยี นกลมุ่ ใหญจ่ ากนานาประเทศ ทกี่ ำ� ลงั และท�ำการทดลองจริงโดยใช้อุปกรณ์ท่ีเตรียมไป เพ่ือเปรียบเทียบ มงุ่ เขม็ บา่ ยหนา้ ไปยงั อทุ ยานแหง่ ชาตสิ ริ นิ าถ จงั หวดั ภเู กต็ เมอื งทไี่ ด้ ศึกษาคุณสมบัติของดินในจุดที่มีความลึกแตกต่างกันโดยสังเกต สี ฉายาว่าเป็นไข่มุกเม็ดงามของไทย แต่ละกลุ่มพร้อมด้วยอุปกรณ์ ของดนิ อณุ หภมู ิ ความชื้น โครงสรา้ งของดิน ความเป็นกรด-ด่าง หน้าตาแปลกๆ ท่ีมองปราดเดียวก็รู้ว่าไม่ใช่ของนักท่องเท่ียวแน่ๆ ซง่ึ พบว่าดนิ จากสองจดุ ใหผ้ ลทางกายภาพทต่ี ่างกัน งานน้ปี รากฏว่า ไมน่ านนกั ฟา้ ชอ่มุ เมฆก็เปดิ ทางใหจ้ ้าวแห่งแสงตะวนั สาดแสงแดด เด็กไทยสามารถตอบค�ำถามของวทิ ยากรประจ�ำจุดได้ดี เช่น สาเหตุ ยามบ่ายสวา่ งใสอาบท่วั อาณาบรเิ วณกวา้ ง ที่ดิน ในย่านน้ีมีโพแทสเซียมและไนโตรเจนต่�ำ เพราะเป็นดินริมฝั่งอยู่ เงียบและลกึ เข้าไป ผา่ นทางเดินไม้แขง็ แรงทอดตวั ฝา่ แนว ใกล้ทะเลท�ำให้มีเกลือ (โซเดียม) มาก ซ่ึงดินที่มีไนโตรเจน พฤกษ์พันธุ์หน้าตาแปลกๆ ท่ียืนต้นห้อมล้อมใกล้จนสัมผัสกิ่งใบได้ โพแทสเซยี ม และฟอสฟอรสั ตำ่� ยอ่ ม หมายถงึ ดนิ ขาดสารอาหารไม่ พน้ื เบอ้ื งลา่ งของเสาทางเดนิ ตรงึ อยใู่ นพน้ื ชายฝง่ั สงู ขนาดเทา่ ผใู้ หญ่ เหมาะแก่การเพาะปลูก ตัวโตๆ แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคที่คณะจะไต่ลงไปส�ำรวจได้ งานของ นักวิทยาศาสตร์ นักเรียน และครูของโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ นอกจากน้ีเด็กๆ ยังได้สนุกกับการทดลองเก็บตัวอย่าง GLOBE เรมิ่ เปดิ ฉากภาคสนามกนั ในเขตอทุ ยานแหง่ ชาตสิ ริ นิ าถ โดย น้�ำทะเลท่ีท่วมขังอยู่ในพ้ืนท่ี ซึ่งเป็นป่าชายเลนมาท�ำการศึกษา แบง่ เปน็ 3 กลมุ่ เพอื่ ศกึ ษาวจิ ยั ระบบนเิ วศตา่ งกนั ไป คอื กลมุ่ ปา่ พรุ คุณสมบัติของน�้ำและฝึกปฏิบัติการ เรื่องสิ่งปกคลุมดินในบริเวณ ป่าชายเลน และปา่ ริมชายหาด โดยในสว่ นของปา่ ชายเลน มีศูนย์ เดยี วกนั ดว้ ย ทกุ จดุ มนี กั วทิ ยาศาสตรโ์ ครงการ GLOBE ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ศึกษาธรรมชาติอุทยานแห่งชาติทางทะเล จัวหวัดภูเก็ต เป็นพ้ืนที่ วิทยากรหลักฝึกให้เด็กๆ ได้ท�ำการทดลองอย่างมีทักษะและ ศึกษาสามเรื่องหลัก ได้แก่ ดิน น้�ำ และส่ิงปกคลุมดิน ทุกจุดมี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คอยกระต้นุ ใหต้ อบคำ� ถามโดยใช้การ นักวทิ ยาศาสตร์ของ GLOBE ประจ�ำการ ท�ำหน้าทเี่ ป็นวิทยากรน�ำ สงั เกต ประสบการณแ์ ละความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรโ์ ลกทง้ั ระบบ (Earth ฝึกปฏิบัติการให้เด็กๆ ได้ทดลองทางวิทยาศาสตร์จากตัวอย่างของ System Science) จริง แล้วคอยกระตุ้นโดยใชค้ ำ� ถาม ขอ้ สงสัยตา่ งๆ เพ่อื ให้นกั เรยี น รจู้ กั สงั เกต คิด วิเคราะห์ ซ่ึงเด็กๆ กส็ ามารถหาค�ำตอบและอธิบาย ภายหลังจากฝึกภาคสนามทั้งสามจุดแล้วเด็กๆ ต่าง ไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล จดบันทึกข้อมูลข้อสังเกตต่างๆ และสรุปรวบรวมน�ำเสนอผลงานใน ตอนทา้ ยอกี ดว้ ย ทำ� เอาผใู้ หญท่ ที่ มุ่ เทขดุ ดนิ ตากแดดทำ� การทดลอง ในจุดปฏิบัติการแรกท่เี ด็กๆ ตอ้ งลงไปเก็บตวั อยา่ งดนิ ของ มาตลอดบ่ายแอบยม้ิ ในความสามารถของนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ยดว้ ย จริงเปรียบเทียบระหว่างดินที่อยู่ในที่โปร่งสัมผัสแสงแดดและไม่ถูก ความช่ืนใจ No.26 March 2014 Green Research 9

เรื่องเดน่ ประจำ� ฉบบั โครงการ GLOBE (Global Learning and Observations to น.ส.สาบารียะ อาลี โรงเรยี นบ้านเจาะไอร้อง จ.นราธิวาส Benefit the Environment) เปน็ โครงการวทิ ยาศาสตรโ์ ลกทง้ั ระบบเพอ่ื เล่าว่า ได้น�ำเสนอผลงานวิจัยเรื่องลักษณะทางกายภาพของล�ำน้�ำ สงิ่ แวดล้อมโลก บริหารโดยองค์กรแหง่ ชาติของสหรฐั อเมริกา ได้แก่ ไอตันหยงมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างไร สาเหตุที่เลือกท�ำ National Oceanic and Atmospheric Administration, National หวั ข้อน้ีเพราะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ำริ Aeronautics and Space Administration , National Science Foundation ห่วงใยประชาชนที่นี่ให้มีน�้ำกินน้�ำใช้ ในการเกษตรอย่างเพียงพอ ,Department of Education and State เพอื่ ใหน้ กั เรยี น ครู และชมุ ชน งานน้มี นี ักเรยี นชั้น ม.1 - ม.3 รว่ มกันท�ำ 6 เดือน ศึกษาความลึก ทั่วโลกสามารถพัฒนาศักยภาพในการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับ ความเร็ว และความกวา้ งของลำ� น้ำ� เปน็ งานวจิ ัยที่มคี ณุ ค่าสามารถ สงิ่ แวดลอ้ มในธรรมชาตดิ ว้ ย กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ทจ่ี ะ ใช้ประโยชน์ได้ในท้องถิ่นต่อไปจะช่วยกันรณรงค์ไม่ให้ตัดไม้ท�ำลาย เข้าใจความสัมพันธ์ของระบบต่างๆของโลก และตระหนักถึงสภาพ ป่าเพราะปา่ ไม้ คอื ต้นน�้ำและความอุดม และปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถ่ินและระดับโลกซ่ึงมาจาก องค์ประกอบทสี่ ำ� คัญ คอื อากาศ น้ำ� ดิน สงิ่ ปกคลมุ ดนิ /ชวี วิทยา Miss Clemencia Andres ผจู้ ดั การฝา่ ยการศกึ ษาสงิ่ แวดลอ้ ม ดังนั้นจึงได้น�ำกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง GLOBE เข้ามาสู่ช้ัน ชุมชนของกรุงมาดริด ประเทศสเปน เผยว่า ได้ชมงานวิจัย เรียนวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมให้เด็กๆ ได้ฝึกฝนการท�ำงานแบบ สงิ่ แวดลอ้ มในทอ้ งถน่ิ ของเดก็ ไทยแลว้ รสู้ กึ ทงึ่ มากเพราะทำ� ไดด้ จี รงิ ๆ นกั วทิ ยาศาสตรม์ คี ณุ ครเู ปน็ พเี่ ลย้ี งกระตนุ้ ใหล้ กู ศษิ ย์ คดิ และปฏบิ ตั ิ แสดงถึงความเข้าใจวิทยาศาสตร์ของนักเรียน งานวิจัยที่สนใจเป็น อยา่ งมที กั ษะ กระบวนการสามารถทำ� งานวจิ ยั สงิ่ แวดลอ้ มในทอ้ งถน่ิ พิเศษ คือ เร่ืองดินและการหาวิธีปรับปรุงคุณภาพดิน เพ่ือให้ใช้ ตนได้ ประโยชนท์ างการเกษตรได้ ซง่ึ เปน็ งานของนกั เรยี น จ.ยโสธร เพราะ แตกต่างจากเร่ืองอืน่ ๆ ซึ่งเคยพบมาบา้ งแลว้ ได้เหน็ การท�ำงานของ ที่นี่ยังเป็นเวทีให้เด็กไทยได้น�ำเสนอโปสเตอร์ผลงานวิจัย เด็กไทยในโครงการ GLBOE แล้วรู้สึกว่าท�ำงานหนักและต้ังใจจริง สิ่งแวดล้อมในท้องถ่ินของแต่ละคน โดยใช้ความรู้ตามกระบวนการ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดงานคร้ังน้ีได้ดีมาก ท�ำให้ผู้มาร่วมประชุมรู้สึก วิทยาศาสตร์ศึกษาของ GLOBE ซ่ึงบรรดานักวิทยาศาสตร์รุ่นใหญ่ อบอนุ่ เหมอื นบา้ น ชอบงานนแี้ ละขอแสดงความยนิ ดกี บั ประเทศไทย และนกั วิชาการจากทว่ั โลกท่ีมาร่วมงานน้ี ตา่ งทึ่งในความสามารถที่ ในฐานะเจ้าภาพท่จี ดั ประชุมระดบั โลกได้ผลส�ำเรจ็ ดยี ิ่ง สะท้อนจากงานวิจัยของเด็กไทยจนอดไม่ได้ต้องออกปากชม น.ส.จุรีพร โมรา นักเรยี นโรงเรยี นปา่ ต้ิววิทยา จ.ยโสธร เล่าว่า ดีใจ แลว้ วนั นี้ “นกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยของไทย” กก็ า้ วหนา้ ไปอกี ขนั้ มากทไ่ี ดน้ ำ� ผลงานของโรงเรยี น คอื การศกึ ษาลกั ษณะดนิ ในนาขา้ ว เมอื่ ชนะใจผใู้ หญด่ ว้ ยผลงานวจิ ยั ระดบั ฐานราก แมต้ อ้ งใชเ้ วลาหลาย ของโรงเรียนป่าต้ิววิทยามาอธิบายให้ผู้ชมชาวต่างประเทศ ซ่ึงก็ได้ เดอื นหรอื ตอ่ เนอ่ื งแรมปี แตค่ วามพยายามทเ่ี ดก็ ไทยทมุ่ เทให้กับงาน ข้อคดิ เห็นน�ำไปปรบั ปรงุ แก้ไขได้เลือกทำ� งานวิจยั หัวขอ้ นี้ เพราะเห็น ศกึ ษาวจิ ยั วทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ มในทอ้ งถนิ่ ของตนนน้ั มาจนถงึ วนั นี้ วา่ นาขา้ วของโรงเรยี นผลผลติ ตำ่� ขา้ วลบี รวงเลก็ ทงั้ ๆ ทใี่ ชพ้ นั ธข์ุ า้ วดี เร่ิมบ่งชัดถึงความรู้และแนวทางแก้ปัญหาท่ีจะเช่ือมโยง กลับคืนสู่ จึงสงสัยว่าต้นเหตุต้องมาจากดิน เมื่อศึกษาวิจัยแล้วพบว่าดินขาด ชุมชนและทอ้ งถน่ิ แลว้ สารอาหารจรงิ ๆ เพราะมีไนโตรเจน โพแทสเซยี มและฟอสฟอรัสตำ่� เลยท�ำให้คิดโครงการวิจัยต่อเน่ืองแก้ปัญหานี้ คือ ผลิตปุ๋ยชีวภาพ เพื่อปรบั ปรุงนาขา้ ว ชอบทีโ่ รงเรยี นนำ� GLBOE เขา้ ห้องเรยี นเพราะ ไดฝ้ ึกปฏิบตั ิจริงเรยี นสนกุ และท�ำใหค้ ดิ เป็น น.ส.สภุ ารกั ษ์ วงศแ์ กว้ เพอ่ื นรว่ มทมี โรงเรยี นเดยี วกนั เสรมิ เอกสารอ้างองิ ให้ฟังว่าปกติเรียนและปฏิบัติการตามแนว GLOBE ในนาข้าวที่ ตา่ งชาติสะดุดตางานวจิ ัยเด็กไทย มงุ่ แกไ้ ขสงิ่ แวดลอ้ มท้องถิน่ [ออนไลน์] โรงเรยี นอยแู่ ลว้ แตว่ นั นสี้ นกุ กวา่ เพราะมเี พอื่ นโรงเรยี นอนื่ รว่ มทำ� การ เขา้ ถงึ ได้ http://www.oknation.net/blog/print.php?id=204627 ทดลองดว้ ยกนั ได้ตอบค�ำถามของวิทยากรเปน็ ภาษาองั กฤษและได้ ชว่ ยวทิ ยากรท�ำการทดลองเรอ่ื งดนิ โดยขดุ ดินทัง้ สองหลุม คอื แหง้ และเปยี กวดั เปรยี บเทยี บสดี นิ จากคมู่ อื ทดสอบความเปน็ กรดเบสของ ดนิ สองจุดพบว่าหลุมดินซ่ึงเคยมีน�้ำทะเลท่วมถึงมีความเป็นกรด มากกว่า ประทบั ใจและสนุกมาก 10 Green Research No.26 March 2014

แนวคิด CSR ช่วยแก้ปัญหาสง่ิ แวดล้อมไทยไดจ้ ริงหรือไม่? ประเด็นด้านส่ิงแวดล้อมย่ิงเด่น Corporate Social Responsibility (CSR) ในปัจจุบันเปน็ แนวความคิดท่บี ริษทั และ ชัดขึ้นในปัจจุบัน ภาคองค์กร องค์กรธุรกิจแสดงความตระหนักถึงความรับผิดชอบและมีส่วนร่วมทางด้านสังคมและ ธุรกิจและหน่วยงานภาครัฐต่าง สง่ิ แวดลอ้ มควบคไู่ ปกบั การดำ�เนินการทางธรุ กจิ บนพน้ื ฐานของความสมคั รใจ แนวคดิ CSR ก็เร่งส่งเสริมความตระหนักและ โดยสว่ นใหญจ่ ะเน้นความรบั ผิดชอบของบรษิ ัทและองคก์ รธุรกิจต่อประเด็นดา้ นสงั คม อาทิ การมีส่วนร่วมทางสังคมและ สวสั ดภิ าพแรงงาน ความเทา่ เทยี มกนั การคมุ้ ครองแรงงานเดก็ สทิ ธมิ นษุ ยชน และประเดน็ สิ่งแวดล้อมของตัวเอง ตาม ดา้ นส่งิ แวดล้อมอน่ื ๆ นอกเหนือไปจากการมอง CSR เปน็ เพยี งการจดั กิจกรรมเพื่อคืนกำ�ไร แนวคดิ CSR ในการดำ�เนนิ ธุรกิจ แกส่ งั คมของบริษัทเท่านั้น มากข้ึน เราจะเห็นได้จากการสื่อ กระแสความสนใจด้าน CSR โดยเฉพาะประเด็นด้านส่ิงแวดล้อมย่ิงเด่นชัดขึ้น โฆษณาประชาสมั พนั ธ์ ในปัจจบุ นั ภาคองคก์ รธุรกิจและหนว่ ยงานภาครฐั ต่างก็เรง่ สง่ เสรมิ ความตระหนกั และการมี ส่วนร่วมทางสังคมและส่ิงแวดลอ้ มของตวั เอง ตามแนวคิด CSR ในการดำ�เนนิ ธุรกจิ มากขนึ้ เราจะเห็นได้จากการสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ในลักษณะของการสื่อสารกับผู้บริโภคในเชิง การมีส่วนร่วมในการสนับสนุน หรือแสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์ของตนเองมีส่วนช่วยลดผล กระทบดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มตา่ งๆ และในทกุ วนั นใี้ นสอื่ โทรทศั น์ เราจะไดเ้ หน็ การโฆษณาทหี่ ลาก หลายรูปแบบ แตม่ กี ารโฆษณาสนิ คา้ อยู่รปู แบบหนึ่งทีเ่ ปน็ การสร้างภาพลกั ษณท์ ่ีดีใหก้ ับตัว สินค้าหรือองค์กร ไม่ว่าจะเป็นการบริจาคเงินเพ่ือเด็กด้อยโอกาส สนับสนุนทุนการศึกษา สนับสนุนการกีฬา หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นท่ีนิยมกันแพร่หลายในปัจจุบันนี้คือ เร่ืองของ การรกั ษาสิ่งแวดล้อมเพ่อื ลดปัญหาโลกร้อน การปลูกปา่ การสร้างชุมชนอนุรักษ์ในหม่บู ้าน ต่างๆ เป็นตน้ แมว้ ่าสนิ ค้าหรอื บรกิ ารน้นั จะไมม่ ีประโยชน์ต่อผูบ้ ริโภคเลยก็ตาม เชน่ สนิ คา้ ประเภทแอลกอฮอลท์ กุ ชนดิ บหุ รท่ี กุ ยหี่ อ้   หรอื แมแ้ ตส่ นิ คา้ ธรุ กจิ ทท่ี ำ�ลายสง่ิ แวดลอ้ มกต็ าม จากการนำ�เสนอโฆษณาดงั กลา่ ว เป็นการสรา้ งภาพลกั ษณท์ ่ีดีใหก้ บั สินคา้ และองค์กรข้ึนได้ มากเช่นกนั No.26 March 2014 Green Research 11

เร่ืองเด่นประจำ� ฉบับ ความหมายอีกประการ คอื ลกั ษณะการดำ�เนินกิจการใน เอกสารอ้างอิง รูปแบบน้ีจะเน้นหนักในการสื่อสารว่าบริษัทหรือองค์กรน้ันๆ จะมี สถาบนั ธรุ กจิ เพื่อสงั คม (CSRi) และ โสภณ พรโชคชัย. CSR ชว่ ยแก้ปัญหา การดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและการกำ�กับที่ดีควบคู่ไปกับ สิง่ แวดลอ้ มไมไ่ ด.้ [ออนไลน]์ เข้าถึงไดท้ ่ี : www.prachatai.com. การใสใ่ จและดแู ลรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื นำ�ไปสกู่ ารพฒั นาธรุ กจิ อยา่ ง CSR คือ ? ความหมายของ CSR “Corporate Social Responsibility (CSR). ยั่งยืน (คณะกรรมการการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ [ออนไลน]์ เข้าถึงได้ที่ : www.csrcom.com. หรอื กลต.) ตามความหมายตามทกี่ ลา่ วมานน้ั เราจะสงั เกตเหน็ ไดว้ า่ สาระดดี .ี คอม. CSR กบั องคก์ รในประเทศไทย (Corporate Social Responsibility บรษิ ัทตา่ งๆ กพ็ ยายามมงุ่ เน้นเพือ่ แสดงใหผ้ ู้ถอื หนุ้ หรอื ผู้สนใจลงทุน in Thai Companies. [ออนไลน์] เขา้ ถึงไดท้ ่ี : ww.sara-dd.com. ในธุรกิจได้มีความเชื่อมั่นว่าภาพลักษณ์ขององค์กรหรือบริษัทนนั้ มี ความน่าเชือ่ ถอื มากยิ่งข้นึ จากที่กล่าวมาแล้วว่าการดำ�เนินกิจกรรมดังกล่าวของ องค์กรน้ันทำ�ให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีของสินค้าและองค์กร แต่บางที ผบู้ รโิ ภคอยา่ งเราๆ กห็ ลงใหลไปกบั สงิ่ ทเ่ี หน็ ทางหนา้ จอ โดยไมไ่ ดค้ ำ�นงึ ถงึ องคป์ ระกอบอนื่ ๆ ดว้ ยวา่ สนิ คา้ นนั้ มปี ระโยชนม์ โี ทษอยา่ งไร ทำ�ลาย สิ่งแวดล้อมหรือไม่ เพราะองค์กรหลายแห่งในปัจจุบัน ได้นำ� CSR มาเปน็ ประเดน็ และพยายามสอ่ื สารทางการตลาดหรอื มลี กั ษณะเปน็ รูปแบบในการกีดกันการแข่งขันทางการค้า จนทำ�ให้ CSR กลาย เป็นเคร่ืองมือทางธุรกิจที่สนองประโยชน์ต่อองค์กร แทนที่จะเป็น กิจกรรมที่ให้ประโยชน์ต่อสังคม  ในวงการภาคธุรกิจทุกวันน้ีจึงมีทั้ง CSR แท้ และ CSR เทยี ม ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ เมอ่ื การประชาสมั พนั ธห์ รอื การให้การสนับสนุนต่างๆ ในด้านส่ิงแวดล้อมส้ินสุดลงในช่วงระยะ เวลาหนง่ึ หรือเรียกง่ายๆ ว่าตามงบการตลาดทวี่ างเอาไว้ โครงการ หรอื การสนับสนนุ ในรปู แบบดังกล่าวสว่ นใหญก่ ม็ กั จะหยดุ ลงไปด้วย เนอื่ งจากขาดการสนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทำ�ใหโ้ ครงการหยดุ ชะงกั ลง การที่เราจำ�แนกวา่ กจิ การใดเปน็ CSR แท้ หรือ เทียม ให้ พิจารณาถึงประโยชน์ของกิจกรรมที่ได้รับว่าตกอยู่กับสังคมหรือ องค์กรมากกว่ากัน และควรจะสนับสนุนกิจกรรมน้ีหรือไม่ เพียงใด และอีกประการหนง่ึ CSR ทีแ่ ทน้ น้ั จะต้องเกดิ ขึ้นจากความสมคั รใจ ยินดีในการดำ�เนินกิจกรรมนั้นด้วยตนเอง มิใช่เกิดจากความจำ�เป็น ท่จี ะตอ้ งปฏบิ ัตติ ามหนา้ ท่ี ตามระเบยี บข้อบงั คับทางกฏหมาย ตาม จารีตหรือบรรทัดฐานของสังคมน้ันๆ กิจกรรมใดท่ีต้องเป็นไปตาม หน้าที่ (duty) ตามกฏหมาย (law) หรือตามมาตรฐาน (standard) กจิ กรรมน้ันไมถ่ อื วา่ เปน็ CSR แท้ ดังน้ันการท่ีจะบอกวา่ CSR อนั ไหนแทอ้ ันไหนเทียม และ แนวคดิ CSR ชว่ ยแกป้ ญั หาสงิ่ แวดลอ้ มไทยไดจ้ รงิ หรอื ไม่ นน้ั ไมม่ สี ง่ิ ใดมาวัดได้ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้บริโภคเองว่าสิ่งท่ีได้รับจาก การทเ่ี ราใชส้ นิ คา้ หรอื บรกิ ารนนั้ ๆ สามารถชว่ ยแกป้ ญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ไทยได้จรงิ หรอื ไม่ 12 Green Research No.26 March 2014

ติดตามเฝา้ ระวงั การเฝา้ ระวังโรคเหตสุ ิง่ แวดล้อม นฤมล ศิลารกั ษ์ การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด ปัจจุบันความเป็นอยู่ของมนุษย์มีโอกาสท่ีจะสัมผัสสารต่างๆ ที่อยู่ใน หมายถงึ กจิ กรรมทด่ี �ำ เนนิ การอยา่ ง สง่ิ แวดลอ้ มมากขนึ้ ซงึ่ มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพโรคตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ อาจเปน็ ผลมาจากการ เปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ งอยา่ งสม�่ำ เสมอ ปนเปอ้ื นในบรรยากาศ นำ้� และดนิ จากสารเคมตี า่ งๆ หรอื กากของเสยี จากอตุ สาหกรรม ในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโรคภัย ในการพัฒนาระบบเฝา้ ระวงั ทางด้านส่ิงแวดลอ้ มนน้ั ต้องพจิ ารณาถงึ ปัจจยั หลายอย่าง ไข้เจ็บตลอดจนองค์ประกอบที่มี เช่น ในสภาพแวดล้อมนั้นมีการปนเปื้อนของสารเคมีหรือไม่ และจ�ำนวนของการเจ็บ อิทธิพลต่อสุขภาพอนามัย มีการ ปว่ ย การเฝ้าระวงั จะต้องพจิ ารณาถึงการสมั ผัสสาร ทิศทางท่ีไดร้ ับสารนน้ั ขนาดของ วิเคราะห์ข้อมูลและกระจายข้อมูล ปัญหาท่ีเกิดจากสิ่งแวดล้อมการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านสุขภาพ และทางด้านส่ิง ข่าวสารเพื่อนำ�ไปใช้ในการวางแผน แวดลอ้ ม ในบทนจี้ ะกลา่ วถงึ การเฝา้ ระวงั ทางดา้ นเวชศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ มในแงม่ มุ ตา่ งๆ และการให้บรกิ ารสาธารณสุข นิยาม การเฝ้าระวังโรค (disease surveillance) ตามค�ำนิยามของศูนย์ควบคุมและ ปอ้ งกนั โรคแหง่ ชาตขิ องสหรฐั อเมรกิ า หมายถงึ กระบวนการซงึ่ ประกอบดว้ ยการรวบรวม วิเคราะห์และตีความข้อมูลด้านสุขภาพ เพ่ือน�ำไปวางแผนประยุกต์ใช้และประเมิน โครงการและการด�ำเนนิ การด้านสาธารณสขุ การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด หมายถึง กิจกรรมที่ด�ำเนินการอย่างเป็น ระบบและต่อเน่ืองอย่างสม�่ำเสมอ ในการเก็บข้อมูลเก่ียวกับโรคภัยไข้เจ็บตลอดจน องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อสุขภาพอนามัย มีการวิเคราะห์ข้อมูลและกระจายข้อมูล ขา่ วสารเพอ่ื น�ำไปใชใ้ นการวางแผนและการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั ขอ้ มลู การเฝา้ ระวงั โรคจากการประกอบอาชพี จะชว่ ยบอกถงึ การกระจายของการเจบ็ ปว่ ยและการบาดเจบ็ จากการประกอบอาชพี รวมทง้ั องคป์ ระกอบทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเกดิ โรคและการเปลยี่ นแปลง นน้ั ๆ ในเชงิ ปฏบิ ตั ิ การเฝ้าระวังโรคมสี ่วนชว่ ยในการลดอุบัตกิ ารของการเกดิ โรค ช่วย ในการป้องกันโรคก่อนที่จะมีโรคเกดิ ขึน้ และการตรวจคัดกรองโรคช่วยในการลดความ เส่ยี งต่อการเกดิ โรคและการคน้ หาผูป้ ว่ ยในระยะเร่ิมแรกของโรค No.26 March 2014 Green Research 13

ตดิ ตามเฝ้าระวงั การเฝ้าระวังทางด้านส่ิงแวดล้อม (envi­ronmental เฝ้าระวังโรคยังช่วยในการประเมินผลการควบคุมและป้องกันโรค ที่ surveillance) เปน็ กจิ กรรมการเก็บข้อมลู อย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง ไดด้ ำ� เนนิ การไปแลว้ และยงั ชว่ ยใหท้ ราบถงึ ประชากรกลมุ่ เสย่ี ง หรอื มรี ะบบวเิ คราะห์ขอ้ มลู แปลผล และการกระจายข้อมูลขา่ วสารใหผ้ ู้ ช่วยให้ทราบถึงสารท่ีก่อให้เกิดโรคซ่ึงจะได้หลีกเลี่ยงจากการสัมผัส เกย่ี วขอ้ งทราบ เพอื่ น�ำไปสกู่ ารควบคุมปอ้ งกันโรคตอ่ ไป อาจกลา่ ว กับสารน้ัน อย่างไรก็ตาม การท่ีร่างกายได้รับสารเคมีในปริมาณท่ี ไดว้ า่ การเฝา้ ระวงั ครอบคลมุ ถงึ การเกบ็ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการตรวจตดิ ตาม มากผิดปรกติแม้จะเป็นครั้งคราว เชื่อว่าอาจจะมีผลต่อการ ทางด้านส่ิงแวดล้อม (environmental monitoring) หรือด้านชีวภาพ เปล่ียนแปลงทางชีวภาพสามารถตรวจระบุได้ทางห้องปฏิบัติการ (biological monitoring) รวมทง้ั ผลทีไ่ ดจ้ ากการส�ำรวจ และการตรวจ ชีววทิ ยา (biomarker) ซง่ึ ถือว่าเป็นการเฝ้าระวังโรคเช่นกัน คัดกรองด้วย การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดยังช่วยในการค้นหาโรค การตรวจตดิ ตาม (monitoring) เปน็ กจิ กรรมการตดิ ตามผล ในระยะเรมิ่ แรก การรวบรวมขอ้ มลู ของสารเคมอี นั ตราย รวมทง้ั กาก หลงั มกี ารดำ� เนนิ การหรอื ขณะทมี่ กี ารดำ� เนนิ การ รวมถงึ การวเิ คราะห์ ของเสียจะช่วยให้ทราบว่า ผลกระทบต่อสุขภาพน่าจะท�ำอย่างไร การเปล่ียนแปลงทางสังคม และท้ังการบริหารจัดการ การติดตาม จึงจะช่วยในการป้องกันล่วงหน้าได้ การด�ำเนินการเฝ้าระวังอาจจะ การดำ� เนนิ งานเพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทกี่ ำ� หนดไวใ้ นบางกรณจี ะกลา่ ว เริ่มด�ำเนินการในรายท่ีมีการสัมผัสกับสารเคมีหรือหลังจากนั้น เช่น ยอ่ ลงไปถงึ การตรวจคดั กรองทางการแพทย์ (medical screening) และ เหตุการณ์ของระเบิดนิวเคลียร์ที่เมืองฮิโรชิมา และเมืองนางาซากิ ทางชวี วทิ ยา (biological screening) ประเทศญปี่ นุ่ ไดม้ กี ารดำ� เนนิ การทำ� การเฝา้ ระวงั ทวั่ ทง้ั เมอื ง เพอ่ื ทจ่ี ะ ใหท้ ราบถึงภาวะการบาดเจบ็ และการเสียชวี ิตในระยะท่มี กี ารระเบดิ การควบคมุ ก�ำกับ (monitoring trends) การเฝ้าระวงั ดา้ น และผลกระทบที่ตามมาจากการท่ีประชาชนได้รับสารรังสีจากการ ส่ิงแวดล้อมในชุมชนสามารถน�ำข้อมูลมาใช้ในการควบคุมก�ำกับ ระเบดิ ครั้งน้ี ประวตั กิ ารสมั ผสั กบั สงิ่ คกุ คามในชมุ ชน ทง้ั นก้ี ารดำ� เนนิ การเฝา้ ระวงั นน้ั ขน้ึ อยกู่ บั ความแตกตา่ งของประเภทของกลมุ่ อตุ สาหกรรม ความ แตกตา่ งของพ้นื ทแี่ ละระยะเวลา การส�ำรวจ (survey) เป็นกิจกรรมค้นหาข้อมูลอย่างเป็น ระบบจากประชากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง การสำ� รวจมกี ารเรมิ่ ตน้ และจบลงเปน็ งานๆ ไมต่ อ่ เนือ่ งเหมือนการเฝ้าระวัง การตรวจคดั กรอง (screening) เปน็ การตรวจเพอ่ื คัดผูท้ ีม่ ี ความผิดปรกติที่มีสภาพภายนอกเหมือนคนปรกติ โดยใช้เคร่ืองมือ ทดสอบหรอื การตรวจพเิ ศษ การตรวจระบผุ ปู้ ว่ ย (identifying cases) วตั ถปุ ระสงคข์ อง การตรวจระบุผู้ป่วยในชุมชน เพ่ือที่จะได้น�ำผลมาใช้ในการควบคุม ปอ้ งกนั โรค โดยทั่วไปการค้นหาผ้ปู ว่ ยมี 2 วิธดี ้วยกนั คือ การตรวจ คดั กรองทางการแพทย์ (medical screening) และดจู ากบนั ทกึ รายงาน ของการบรกิ ารสาธารณสขุ (health care provider reporting) วตั ถปุ ระสงคข์ องการเฝา้ ระวงั ทางดา้ นวทิ ยาการระบาดสงิ่ แวดลอ้ ม การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดมีความมุ่งหมายท่ีจะ ทราบถงึ แนวโนม้ ของการเกดิ โรค เพอ่ื ทจี่ ะไดน้ ำ� ไปสกู่ ารสอบสวนโรค และการหาแนวทางการควบคุมและป้องกันมิใหเ้ กิดโรคตอ่ ไป ซึ่งจะ ช่วยให้ทราบถึงลักษณะการด�ำเนินของโรค (natural history of disease) ลักษณะทางวทิ ยาการระบาดของโรค นอกจากนรี้ ะบบการ 14 Green Research No.26 March 2014

นอกจากนี้ การเฝ้าระวังในกลุ่มท่ีได้รับการสัมผัสกับสาร อยา่ งไร ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ขนาดของประชากร ในการศกึ ษา (sample size) เคมี การได้รับความรู้เก่ียวกับชีวิต ความเป็นอยู่ และพฤติกรรมท่ี ตอ้ งมากพอเพอ่ื สามารถค้นหาปัญหานั้นๆ สามารถลดความเส่ยี งของการสัมผัสสารเคมีได้ อาจกล่าวได้วา่ การ เฝา้ ระวงั สขุ ภาพและการเฝา้ ระวงั สารอนั ตรายนนั้ มคี วามส�ำคญั เชน่ การคน้ หาผปู้ ว่ ยโรคเหตสุ ง่ิ แวดลอ้ ม โดยทว่ั ไปอาจทำ� ไดโ้ ดย เดยี วกนั ซง่ึ อาจจะเกยี่ วขอ้ งตงั้ แตก่ ารเกบ็ ขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การตรวจคดั กรองผปู้ ว่ ย (screening program) ในสถานประกอบการ ชนิด ปริมาณ และระยะเวลาของการไดร้ บั สารนัน้ ๆ หรอื ในชมุ ชน ซง่ึ อาจเปน็ การตรวจรา่ งกายครง้ั แรกทพี่ บผปู้ ว่ ย ตรวจ รา่ งกายเปน็ ระยะ หรอื การสำ� รวจสขุ ภาพโดยหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ การเฝา้ ระวงั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มช่วยกระตนุ้ ให้สังคมให้ความ เชน่ การสำ� รวจโรงงาน การสำ� รวจชมุ ชนและตรวจสขุ ภาพประชาชน สนใจในปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มมากขนึ้ เชน่ เหตกุ ารณข์ อง “Love Canal” ท่เี สย่ี งตอ่ โรคซิลโิ คสสิ หรือพิษตะกว่ั โดยสำ� นักอนามัยสิง่ แวดล้อม ในเมอื งนวิ ยอรค์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า และเหตกุ ารณท์ เ่ี มอื ง Bhopal เปน็ ตน้ ประเทศอินเดีย เป็นตัวอย่างที่ดีของการเฝ้าระวังส่ิงแวดล้อม การ สัมผัสกับสารเคมี พบว่าในส่ิงแวดล้อมน�ำไปเปรียบเทียบกับการ การคน้ หาผปู้ ว่ ยยงั อาจทำ� ไดจ้ ากการทผ่ี ปู้ ว่ ยมาพบแพทยท์ ี่ สัมผัสของสารเคมใี นทางอาชีวอนามัย จะพบว่าระดับความเขม้ ของ สถานพยาบาล และแพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็นโรคเกี่ยวเน่ืองจาก สารนน้ั แตกตา่ งกนั คอื ถา้ เปน็ แงข่ องอาชวี อนามยั นนั้ จะมหี นว่ ยเปน็ สงิ่ แวดลอ้ ม ซง่ึ การตรวจพบผปู้ ว่ ยดว้ ยวธิ ใี ดกต็ ามแลว้ มกี ารรายงาน สว่ นในลา้ น (parts per million) แตข่ ณะทแี่ งข่ องสงิ่ แวดลอ้ มจะมหี นว่ ย และจัดระบบประมวลข้อมูลจากสถานพยาบาลหลายๆ แห่งเข้าสู่ เปน็ ส่วนในพันล้าน (parts per billion) น่นั คอื การสัมผัสกับสารเคมี ศนู ยก์ ลางรวบรวมขอ้ มลู เชน่ เมอื่ มกี ารพบผปู้ ว่ ยภายในจงั หวดั กจ็ ะ ในสิ่งแวดล้อมทั่วไปจะมีระดับความเข้มน้อยกว่าการสัมผัสกับสาร มีระบบรายงานเขา้ สสู่ �ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด เพ่ือการประมวล เคมี ในกรณขี องอาชวี อนามยั 1,0000 เทา่ ดงั นน้ั หากตอ้ งการศกึ ษา และวเิ คราะห์แปลผล จากน้ันก็จะนำ� ข้อมลู ไปใช้ประโยชน์ต่อชมุ ชน ผลกระทบของสารเคมตี า่ งๆ วา่ มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชน และนำ� ไปสกู่ ารสำ� รวจชมุ ชนเพอ่ื หามาตรการปอ้ งกนั มใิ หม้ ผี ปู้ ว่ ยเพม่ิ ข้ึน เอกสารอา้ งองิ ระบบการเฝา้ ระวงั โรคจากส่งิ แวดลอ้ ม [ออนไลน]์ เข้าถึงได้ http://www.envocc.org/Budget56/presentkan/02.enk2.pdf การเฝ้าระวงั โรคเหตุสิ่งแวดลอ้ ม [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้ http:http://www.healthcarethai.com/การเฝา้ ระวงั โรคเหตุสงิ่ แวดล้อม No.26 March 2014 Green Research 15

ตดิ ตามเฝา้ ระวัง การส�ำ รวจการปนเปือ้ นของสารพษิ ทม่ี ากับนำ้�มนั รั่วในอา่ วไทย การสำ�รวจติดตามผลระยะยาวเป็นระยะเวลา ประเดน็ ความเป็นหว่ งปัญหาสงิ่ แวดล้อม จากการปนเป้อื นของ อย่างน้อย 3 ปี หรือกรณีน้ำ�มันรั่วในต่าง สารพิษท่ีมากับนำ้ �มันร่ัวในอ่าวไทยเพิ่มสูงขึ้น เน่ืองจากการร่ัวไหลของ ประเทศนั้นการติดตามต้องดำ�เนินการเป็นระยะ นำ้ �มันส่งผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อมมากมายหลายด้าน หนว่ ยงานต่างๆ ท่ี เวลา 3-5 ปี ขึน้ อยกู่ ับปรมิ าณน�ำ้ มันท่รี ่วั รับผิดชอบจำ�เปน็ ต้องติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ�ทะเลและชายฝั่ง รวม ถึงสารพิษชนิดต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ในแต่ละวัน จะมีการเกบ็ ตัวอย่างนำ้ �ไปตรวจสอบสารปโิ ตรเลยี มไฮไดรคารบ์ อน โลหะ หนัก สารก่อมะเร็งโพลีอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) โดยจุดที่เก็บ ตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ แหลมนอ้ ยหนา่ กลางชอ่ งปลายตนี ปากคลองแกรง กลาง ชอ่ งเสมด็ -บ้านเพ และอา่ วก่วิ หนา้ นอก ซึ่งเป็นจุดอา้ งองิ เพราะหา่ งจาก พนื้ ทอ่ี า่ วพรา้ วและนำ้ �มนั อาจจะกระจายไปถงึ พน้ื ทซ่ี ง่ึ พบมฟี ลิ ม์ บางๆ ลอย อยู่ โดยผลการตรวจสอบสารปนเปอื้ นตอ้ งใชเ้ วลาประมาณ 2 สปั ดาห ์ นอกจากนผ้ี ลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศทสี่ ำ�รวจพบหลายดา้ น ทเี่ หน็ ได้ชัด คอื คราบนำ้ �มนั ท่ตี ิดบริเวณชายหาด เม่อื เกาะตดิ อยนู่ านจะส่งผล กระทบกบั สัตวน์ ำ้ �ประเภทหอยเป็นอนั ดับแรกทต่ี ้องเร่งให้มกี ารฟื้นฟู สว่ น คณุ ภาพของนำ้ �หากภายใน 1 สปั ดาห์ ยงั ไมส่ ามารถกลบั คนื สสู่ ภาพเดมิ ได้ สตั วน์ ้ำ�อยา่ ง ปู ปลา และกงุ้ จะไดร้ บั ผลกระทบตามมาเปน็ ลำ�ดบั เพราะ การขาดออกซเิ จน สว่ นปะการังท่ีตอ้ งการแสงในการเจริญเติบโต เมื่อนำ้ � มสี ดี ำ�ปกคลุมก็ไดร้ ับผลกระทบเช่นกนั สารเคมที อ่ี ยใู่ นนำ้ �มนั จะสง่ ผลใหส้ ตั วท์ ะเลเจรญิ เตบิ โตชา้ ลง และ เปน็ หมนั ซงึ่ ตอ้ งมกี ารสำ�รวจตดิ ตามผลระยะยาวเปน็ ระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 3 ปี หรอื กรณีน้ำ�มันร่ัวในต่างประเทศนน้ั การตดิ ตามตอ้ งดำ�เนินการเปน็ ระยะเวลา 3-5 ปี ข้ึนอยู่กับปริมาณนำ้ �มันท่ีร่ัว  ส่วนในบริเวณอ่าวไทย ระบบนิเวศจะกลับมาฟ้ืนตัวได้เหมือนเดิมหรือไม่นั้น ต้องมีการติดตาม 16 Green Research No.26 March 2014

เฝา้ ระวงั อยา่ งตอ่ เน่ืองและตอ้ งใช้เวลาในการฟ้ืนตัว ส่วนการสำ�รวจ และการติดตามผลกระทบนน้ั หน่วยงานท่มี ีความรับผดิ ชอบ ยงั ต้อง มีการดำ�เนนิ การอยตู่ ลอดเวลาแม้ไม่มีน้ำ�มนั แลว้ กต็ าม จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น จากการทหี่ นว่ ยงานต่างๆ ไดเ้ ริม่ มี การสำ�รวจสารพิษและปริมาณตกค้าง จากนำ้ �มันร่ัวในอ่าวไทยน้ัน จะพบสารพิษตกค้างชนิดต่างๆ ที่พอจะอธิบายได้ เช่น ในน้ำ�มัน ดบิ ทร่ี ว่ั ไหลมสี ารโพลอี ะโรมาตคิ ารบ์ อนบางชนดิ ทก่ี อ่ มะเรง็ ในมนษุ ย์ รวมถึงสารไฮโดรคาร์บอนทถี่ งึ แมจ้ ะมีปรมิ าณไม่สงู แตเ่ มอ่ื มกี ารสะ สมเรื่อยๆ จะทำ�ให้ก่อมะเรง็ ด้วย ซึ่งจะอยู่ในน้ำ�มันที่ร่วั ไหล และมี สารโลหะหนกั บางชนดิ ทเี่ คลอื่ นยา้ ยไดใ้ นหว่ งโซอ่ าหาร หว่ งโซส่ ดุ ทา้ ย คือ มนุษย์ ปลาตัวเล็กกินสัตว์หน้าดินที่ได้รับสารพิษจากน้ำ�มันที่ ละลายนำ้ � ปลาใหญก่ นิ ปลาเลก็ เมอ่ื ยอ่ ยสลายไมไ่ ดจ้ ะสะสมเพม่ิ ฤทธ์ิ มากขน้ึ คนกินปลาเปน็ การสะสมสารพิษผา่ นหว่ งโซ่อาหาร สดุ ท้าย คนจะได้รับพิษสูงสุด นอกจากนี้สารเคมีท่ีบริษัทผู้กำ�จัดยังไม่มีการ เปดิ เผย ซง่ึ คาดวา่ เปน็ คลอรนี 10 ทม่ี พี ษิ กวา่ น้ำ�มนั ถงึ 52 เทา่ ขณะ เดียวกันจะมีสารตกค้างประมาณรอ้ ยละ 30 ของน้ำ�มนั ท่รี ่วั ท้ังหมด ที่จะอยใู่ นดิน แนวปะการัง พชื นำ้ � สัตว์นำ้ � โดยเฉพาะกงุ้ รวมถึง พนื้ ทว่ี างไขข่ องสตั วน์ ำ้ �ตลอดจนปา่ โกงกางทร่ี ากจะไมส่ ามารถหายใจ ได้ตามระบบปกตอิ กี ด้วย สารพิษที่กล่าวนั้นเป็นเพียงตัวอย่างหลักที่หน่วยงานผู้รับ ผดิ ชอบตา่ งๆ สำ�รวจพบ แตใ่ นปจั จบุ นั สอื่ ประชาสมั พนั ธท์ อ่ี อกมาสว่ น ใหญ่กับภาพการนำ�เสนอที่ดูเหมือนไม่มีอันตรายจากกรณีน้ำ�มันรั่ว ในอ่าวไทย ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วไม่อยากให้รัฐบอกว่าตอนนี้ สถานการณด์ า้ นสง่ิ แวดลอ้ มและผลกระทบจากสารพษิ ตกคา้ งปลอดภยั แลว้ เพราะวา่ ปลาและหอย รวมถงึ สตั วน์ ำ้ �ชนดิ ตา่ งๆ ทเ่ี ราบรโิ ภคนน้ั หากโดนน้ำ�มันเคลือบตัวแล้วตับของสัตว์น้ำ�ก็จะถูกทำ�ลายอย่าง รวดเรว็ ยกตวั อยา่ งน้ำ�มนั รวั่ ทป่ี ระเทศเมก็ ซโิ ก ปจั จบุ นั สตั วน์ ำ้ �เกดิ มา ใหมก่ ม็ คี วามผดิ ปกตมิ สี ารหลายตัวตดิ คา้ ง คราบน้ำ�มนั และสารที่ ฉดี พน่ ทก่ี อ่ มะเรง็ และมสี ารปรอทปนปนเปอ้ื นอยใู่ นการสำ�รวจลา่ สดุ หลงั จากนี้ หน่วยงานของรัฐยังจำ�เปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ตี อ้ งมกี าร ภาพจากเวบ็ ไซต์ คมชดั ลกึ ตดิ ตามผลอยา่ งใกลช้ ดิ ในการตรวจสารพษิ ตกคา้ งในสตั วน์ ำ้ � พชื นำ้ � และคณุ ภาพนำ้ �อยา่ งสมำ่ �เสมอ ใหม้ คี วามปลอดภยั ตอ่ ผบู้ รโิ ภคสงู สดุ ตลอดจนชาวบา้ นทเ่ี ลย้ี งสตั วน์ ำ้ �กต็ อ้ งเฝา้ ระวงั อยา่ งใกลช้ ดิ ดว้ ยเชน่ กนั เอกสารอา้ งอิง จบั ตาสารพษิ ตกคา้ ง “ทะเลเสมด็ ”. ไทยโพสต.์ Momypedia. นำ้ �มนั ดบิ รว่ั ไหล คราบนำ้ �มนั ในทะเล อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ. [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดท้ ่ี : http://www.momypedia.com ศูนยว์ ิจยั สขุ ภาพกรงุ เทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ นำ้ �มนั ดิบรวั่ ทะเลระยอง ส่กู รณศี ึกษาอา่ วเม็กซิโก พบสารกอ่ มะเร็งในสัตวท์ ะเลเพ่มิ 10 เท่า. สถานีโทรทัศนไ์ ทยพีบีเอส Thai PBS. นกั ชวี วทิ ยา หวนั่ สารเคมีตกคา้ ง หลงั ขจัดคราบนำ้ �มนั ในทะเล. No.26 March 2014 Green Research 17

ก้าวหนา้ พฒั นา บทบาท AEC ตอ้ งไมล่ ะเลยทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม Creative H.N.INNOVATION Team. ประเทศไทยเป็นสมาชิกชาตแิ รกๆ ท่เี ข้าร่วมกอ่ ตง้ั อาเซียน และภาคอุตสาหกรรมต้องติดตามและเตรียมต้ังรับ เพราะ AEC ขึ้นมา อาเซียนก่อตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสันติภาพใน คือ ตลาดขนาดใหญ่ทีม่ ีประชากรรวมกว่า 600 ล้านคน มีจำ�นวน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนำ�มาซึ่งเสถียรภาพทางการ แรงงานมากกวา่ 310 ลา้ นคน  มีพ้ืนท่ีเพาะปลกู รวม 429 ลา้ นไร่ เมอื ง และความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และ ซึ่งดจู ะเปน็ โอกาสทีย่ ิ่งใหญ่ แตก่ ารเติบโตทัง้ ด้านการใชพ้ ลงั งานของ วฒั นธรรม โดยการจดั ตงั้ ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community:AC) ประเทศในกลมุ่ AEC จะมสี ถิตสิ ูงขน้ึ เรอื่ ยๆ ไม่ตา่ งจากปริมาณการ ที่ประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั อนั ได้แก่ ประชาคมการเมอื งและความ ปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ ในปจั จบุ นั การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ม่ันคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community – ASC) สิ่งแวดล้อม และการเติบโตทางเศรษฐกิจได้กลายเป็นเรื่องเดียวกัน ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community – AEC) ดังน้ันประเทศในกลุ่ม AEC จึงจำ�เป็นที่ต้องร่วมมือกันสร้างความ ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural สมดุลระหว่างการเติบโตของเศรษฐกิจไปพร้อมๆ กับการดูแลเร่ือง Community – ASCC) ผลกระทบดา้ นส่งิ แวดล้อม หากมองให้ลึกลงไปประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเป้า AEC มคี วามจำ�เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งคำ�นงึ ถงึ ประเดน็ ในหลายๆ มติ ิ หมายหลักทางด้านเศรษฐกิจที่สำ�คัญในการขับเคลื่อนให้เกิดความ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มดว้ ย เพราะประเทศในกลุ่ม รว่ มมือระหวา่ งประเทศอาเซียนมากที่สดุ มอี งคป์ ระกอบสำ�คัญ คือ สมาชิกแต่ละประเทศต่างมีโครงสร้างทางเศรษฐกิจและทรัพยากร การเป็นตลาดและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน โดยมุ่งสร้างความเท่า ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทไ่ี มเ่ หมอื นกนั และแตกตา่ งกนั อยพู่ อสมควร เทียมในด้านการพฒั นาเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศอาเซียน ซึ่งปัจจยั ไม่ว่าจะเป็นความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ความ หลักในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของภูมิภาค คือ ความร่วมมือด้าน หลากหลายทางระบบนเิ วศ ความเขม้ งวดและความยดื หยนุ่ ของนโยบาย พลังงาน และกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มการจดั อย่างไรก็ตามการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนไม่ใช่หนทางหรือ การของหนว่ ยงานรฐั ทร่ี บั ผดิ ชอบแตกตา่ งกนั รปู แบบการคา้ ทปี่ ระเทศ โอกาสทางเศรษฐกจิ เทา่ นน้ั   หากแตย่ งั มคี วามทา้ ทายอนื่ โดยเฉพาะ สมาชิกจะนำ�เข้าหรือส่งออกสุทธิทรัพยากรธรรมชาติและสินค้าอื่นๆ เรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความสำ�คัญมากในภาคธุรกิจ ทม่ี ผี ลตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม การนำ�เทคโนโลยกี ารผลติ มาใชค้ วามเขม้ ขน้ ใน 18 Green Research No.26 March 2014

การใช้ปัจจัยการผลิตจำ�นวนมหาศาลและความสามารถในการใช้ เราอาจยกตัวอย่าง เช่น กรณีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ทรพั ยากรทดแทนกนั ไดข้ องปจั จยั ทน่ี ำ�ไปใชใ้ นการผลติ ตา่ งๆ พฤตกิ รรม (พม่า) ซ่ึงอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติจำ�นวนมากมาย การบรโิ ภคของประชาชน อกี ทงั้ ทศั นคตแิ ละความเขา้ ใจของประชาชน ทง้ั ทย่ี งั ไมน่ ำ�มาใชแ้ ละเปดิ ใหเ้ อกชนจากตา่ งประเทศเขา้ มาทำ�ประโยชน์ ในประเทศทม่ี ตี อ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มและประเดน็ อน่ื ๆ ทงั้ ดนิ ปา่ ไม้ อญั มณี น้ำ�มนั และกา๊ ซธรรมชาติ ยงั ไมร่ วมทรพั ยากร อกี มากมาย แร่ในดินชนดิ อ่ืนๆ ทพ่ี บมากในประเทศ หากแต่การจัดตั้งประชาคม เศรษฐกจิ อาเซยี นจะสง่ ผลกระตนุ้ ใหป้ ระเทศพมา่ มงุ่ เนน้ ทจ่ี ะใชค้ วาม จากทก่ี ลา่ วนน้ั เปน็ เพยี งตวั อย่างบางส่วนของปัจจยั สำ�คญั ได้เปรียบจากความม่ังคั่งเหล่าน้ี เป็นความเช่ียวชาญหลักในการ บางประการที่อาจทำ�ให้ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดตั้ง แขง่ ขันทางการค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ ปัจจบุ ันเราจะดไู ด้ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นเกดิ ความแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะประเทศ จากการทพี่ มา่ ไดม้ กี ารเปดิ รบั การลงทนุ จากตา่ งประเทศในชว่ ง 1-2 ปี สมาชกิ เพราะโดยหลกั การแลว้ เราจะตอ้ งนำ�เอาตน้ ทนุ ทางทรพั ยากร ทผี่ า่ นมาเปน็ จำ�นวนมหาศาลอยา่ งทไ่ี มเ่ คยมใี นประวตั ศิ าสตรม์ ากอ่ น ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มเขา้ มาคดิ คำ�นวณเปน็ สว่ นหนง่ึ ของผลกระทบ และหากพม่าไม่มีมาตรการควบคุมดูแลการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ จากการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้วย อย่างมปี ระสทิ ธิภาพแล้ว ความกงั วลในดา้ นการเกิดผลกระทบด้าน เสมอน่ันก็คือผลกระทบต่อกรีนจีดีพี (Green GDP) หรือผล ส่ิงแวดล้อม เราก็สามารถคาดการณ์ได้ว่าอัตราการเก็บเกี่ยวผล ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศหกั ดว้ ยตน้ ทนุ ทรพั ยากรธรรมชาติ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศพม่าจะสูงข้ึนเร่ือยๆ และส่ิงแวดล้อม อีกทั้งผลกระทบต่อสวัสดิการความเป็นอยู่ของ จนกระทั่งอาจจะมากกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นตามปกติของทรัพยากร ประชาชน ความยากจนการกระจายรายไดแ้ ละเพอื่ ใหเ้ หน็ ภาพชดั เจน ธรรมชาติ หากมองย้อยกลับมาท่ีประเทศไทยในช่วงบุกเบิก อุตสาหกรรมที่เราผ่านมาก็แสดงให้เห็นถึงการใช้ทรัพยากรอย่าง มากมายมหาศาล จนนำ�มาซึ่งผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมต่อเน่ือง มาจนถงึ ในปัจจบุ นั เมื่อเป็นเช่นนี้ทรัพยากรธรรมชาติจะร่อยหรอลงไปอย่าง รวดเร็ว ผลประโยชน์ท่ีประเทศพม่าจะได้รับจากการเปิดการค้าและ การลงทุนภายใตป้ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นย่อมจะเป็นเพียงระยะ สั้นเท่าน้ัน หรือกรณีการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว ส่งผลกระตุ้นให้พืชพันธุ์ธัญญาหารมีราคาท่ีดีข้ึนกว่าเดิม เกษตรกร และผู้ผลิตสินค้าเกษตร เพ่ือการส่งออกย่อมจะทำ�การปรับเปลี่ยน ท่ีดิน เพ่ือขยายการเพาะปลูกพืชท่ีให้ผลตอบแทนสูงมากยิ่งขึ้น ประเทศท่ีมีเน้ือท่ีในการเพาะปลูกทจ่ี ำ�กัด เช่น ฟิลปิ ปินส์ ก็อาจจะ ถางปา่ เพอื่ ทำ�การเพาะปลกู พชื เศรษฐกจิ น้ี การใชเ้ ทคโนโลยกี ารผลติ ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม อีกทั้งปัจจัยแรงงานและทุนก็จะมีการ โยกยา้ ยมาจากภาคสว่ นอน่ื ๆ ในกรณนี ห้ี ากเกษตรกรและผผู้ ลติ สนิ คา้ เกษตรตา่ งสามารถเขา้ ใชผ้ นื ปา่ ไดอ้ ยา่ งเปดิ กวา้ งเสรี (Open Access) หรอื ไม่มีมาตรการดูแลการขยายพ้ืนทเ่ี พาะปลกู อย่างมีประสทิ ธิภาพ แล้ว ในระยะยาวฟิลิปปินส์จะสูญเสียป่าไม้และดินอันอุดมสมบูรณ์ มากกว่าผลประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั No.26 March 2014 Green Research 19

ก้าวหน้าพฒั นา หากมองกรณีการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะ นอกจากนี้ ยังช้ีให้เห็นว่าผลกระทบดังกล่าวของประเทศ สง่ ผลกระตนุ้ ให้ปัจจยั การผลติ ต่างๆ เชน่ เทคโนโลยีแรงงานและทุน สมาชิกต่างๆ สามารถเข้ามาควบคุมดูแลได้อย่างใกล้ชิด ถ้าหาก สามารถเคล่อื นยา้ ยระหว่างประเทศสมาชิกไดอ้ ยา่ งเสรี และรวดเร็ว มีการประยุกต์ใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เพ่ือประกอบขึ้นมา มากยิ่งข้นึ เรากส็ ามารถคาดการณไ์ ด้ว่าการขยายตวั ของปัจจยั การ เป็นนโยบายและมาตรการบังคับของรัฐ หรือการขอความร่วมมือที่ ผลิตท่ีใช้อย่างเข้มข้นในอุตสาหกรรมการผลิตหน่ึงๆ ย่อมจะกระตุ้น เหมาะสม ซงึ่ ไมเ่ พยี งแตก่ ารควบคมุ และกำ�กบั โดยการออกกฎหมาย ให้การผลิตของอุตสาหกรรมนั้นๆ มีการเติบโตมากยิ่งขึ้น หาก บังคับหรือการกำ�หนดให้ปล่อยมลพิษในระดับเกณฑ์มาตรฐานแล้ว อุตสาหกรรมนั้นเป็นกิจกรรมการผลิตที่สร้างผลกระทบทางลบต่อ เรายังสามารถใช้ภาษีส่ิงแวดล้อมเพ่ือให้ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย เช่น ส่ิงแวดล้อม เช่น ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศหรือทางน้ำ� โดยที่ ภาษีมลพิษหรือค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ที่ก่อมลพิษ ค่าธรรมเนียม ประเทศสมาชิกน้ันๆ ไม่ได้มีการปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิตให้มี การอนุญาตปล่อยมลพิษ ค่าธรรมเนียมการจัดการมลพิษ การ ประสิทธิภาพในการลดภาระด้านส่ิงแวดล้อมลง และไม่มีการใช้ ซ้ือขายหรือโอนสิทธิใบอนุญาตการปล่อยมลพิษ การวางประกัน เทคโนโลยีที่สะอาดเพียงพอ หรือไม่มีเครื่องมือของรัฐทางด้าน ความเส่ียงหรือความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม หรือมาตรการอุดหนุน เศรษฐศาสตร์มาใช้เพื่อกำ�กับดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ภาษี เทคโนโลยสี ะอาด เปน็ ตน้ เครอ่ื งมอื เหลา่ นเ้ี มอ่ื นำ�มาใชอ้ ยา่ งเหมาะสม สิ่งแวดลอ้ มในอตุ สาหกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งโดยตรงกับส่ิงแวดล้อม (Optimum) ก็จะช่วยกระตุ้นให้ผู้ผลิตพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด ลด การใชร้ ะบบโควตา้ การผลติ หรอื การซอ้ื ขายสทิ ธกิ ารปลอ่ ยมลพษิ ตาม การทำ�ลายทรัพยากรธรรมชาติ อีกท้ังประชาชนก็จะมีพฤติกรรม จำ�นวนทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตแลว้ กส็ ามารถคาดการณไ์ ดว้ า่ สวสั ดกิ ารความ การบรโิ ภคท่ีมีความรับผดิ ชอบต่อสิ่งแวดลอ้ มมากยิ่งขนึ้ อีกดว้ ย เปน็ อยู่ของประชาชนจะเลวรา้ ยลงในระยะยาว หากเรามองกลบั มาทห่ี ลกั คดิ ในการจดั ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ ตัวอย่างข้างต้นเป็นเพียงการชี้ให้เห็นถึงความสำ�คัญของ อาเซียนท่ีเป้าหมายใหญ่มุ่งหวังให้เหล่าประเทศสมาชิกต่างๆ มี ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในวงกว้างต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาการทางเศรษฐกิจท่ีดีมีรายได้มากข้ึน แต่การที่เราจะไป และการทำ�ลายสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจ ฝากความหวังว่า เมื่อใดที่รายได้ของประเทศสมาชิกดีข้ึนเร่ือยๆ อาเซยี น อกี ทงั้ ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ตวั แปรภายนอกอยา่ งเชน่ การเปลยี่ นแปลง แลว้ คอ่ ยกลบั มาใสใ่ จดแู ลทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มในภาย ราคาสินค้าและบริการ การเปลี่ยนแปลงปริมาณปัจจัยการผลิต หลงั นนั้ อาจจะเปน็ ความคดิ ทสี่ ายเกนิ แลว้ เพราะทรพั ยากรธรรมชาติ ต่างๆ ก็สามารถสร้างผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและ และสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่นั้นยากเกินกว่าที่จะแก้ไขให้ย้อนกลับคืน ส่ิงแวดล้อมได้โดยตรง ในขณะท่ีประเทศสมาชิกยังต้องพึ่งพา มาในสภาพดังเดิมได้ (Irreversible) ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติและ อาศัยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระยะยาวการสูญเสีย สิ่งแวดล้อมจึงเป็นประเด็นสำ�คัญที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไม่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มยอ่ มกระทบตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยู่ ควรท่ีจะละเลย แต่กลับต้องคำ�นงึ ถึงตลอดเวลาและใหค้ วามสำ�คญั ของประชาชนในประเทศสมาชิกอย่างหลีกเล่ยี งไม่ได้ มากเปน็ อนั ดบั หนึ่งเช่นกนั เอกสารอ้างอิง : กฤษรตั น์ ศรีสว่าง. AEC กบั กฎหมายภาษีการปล่อยก๊าซคาร์บอน. จบั ตาทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอ้ ม ภายใตก้ รอบเศรษฐกิจอาเซียนใน สถานการณ์สิ่งแวดล้อม. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงได้ที่ : www.ngosthailand.com. ประวัติความเปน็ มาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). [ออนไลน]์ เข้าถงึ ไดท้ ่ี : http://www.thai-aec.com. พชั รี คงตระกลู เทยี น. การปรบั ตวั ของภาคธรุ กจิ เพอ่ื กา้ วสู่ AEC โอกาส ความทา้ ทายและผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม. สำ�นกั พฒั นาความยง่ั ยนื องคก์ ร เครอื เจรญิ โภคภณั ฑ.์ 20 Green Research No.26 March 2014

แนวคิดสอ่ื ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชนพฒั นาเดก็ ได้มากกวา่ ที่คิด หากเรามองยอ้ นกลบั ไปในตอนวยั เดก็ นอกเหนอื จากภาระ การใช้งานของเคร่ืองมือท่ีใช้ในการทำ�สวนครัว ผมได้เรียนแล้วผ่าน หน้าท่ใี นการไปเรยี นในโรงเรยี น และช่วยงานบา้ นเลก็ ๆ นอ้ ยๆ แลว้ ประสาทสัมผสั ทงั้ ห้ากบั ธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อม พวกเราเด็กๆ ก็มักจะมีเวลาว่างมากเพียงพอที่จะสำ�รวจธรรมชาติ ที่อยู่รอบๆ บ้าน หรือบริเวณหมู่บ้านไม่ว่าจะเป็น ต้นไม้ ทุ่งหญ้า เวลาที่ผมว่ิงไปหาพ่อแม่ท่ีเกี่ยวข้าวอยู่กลางทุ่ง พ่อก็จะใช้ ท่งุ นา ป่าหญ้าคา และอื่นๆ เราสนกุ สนานกับการท่ีไดป้ นี ป่ายตน้ ไม้ เคยี วทพี่ อ่ ใชเ้ กยี่ วขา้ วตดั ตน้ ขา้ วแลว้ ทำ�เปน็ ปี่ ใหผ้ มเปา่ เลน่ พวกเรา ใหญ่ นง่ั เล่นอยู่บนต้นไม้นน้ั เปน็ เวลานานๆ ได้เห็นความเป็นอยูข่ อง เด็กๆ ก็เปา่ ใหม้ เี สยี งดังต่างๆ กนั เปน็ ทีส่ นกุ สนาน ผมให้พอ่ เจาะรู เหล่านกใหญ่น้อยทั้งหลาย ท่ีอาศัยกิ่งก้านสาขาของไม้ใหญ่น้ีเป็นที่ เพมิ่ เพอ่ื ใหป้ ต่ี น้ ขา้ วของผมทำ�ไดม้ ากกวา่ หนงึ่ เสยี ง และแกลง้ ทำ�เปน็ กำ�บงั จากภยั ตา่ งๆ บา้ งกส็ รา้ งรงั อยบู่ นตน้ ไมใ้ หญน่ ้ี หลายครง้ั ทพี่ วก วา่ เรากำ�ลงั บรรเลงดนตรที แ่ี สนไพเราะ ดว้ ยเครอ่ื งดนตรสี ากลทเ่ี รยี กวา่ เรากแ็ กลง้ มนั พอพวกเราสง่ เสยี งดงั หรอื ขวา้ งปาวตั ถเุ ขา้ ไปใสต่ น้ ไม้ คารเิ นต็ เราไดเ้ รยี นรอู้ ะไรตอ่ มอิ ะไรมากมาย เราไดพ้ ฒั นาสว่ นตา่ งๆ ฝงู นกกแ็ ตกฮอื บนิ หนไี ปคนละทศิ คนละทางดว้ ยความตกใจ แตพ่ วก ของรา่ งกาย พัฒนาจติ ใจ อารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์ และการได้ เรากลับหัวเราะอย่างสนุกสนาน บางคร้ังเราก็ปีนต้นไม้เพ่ือที่จะ มีปฏิสัมพันธ์กับคนอ่ืนๆ เรียนรู้วัฒนธรรมของบุคคลและสังคม ได้ ไปให้ถึงรังของนก เราอยากจะเห็นบ้านที่อยู่ของนก อยากจะเห็น ส่ือสารโดยกระบวนการของภาษา โดยท่ีไม่มีทฤษฎีการเรียนรู้ใดๆ ไข่ หรือลูกเล็กๆ ของมัน ในขณะที่เราใกล้จะถึงเราจะได้ยินเสียง มาบอกเรา หรอื บอกพอ่ แม่ของเราเลย พ่อแม่ของลูกนกส่งเสียงร้องอย่างดังราวกับจะบอกให้เรารู้ว่าอย่า เข้าใกลห้ รอื ทำ�อนั ตรายสิง่ ทีเ่ ขารกั และหวงแหนมากทีส่ ดุ ในทุง่ นาที่ เราเดินหรือบางคร้ังก็วิ่งผ่าน เราก็จะเห็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์หลาก หลายชนิด เช่น หนู มด บางครั้งเราก็เห็น คราบของงู เรามอง เห็นการทำ�งานของมด เห็นการหาอาหารของบรรดาแมลงต่างๆ เห็นผีเส้ือ แมลงตัวเล็ก และผ้ึง ท่ีมาดอมดมน้ำ�หวานในดอกไม้ บางครง้ั เรากไ็ ปเดด็ ดอกไมเ้ หลา่ นน้ั เพอ่ื เปดิ หานำ้ �หวานในดอกไมน้ นั้ พวกเรากพ็ บวา่ ในดอกไมช้ นดิ หนงึ่ ทเี่ ราเดด็ มามนี ้ำ�หวานอยจู่ รงิ พวก เราสนุกสนานกับการได้ล้ิมรสความหวานของน้ำ�ใสๆ ในดอกไม้น้ัน ตัวผมเองไม่เคยสงสัยแต่กลับรู้สึกคุ้นเคย เวลาคุณครูวิทยาศาสตร์ ทโี่ รงเรยี นอธบิ ายถงึ สว่ นประกอบของดอกไม้ หรอื การขยายพนั ธขุ์ อง ต้นไม้ หรือในข้อสอบที่ถามถึงรั้วกินได้ และประโยชน์หรือลักษณะ No.26 March 2014 Green Research 21

ก้าวหนา้ พัฒนา ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตใิ ห้ประโยชน์อยา่ งไรกบั พัฒนาการของเดก็ เมื่อพิจารณาถึงผลระยะยาวท่ีมีต่อเด็ก ทางด้านสุขภาพทางอารมณ์ท่ีดี สุขภาพ กายทีด่ ี ความสามารถในการเรียน และความเขา้ ใจในสิง่ แวดลอ้ มแล้วเราไมค่ วรทจ่ี ะให้เด็ก ใช้เวลาส่วนมากอยู่แต่ในห้องเรียนหรือในบ้าน เด็กจะมีพัฒนาการในทุกๆ ด้านเพียงขอให้ เราสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดม้ เี วลาใหก้ บั ธรรมชาติ (Green Hours) ใหม้ ากในแตล่ ะวนั (Washington Post, June, 2007) นักการศึกษาและนักวิจัยที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับเด็กและพัฒนาการของเด็กได้ให้ ความสำ�คัญอย่างมากกับสื่อที่อยู่ล้อมรอบตัวเด็ก อันได้แก่ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Stephen Kellert, 2005 in Children&Nature Network, 2008) ศาสตราจารยแ์ หง่ มหาวทิ ยาลยั Yale ได้กล่าววา่ การท่สี ภาพแวดล้อมของบา้ นทเ่ี ปน็ ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ จะสง่ ผลที่ดีกับ เดก็ ในการพฒั นาสมอง ความคดิ รวมถงึ การพฒั นาศกั ยภาพในการวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมินผล ซงึ่ เปน็ การพฒั นาการของสมองขั้นสงู นอกจากน้ี ในบทความเดียวกัน ยงั เพ่มิ เติมถึงประโยชน์ของการทไี่ ดม้ ปี ฏสิ ัมพนั ธก์ บั ธรรมชาตอิ ีกดว้ ยวา่ เดก็ ๆ จะมีร่างกาย ทสี่ มบรู ณ์ และกระตือรอื ร้น ไมเ่ ป็นโรคอ้วน ซ่งึ จะมโี อกาสเสย่ี งสงู ในการเป็นโรคหัวใจและ ความดันโลหิตสงู ในส่วนของการจัดการศึกษา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูทั่วโลกได้ เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ เปน็ อย่างมาก วธิ ีการสอนแบบเก่าท่เี รยี กวา่ Chalk – and – Talk ได้ถูกลืมเลือนไปในภาคส่วนการศึกษา ครูในยุคปัจจุบันได้รับการเสริมสร้างให้มีความรู้ใน เรอื่ งสอ่ื นวตั กรรมการสอนทส่ี ง่ ผลโดยตรงใหก้ ระบวนการเรยี นการสอนมคี วามนา่ สนใจ และมี ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ (Singh, 2007) แตเ่ มอ่ื พดู ถงึ สอ่ื นวตั กรรมการสอน คนโดยทว่ั ไปมกั เขา้ ใจวา่ หมายถงึ เทคโนโลยขี อ้ มลู ขา่ วสาร (Information Communication Technologies (ICT) โดยเฉพาะ อย่างยิง่ คนในประเทศที่ได้รับการพฒั นาทางดา้ นอุตสาหกรรม แตใ่ นประเทศที่กำ�ลังพฒั นา กลับมาให้ความสนใจในนวัตกรรมการเรียนการสอนที่มีต้นทุนตำ่ � (Low-Cost Teaching Aids) หรือไม่ต้องลงทุนและหาได้ในท้องถ่ิน ส่ือนวัตกรรมการเรียนการสอนเหล่านี้ ผลิต ได้อย่างง่ายๆ จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นหรือหยิบใช้ได้โดยตรงจากธรรมชาติรอบๆ ตัว และยังทำ�ให้เป็นโรงเรียนที่พ่ึงตนเองได้ ลดค่าใช้จ่ายทางด้านการจัดการศึกษาของโรงเรียน การเลือกสรร การให้ความสนใจกับชุมชนและการนำ�ธรรมชาติไปประยุกต์ใช้ในโรงเรียน จะทำ�ให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีความหลากหลาย ความน่าสนใจ และเกิดผล ประโยชนส์ งู สดุ กับโรงเรียนในท้องถิ่นนน้ั ๆ ต้นกล้วยนำ้ �ว้าต้นหนึ่ง ไม่ใช่ให้เพียงผลกล้วยที่มีคุณค่าทางโภชนาการ กับทุกคนเท่าน้ัน การเกิด เจริญเติบโต ให้ผล และตายไปของต้นกล้วยต้นหนึ่ง ทำ�ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้วงจรชีวิตของมัน เด็กได้พัฒนาทักษะการสังเกต เรียนรู้การ เปลี่ยนแปลง จดบันทึก เรียนรู้ที่จะรักธรรมชาติ เด็กบางคนนำ�ก้านกล้วยมาประดิษฐ์ เป็นม้าก้านกล้วย ว่ิงเล่นกันอย่างสนุกสนาน เรือใบท่ีได้รับการสร้างสรรค์จากกาบ กล้วย ถึงแม้จะดูไม่มีมาตรฐานนัก แต่ก็ให้ความสุขในจิตใจของเด็กๆ เหล่านั้น 22 Green Research No.26 March 2014

ความคดิ สรา้ งสรรค์ อารมณแ์ ละจติ ใจ ไดร้ บั การพฒั นาไป อย่างเสรีกับธรรมชาติจะเป็นสิ่งที่น่ารื่นรมย์และน่าดึงดูดใจสำ�หรับ พรอ้ มๆ กบั รา่ งกายโดยทต่ี วั เดก็ ๆ เองอาจจะไมไ่ ดค้ ดิ ถงึ สงิ่ ดๆี เหลา่ นี้ เดก็ เดก็ เกดิ จนิ ตนาการ ความอยากรอู้ ยากเหน็ การเลน่ ทม่ี คี ณุ ภาพ ท่เี กดิ ขึน้ กบั ตวั เขาเองด้วยซำ้ �ไป นนั้ จะพฒั นาเดก็ ในทกุ ๆ ดา้ น ทง้ั รา่ งกาย การรบั ความรสู้ กึ อารมณ์ ธรรมชาติล้อมรอบตัวเด็กน้ัน จัดได้ว่าเป็นการขยาย สติปัญญา และปฏสิ ัมพนั ธท์ างสงั คม (Haas, 1996) ห้องเรียนให้กับนักเรียนของเรา นักเรียนจะได้มีโอกาสเรียนรู้โดย ผ่านประสาทสัมผัสในทุกๆ ด้าน และครอบคลุมทุกๆ แขนงของ เกิดอะไรขนึ้ กบั เดก็ ๆ ในทกุ วันน้ี หลกั สตู ร ธรรมชาตทิ อ่ี ยรู่ อบตวั เดก็ ทง้ั ทบ่ี า้ น ทโ่ี รงเรยี น และสถานท่ี ในอดีตเด็กๆ เคยได้รับความสุขสนุกสนานกับการที่ได้มี ทอ่ งเทย่ี วตา่ งๆ ลว้ นเปน็ บทเรยี นและแบบฝกึ หดั ทม่ี ปี ระโยชนโ์ ดยตรง โอกาสเรียนรู้และสัมผัสกับธรรมชาติมากกว่าในปัจจุบัน ไม่ว่าจะ ต่อท้ังตัวเด็กและครูผู้สอน (http://www.workingwithwildlife.co.uk/ เป็นการเดนิ บนทางเดินเทา้ ถนนหนทาง พ้ืนทีว่ า่ ง สวนสาธารณะ learning/default.asp) เดก็ นกั เรยี นในระดบั ปฐมวยั สามารถใชเ้ วลานอก ทงุ่ นา ป่าเขา ลำ�ธาร พวกเขาเคยไดส้ ำ�รวจเคยเล่น และสัมผสั กับ หอ้ งเรยี นในการเรยี นรธู้ รรมชาติ ในโรงเรยี นและชมุ ชน ไดถ้ งึ 1 ใน 4 โลกธรรมชาติ โดยปราศจากข้อห้ามหรือการตรวจสอบใดๆ หรอื จะ ของเวลาท่ีตอ้ งใชท้ ่ีโรงเรยี น นอกจากนกั เรยี นจะได้ความรจู้ ากหลาก มบี า้ งกเ็ พยี งเลก็ น้อย แตเ่ ด็กๆ ในปัจจบุ นั แทบจะไม่มโี อกาสเชน่ น้ัน หลายกจิ กรรมทค่ี รสู ามารถใหน้ กั เรยี นเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มแลว้ กจิ กรรม เลย โดยเฉพาะเดก็ ๆ ในชมุ ชนเมอื งการเลน่ กบั ธรรมชาตอิ ยา่ งเสรจี ะ เหล่านี้จะช่วยพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้สึกรัก รับผิดชอบและเป็น มแี ตข่ อ้ หา้ ม หรอื มโี อกาสกเ็ พยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นน้ั ขอบเขตการพฒั นา เจา้ ของธรรมชาตนิ ัน้ ๆ เปน็ การพัฒนาในระดับปัจเจกบคุ คล ที่มีผล ทงั้ ทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจถกู จำ�กดั และลดลง (Francis, 1991) จาก ต่อการพัฒนาในระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับโลกต่อไป และ งานวิจัยชิ้นหนึ่ง พบว่า จากผู้ปกครองที่ตอบแบบสอบถามร้อยละ ยังส่งผลในเร่ืองสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนในชุมชนอีก 94 กล่าวว่า เร่ืองความปลอดภัยเป็นประเด็นสำ�คัญในการท่ีจะ ดว้ ย เด็กได้พัฒนาและเรียนรู้ทักษะเพื่อการดำ�รงชีพของตนเองไป อนุญาตให้เด็กๆ ออกเล่นนอกบ้านได้อย่างเสรี (Bagley, Ball and ตลอดชวี ติ (Life-Long Skills) เชน่ การปลกู และทำ�นบุ ำ�รงุ รกั ษาตน้ ไม้ Salmon, 2006 in Children&Nature Network, 2008) เช่นเดียวกันกับ การปลกู ดอกไม้ ผกั และผลไมต้ า่ งๆ เดก็ ไดเ้ รยี นรกู้ ารทำ�งานเปน็ กลมุ่ นกั วจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั Hofstra ทสี่ อบถามคณุ แม่ จำ�นวน 800 คน ใช้ภาษาที่เหมาะสมในการสื่อสารกับสมาชิกในกลุ่มพัฒนาความ ร้อยละ 82 ไม่อนุญาตให้ลูกๆ เล่นนอกบ้านเน่ืองจากความกังวล เช่ือมัน่ และความศรทั ธาในตนเอง เรอ่ื งอาชญากรรมและความปลอดภยั (Clements, 2004 in Children & จากการวจิ ยั พบวา่ เมอ่ื เดก็ ๆ ไดม้ สี ว่ นรว่ มกบั การสรา้ งสรรค์ Nature Network, 2008) สงิ่ แวดล้อมของบ้าน โรงเรียน หรือชุมชน งานสรา้ งสรรค์ของเดก็ จะ แตกต่างจากงานของผู้ใหญ่เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในความเป็น มอื อาชพี แตเ่ ดก็ จะไดร้ บั การพฒั นาในดา้ นจนิ ตนาการ และการมสี ว่ น รว่ มสร้างส่ิงแวดล้อมทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกับพฒั นาการของตวั เขา (White & Vicki, online) ข้อมูลที่ได้จากการสำ�รวจทั่วประเทศใน ประเทศ Holland พบว่า คนทอ่ี ยู่ในบรเิ วณหรอื ห่างจากพ้ืนทส่ี ีเขยี ว ประมาณ 1 ถึง 3 กิโลเมตร มีสุขภาพที่ดีกว่าคนท่ีไม่ได้อยู่ ในบริเวณดังกล่าว (Haas et al., 2006 in Children&Nature Network, online) ต้นไม้และธรรมชาติสีเขียวมีผลในการลด ความเครียดของกลุ่มเด็กที่มีความเครียดสูง และผลดีท่ีสุดจะมี ความสัมพันธ์กับจำ�นวนพืชสีเขียว พ้ืนท่ีสีเขียว และการได้เล่นกับ ธรรมชาติ ประสบการณ์ทเ่ี ด็กๆ ได้ลงมอื ปฏิบตั ิจากการได้สัมผสั กบั สิ่งแวดล้อมจะหล่อหลอมสติปัญญาและทักษะที่เป็นที่ยอมรับใน หลักการของการจดั การศึกษาปฐมวัยท่ีวา่ เดก็ จะเรยี นได้ดีทส่ี ดุ โดย ผา่ นกระบวนการเลน่ และการคน้ พบอยา่ งเสรี (Hughes, 1991) การเลน่ No.26 March 2014 Green Research 23

ก้าวหนา้ พฒั นา เด็กเล่นนำ้ �ตามลำ�คลองอย่างสนุกสนาน เรียนรู้ท่ีจะว่าย ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ นอกจากนั้น ยังได้ทำ�งานร่วมกับนักวิจัย นำ้ �เพ่ือการเอาตัวรอด ว่ายน้ำ�เป็นโดยที่ไม่ต้องเสียสตางค์ไปเรียนท่ี นักการศึกษา และองค์กรอื่นๆ ที่อุทิศตนเพ่ือให้เด็กมีสุขภาพและ โรงเรยี นสอนวา่ ยนำ้ � เดก็ หลายคนในทกุ วนั นวี้ า่ ยน้ำ�ไมเ่ ปน็ หลายคน ความเปน็ อยู่ที่ดีข้นึ ไมเ่ คยเหน็ ทะเล หลายคนไมเ่ คยขนึ้ ภเู ขา ไมร่ วู้ า่ หนอ่ ไมค้ อื อะไร เกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างไร หลายคนกลัวป่า กลวั ต้นไม้ หลายคนเดินไดเ้ พยี งไมก่ ่ี C&NN ไดร้ เิ รม่ิ โครงการระดบั ชาตทิ ม่ี ชี อื่ วา่ “Leave No Child รอ้ ยเมตรกเ็ หนอ่ื ยมากจนไม่สามารถเดนิ ตอ่ ไปได้ มนั เกดิ อะไรขนึ้ กบั Inside” ทม่ี งุ่ เนน้ ใหท้ กุ คน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ โรงเรยี นและผปู้ กครอง เดก็ เหล่าน้ี Hofstra University ไดส้ ำ�รวจคณุ แม่ 800 คน ทมี่ ลี กู อายุ ไดต้ ระหนกั และใชธ้ รรมชาตเิ ปน็ สอื่ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรแู้ ละพฒั นาตนเอง ระหวา่ ง 3 ถงึ 12 ปี พบว่า คณุ แมร่ อ้ ยละ 85 ยอมรบั วา่ เดก็ เลน่ สื่อธรรมชาติเหล่านีห้ าได้ในทกุ ๆ พน้ื ที่ ไม่ตอ้ งลงทุน สอดคลอ้ งกับ นอกบา้ นนอ้ ยลงกวา่ แตก่ อ่ น และคณุ แมร่ อ้ ยละ 70 เลน่ นอกบา้ นทกุ สภาพทอ้ งถ่ิน และมีให้ได้ใชใ้ นทกุ ๆ โอกาส ทุกโรงเรียนควรจัดให้มี วันเมอื่ ตอนเป็นเด็ก แต่เพยี งรอ้ ยละ 31 ของเด็กในปัจจบุ นั เท่านนั้ ท่ี ธรรมชาตใิ นบริเวณโรงเรยี น หรอื อาศยั ธรรมชาติจากชุมชน การจดั เลน่ นอกบา้ นอยู่เป็นประจำ� (Clements, 2004 in Children&Nature ธรรมชาตคิ วรใหเ้ ดก็ ไดม้ สี ว่ นรว่ ม ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกาสไดแ้ สดงความคดิ เหน็ Network) ความไมป่ ลอดภยั สำ�หรบั เดก็ เมอ่ื ถกู ปลอ่ ยอยตู่ ามลำ�พงั เพอ่ื ไดล้ งมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลน่ กบั ธรรมชาตอิ ยา่ งเสรมี ากขน้ึ การเลน่ กบั ธรรมชาตอิ ยา่ งเสรี ความทตี่ อ้ งดนิ้ รนเพอื่ ความอยรู่ อดหรอื ภายใต้สถานการณ์ท่ีปลอดภัย เพอื่ ความเปน็ อยทู่ ดี่ ีข้ึนของพอ่ แม่ และการเพิม่ ขึ้นของสือ่ เทคโนโลยี วถิ กี ารดำ�เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยใ์ นยคุ ปจั จบุ นั ลว้ นมผี ลกระทบ เช่น การดูโทรทัศน์และการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ มีส่วนทำ�ให้การ ต่อเด็กๆ ทง้ั สน้ิ โดยเฉพาะผลกระทบทางด้านจติ ใจ อิทธพิ ลของสื่อ เล่นกับธรรมชาติของเด็กลดลงหรือหายไป เช่น เด็กอายุ 8 ขวบ เทคโนโลยีที่ยากแก่การควบคุม อันมีผลมาจากการแข่งขัน ความ กลุ่มหน่ึงสามารถบอกลักษณะของ Pokemon ได้มากกว่าพันธ์ุของ ต้องการให้เป็นทน่ี ิยมในหมปู่ ระชาชน และผลกำ�ไรทจ่ี ะตามมา สอื่ สตั ว์ปา่ ถึง รอ้ ยละ 25 (Balmfold, Clegg, Coulson and Taylor, 2002 ดังกลา่ ว ไม่ว่าจะเป็น คอมพวิ เตอร์ และโทรทัศน์ มอี ยู่และหาไดใ้ น in Children&Nature Network, 2008) จากการสำ�รวจของ Kaiser แทบจะทุกครัวเรือน พ่อแม่ของเด็กหลายต่อหลายคนได้ใช้สื่อน้ีเป็น Family Foundation ในปี ค.ศ. 2005 ถงึ 2006 พบวา่ เดก็ อายรุ ะหวา่ ง พี่เลี้ยงและสอนลูกของตนเองอยู่วันละเป็นเวลานานๆ การเพิ่มข้ึน 6 เดือนถึง 6 ปี ใช้เวลากับสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ เฉล่ียวันละ 1 ของการบ้านที่เด็กได้มาจากโรงเรียน ความไม่ปลอดภัยของชีวิต ชัว่ โมง 30 นาที ในขณะท่เี ด็กอายุระหวา่ ง 8 ปี ถึง 18 ใชเ้ วลาใน ภายนอกบา้ น และการดำ�เนนิ ชีวิตของคนบางคนได้เปลี่ยนแปลงไป เรอ่ื งเดียวกันนี้ถงึ เฉล่ยี วนั ละ 6 ชว่ั โมงครึ่ง ซง่ึ มากกวา่ 45 ชวั่ โมง สิ่งเหลา่ นล้ี ้วนเป็นอุปสรรคตอ่ พฒั นาการเดก็ อันเป็นผลเน่อื งมาจาก ตอ่ สปั ดาห์ (Children&Nature Network, 2008 online) การไดส้ มั ผสั ธรรมชาติ อยา่ งไรกต็ ามหากเราหาทางปอ้ งกนั และเปดิ ช่องทางธรรมชาตใิ หก้ ว้างขึ้น เพ่ือทีเ่ ด็กๆ จะได้เดนิ ไปสมั ผสั ได้งา่ ย เหล่าน้ีเป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการท่ีดีของเด็ก ทั้งเร่ือง และสะดวกขนึ้ จะชว่ ยใหธ้ รรมชาตเิ ปน็ สอ่ื ทจ่ี ะพฒั นาเดก็ ใหม้ คี วามรู้ สุขภาพกายและจิตใจท่ีแย่ลง พัฒนาการด้านอื่นๆ ก็ไม่ได้รับการ มจี ติ ใจออ่ นโยน ก่อใหเ้ กดิ ความรักในธรรมชาติ รักชมุ ชน ไดเ้ รยี นรู้ พฒั นาให้เตม็ ตามศกั ยภาพท่ีควรจะเป็นของเด็ก เรากำ�ลงั จะปลกู ไม้ เพม่ิ พูนทกั ษะ กระบวนการทางความคดิ อย่างเปน็ วทิ ยาศาสตร์และ พนั ธใุ์ หญล่ งในกระถางทม่ี ขี อบเขตจำ�กดั ซง่ึ ผลทไ่ี ดม้ ากอ็ าจจะดสู วย เป็นสมาชกิ ที่ดขี องสังคมตอ่ ไป และแปลกตาอาจเป็นท่ีนยิ มน่นั กเ็ พราะมนั เปน็ เพียงต้นไม้ เอกสารอา้ งองิ เราจะช่วยเดก็ กนั ไดอ้ ยา่ งไร Children&Nature Network. (2008). Children and Nature. Retrieved เนอ่ื งจากการมปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ กบั ธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ ม December 28, 2008. Available from : http://www.childrenandnature.org/ เปน็ สง่ิ ทมี่ ปี ระโยชนต์ อ่ พฒั นาการของเดก็ ในทกุ ๆ ดา้ นทง้ั ในระยะสน้ั uploads/CN movement. pdf. และระยะยาว เรากค็ วรทจ่ี ะดำ�เนนิ การใดๆ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลดงั กลา่ ว Francis, M. (1991). Children of nature. U.C. David Magazine, v 9 n 6 ในตา่ งประเทศมีองคก์ รเครือข่ายท่ใี ช้ช่ือว่า The Children & Nature Haas, M. (1996). Children in the junkyard. Children Education,v 72 n 6 Network (C&NN) ก่อต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ในการเป็นส่ือกลาง Hirsh-Pasek, K. & Golinkoff, R. M. (2003). How our children learn and why ระหว่างเด็กกับธรรมชาติ ให้ข้อมูล ข่าวสารและรายงานผลการ they need to play more and memorize less. Retrieved December 27, 2008. วิจัย เพื่อกระตุ้นและสนับสนุน พร้อมทั้งเป็นเครือข่ายให้ประชาชน Available from : http://www.buzzle.com/editorials/10-4-2003-46152.asp. และองค์กรต่างๆ พัฒนากิจกรรมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับ Hughes, F. P. (1991). Children play and development. Massachusetts, Allyn & Bacon. Learning through nature. Retrieved December 29, 2008. 24 Green Research No.26 March 2014 Available from : http://www.workingwithwildlife.co.uk/learning/default.asp. Singh, H. P. (2007). Low cost teaching aids for rural schools in India. Retrieved December 30, 2008. Available from : http://knol.google.com/k/ hareshwar-singh/low-cost-teaching-aids-for-riral/s. White, R. & Vicki, S. Children’s outdoor play & learning environments: Returning to nature .Retrieved December 30, 2008. Available from : http:// www.whitehutchinson.com/ children/articles/outdoor.html.

เศรษฐกจิ -ส่ิงแวดล้อม” ตอ้ งพฒั นาคขู่ นาน” ประเทศไทย ณ ปัจจบุ นั ปญั หาส่งิ แวดลอ้ มถอื เปน็ ปัญหา ตอ่ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศได้ เพราจะทำ�ใหต้ น้ ทนุ การคา้ สำ�คัญที่มักเกิดควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และการ การผลิตและการบริการสูงขึ้น จนกระทั่งประเทศอาจสูญเสียความ เจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะพบได้ในเกือบทุก สามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะประเทศท่ีกำ�ลังเติบโตและมีเป้า ประเทศ โดยประเทศไทยเองกเ็ ปน็ ประเทศหนงึ่ ทก่ี ำ�ลงั ประสบปญั หา หมายหลักในการขยายตัวของ GDP ในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจโลก ดังกล่าวอยู่ในขณะน้ี เนื่องจากประเทศไทยได้ให้ความสำ�คัญกับ แข็งแรงและเติบโตอย่างต่อเน่ือง ประเทศในกลุ่มมหาอำ�นาจทาง ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คม เศรษฐกิจอย่างสหรัฐอเมริกาและอียู ต่างก็มีนโยบายท่ีส่งเสริม ฉบบั ที่ 11 ปี พ.ศ. 2555-2559 ดว้ ยการนำ�เอาทรพั ยากรธรรมชาติ การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งจรงิ จงั โดยหลายมาตรการทอี่ อกมาไดก้ อ่ มาใชป้ ระโยชน์ ซึ่งหากไม่มแี ผนการดำ�เนินงานทเ่ี หมาะสมแล้ว จะ ให้เกิดผลกระทบกับการค้าและการบริการของหลายประเทศที่ผลิต ทำ�ให้ทรัพยากรธรรมชาติที่เหลืออยู่มีสภาพเสื่อมโทรมลง และยัง สินค้าไม่ได้มาตรฐานที่กำ�หนด หรืออีกนัยหน่ึง อาจเรียกได้ว่าเป็น ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ เพ่ิมมากข้ึนด้วย ซ่ึงย่อมจะส่ง มาตรการกีดกันทางการค้าอยา่ งหนึ่ง ทำ�ใหไ้ มส่ ามารถส่งออกสินคา้ ผลกระทบตอ่ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนและระบบนเิ วศดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ไปยังสหรัฐอเมริกาและอียูได้ ท้ังท่ีประเทศยักษ์ใหญ่ทางเศรษฐกิจ ไดใ้ นที่สดุ อย่างสหรัฐอเมริกา ก็ไม่ได้ให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโตที่กำ�หนด พันธกรณีผูกพันต่อประเทศอุตสาหกรรมให้ลดการปล่อยแก๊สเรือน นอกจากนี้เมื่อเรามองถึงการตื่นตัวต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม กระจกแต่อย่างใด  และหากมองผิวเผินถึงสถานการณ์ที่ประเทศ ของประชาคมโลกทไี่ ดเ้ พมิ่ ความสนใจมากขน้ึ ทกุ ที ชาวโลกกไ็ ดเ้ รยี น ต่างๆ ยังประสบกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและยังไม่ฟ้ืนตัวดี รถู้ ึงปัญหาสภาวะโลกรอ้ น (Climate Change) ท่ีสง่ ผลกระทบต่อผคู้ น ในขณะน้ี อาจคาดหมายกนั วา่ เพราะประเทศทป่ี ระสบปญั หาเศรษฐกจิ ส่งิ มีชีวติ ต่างๆ บอ่ ยครง้ั ขน้ึ กระท่งั กลายมาเปน็ ปัญหาของประเทศ คงใหค้ วามสำ�คญั กบั นโยบายสงิ่ แวดลอ้ มเบาบางลง เพราะยอ่ มจะมงุ่ ซ่ึงเชื่อกันว่า หากชาวโลกละเลยไม่ให้ความสำ�คัญกับสิ่งแวดล้อม ให้ความสำ�คัญกับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจมากกว่าเรื่องสิ่งแวดล้อม อย่างจริงจัง เรากจ็ ะยง่ิ ประสบภัยธรรมชาตทิ รี่ นุ แรงมากข้นึ แต่ความจริง กลับตรงกันข้ามเพราะประเทศส่วนใหญ่ต่างให้ความ ทงั้ นท้ี ผี่ า่ นมาความรบั ผดิ ชอบตอ่ การรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มทาง สำ�คญั ตอ่ การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มากยง่ิ ขน้ึ นน่ั คงเปน็ เพราะภยั ธรรมชาติ ธรรมชาติ ไดเ้ พิ่มความสำ�คญั จากประเทศพฒั นาแล้วไปยังประเทศ ที่รุนแรงข้ึน ได้เร่ิมเข้ามาประชิดตัวมากข้ึนดังจะเห็นได้จากหลายๆ กำ�ลังพัฒนาและไปสู่ประเทศด้อยพัฒนา ซึ่งถือว่าทั้งหมดต้องมี ประเทศในภูมิภาคโลก ต่างประสบกับภัยธรรมชาติที่ร้ายแรงมาก สว่ นร่วมกนั ประคบั ประคอง โดยไมท่ ำ�ลายสง่ิ แวดล้อมมากขึน้ ไปอกี ยง่ิ ขึน้ เชน่ พายุไซโคลนนาร์กีส ทีม่ ีความเร็วลม 190 กโิ ลเมตรตอ่ ทั้งนี้ก็เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ ชวั่ โมง พดั ถลม่ พมา่ ทำ�ใหเ้ กดิ ความเสยี หายทง้ั ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ เปน็ ท่ีอาจเกิดข้ึนได้ทุกเวลา ประเด็นท่ีมีการพูดกันมากในเวทีระหว่าง จำ�นวนมาก พายไุ ตฝ้ ุ่นไหเหย่ียน เป็นพายไุ ตฝ้ ุน่ ระดับ 5 โดยได้พดั ประเทศก็คือนโยบายสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดข้ึน ซึ่งอาจมีผลกระทบ ถลม่ ภาคกลางของฟิลปิ ปินสท์ ำ�ให้มีผเู้ สยี ชวี ติ จำ�นวนมากเช่นกนั No.26 March 2014 Green Research 25

กา้ วหนา้ พฒั นา ปจั จบุ นั หลายประเทศไดย้ กระดบั ความสำ�คญั ของนโยบายการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มให้ สงู เทา่ เทยี มกบั ระดบั ปญั หาเศรษฐกจิ ของชาต ิ จนเปน็ ทม่ี าของนโยบายทห่ี ลายๆ ประเทศทว่ั โลก กำ�ลงั ดำ�เนนิ การอยคู่ อื “เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ้ มจะเตบิ โตไปพรอ้ มกนั ” ซง่ึ กห็ มายความวา่ เรื่องสิ่งแวดล้อมถูกยกระดับความสำ�คัญข้ึนไปเทียบเท่ากับเรื่องเศรษฐกิจ  และต้องพัฒนา คู่ขนานกันอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ แม้กระทั่งประเทศจีนท่ีขึ้นช่ือว่า ปล่อยมลพิษทางอากาศ มากทีส่ ุดแหง่ หนึ่งของโลก ประธานาธบิ ดี สี จน้ิ ผงิ ไดก้ ลา่ วตอ่ ที่ประชมุ พรรคคอมมิวนสิ ต์ เมอื่ วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2556 ไวว้ า่ “การทเ่ี ศรษฐกจิ จนี เตบิ โตชา้ ลง กเ็ พอ่ื ลดผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม”  ช้ีให้เหน็ ว่า แม้กระทัง่ ประเทศมหาอำ�นาจอย่างจีนก็ตระหนกั ถงึ ความสำ�คัญ ของการรกั ษาสงิ่ แวดล้อมมากข้นึ สำ�หรับประเทศไทย ซึ่งได้ร่วมลงนามในพิธีสารเกียวโตด้วย อีกท้ังออกกฎหมาย และระเบียบวิธีปฏิบัติต่างๆ ท่ีเป็นมาตรฐานสากลในด้านสิ่งแวดล้อม ก็ถือได้ว่าเรามีกฎ กตกิ าทเี่ กย่ี วกบั การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มทอ่ี ยใู่ นมาตรฐานทด่ี พี อสมควร เพยี งแตด่ า้ นการปฏบิ ตั ิ อาจดอ้ ยไปบา้ ง โดยเฉพาะภาครฐั ทบ่ี งั คบั ใชก้ ฎหมายสง่ิ แวดลอ้ มยงั ไมเ่ ขม้ งวดพอ นอกจากนห้ี ลาย ฝา่ ยยงั มองวา่ การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเขม้ งวดเกนิ ไปและตอ่ ตา้ นการทำ�ลายสงิ่ แวดลอ้ มจะ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซ่ึงเป็นไปได้ว่าอาจมีมุมมองที่แยกส่วน เศรษฐกจิ กบั สง่ิ แวดลอ้ มออกจากกนั เราจงึ พบวา่ บอ่ ยครง้ั ไดเ้ กดิ การกระทบกระทง่ั ทางความ คดิ และหลายกรณกี ็มกี ารนำ�ประเดน็ นไี้ ปฟ้องร้องกนั ในศาล จากนไ้ี ปประเทศไทยควรมนี โยบายทใี่ หท้ ง้ั เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ้ มสามารถเดนิ คู่ กนั ไปอยา่ งไมแ่ ยกสว่ นเหมอื นในอดตี ทผี่ า่ นมา โดยทภี่ าครฐั ควรมกี ลไกและนโยบายทช่ี ดั เจน มากขน้ึ เกย่ี วกบั เรอื่ งนที้ ง้ั ในระยะสนั้ และระยะยาว เพราะในอนาคตจะทำ�ใหไ้ ทยเปน็ ประเทศ ทม่ี คี วามพรอ้ มเหนอื กวา่ หลายประเทศในภมู ภิ าค ในการรองรบั กบั มาตรฐานดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ใหม่ๆ ทจ่ี ะมผี ลกระทบตอ่ การคา้ การลงทุน และบริการ ดงั น้นั การปรับทิศทางในนโยบาย เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ ดนิ คกู่ นั ไปแบบไมแ่ ยกสว่ นจะมสี ว่ นสำ�คญั ทจี่ ะพฒั นาเศรษฐกจิ ประเทศไทยใหม้ ีความยั่งยนื ตอ่ ไปได้ เอกสารอา้ งอิง : ปานปรีย์ พหทิ ธานกุ ร. พูดคุยเหตุบา้ นการเมอื ง : เศรษฐกจิ เรื่องราวต่างๆ วเิ คราะห์อย่างเป็นกลาง. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงได้ที่ : http://www.oknation.net/blog. สมดุล เศรษฐกจิ -สังคม-สิ่งแวดล้อม-สขุ ภาพ การเติบโตทย่ี ่ังยืนของอาเซยี น. กรุงเทพธุรกิจ. 26 Green Research No.26 March 2014

ทศิ ทางการวิจัยทตี่ อบโจทยป์ ัญหาส่ิงแวดล้อม การวิจัยที่ทำ�การศึกษาอยู่น้ัน ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการพัฒนาและเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การลงทุนขนาด เป็นการแสดงสถานภาพของ ใหญ่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมท่ีนับวันจะทวีความรุนแรงและบ่อยคร้ังข้ึน ซ่ึงการแก้ไข ปญั หาของสถานการณ์ เช่น การ และเยียวยาไม่สามารถทำ�ได้ทันท่วงที การวิจัยและการพัฒนาจะช่วยตอบโจทย์ปัญหา วิจัยมาตรฐานการติดตามตรวจ ส่ิงแวดล้อมในหลายๆ ด้านได้ท้ังด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสังคม ดังน้ันการวิจัย สอบคุณภาพส่ิงแวดล้อมในด้าน สง่ิ แวดลอ้ มในปัจจบุ นั ตอ้ งเปน็ การตอ่ ยอดพฒั นาแนวคดิ ของนกั วิจยั จากงานวจิ ยั ตามความ ต่างๆ ถนัดหรือความสนใจทมี่ ักถูกเรยี กว่า “งานวจิ ัยข้นึ ห้งิ ” ให้สามารถใชง้ านไดจ้ ริง ต้องมีการ ปรับเปลย่ี นแนวคิด มกี ระบวนการทำ�งานอย่างเปน็ ระบบและทันต่อสถานการณ์ในขณะน้นั ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มมกั เปน็ ปญั หาทไี่ ดร้ บั การแกไ้ ขเฉพาะหนา้ เสยี เปน็ สว่ นใหญ่ เชน่ กรณนี ้ำ�มนั รว่ั ไหล มนี กั วจิ ยั นำ�เสนอประเดน็ เพอ่ื การศกึ ษาทง้ั บทเรยี นและการหาองคค์ วามรู้ เพื่อตอบปัญหาให้ครอบคลุมท่ีสุด การได้มาของโจทย์วิจัยเป็นเร่ืองท่ีต้องหยิบยกมาคิดกัน วา่ ทม่ี าของโจทยว์ จิ ยั โดยเฉพาะประเดน็ ตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เคยมกี ารศกึ ษามากอ่ นหนา้ นห้ี รอื ไม่ การทบทวนความรใู้ นอดตี เปน็ สง่ิ สำ�คญั เชน่ การรวั่ ไหลของนำ้ �มนั มเี ทคโนโลยอี ะไรบา้ งในการ กำ�จัดคราบน้ำ�มัน การฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อมและในกรณีที่เคยเกิดข้ึน เช่น ที่อ่าวเม็กซิโกมี การลงมอื แกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง จะเหน็ ไดว้ า่ การทบทวนวรรณกรรมเปน็ สงิ่ ทส่ี ำ�คญั มาก ในทน่ี ไ้ี ม่ ไดต้ อ้ งการหยบิ ยกประเดน็ ปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในปจั จบุ นั มาวพิ ากษ์ แตต่ อ้ งการกระตนุ้ ใหเ้ หน็ วา่ โจทยง์ านวจิ ยั องคค์ วามรทู้ ย่ี งั ไปไมถ่ งึ ไหน เหน็ ไดจ้ ากภาคนพิ นธว์ ทิ ยานพิ นธข์ องนกั ศกึ ษาใน ระดับปริญญาตรแี ละโท ท่ีมกั ตอ่ ยอดจากงานวิจัยเดมิ ๆ ซ่ึงงา่ ยต่อการทำ�การศึกษาใหเ้ สร็จ ตามกำ�หนดเวลา ซึ่งตัวสถาบันการศึกษาเองคงต้องพยายามผลักดันสนับสนุนองค์ความรู้ ใหมๆ่ ท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อสงั คมมากกวา่ ทีเ่ ป็นอยู่ ซ่ึงประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีกำ�หนดเป็นหัวข้อการวิจัยที่พบมาก คือ การวิจัย ท่ีทำ�การศึกษาอยู่นั้น เป็นการแสดงสถานภาพของปัญหาของสถานการณ์ เช่น การวิจัย มาตรฐานการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มในดา้ นตา่ งๆ การทดสอบวธิ กี ารตรวจวดั คุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม การวิจัยแสดงสถานภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรพั ยากร การทำ�ลาย ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงก็เป็นสว่ นที่ดที ่ที ำ�ให้รบั ทราบสถานการณ์ในปัจจุบัน No.26 March 2014 Green Research 27

กา้ วหน้าพฒั นา แต่ที่น่าเป็นห่วง คือ การวิจัยเพ่ือเสนอเทคโนโลยีในการจัดการ การเยียวยา หรือบำ�บัด การพัฒนาแบบจำ�ลองต้องปรับ ฟืน้ ฟจู ากการทำ�ลายหรือการจดั การมลพษิ อย่างมปี ระสิทธิภาพและย่งั ยืน หรือการนำ�เสนอ ใช้ให้เหมาะกับพื้นที่ศึกษาจริง มาตรการทางสงั คมเพอื่ การเยยี วยาประชาชนทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ การฟน้ื ฟสู ภาพแวดลอ้ มและ บอ่ ยครง้ั ทง่ี านวจิ ยั ตอบโจทยก์ าร ระบบนเิ วศทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป หรอื งานวจิ ยั การปรบั ตวั ของประชาชนในอนาคต ขอเนน้ ยำ้ �วา่ คาดการณผ์ ลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม การวจิ ยั ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มตอ้ งตอบโจทยใ์ หค้ รบวงจรมากขนึ้ จากทผี่ า่ นมา การวจิ ยั เพอื่ ตอบ จากปัญหามลพิษ ค่อนข้าง โจทย์ปัญหาส่ิงแวดล้อมมักเปน็ ลักษณะของการทดลอง pilot scale มากกว่าจะทำ�จรงิ หาก คลาดเคลื่อนไปมากทั้งข้อมูล นำ�มาปฏบิ ตั เิ พอ่ื แกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มอาจตอ้ งใชเ้ วลาและงบประมาณจำ�นวนมาก ซงึ่ การ ท่ีไมเ่ ปน็ ปจั จุบนั และข้อมลู ทีเ่ ปน็ วจิ ยั คงเปน็ แคจ่ ดุ เรม่ิ ดงั นน้ั งานวจิ ยั จงึ ควรมลี กั ษณะเปน็ ขอ้ เสนอแนะทใ่ี นตอนทา้ ยของผล ค่าประมาณการซ่ึงต้องพิจารณา การศกึ ษาตอ้ งครอบคลุมในประเดน็ ต่างๆ ทจี่ ะลงมอื กระทำ�จริง เลอื กใชส้ มการใหเ้ หมาะสม จากการวิจัยทตี่ อบโจทย์ปัญหาส่งิ แวดล้อม มกี ารแบ่งปัญหาออกเป็น 2 ดา้ น คือ การจดั การกบั ปญั หาและการเยยี วยากบั การวจิ ยั เพอื่ การปอ้ งกนั ปญั หา หรอื นำ�เสนอแนวทาง ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการจดั การปอ้ งกนั ผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ในบทความนไี้ มไ่ ดต้ อ้ งการโจมตี สง่ิ ทน่ี กั วจิ ยั ทำ�อยใู่ นปจั จบุ นั แตอ่ ยากนำ�เสนอมมุ มองหรอื แนวทางเสรมิ ใหค้ ดิ ถงึ โจทยว์ จิ ยั ท่ี จะตอบโจทยป์ ญั หาสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งมเี หตผุ ลและไดป้ ระโยชนม์ ากขน้ึ ซง่ึ ประเดน็ ทจี่ ะกลา่ ว ถงึ ตอ่ ไปนเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ จากประสบการณก์ ารสอนนกั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาโท ในฐานะผทู้ รงคณุ วฒุ วิ พิ ากษข์ อ้ เสนองานวจิ ยั ซงึ่ นา่ จะเปน็ ประโยชนไ์ มม่ ากกน็ อ้ ยสำ�หรบั การ ปรับตัวของนักวิจัย เพื่อตอบโจทยป์ ัญหาสิ่งแวดลอ้ มทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ดังนี้ 1. ปัญหาส่ิงแวดล้อม เป็นปัญหาท่ีมีความหลากหลาย การวิเคราะห์ การทบทวน องค์ความรู้เป็นส่ิงสำ�คัญ ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยในเชิงตอบโจทย์ปัญหาเฉพาะด้านความ เชี่ยวชาญเพียงบางด้าน ดังนั้น ข้อเสนอแนะงานวิจัยแนวใหม่คงต้องทบทวนให้รอบด้าน ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคม และกำ�หนดหัวข้อการศึกษาท่ีบูรณาการองค์วามรู้ใน หลายๆ ดา้ นเขา้ ด้วยกนั โดยคำ�นึงถึงคำ�ตอบเพ่ือการนำ�ไปใชป้ ระโยชนท์ ี่แท้จริง 2. การวจิ ยั เพอื่ ทำ�นายผลกระทบในอนาคต หรอื ทเี่ รยี กวา่ การใชแ้ บบจำ�ลอง (Model) ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความเหมาะสมตอ่ สภาพพน้ื ท่ี การพฒั นาแบบจำ�ลองเพอ่ื ทำ�นายผลการแพร่ กระจายมลพษิ ทางอากาศ นำ้ �เสยี หรอื การรว่ั ไหลของสารเคมี ทจี่ ำ�เปน็ ตอ้ งใชข้ อ้ มลู พน้ื ฐาน ในพนื้ ทจี่ รงิ มากกวา่ การนำ�ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ คา่ คาดการณจ์ ากพนื้ ทอี่ นื่ มาใช้ การพฒั นาแบบจำ�ลอง ต้องปรับใช้ให้เหมาะกับพื้นที่ศึกษาจริง บ่อยครั้งที่งานวิจัยตอบโจทย์การคาดการณ์ผล กระทบสง่ิ แวดลอ้ มจากปญั หามลพษิ คอ่ นขา้ งคลาดเคลอื่ นไปมาก ทง้ั ขอ้ มลู ทไ่ี มเ่ ปน็ ปจั จบุ นั และข้อมลู ท่เี ปน็ คา่ ประมาณการซงึ่ ต้องพิจารณาเลอื กใชส้ มการใหเ้ หมาะสม 3. การวิจัยท่ีคาดการณ์ปัญหาหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ต้องมีข้อเสนอแนะในการ จดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ไปได้ โดยตอ้ งคำ�นงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดท้ างเศรษฐศาสตร์ ความเหมาะสมและความคมุ้ ค่าในการลงทนุ เชน่ กรณขี องนคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ ท่ี นำ�เสนอเทคโนโลยบี ำ�บดั ของเสยี ในกลมุ่ อตุ สาหกรรมปโิ ตรเลยี มมากมายและใชเ้ งนิ ลงทนุ สงู หากพิจารณาจากเทคโนโลยเี หล่าน้ันอาจไม่เหมาะสมกับประเทศไทย ทางท่ีดคี วรพิจารณา ต้นทุนทางเทคโนโลยีร่วมกับการใช้เทคโนโลยีที่ได้ประสิทธิภาพและผลลัพธ์เป็นไปตาม มาตรฐานคุณภาพส่งิ แวดล้อมของไทย 28 Green Research No.26 March 2014

4. ประเด็นของโจทย์วิจัยที่ตอบปัญหาสิ่งแวดล้อมควรพิจารณาถึงเทคโนโลยีในการ ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มมคี วามจ�ำ เปน็ ศกึ ษาทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ การวเิ คราะหเ์ ทคโนโลยที จี่ ะใชใ้ นการบำ�บดั และมคี วามเหมาะสมกบั ต้องปรับเปลี่ยนแนวคิด การ ประเทศของเราหลายๆ ประเทศใหค้ วามสำ�คญั ในการนำ�เขา้ เทคโนโลยี การพสิ จู นเ์ ทคโนโลยี ตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อม ทเ่ี หมาะสม (verify Technology) ปจั จบุ นั มคี วามหลากหลายในการใชเ้ ทคโนโลยนี ำ�เขา้ ทต่ี อ้ ง อย่างมีประสิทธิภาพ และเน้น เลอื กให้เหมาะสมกับสถานการณม์ ากทีส่ ุด การพัฒนาองค์ความรู้การเรียน 5. การพัฒนาคน องค์ความรู้ ในการวิจัยเป็นเรื่องสำ�คัญอย่างท่ีกล่าวมาข้างต้น รทู้ ค่ี รอบคลมุ ปญั หามากขนึ้ การ งบประมาณในการวิจัยของประเทศมีจำ�กัด กำ�ลังคนในสาขาวิชาต่างๆ ความเชี่ยวชาญ บูรณาการงานวิจัยอย่างเป็น เฉพาะทาง ล้วนเป็นตวั แปรสำ�คญั ในการพัฒนางานวิจัย การพฒั นาในสว่ นนีจ้ ะเป็นตวั แปร ระบบ สำ�คญั ตอ่ คณุ ภาพงานวจิ ยั ทง้ั นภ้ี าครฐั ตอ้ งมนี โยบายสนบั สนนุ ในการพฒั นาคนและองคก์ ร วิจยั ใหม้ ีประสิทธิภาพและมศี ักยภาพในการจัดการงานวิจัยมากขนึ้ จากการนำ�เสนอการวิจัยเพื่อตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อมมีความจำ�เป็นต้องปรับ เปลี่ยนแนวคิด การตอบโจทย์ปัญหาส่ิงแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ และเน้นการพัฒนา องค์ความร้กู ารเรียนร้ทู ่คี รอบคลุมปัญหามากข้นึ การบูรณาการงานวิจัยอย่างเป็นระบบ มี เครือข่ายความร่วมมือมากข้ึน และต้องหลุดพ้นจากข้อจำ�กัดของเวลาและงบประมาณ บคุ ลากรในการวจิ ยั ตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง ปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ การวิจยั และ พัฒนาจะเป็นตัวช่วยสำ�คัญและเป็นส่วนหนึ่งที่จะพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าทัดเทียมกับ ชาติอ่นื ๆ ทมี่ กี ารพัฒนาดา้ นนอ้ี ย่างจรงิ จงั ที่มา : http://www.energysavingmedia.com No.26 March 2014 Green Research 29

กา้ วหนา้ พฒั นา การเลอื กใช้ Green technology เทคโนโลยีสีเขยี ว (Green technology) คือ แนวคดิ ในการบริหารจัดการและเลอื ก ใช้เทคโนโลยีท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการการใช้พลังงาน ลดการใช้พลังงาน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดการสร้าง รวมถึงการน�ำขยะ อิเลก็ ทรอนิกสม์ ารไี ซเคลิ ใหม่ ซ่งึ เปา้ หมายสูงสดุ คอื ขยะอิเลก็ ทรอนิกส์ต้องถกู น�ำกลับมา ใช้ใหม่ได้ทั้งหมด และไม่มีส่วนประกอบท่ีท�ำจากสารพิษ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต้องใช้ พลงั งานนอ้ ยลงแตค่ วามสามารถมากขนึ้ ตามแนวคดิ “Maximum Megabytes for Minimum Kilowatts”  โดยหากจะพดู ถงึ Green technology ใหค้ รอบคลมุ ทงั้ หมดคงตอ้ งมองตง้ั แตก่ าร ผลิตอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ การเลอื กใชง้ าน และการท้งิ อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซงึ่ ทง้ั 3 ขั้น ตอนนนั้ ถอื เปน็ วัฏจักรของอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ มาท�ำความร้จู กั เทคโนโลยที ีเ่ กีย่ วข้องกบั Green technology กนั ครับ  Energy Saving Software คือ Software ท่ชี ่วยในการบริหารจดั การการท�ำงานภายใน Data Center โดยไม่ จำ� เปน็ ต้องใช้อุปกรณใ์ ดๆ เพมิ่ เติม Software ดังกลา่ วสามารถแสดงสถานะการท�ำงานของ อุปกรณ์ภายใน Data Center ได้ทั้งหมด พร้อมท้ังสามารถวิเคราะห์แนวโน้มของอุปกรณ์ ต่างๆ เพื่อการแก้ไข ซ่อมแซมหรือจัดหาอุปกรณ์เพ่ิมเติมได้ อย่างทันท่วงที Software น้ี จะช่วยเพิม่ อายกุ ารใชง้ านของอปุ กรณ์ตา่ งๆ ภายใน Data Center และช่วยลดค่าใช้จา่ ยใน การจา้ งผเู้ ชย่ี วชาญมาดูแลโดยตรง Software as a Service (SaaS) หรือ ODS (On Demand Software)           คือ Software บนเวบ็ ท่ีผใู้ ชส้ ามารถเรียกใชบ้ รกิ ารได้ โดย Software ประเภทน้ี จะไมถ่ กู จดั เกบ็ เขา้ ไปในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ หรือพูดงา่ ยๆ ก็คือ Software ดังกลา่ ว นน้ั ไมถ่ กู ตดิ ตง้ั ลงใน Harddisk ของเครอ่ื งทใ่ี ชง้ านและสามารถเรยี กใชง้ านไดเ้ มอ่ื ทำ� การเชอ่ื ม ต่ออนิ เทอร์เนต โดยท�ำการเรยี กผ่าน Browser ซ่งึ ท�ำให้ผู้ใช้งานได้รับความสะดวกมากยิ่ง ขึน้ ผู้ใหบ้ รกิ าร SaaS สามารถเลือกท�ำการติดต้งั Software ลงบน Web Server หรอื ท�ำการ ตดิ ตง้ั ลงบนอปุ กรณข์ องลกู คา้ Software ดงั กลา่ วจะหมดอายลุ งหลงั จากใชง้ านหรอื หลงั จาก สญั ญาทผี่ ใู้ ชง้ านซอื้ หมดอายุ Software นจี้ ะชว่ ยประหยดั งบประมาณในการจดั ซอื้ Software 30 Green Research No.26 March 2014

ลิขสิทธ์ิ พร้อมท้ังช่วยให้การบรหิ ารจดั การเก่ยี วกับ Software ทำ� ได้ Blade Server สะดวกสบายย่ิงขึ้นเพราะเจ้าของลิขสิทธ์ิจะปรับปรุงเพ่ือแก้ไขจุด เป็นเทคโนโลยีใหม่ของ Server ซึ่งเป็นการนำ� แนวคิดของ บกพร่องของ Software ให้เองโดยอัตโนมัติท�ำให้ผู้ใช้งานได้ใช้ Mainframe เดมิ มาประยุกตใ์ ชก้ ับ PC ในปัจจบุ นั โดยแตล่ ะหน่วย Software ทใี่ หมอ่ ย่เู สมอ จะเรียกว่า “Blade” และประกอบด้วย Mainboard, CPU, Memory, Disk Storage และอปุ กรณใ์ นการตดิ ตอ่ กบั เครอื ขา่ ยเทา่ นนั้ ซง่ึ แตล่ ะ Cloud Computing Blade จะใชอ้ ุปกรณจ์ ่ายพลงั งาน (Power Supply) และระบบระบาย เป็นนวัตกรรมทางด้าน Data Center รูปแบบใหม่แห่ง ความรอ้ นรว่ มกัน องคป์ ระกอบหลกั ๆ ของ Blade Server ได้แก่ อนาคต เกดิ จากแนวคดิ การใหบ้ รกิ ารโดยใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงสรา้ ง Chassis คอื อปุ กรณ์ทเ่ี ปน็ เหมอื นห้อง Data Center ขนาดย่อมที่ พน้ื ฐาน IT ทท่ี ำ� งานเชอื่ มโยงกนั โดยมี Server มากมายท�ำงานสอด จะคอยจา่ ยไฟและทำ� ความเยน็ ให้กบั เคร่ือง ประสานเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อให้บริการ Software ต่างๆ โดย คอมพิวเตอร์ทั้งหมดในกลุ่ม Cloud อาจไม่จำ� เปน็ มี Hardware และ Server ทอ่ี ยภู่ ายในรวมไปถงึ อปุ กรณเ์ ครอื ขา่ ยทอ่ี ยภู่ ายในตเู้ ดยี วกนั ระบบปฏิบัติการเหมือนกันไปท้ังหมด และอาจไม่จ�ำเป็นต้องติดตั้ง อยู่ในสถานที่เดียวกัน แต่อาจมีการเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายสื่อสาร Blade Server คอื เครอื่ ง Server ขนาดเลก็ ทมี่ สี ว่ นประกอบภายใน ความเร็วสูง ได้แก่ CPU, Memory หรือ Harddisk โดยขนาดของมันจะนับเป็น การประมวลผลแบบ Cloud สามารถแบง่ ออกเป็น 3 ลกั ษณะ คือ Blade Bay Switch Modules คอื อุปกรณท์ ่ีใช้ในการติดตอ่ กับโลกภายนอกไม่ 1. Private Cloud Computing เป็นการใช้งานภายในองค์กร ว่าจะเปน็ Data network หรอื Storage Network โดยเป็นการใช้สมรรถนะของ Data Center ภายในองคก์ ร น้ันๆ เทคโนโลยีเสมอื น (Virtualization) 2. Public Cloud Computing เปน็ การใชบ้ รกิ ารการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู คอื เทคโนโลยที ่ีชว่ ยให้สามารถใช้ Resource ร่วมกนั เช่น รปู แบบตา่ งๆ ผา่ นทาง Internet ผา่ นการใหบ้ รกิ ารของผู้ CPU, Memory, Hard disk เปน็ ต้น ของคอมพิวเตอร์ 1 เครอ่ื งหรอื ให้บริการสาธารณะ มากกวา่ นน้ั ใหส้ ามารถใชง้ าน Software และ Application ในจำ� นวน 3. Hybrid Cloud Computing  เปน็ การผสมผสานกันระหว่าง มากๆ หรอื แมแ้ ต่ใช้งานหลายระบบปฏิบัตกิ ารพรอ้ มกันได้ แม้ว่าจะ การใช้งานภายในองคก์ ร (Private Cloud Computing) และ เป็น Platform ที่แตกตา่ งกนั การทำ� Virtualization แบ่งออกเป็น 2 การใช้บริการการเข้าถึงข้อมูลรูปแบบต่างๆ ผ่านทาง ลักษณะ คอื Internet ผา่ นการใหบ้ รกิ ารของผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณะ (Public 1. การแบง่ ยอ่ ยทรพั ยากรโดยเฉพาะบน Hardware ขนาดใหญ่ Cloud Computing) ให้เป็นอุปกรณเ์ สมือนขนาดเล็กให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด เชน่ การรวมศนู ยก์ ารทำ� งานของระบบเครอ่ื งแมข่ า่ ย (Server Thin Client Consolidation) แล้วน�ำมาติดตั้งบนเคร่ืองเสมือน (Virtual           คอื เทคโนโลยกี ารทำ� งานของระบบ Terminal Service Machine) หลายเคร่ือง โดยใช้เครื่องหลักหนึ่งเครื่องท่ีมี ของเครื่อง Server ท่ีมีประสิทธิภาพในปัจจุบัน ซ่ึงมีจุดเด่น คือ สมรรถนะของเคร่อื งสูง ตัวโปรแกรมท่ีใช้งานและการประมวลผลส่วนใหญ่จะอยู่ที่เคร่ือง 2. การน�ำอุปกรณ์ขนาดเล็ก มาท�ำงานร่วมกันเสมือนเป็น Server ส่วนตัวเครือ่ ง Thin Client จะท�ำหนา้ ท่ีเสมอื น Terminal และ Hardware ขนาดใหญ่ เช่น การท�ำ High performance จะมี Hardware ทซี่ บั ซอ้ นนอ้ ยกวา่ โดยหลงั จากเขา้ สรู่ ะบบแลว้ ระบบ Computing เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ร่วมกันประมวล จะส่งหน้าจอให้กับผู้ใช้งานแต่ละคนโดยผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถ ท�ำงานกับโปรแกรมต่างๆ ของตนได้อย่างอิสระต่อกัน Thin Client ประกอบไปด้วย 3 ส่วน คอื 1. เครอ่ื ง Thin Client 2. ระบบ Server ท่รี องรับการท�ำงานของเคร่อื ง Thin Client 3. ระบบเครือขา่ ย No.26 March 2014 Green Research 31

พึง่ พาธรรมชาติ จรยิ ธรรมกับสง่ิ แวดล้อม จ ริ ย ธ ร ร ม ท า ง ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม “มนษุ ยค์ วรมจี รยิ ธรรมในการมองสง่ิ แวดลอ้ มและธรรมชาตอิ ยา่ งไร โดยเฉพาะโลก Miller ได้เสนอในโลกทัศน์แนว สมยั ใหม่การเปดิ เสรยี ดึ เศรษฐกจิ บนฐานความรู้ ทำ�ทกุ วิถีทางเพอ่ื หาเงนิ เขา้ กระเป๋า สนอง “Sustainable-Earth World- สงั คมปจั เจกสดุ ขวั้ แตล่ ะเลยการมสี ว่ นรว่ ม สง่ ผลกระทบตอ่ สว่ นรวมกระทง่ั ละเลยและละเมดิ view” ในคำ�สอนของศาสนาที่ ต่อธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม กลายเป็นภัยพิบตั ิท่ยี ้อนกลบั มาลงโทษมนุษย์เสยี เอง เป็นบท สำ�คัญ บางคนอาจจะบอกว่า เรียนทไี่ ม่หลาบจำ�” (ทิพยพ์ าพร ตันตสิ ุนทร, สถาบนั นโยบายศึกษา) เป็นอุดมคติมากเกินไปเป็นเรื่อง จริยธรรมสิ่งแวดล้อม (environmental ethics) มนุษย์ไม่เคยประสบปัญหา ท่ีปฏิบัติได้ยากในความเป็นจริง สิ่งแวดล้อม แต่หากในปัจจุบันมนุษย์ต้องประสบกับปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป จริยธรรมต้องการจะตักเตือนใจ อยา่ งรวดเร็วทรพั ยากรธรรมชาตทิ นี่ บั วนั จะเหลอื น้อยลง การใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เราว่าวิถีทางท่ีกำ�ลังดำ�เนินอยู่ ในทางทผี่ ดิ และกระทบโดยตรงต่อสิง่ แวดล้อม เช่น การทดลองระเบดิ ปรมาณู การทำ�ลาย นนั้ เปน็ สงิ่ ทผ่ี ดิ เปน็ หนทางทน่ี �ำ ไป ปา่ ไม้ การทำ�เขอ่ื นเพอ่ื กักเกบ็ นำ้ � ฯลฯ ทำ�ใหร้ ะบบนเิ วศเปลี่ยนแปลงและเสียสมดุล สง่ ผล สูก่ ารล่มสลายของสง่ิ แวดลอ้ ม กระทบต่อชีวิตของมนุษย์เอง ปัจจุบันสังคมไทยมีปัญหาสิ่งแวดล้อมมากมายหลายด้าน จงึ จำ�เป็นตอ้ งมีการนำ�จรยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อมมาศึกษาให้ครบทกุ ด้าน ทุกกิจกรรม เชน่ การ 32 Green Research No.26 March 2014 รู้จักประมาณในการบริโภคหรือทางสายกลางในการใช้สอย การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร อยา่ งพอเพยี ง การกตญั ญกู ตเวทรี คู้ ณุ คา่ ของสงิ่ แวดลอ้ ม การเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม และ การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ ท้ังนี้หลักการของนำ�จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อม Miller ได้เสนอในโลกทัศน์แนว “Sustainable-Earth Worldview” ในคำ�สอนของศาสนาที่สำ�คัญ บางคนอาจจะบอกว่าเปน็ อดุ มคตมิ ากเกนิ ไปเปน็ เรอื่ งท่ีปฏบิ ตั ไิ ดย้ ากในความเปน็ จรงิ จรยิ ธรรมตอ้ งการจะตกั เตอื นใจ เราวา่ วถิ ที างทก่ี ำ�ลงั ดำ�เนนิ อยนู่ นั้ เปน็ สงิ่ ทผ่ี ดิ เปน็ หนทางทน่ี ำ�ไปสกู่ ารลม่ สลายของสงิ่ แวดลอ้ ม และเปน็ อนั ตรายตอ่ ชวี ติ ของสง่ิ มชี วี ติ ทง้ั หมดในโลกธรรมชาติ เชอ่ื วา่ เราควรสรา้ งสรรคส์ งั คม ใหมท่ ตี่ งั้ อยบู่ นพน้ื ฐานของความรกั เมตตาธรรม ความรว่ มมอื กนั ความยตุ ธิ รรม และความ ห่วงใยต่อเพ่ือนมนุษย์และสรรพสัตว์ในโลกธรรมชาติ สังคมใหม่แบบน้ีจะเป็นสังคมที่ย่ังยืน ผู้คนมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพ ส่วนสังคมอุตสาหกรรมนิยมที่เรากำ�ลังพบเห็นอยู่ในขณะน้ี นัน้ เปน็ สงั คมท่ีเนน้ ความเห็นแกต่ ัว การแขง่ ขัน ความกา้ วรา้ ว การแสวงหาวตั ถแุ ละความ เจริญสงู สุด และการขูดรดี ธรรมชาติ สังคมแบบน้ีมีแต่จะทำ�ลายส่งิ แวดล้อม และชวี ติ จิตใจ ของมนุษย์ โลกทัศน์ ตอ้ งการใหม้ ี “การปฏวิ ตั สิ งั คม” ทีเ่ นน้ การเปล่ียนแปลงทางจิตสำ�นกึ นนั่ เอง

จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อมใหม่ชี้ให้เราเห็นว่า มนุษย์เรามี แห่งโลกธรรมชาติท่ีตั้งอยู่บนหลักการของ ความรัก ความศรัทธา ความต้องการ 2 แบบ ความต้องการที่ไมจ่ ำ�เปน็ กบั ความต้องการ ความจริงใจ และความร่วมมือกนั ทแี่ ทจ้ รงิ ระบบอตุ สาหกรรมนยิ มมงุ่ เนน้ แตเ่ รอื่ งกระตนุ้ ความตอ้ งการ ที่ไม่จำ�เป็นซึ่งใช้ทรัพยากรมาก สิ่งที่ถูกต้อง คือ เราสนองความ หลกั แหง่ ความประพฤตขิ องสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ การกระทำ�ของ ต้องการแบบท่ีแท้จริงเท่าน้ัน ซึ่งวิถีชีวิตแบบใหม่จะต้องมีลักษณะ มนุษยท์ กุ คนทปี่ ฏบิ ตั ติ อ่ ส่ิงแวดล้อม ซงึ่ พวกเขาอาศัยอยบู่ นพ้ืนฐาน เรียบงา่ ย ปฏเิ สธบริโภคนิยม ไม่ลมุ่ หลงในวัตถุ และใชช้ ีวิตอย่างมี แห่งการพึ่งพาอาศัยกันอย่างสมดุล เราเช่ือว่าความประพฤติหรือ ความหมาย พฤตกิ รรมของมนุษย์น้นั เกดิ จากการตอบสนองต่อสง่ิ แวดล้อม โดย มอี งคป์ ระกอบทเ่ี กย่ี วขอ้ งอน่ื ๆ อาทิ ความตระหนกั คา่ นยิ ม ทศั นคติ ความตนื่ ตวั ทางสง่ิ แวดล้อม ความรู้ ทกั ษะ และปัจจยั ท่เี ก่ยี วข้องอ่ืนๆ ทำ�ให้มนุษย์แสดงความ ประพฤตหิ รอื พฤตกิ รรมตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั นนั้ จรยิ ธรรม เราเรม่ิ มองเหน็ ปรากฏการณแ์ ละรบั รปู้ ญั หา เราเรม่ิ รสู้ กึ วา่ ทางสิ่งแวดล้อม จึงเป็นหลักการหรือแนวทางท่ีมนุษย์พึงปฏิบัติต่อ กำ�ลงั มบี างส่งิ บางอยา่ งเกิดขน้ึ เช่น ปัญหามลภาวะ เรายงั มองไม่ สงิ่ แวดลอ้ ม โดยคำ�นงึ ถงึ ความยง่ั ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ มนน่ั คอื จติ สำ�นกึ เป็นระบบ เราคิดแต่เพียงว่าเมื่อมีปัญหามลภาวะ เราก็ต้องเข้าไป สเี ขียว แก้ไขโดยการควบคุม เราเร่ิมมองเห็นความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ท่ีเช่ือมโยงเก่ียวพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เช่น เรารู้ว่าปัญหา ตวั อยา่ งบคุ คลหรอื ชมุ ชน องคก์ ร ทท่ี ำ�งานดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม แลว้ มลภาวะ ความเส่ือมโทรมทางส่ิงแวดล้อม และการหมดส้ินของ จะสามารถนำ�ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งไร ทรัพยากรธรรมชาติเป็นเร่ืองที่เก่ียวพันกับปัญหาประชากร การ พฒั นาอตุ สาหกรรม ลทั ธบิ รโิ ภคนยิ มและความยากจนในสงั คม เรยี ก ดาบวชิ ยั ปลกู ตน้ ไม้ “การปลกู ตน้ ไมเ้ ปน็ การทำ�บญุ ทยี่ ง่ั ยนื ร้องให้เราแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เรามองความเชื่อมโยงทาง กว่า และช่วยเหลือทุกคนได้ชั่วลูกช่ัวหลาน…เราจะคืนธรรมชาติสู่ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ ระบบมากขน้ึ และมกี ารแสวงหาทางเลอื กใหมๆ่ แผ่นดนิ เก้อื กูลอาศยั ซ่งึ กนั และกนั ความสุขที่แท้จริง คอื การอยู่ ในการจัดการทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น มองหาแนวทางการ ร่วมและรู้จักเคารพธรรมชาติ ต้นไม้ผมเป็นคนปลูก ปลูกไปเร่ือยๆ พฒั นาเศรษฐกจิ แบบใหมท่ ีเ่ รยี กกนั ว่า “การพัฒนาแบบย่ังยืน” ใน ปลูกไปจนกว่าจะตาย…”  ส่งผลให้นายดาบวิชัย ได้รับการยกย่อง ขณะเดยี วกนั ก็พฒั นาวธิ กี ารจดั การทางสงิ่ แวดลอ้ มทมี่ ีลกั ษณะสลับ เชดิ ชูและกำ�ลงั ใจเปน็ ผู้หนง่ึ ท่ไี ดร้ ับ “รางวัลลกู โลกสเี ขียว” ประจำ�ปี ซบั ซอ้ นและมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ เราแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดล้อม โดย พ.ศ. 2545 มีเป้าหมายเพ่ือความสุขสมบูรณ์ของมนุษย์ วิธีการแบบนี้อยู่ตรง สามารถนำ�มาปรับใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ โดยเห็นการมี กันข้ามกับ life-centered โลกทัศน์กระแสหลักยังคงเป็นโลกทัศน์ที่ จิตสาธารณะ โดยเห็นประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน  เน้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มนุษย์ยังคงมีฐานะที่สำ�คัญกว่า ปลูกจติ สำ�นกึ ที่ดี ถา้ คนเรายังมองไม่เหน็ ความงดงามของธรรมชาติ ธรรมชาตแิ ละอยเู่ หนือธรรมชาติ ทำ�ดีแล้วย่อมเกิดผลก็ทำ�ส่งผลให้เราทำ�ต่อไปอย่าไปท้อแท้ อาจมี บ้างที่ท้อแท้แต่ก็จงสู้และยึดมั่นในสิ่งที่ทำ�จะทำ�ให้เรามีความสุขใน ความอยู่รอดของมนุษย์ หากแต่เป็นความอยู่รอดของ ส่ิงท่ีทำ� และในด้านการเกษตรสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ในการ ธรรมชาติ โลกทัศน์โลกธรรมชาติย่ังยืน ไม่อาจได้มาโดยการอ่าน ทำ�นาปลี กั ษณะของไรน่ าสว่ นผสมเกบ็ ผลผลติ กนิ ไดต้ ลอดทงั้ ปี สง่ ผล หนังสือ หรือน่ังคิดนั่งฝัน จริยธรรมทางสิ่งแวดล้อมจะเกิดข้ึนได้ ให้เกษตรกรมีรายได้ มีชีวิตแบบพอเพียง นำ�ทฤษฎีเศรษฐกิจ ก็ต่อเม่ือเรามีความสัมพันธ์กับธรรมชาติ โดยการเห็น โดยการ พอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ ในการที่จะพัฒนาใครเรา รสู้ ึกสัมผสั โดยการเขา้ ใจ โดยความรักและหว่ งใย ทส่ี ำ�คญั คือเกิด ต้องพัฒนาตัวเราก่อน พ่ึงตนเอง ไม่เบียดเบียนใคร ขอให้มีความ ความเชื่อศรัทธาข้ึนมา โลกทัศน์ใหม่ คือ วิถีการคิดแบบใหม่และ ขยนั อดทน ซอ่ื ตรงไมย่ งุ่ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ อยใู่ นหลกั ศลี ธรรมอนั ดงี าม วิถีแห่งความรู้สึกแบบใหม่ อันเกิดจากการฟังเสียงของธรรมชาติ จะส่งผลทำ�ให้เรามีความสุขในชีวิตและดำ�เนินชีวิตไปโดยพึ่งพา ปรัชญาเชนที่บ่งว่า “เรามองภูเขา ภูเขามองเรา ภูเขาและเรา อาศยั กัน “คนรกั ป่า ป่ารกั คน” เป็นหน่ึงเดียว” สะท้อนให้เราเห็นถึงภาพแบบใหม่ของประชาคม เอกสารอ้างองิ การพฒั นาแนวความคดิ เกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มของมนษุ ย.์ [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดท้ ี่ : http://www.rmuti.ac.th ทพิ ย์พาพร ตันตสิ นุ ทร. จรยิ ธรรมกบั สิ่งแวดลอ้ ม. สถาบนั นโยบายศึกษา. อัญชลี ชัยศร.ี จริยธรรมทางธรุ กจิ กบั สิ่งแวดลอ้ มและสงั คม. No.26 March 2014 Green Research 33