Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GR32 รับมือกับสารปนเปื้อน PFOS/PEOA สถานันไดออกซินแห่งชาติ

GR32 รับมือกับสารปนเปื้อน PFOS/PEOA สถานันไดออกซินแห่งชาติ

Published by Lib SRC, 2022-01-26 01:53:20

Description: GR32.1

Search

Read the Text Version

ISSN:1686-1612 Research ปที ่ี 13 ฉบับท่ี 32 มกราคม 2559 PรับFมอืOกSับส/ารPปFนเOปอ้ื Aน สถาบันไดออกซินแหง่ ชาติ การปนเปอ้ื นของสาร PFOS/PFOA การใช้ยาของผู้ป่วยมีผลกระทบตอ่ ความเปน็ พษิ ของเภสชั ภณั ฑ์ใน ในตัวอย่างน้ำ� ผวิ ดนิ สิง่ แวดลอ้ มหรือไม่? สง่ิ แวดล้อม

บ.ก.แถลง EDITOR’S TALK สวัสดคี ่ะท่านผู้อา่ น ปีใหม่นีเ้ ร่มิ ทำ� สิ่งดๆี กนั รึยงั อยา่ ลืมใช้โอกาสดีๆ ในตน้ ปีรเิ ริม่ สร้างสรรค์ส่ิงใหมๆ่ เพือ่ พฒั นาตนเอง องคก์ ร ตลอดจนประเทศชาตนิ ะคะ “Green Research” ขอเปน็ อกี หน่ึงกำ� ลังใจในการเปล่ยี นแปลงนะคะ “Green Research” ฉบับท่ี 32 ประจำ� เดือนมกราคม 2559 นำ� เสนอประเดน็ หลัก เก่ยี วกบั การปนเปื้อนของสาร PFOS/ PFOA โดยนำ� ตวั อยา่ งนำ้� บนผวิ ดนิ บรเิ วณรอบนคิ มอตุ สาหกรรม จงั หวดั ระยอง ลำ� พนู สมทุ รปราการ และบรเิ วณตอนบนอา่ วไทย ซงึ่ เปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ งกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม กบั The United Nations University (UNU) เปน็ ประจำ� ทกุ ปี เพอื่ ตรวจ สอบการปนเป้ือนของสาร PFOS/PFOA นอกจากนย้ี ังมเี รอื่ ง “การใช้ยาของผูป้ ว่ ยมีผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มหรอื ไม่” และ “ความ เปน็ พษิ ของเภสชั ภณั ฑใ์ นสง่ิ แวดลอ้ ม” เนอ้ื หาจะเปน็ อยา่ งไรหาคำ� ตอบไดใ้ นวารสาร “Green Research” พรอ้ มนำ� เสนอบทความ ทนี่ ่าสนใจตา่ งๆ มากมาย แลว้ พบกันฉบับหนา้ นะคะ GREEN RESEARCH CONTENTS มทกป่ี รราคึกมษ2า559 เรื่องเด่นประจำ� ฉบบั การปนเป้อื นของสาร PFOS/PFOA ในตวั อย่างน้�ำผิวดิน ภาวิณี ปณุ ณกันต์ 3 บริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม จงั หวดั ระยอง ล�ำพนู เสรมิ ยศ สมมน่ั สมทุ รปราการ และบริเวณตอนบนอ่าวไทย บสารกรลณฐาินธะกิกลุ ารบริหาร กโสอฬงสบขรันรธณ์เคารธอื ิการ 9 การใชย้ าของผปู้ ่วยมีผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อมหรอื ไม?่ 11 ความเปน็ พิษของเภสัชภัณฑใ์ นสง่ิ แวดล้อม นิตยา นักระนาด มลิ น์ ศิรนิ ภา ศรีทองทมิ ตดิ ตามเฝา้ ระวงั หทัยรตั น์ การีเวทย์ “การทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชน” ทางเลอื กเพอื่ การแกไ้ ขปญั หา เจนวทิ ย์ วงษ์ศานนู 14 สง่ิ แวดลอ้ มจากภาคการท่องเท่ยี ว ปญั จา ใยถาวร รฐั เรืองโชติวิทย์ 20 ปัญหาหมอกควนั ปญั หาทไี่ มเ่ คยจบส้ิน จินดารัตน์ เรืองโชตวิ ทิ ย์ 23 ผลกระทบของการด้ือยาปฏิชวี นะในสง่ิ แวดลอ้ ม อาทิตยา พามี ศูนยว์ ิจยั และฝกึ อบรมด้านสิง่ แวดลอ้ ม ก้าวหนา้ พฒั นา กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 26 เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมตอ่ การฟื้นฟดู นิ ทปี่ นเปื้อนโลหะหนัก เทคโนธานี ต�ำบลคลองหา้ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี 12120 พง่ึ พาธรรมชาติ โทรศพั ท์ 02-577-4182-9 การเปลี่ยนแปลงกล่มุ ประชากรจลุ นิ ทรีย์ในดินในพ้นื ท่เี กษตรกรรม โทรสาร 02-577-1138 29 ท่ีมกี ารนำ� น�้ำท้ิงชมุ ชนทีผ่ า่ นการบำ� บัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ www.deqp.go.th 34 พืชกบั การตดิ ตามเฝ้าระวงั และการบ�ำบัดฟ้นื ฟูพืน้ ท่ปี นเปื้อนสารอินทรีย์ ระเหยง่าย 36 ERTC Update No.32 January 2016

เรอ่ื งเด่นประจำ�ฉบับ 3 อารรี ัตน์ จากสกลุ สนุ ทิ รา ทองเกล้ียง และ ดร.รุจยา บุณยทมุ านนท์ PFOS/PFOAการปนเปอ้ื นของสาร ในตัวอยา่ งน�้ำผิวดินบรเิ วณรอบนคิ มอุตสาหกรรมจงั หวดั ระยอง ล�ำพนู สมทุ รปราการ และบรเิ วณตอนบนอ่าวไทย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยสถาบันไดออกซินแห่งชาติได้ด�ำเนินโครงการวิจัยและติดตามคุณภาพส่ิงแวดล้อม ภายใตโ้ ครงการความร่วมมอื ระหว่างกรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กบั The United Nations University (UNU) เปน็ ประจ�ำทุกปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2539 ถึงปัจจุบัน เพื่อพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์สารท่ีมีความเป็นพิษกลุ่มต่างๆ และท่ีผ่านมามีการน�ำผลงาน วิจัยไปใช้ประโยชน์ในการสนับสนุนข้อมูลให้กับหน่วยงานอนุสัญญาสตอกโฮล์ม ในเรื่องพันธกิจตามแผนปฏิบัติการระดับชาติ วา่ ดว้ ยเรือ่ งสารตกคา้ งยาวนาน (Persistent Organic Pollutants, POPs) สำ� หรับโครงการประจ�ำปี พ.ศ. 2558-2559 จะเน้นเร่อื ง การติดตามสถานการณ์การตกค้างของสารกลุ่ม Perfluorooctanesulfonate (PFOS) กลุ่ม Perfluorooctanoate (PFOA) และสาร อนพุ นั ธท์ เ่ี กยี่ วขอ้ ง ซงึ่ เปน็ สารกลมุ่ ใหมๆ่ ทกี่ ำ� หนดโดยอนสุ ญั ญาสตอกโฮลม์ โดยโครงการดงั กลา่ วไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณ ดา้ นการวจิ ยั เทคนคิ การวเิ คราะห์ และเครอ่ื งมอื วเิ คราะห์ จากองคก์ ารระหวา่ งประเทศ คอื The United Nations University (UNU) และบรษิ ทั Shimadzu จำ� กดั มเี ป้าหมายในการติดตามตรวจสอบการปนเปือ้ นของสาร PFOS/PFOA ในตวั อยา่ งนำ�้ ผิวดิน บริเวณ รอบนคิ มอตุ สาหกรรม จงั หวดั ระยอง ลำ� พนู สมทุ รปราการ ปากแมน่ ำ�้ บรเิ วณอา่ วไทย และบรเิ วณชายฝง่ั ทะเล เชน่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี ตราด และเพชรบรุ ี สาร Perfluorinated compounds (PFCs) เปน็ สารพิษชนิดตกค้างยาวนาน (Persistent Organic Pollutants, POPs) ซ่ึงมี คุณสมบัติไมล่ ะลายในไขมัน และไม่ชอบนำ้� ส�ำหรบั PFCs ละลายในน้�ำได้ 9.5 กรัมตอ่ ลติ ร สามารถเคล่ือนยา้ ยไดใ้ นระยะทาง ไกลๆ สะสมในสว่ นไขมนั ของสง่ิ มชี ีวิต และสามารถถา่ ยทอดในหว่ งโซอ่ าหาร สารกลุ่ม Perfluorinated compounds (PFCs) แบ่ง ออกเป็นหลายชนิดแตช่ นดิ หลกั ๆ คอื Perfluorooctane sulfonate (PFOS) และ Perfluorooctanoic acid (PFOA) ซงึ่ เปน็ สารพษิ ท่ี มคี วามเปน็ พษิ ปานกลาง และเปน็ สารสงั เคราะหข์ นึ้ มาเพอ่ื วตั ถปุ ระสงค์ เคลอื บเงาใหเ้ กดิ ความมนั วาวและไมเ่ ปยี กนำ�้ ในการผลติ ดา้ นอุตสาหกรรม เช่น เปน็ ส่วนผสมใน พลาสติก ผ้า หนัง อปุ กรณไ์ ฟฟา้ พรม และสารดับเพลิง (Inoue et al.,2004). นอกจากน้ี ยงั ใชเ้ ปน็ สว่ นผสมในผลติ ภณั ฑท์ ำ� ความสะอาดในครวั เรอื น สารกำ� จดั แมลง และสารปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ชื ชนดิ อนื่ ๆ ความเปน็ พษิ ทรีย์ ต่อมนุษย์แบ่งเป็นความเป็นพิษเฉียบพลัน และเร้ือรัง ส�ำหรับผู้ท่ีได้รับสารในปริมาณมากในระยะเวลาส้ันๆ อาจก่อให้เกิดความ ระคายเคืองต่อ ผวิ หนัง ตา และระบบทางเดินหายใจ ผ้ทู ไ่ี ด้รบั สารในปริมาณต�ำ่ อย่างต่อเนอ่ื ง มีผลต่อระบบ Endocrine Grand (Endocrine Disrupter Compounds ,ECDs) กลา่ วคือ มผี ลตอ่ ต่อมไทรอยด์ ระบบทางเดนิ อาหารและตับ และมแี นวโนม้ เป็นสาร กอ่ ให้เกิดมะเร็งในอวยั วะตา่ งๆ ของรา่ งกายในสตั วท์ ดลอง (Public Health England, 2009). No.32 January 2016

4 เรื่องเด่นประจำ�ฉบับ วิธกี ารศึกษา การคดั เลอื กพนื้ ทเ่ี สย่ี งตอ่ การปนเปอ้ื นสาร PFOS/PFOA แบง่ เปน็ พนื้ ทเ่ี สยี่ งตอ่ การปนเปอ้ื นบรเิ วณรอบนคิ มอตุ สาหกรรม จงั หวดั ระยอง ลำ� พนู สมทุ รปราการ ปากแมน่ ำ�้ บรเิ วณอา่ วไทยตอนบน พน้ื ทหี่ า่ งไกลจากชมุ ชนและแหลง่ อตุ สาหกรรมซง่ึ ไมเ่ สยี่ ง ตอ่ การปนเปอ้ื นหรอื พนื้ ทส่ี ะอาด โดยกำ� หนดบรเิ วณชายฝง่ั ทะเล เชน่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี ตราด และเพชรบรุ ี ดำ� เนนิ การเกบ็ ตวั อยา่ งนำ้� ผวิ ดนิ และนำ้� ชายฝง่ั ทะเลนำ� มาวเิ คราะหห์ าสารตกคา้ งยาวนานชนดิ PFOS และ PFOA ตามวธิ ขี อง ISO 25101 วเิ คราะหค์ ณุ ภาพ และปริมาณโดยเครื่อง LC/MSMS การท�ำคณุ ภาพวเิ คราะห์เลือกตัวอย่างน�้ำผวิ ดินจากแหลง่ น้�ำธรรมชาตจิ ำ� นวน 1 ตวั อยา่ ง แบง่ ตัวอยา่ งทำ� 5 ซ�ำ้ โดยนำ� ตวั อย่างมาเตมิ สารมาตรฐานชนิด mixed native PFOS/PFOA ความเข้มข้น 100 นาโนกรัมตอ่ มลิ ลลิ ติ ร จำ� นวน 10 ไมโครลิตร และเติมสารมาตรฐาน mixed surrogate (labelled PFOS/PFOA) ความเขม้ ข้น 100 นาโนกรัมตอ่ มลิ ลลิ ิตร รูปแสดง จดุ เกบ็ ตัวอยา่ งรอบนคิ มอุตสาหกรรม บางปู และบางพลี รปู แสดง การเกบ็ ตัวอยา่ งน�ำ้ ผวิ ดนิ รปู แสดง จดุ เกบ็ คลองซากหมาก หาดทรายทอง และสะพานเฉลมิ ชัย (ปากน�ำ้ ) รอบนิคมอตุ สาหกรรม จังหวัดระยอง No.32 January 2016

เรอ่ื งเดน่ ประจ�ำ ฉบบั 5 จำ� นวน 10 ไมโครลติ ร เพือ่ หาคา่ Limit Of Detection (LOD) และ Limit Of Quantitation (LOQ) และท�ำ blank test จ�ำนวน 2 ซำ้� โดยนำ� ตวั อยา่ งตวั เดยี วกนั กบั ทใี่ ชท้ ำ� LOD/LOQ นมี้ าเตมิ สารมาตรฐาน mixed surrogate (labelled PFOS/PFOA) ความเขม้ ขน้ 100 นาโนกรัมต่อมิลลลิ ิตร จ�ำนวน 10 ไมโครลติ ร และทำ� การสกัดตัวอย่าง (pre-extract) ตามวธิ ีของ ISO 25101 ในข้นั ตอนการสกดั ตัวอยา่ งมีการควบคมุ คณุ ภาพในการสกัดโดยการเตมิ สาร mixed surrogate (labelled PFOS/PFOA) ความเข้มขน้ 100 นาโนกรมั ต่อมลิ ลลิ ติ ร จ�ำนวน 20 ไมโครลติ ร ลงในตัวอยา่ งกอ่ นทำ� การสกัด เรียกว่าเป็นการทำ� spike recovery และหาเปอรเ์ ซ็นตก์ ารทีไ่ ด้ กลับมาหลงั จากการเตมิ surrogate และการท�ำ calibration curve จำ� นวน 6 จุด มคี วามเขม้ ขน้ ดังนี้ 20 ng/l 100 ng/l 500 ng/l 2000 ng/l 10000 ng/l 50000 ng/l ตามล�ำดบั ตารางท่ี 1 แสดงคา่ Limit of Detection (LOD) และ Limit of Quantitation (LOQ) Compounds LOD (ng/ml) LOQ(ng/ml) %recovery 114 Native-PFOA 0.30 1.0 112 Native-PFOS 0.80 2.7 วิธีสกดั และวเิ คราะห์ สำ� หรบั ตวั อยา่ งนำ�้ ผวิ ดนิ ทเี่ กบ็ มาจะทำ� การรกั ษาสภาพ ดว้ ยสาร sodium thiosulfate ปรมิ าณ 80 กรมั ตอ่ นำ�้ ตวั อยา่ ง 1 ลติ ร และทำ� การสกดั ตวั อยา่ งภายใน 2 สปั ดาห์ ระหวา่ งรอการสกดั จะตอ้ งเกบ็ ไวใ้ นตเู้ ยน็ อณุ หภมู ิ 4 องศาเซลเซยี ส กอ่ นการสกดั ตวั อยา่ ง จะเตมิ สารมาตรฐาน mixed surrogate (labelled PFOS/PFOA) ความเขม้ ขน้ 100 นาโนกรัมต่อมลิ ลิลติ ร จำ� นวน 20 ไมโครลิตร ลงในตัวอย่างน้�ำปริมาตร 500 มิลลิลิตร และเขย่าขวดจนสารมาตรฐานผสมกันดีในตัวอย่างน้�ำ จากนั้นกรองตัวอย่างด้วย รูปแสดง การวเิ คราะห์สาร PFOA/PFOS No.32 January 2016

6 เรอื่ งเดน่ ประจำ�ฉบบั กระดาษกรองชนดิ Glass Fiber Paper (GFP) โดยใชเ้ คร่อื งกรองแบบระฆงั คว�ำ่ ตอ่ กบั ระบบสญุ ญากาศน�ำน�้ำที่กรองผ่านกระดาษ กรองมาผา่ น column ชนดิ sep-pak โดยใช้เคร่อื งกรองแบบ manifold ตอ่ กับระบบสญุ ญากาศ และน�ำ sep-pak column มาชะ ดว้ ย methanol จำ� นวน 4 มิลลลิ ติ ร และตามด้วยสาร 0.1% ammonia in methanol จ�ำนวน 4 มลิ ลลิ ิตร น�ำสารละลายทไ่ี ด้ทง้ั หมด 8 มลิ ลิลติ ร มาลดปริมาตรด้วยเครอื่ ง nitrogen evaporator จนเหลอื 0.5 มิลลิลิตร ถ่ายใส่ vial ขนาด 1.5 มิลลิลติ ร เพอ่ื น�ำเขา้ เคร่ือง LC/MSMS วเิ คราะหห์ าชนดิ และปริมาณสาร PFOS/PFOA ผลการศึกษาและวจิ ารณ์ จากผลการศึกษาพบว่าปริมาณความเข้มข้นที่ถูกตรวจพบในช่วงฤดูแล้งมีค่าใกล้เคียงกับฤดูฝน โดยในฤดูแล้งน้�ำผิวดิน บรเิ วณจดุ เกบ็ แมน่ ำ้� เจา้ พระยามปี รมิ าณความเขม้ ขน้ ของ PFOA อยใู่ นชว่ ง ND-5.0 ng/l ในฤดฝู นมปี รมิ าณความเขม้ ขน้ ของ PFOA อยใู่ นชว่ ง ND-10 ng/l และตรวจไมพ่ บการปนเปอ้ื นของสาร PFOS ทงั้ ในฤดฝู นและฤดแู ลง้ แมน่ ำ�้ แมก่ ลอง แมน่ ำ�้ ทา่ จนี และแมน่ ำ�้ บางปะกง พบปรมิ าณการปนเปอ้ื นสาร PFOA และPFOS ในปรมิ าณต่�ำอยู่ในชว่ ง ND-3.5 ng/l ตารางที่ 2 ปรมิ าณความเข้มขน้ ของสาร PFOA & PFOS บรเิ วณจดุ เก็บแมน่ ้�ำเจ้าพระยา สถานีเกบ็ ตวั อยา่ ง ฤดูแลง้ ฤดฝู น PFOA (ng/l) PFOS (ng/l) PFOA (ng/l) PFOS (ng/l) สะพานพระราม 7 จงั หวัดนนทบรุ ี 4.5 ND 10 ND วัดพนัญเชิง จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ND ND ND ND พระสมทุ รเจดยี ์ จังหวัดสมุทรปราการ 5.0 ND 4.3 ND หนา้ ศาลประจ�ำจงั หวัด จงั หวดั สมุทรปราการ 3.2 ND 4.7 ND หมายเหตุ : ND คอื non-detected หรือค่าทต่ี รวจพบต�่ำกว่า Limit of Quantitation (LOQ) ในส่วนของน�้ำผิวดินพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลไม่พบการปนเปื้อนของสาร PFOA และ PFOS ทั้งฤดูแล้งและฤดูฝนยกเว้น ท่ีจดุ เกบ็ ชายทะเล จังหวัดชลบรุ ี ตรวจพบสาร PFOA ในปริมาณ 3.4 ng/l ตารางท่ี 3 ปริมาณความเขม้ ขน้ ของสาร PFOA & PFOS บริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม จังหวดั ระยอง สถานเี กบ็ ตัวอยา่ ง ฤดูแล้ง ฤดฝู น PFOA (ng/l) PFOS (ng/l) PFOA (ng/l) PFOS (ng/l) สะพานเปย่ี มพงษศ์ านต์ 14 9.3 12 7.3 สะพานเฉลิมชยั (ปากนำ�้ ) 4.7 3.1 13 24 หาดทรายทอง 1.9 ND 22 25 คลองซากหมาก 2.3 ND 4.4 ND No.32 January 2016

เรือ่ งเดน่ ประจ�ำ ฉบับ 7 รปู ที่ 1 ปรมิ าณความเข้มขน้ ของสาร PFOA&PFOS บรเิ วณจุดเก็บตวั อย่างรอบนิคมอุตสาหกรรม (ng/l:DW) ในฤดแู ลง้ รูปที่ 2 ปริมาณความเขม้ ข้นของสาร PFOA&PFOS บริเวณจดุ เก็บตวั อยา่ งรอบนคิ มอตุ สาหกรรม (ng/l:DW) ในฤดฝู น หมายเหต:ุ * คอื ต่ำ� กว่าคา่ Limit Of Quantitation (LOQ), DW: คือ Dry weight จากรูปท่ี 1 และ รูปที่ 2 แสดงให้เห็นว่าการปนเปื้อนของสาร PFOA / PFOS มีแนวโน้มการปนเปื้อนแตกต่างกันไปใน ส่วนของบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดระยอง ในฤดูฝนพบการปนเปื้อนของสาร PFOA / PFOS สูงกว่าในฤดูแล้ง ทั้งน้ี การปนเปื้อนท่ีสูงขึ้นอาจมีสาเหตุเกิดจากการชะล้างของน�้ำฝนลงมายังแหล่งนำ�้ ในปริมาณท่ีไม่สูงนักจึงมีผลทำ� ให้ไม่มีการเจือจาง ของสาร PFOA/PFOS ส่วนบริเวณรอบนิคมอตุ สาหกรรม จังหวัดสมทุ รปราการ พบแนวโนม้ การปนเปือ้ นของสาร PFOA / PFOS ในฤดแู ลง้ สงู กวา่ ฤดฝู น การชะลา้ งและเตมิ ลงมาของฝนในแหลง่ นำ�้ ในปรมิ าณมากอาจมอี ทิ ธพิ ลทำ� ใหค้ วามเขม้ ขน้ ของสาร PFOS/ PFOA เจือจางลง No.32 January 2016

8 เรอื่ งเด่นประจำ�ฉบบั ในสว่ นของพนื้ ทีเ่ สยี่ งบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม จงั หวดั ระยอง พบความเข้มขน้ ของสาร PFOS อย่ใู นช่วง ND-25 ng/l และ ND-9.3 ng/l ในฤดฝู นและฤดูแล้ง ปรมิ าณความเข้มข้นของสาร PFOA อยูใ่ นชว่ ง 4.4-22 ng/l และ 1.9-14 ng/l ในฤดฝู นและ ฤดแู ลง้ ตามลำ� ดับ จุดทต่ี รวจพบการปนเปือ้ นของ PFOS สงู ท่ีสดุ อยูใ่ นช่วงฤดฝู นมีปริมาณ 25 ng/l บริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดล�ำพูน พบความเข้มข้นของ PFOA ต�่ำอยู่ในช่วง 2.2-3.7 ng/l และ ND-2.5 ng/l ในฤดูฝน และฤดแู ล้งไมพ่ บการปนเป้อื นของ PFOS ในส่วนของบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งมีการเก็บตัวอย่างทั้งหมด 4 จุด ได้แก่ รอบนิคม อตุ สาหกรรม บางปู บางพลี คลองบางปลากด และวดั บางหวั เสอื พบความเขม้ ข้นของ PFOA อยู่ในชว่ ง 3.0-19 ng/l ในฤดูฝน และ 3.6-20 ng/l ในฤดูแล้ง และจุดท่ีมีความเข้มข้นสูงที่สุดอยู่บริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรมบางปู มีความเข้มข้น 20 ng/l และ ความเข้มขน้ ของ PFOS อยใู่ นชว่ ง ND-16 ng/l ในฤดูฝน ND-29 ng/l ในฤดแู ล้ง และจุดที่มีความเขม้ ขน้ สูงท่สี ดุ อยบู่ รเิ วณรอบ นคิ มอตุ สาหกรรมบางปู มคี วามเขม้ ขน้ 29 ng/l ตารางที่ 4 ปริมาณความเข้มข้นของสาร PFOA & PFOS บริเวณรอบนคิ มอตุ สาหกรรม จงั หวดั ระยอง สถานเี ก็บตวั อยา่ ง ฤดูแลง้ ฤดูฝน PFOA (ng/l) PFOS (ng/l) PFOA (ng/l) PFOS (ng/l) วัดบางหวั เสือ 3.6 ND 6.0 ND หนา้ นคิ มอุตสาหกรรมบางปู 20 29 3.0 ND บรเิ วณนิคมอตุ สาหกรรมบางพลี 1.9 1.5 8.3 16 วัดคู่สรา้ ง คลองบางปลากด 3.7 ND 19 3.4 สรปุ ผล โดยรวมแลว้ ปรมิ าณสาร PFOA และ PFOS ทถ่ี ูกตรวจพบอยูใ่ นปรมิ าณท่ตี �ำ่ เช่น บรเิ วณนิคมอตุ สาหกรรม จงั หวดั ระยอง จดุ เกบ็ ชายหาด หาดทรายทอง ตรวจพบ PFOA ในชว่ ง ND -22 ng/l และจดุ เก็บบริเวณนคิ มอตุ สาหกรรม จังหวัดสมทุ รปราการ พบ PFOS ในช่วง ND-29 ng/l แม่นำ�้ สายหลักท้งั 4 สายของประเทศไทย คอื แม่น�้ำเจ้าพระยา แมน่ ำ�้ แม่กลอง แม่น�ำ้ ทา่ จนี และ แมน่ �้ำบางปะกง พบปริมาณ PFOA และ PFOS ในปรมิ าณทต่ี ่ำ� มาก และในพน้ื ทส่ี ะอาดบรเิ วณชายฝัง่ ทะเลไมพ่ บการปนเป้ือน ของสาร PFOA และ PFOS ยกเวน้ บรเิ วณจุดเกบ็ ชายฝัง่ ทะเล จงั หวดั ชลบรุ ี ตรวจพบ PFOA 3.4 ng/l ในฤดูฝน References [1] D. Carloni.2009. Perfluorooctane Sulfonate (PFOS) Production and use: Past and Current Evidence. UNIDO. [2] ISO 25101.2009. Water quality-Determination of perfluorooctanesulfonate (PFOS) and perfluorooctanoate (PFOA)-Method for unfiltered samples using solid phase extraction and liquid chromatography/mass spectrometry. [3] K Inoue, F Okada, R Ito, S Kato, S Sasaki,S Nakajima,A Uno, Y Saijo,F Sata, Y Yoshimura, R Kishi and H Nakazawa.2004. Perfluorooctane Sulfonate (PFOS) and related Perfluorinated Compounds in Human Maternal and Cord Blood Samples: Assessment of PFOS Exposure in a Susceptible Population during Pregnancy. Environ Health Perspect. 112(11): 1204-1207. [4] K Chinakarn, B Suwanna Kitpati, F Shigeo, T Shuhei, M Chanatip, A Chattakarn, W Thana.2009. Contamination of perfluorinated compounds (PFCs) in ChaoPhraya River and Bangpakong River, Thailand. Water Science & Technology. 60: 975-982. [5] N Saito, K Harada, K Inuoue, K Sasaki and T Yoshinaga.2004. Perfluorooctanoate and Perfluorooctane Sulfonate Concentrations in Surface Water in Japan. Occup Health; 46:49-59. [6] OECD Environment.2005. Health and Safety Publications: Results of survey on production and use of PFOS, PFAS and PFOA, related substances and productions/mixtures containing these substances. Env/jm/mono. [7] Public Health England.2009.PFOS and PFOA Toxicological Overview. [8] Public Health England.2009. PFOS and PFOA-General information. [10] UNEP.2011. Guidance on alternatives to perfluorooctane sulfonic acid and its derivative.s No.32 January 2016

เร่อื งเดน่ ประจำ�ฉบับ 9 ชญานิน น้ำ�เยอื้ ง การใช้ยาของผูป้ ว่ ยมผี ลกระทบตอ่ ?สง่ิ แวดล้อมหรือไม่ ประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายค่ายาเพ่ิมมากขึ้นทุกปี และน่ันคือการใช้ยามีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ข้อมูลจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ในปี 2555 พบว่ามูลค่าการผลิตและการน�ำเข้ายาแผนปัจจุบันและแผน โบราณส�ำหรับคนและสัตว์ 190,786 ลา้ นบาท เพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 88 จากปี 2550 ซงึ่ มีมูลคา่ 101,402 ลา้ นบาท (รูปท่ี 1)[1] อกี ทั้งประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องพ่ึงพายารักษาโรคเพ่ิมขึ้น และในปี 2553 มีการ สำ� รวจของกรมการแพทย์ พบวา่ คนไทยกินยาปลี ะประมาณ 47,000 ล้านเม็ด หรือเฉลีย่ วนั ละ 128 ลา้ นเม็ด นอกจากน้ี พฤติกรรมการซ้ือยาของคนไทย จากการส�ำรวจพบว่ามีผู้ป่วยที่ซื้อยากินเองร้อยละ 15 ของผู้ป่วยท้ังหมด ยาปฏิชีวนะมี การใชม้ ากที่สดุ คอื ร้อยละ 20 ของยาทงั้ หมด และบ่อยคร้ังที่มีการใช้ยาโดยไม่จำ� เป็น ใช้ยาเกินความจ�ำเป็น หรือใชย้ า ไมค่ รบขนาด ทำ� ใหเ้ กดิ เชือ้ ด้อื ยาเพิม่ ขน้ึ และมผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพของคนไทย มูลคา่ การผลติ และการนำ� เข้ายาแผนปัจจบุ นั และยาแผนโบราณส�ำหรบั มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ การผลิต การนำ� เขา้ รวม รปู ท่ี 1 แสดงมลู ค่าการผลติ และการน�ำเข้ายาแผนปัจจุบันและแผนโบราณสำ� หรับคนและสัตว์ No.32 January 2016

10 เร่ืองเด่นประจำ�ฉบับ การใชย้ าของผปู้ ว่ ยทำ� ใหเ้ กดิ “ยาเหลอื ใช”้ พฤตกิ รรม 1. ยาเม็ดหรือยาแคปซูล ควรท�ำให้ยาเสียสภาพก่อน การกินยาของผู้ป่วย เช่น การไม่กินยาอย่างต่อเนื่องตามท่ี หรือทำ� ใหไ้ มส่ ามารถน�ำมาใช้ตอ่ ได้อกี เช่น บดใหแ้ ตกละเอียด แพทยส์ ง่ั ในผปู้ ว่ ยทม่ี โี รคประจำ� ตวั การไมก่ นิ ยาตดิ ตอ่ กนั จนหมด กอ่ นจากน้นั จงึ คลกุ กับสารทไ่ี มต่ อ้ งการ เช่น ขี้เถา้ ดนิ หรอื กาก เช่น ยาปฏิชีวนะ การหยุดกินยาเน่ืองจากเกิดอาการข้างเคียง กาแฟ จากนน้ั จงึ หอ่ ดว้ ยกระดาษหรอื ถงุ พลาสตกิ อกี ชน้ั หนงึ่ แลว้ การหยุดรับประทานยาเนื่องจากมีอาการดีขึ้นแล้ว การรับยา นำ� ไปทงิ้ ถงั ขยะ เหลือใช้จากผู้อื่นท่ีมีอาการคล้ายกัน แต่จริงๆ อาจใช้ไม่ได้ผล 2. ยาน้�ำควรเทยาออกจากขวดให้หมด แล้วคลุกยากับ หรอื ไมป่ ลอดภยั กบั ตนเอง การปรบั เปลยี่ นการรกั ษาของแพทย์ สารที่ไมต่ ้องการและหอ่ อีกช้นั กอ่ นน�ำไปทง้ิ ส�ำหรับผู้ป่วยเพ่ือให้การรักษามีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน นอกจากน้ี 3. อย่าเทยาลงในโถส้วมหรืออ่างล้างจาน เน่ืองจากจะ การเก็บรักษายาไม่เหมาะสมท�ำให้ยาเสื่อมสภาพและหมดอายุ ท�ำให้ยากระจายและปนเปอ้ื นลงสู่สิ่งแวดล้อม เปน็ ตน้ ยาเหลอื ใชท้ ย่ี งั ไมเ่ สอื่ มสภาพและหมดอายุ เมอื่ ตอ้ งการ 4. การก�ำจดั ขยะยาอย่างถกู ต้อง เชน่ โดยการเผาจะลด ใช้ยาน้ันอีกก็ควรปรึกษาการใช้ยากับเภสัชกรใกล้บ้าน กรณีถ้า ปญั หาการปนเป้ือนสู่ส่ิงแวดล้อม มียาเหลือใช้จ�ำนวนมากก็ควรเลือกใช้ยาท่ีไกล้จะหมดอายุก่อน ศนู ยว์ จิ ยั และฝกึ อบรมดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มไดม้ กี ารศกึ ษาการ หรือถ้าไม่ต้องการใช้ยานั้นแล้ว ก็ควรน�ำไปบริจาคกับเภสัชกร ปนเปอ้ื นของผลติ ภณั ฑย์ าและผลติ ภณั ฑด์ แู ลสขุ ภาพ ทป่ี นเปอ้ื น หรือแพทย์เพื่อมอบให้ผู้ป่วยท่ีต้องการใช้แต่ขาดแคลนก�ำลัง ในแม่น�้ำสายหลัก และในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของประเทศไทย ทรัพยไ์ ด้ พบว่ามีกลุ่มยาปฏิชีวนะปนเปื้อนในแม่น้�ำมากกว่ายาชนิดอ่ืน ยาท่ีเสื่อมหรือหมดอายุ...จะจัดการกับมันอย่างไร? อยา่ งไรกต็ ามความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งของผลกระทบของยาตอ่ การก�ำจัดยาเหลือใช้อย่างถูกต้องเพ่ือหลีกเล่ียงกรณีมีคนอื่น สง่ิ มชี วี ติ ในนำ�้ และจลุ นิ ทรยี ย์ งั มนี อ้ ยมาก โดยเฉพาะในเรอื่ งของ เก็บไปใช้และเกิดอันตราย หรือเพ่ือการทิ้งอย่างปลอดภัยกับ การด้ือยาของจุลินทรีย์ การศึกษาความเป็นพิษของยาต่อ สิง่ แวดล้อม มีดงั น้ี ส่ิงมีชีวิตเหล่านี้จึงมีความส�ำคัญในการที่จะท�ำให้มีข้อมูล เพอื่ ใชป้ ระโยชนใ์ นการปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ ประโยชนใ์ นดา้ นการบรหิ ารจัดการการใชย้ าในประเทศไทย ทม่ี า: iSยาtoใcนkส/Tิง่ แhวinดkลst้อoมck.com เอกสารอา้ งอิง [1] สำ� นกั ยา สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เขา้ ถงึ ไดจ้ ากเว็บไซต์ http://drug.fda.moph.go.th/zone_search/files/sea001_001.asp http://drug.fda.moph.go.th/zone_mixs/mix001.asp No.32 January 2016

เรื่องเดน่ ประจำ�ฉบับ 11 ดร.วาลกิ า เศวตโยธนิ ความเป็นพษิ ของ เภสัชภณั ฑใ์ นสิ่งแวดลอ้ ม ยาเขา้ สู่สิง่ แวดลอ้ มไดอ้ ย่างไร ของการย่อยสลายยาของแต่ละบุคคลซ่ึงขึ้นอยู่กับ อายุ เพศ เมื่อประชาชนรับประทานยา กระบวนการเผาผลาญ สุขภาพ ในภาพรวมยาจะแพร่กระจายไปในส่ิงแวดล้อมจนกว่า ยาส่วนเกินถูกขับถ่ายออกจากร่างกาย จึงมีการตรวจพบ จะมีมาตรการป้องกันและการเพิ่มประสิทธิภาพในการบ�ำบัด สารประกอบของยาในนำ้� เสยี และสงิ่ ทม่ี นษุ ยข์ บั ถา่ ยออกมาลงสู่ นำ�้ เสีย ระบบบำ� บดั นำ�้ เสยี เมอ่ื ระบบบำ� บดั ไมไ่ ดอ้ อกแบบเพอื่ บำ� บดั สาร ตัวยาหลายพันชนิดถูกใช้หลากหลายวัตถุประสงค์ ยา เคมที ม่ี หี ลากหลาย รวมถงึ ยาและสารทเ่ี กดิ จากการเผาผลาญยา หลายชนิดควรจัดอยู่ในขยะอันตราย และไม่ควรลงสู่ระบบ มนุษย์ปล่อยยาลงสู่ส่ิงแวดล้อมโดยการขับถ่าย การทิ้ง บ�ำบัด สรรพคณุ ของยาก็สามารถทำ� ใหย้ ามีความเปน็ พษิ ถึงแม้ ยาทไี่ มต่ อ้ งการใชล้ งในทอ่ ระบายนำ้� และชกั โครก การขบั ถา่ ยสง่ิ มปี รมิ าณนอ้ ยเมอ่ื ลงสแู่ หลง่ นำ้� ยาบางตวั สามารถเปน็ พษิ สงู เชน่ ทีร่ า่ งกายไม่ต้องการ การดดู ซึมของแต่ละบคุ คล ความสามารถ สารประกอบท่มี ีรังสสี �ำหรบั ทำ� ลายเซลล์ ยาสลบ ยาชา ยาทาง ดา้ นพนั ธุวศิ วกรรม ยาตา้ นเช้อื ไวรัส ยาเหล่านมี้ ีความเปน็ ไปได้ ในการเกดิ ผลกระทบรุนแรง เชน่ มะเรง็ เป็นพษิ ตอ่ อวัยวะ การ แท้ง การกลายพันธุ์ การสืบพันธุ์ การเกิดอุบัติเหตุเนื่องจาก ฤทธ์ิยา วัตถดุ บิ ในการผลิตยา สารต้ังตน้ ตวั ท�ำปฏกิ ิริยา ตัวท�ำ ละลาย ตัวเร่งปฏิกิริยาในการผลิตยา ตัวยาเองก็เป็นวัตถุมีพิษ จึงควรระมัดระวงั ไมใ่ หย้ าลงสรู่ ะบบบ�ำบดั นำ�้ เสยี รปู ท่ี 1 ทมี่ า: www.the-scientist.com ความเสี่ยงทเ่ี กดิ จากผลกระทบของเภสชั ภัณฑ์ ผลกระทบของยาจะแตกต่างตามธรรมชาติของมลพิษ นน้ั ๆ แม้ว่าในปริมาณน้อยก็สามารถทำ� ปฏิกิรยิ าในระดบั เซลล์ ของผู้ได้รบั ยานน้ั และสง่ ผลกระทบทางชวี ะภาพ และอาจส่งผล กระทบด้านลบต่อผู้ที่ไม่ได้รับยานั้นโดยตรง ทางด้านพิษวิทยา สงิ่ แวดลอ้ ม จะเนน้ ในเรอื่ งความเปน็ พษิ แบบเฉยี บพลนั มากกวา่ ผลกระทบจากความเป็นพิษแบบสะสม No.32 January 2016

12 เร่อื งเดน่ ประจำ�ฉบับ ผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตในน้�ำเป็นประเด็นหลักที่ให้ ท่ีสามารถออกฤทธ์ิได้จะส่งผลกระทบต่อต่อมไร้ท่อ มีรายงาน ความส�ำคัญ สิ่งมีชีวิตในน�้ำจะได้รับผลกระทบมากกว่า มนุษย์ หลายฉบับที่เตือนถึงผลกระทบต่อการเปล่ียนเพศของปลา ใน เน่ืองจากได้รับยาอย่างต่อเน่ือง และยาวนานจากรุ่นสู่รุ่นและ แมน่ ำ�้ และลำ� ธารหลายแหง่ การยบั ยงั้ การทำ� งานของตอ่ มไรท้ อ่ สะสมในปริมาณสูงข้ึน จากน�้ำเสียที่ไม่ผ่านการบ�ำบัดถึงแม้ว่า ส่งผลด้านลบต่อการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ ยับย้ัง จะมีการปนเปื้อนในปริมาณน้อย เน่ืองจากยาในส่ิงแวดล้อม การพัฒนาการของสมอง ระบบประสาท การตอบสนองต่อ ตรวจพบในปรมิ าณน้อย มคี วามต้องการในการตรวจวเิ คราะห์ สิง่ แวดล้อม ผลกระทบต่อระบบสมอง ความซับซ้อนเนื่องจากการสะสม นอกจากน้ี Sanchez et al., 2011 พบวา่ ปลาชนดิ หน่ึง ข้อมูลด้านพิษวิทยามีน้อย จึงต้องการข้อมูลสนับสนุนว่ายาถึง ที่อาศยั ในแม่น�้ำ French Dore ทีไ่ หลผา่ นโรงงานผลติ ยา 80 % แม้ว่าจะมีปรมิ าณนอ้ ยแต่อาจส่งผลกระทบได้ ของปลามกี ารเปลยี่ นเพศ เมอ่ื เทยี บกบั ปลาชนดิ นท้ี อ่ี ยเู่ หนอื นำ�้ ขึ้นไป มีการเปล่ียนเพศเพียง 5% จากการทดสอบปลา zebra fish เพ่ือติดตามปรากฏการณ์อย่างละเอียด ในห้องปฏิบัติการ พบว่า การเปลี่ยนเพศในประชากรปลาส่งผลกระทบต่อความ ส�ำเร็จในการสืบพันธุ์ ในภาพรวม เช่นเดียวกับผลการทดสอบ ของ Van Aerle et al., 2001 ในประเทศองั กฤษ ในแม่นำ้� Aire และ Lea ที่ไหลผา่ นระบบบำ� บัดน้ำ� เสีย สามารถสรุปได้ว่า การ เปล่ยี นเพศเกดิ กับปลาหลายชนดิ ความเสีย่ งต่อการสูญพนั ธ์ Foster et al., 2010 รายงานการขัดขวางการท�ำงานของ ต่อมไรท้ อ่ กระทบต่อวงจรการผสมพนั ธุ์และความส�ำเร็จในการ ผสมพนั ธข์ุ องประชากรปลา กบและปลามคี วามออ่ นไหวตอ่ การ ปนเป้อื นของยาลดความซมึ เศรา้ เช่น Prozac ส่งผลให้ตวั ออ่ น รปู ท่ี 2 ทีม่ า: (UAAUS-H2O-http://www.uasus-h2o/modules/2015/ มพี ัฒนาการลา่ ชา้ Painter et al., 2009 พบวา่ ยาดงั กล่าวท�ำให้ environmental-imp) กบและปลา หลบหลีกศัตรูล่าช้า ผลกระทบของสัตว์ป่าที่ได้รับ การเปล่ียนเพศของปลา ยาที่มีการใช้บ่อย ในมนุษย์ และปล่อยลงระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ยาทขี่ บั ถา่ ยจากมนษุ ยแ์ ละฟารม์ ปศสุ ตั ว์ ลงสแู่ หลง่ นำ้� ใน เปน็ ระยะเวลานาน ในปริมาณทมี่ นี ัยสำ� คัญเป็นสิ่งทนี่ า่ กงั วลใจ ทส่ี ดุ ผลกระทบจากมลพษิ เหลา่ นเ้ี ปน็ สงิ่ ทเ่ี รายงั ไมท่ ราบทง้ั หมด มรี ายงานการคน้ พบทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เอสโตรเจนในแหลง่ นำ�้ ยาคมุ ความเสย่ี งตอ่ แบคทีเรยี ดอื้ ยาเกิดข้นึ ในสงิ่ แวดล้อม กำ� เนดิ ฮอรโ์ มนทใ่ี ชเ้ ปน็ ยา เอสโตรเจนในแหลง่ นำ�้ ทำ� ใหเ้ กดิ การ ในกรณีของฟาร์มปศุสัตว์ ที่มีสัตว์อาศัยอยู่เป็นจ�ำนวน เปลี่ยนเพศของปลาจากเพศผูเ้ ปน็ เพศเมยี มาก มีความเสี่ยงต่อการติดเช้ือ ในบางฟาร์มใช้ยาปฏิชีวนะท่ี ผลกระทบทางอ้อมต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตในน�้ำและดิน ความเข้มข้นต่�ำในการป้องกันโรคและผลผลิตที่ดี ยาปฏิชีวนะ เปน็ ผลกระทบทางออ้ มและสะสม เนอื่ งจากความตอ้ งการใชน้ ำ�้ มากกว่า 50 ชนิด ท่ีผลิตถูกใช้ในฟาร์มปศุสัตว์ การดื้อยา ความเข้มขน้ และความถี่ในการรบั สารพษิ ปฏิชีวนะของแบคทีเรียที่ได้รับยาที่ความเข้มข้นต�่ำเป็นระยะ เวลานาน ท�ำให้เกิดการกลายพันธุ์อย่างต่อเน่ืองของแบคทีเรีย จากการศึกษาผลกระทบของมลพิษปริมาณน้อยต่อสิ่ง แบคทีเรียจะปรับตัวเพ่ือความอยู่รอดจากยาที่ใช้รักษา มชี วี ติ ในนำ้� ของ Lin et al., 2002 ปลาและสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั ในปัจจุบันยาปฏิชีวนะบางตัวจะมีประสิทธิภาพลดลงในการ อาจไดร้ บั ผลกระทบจากวงจรชวี ติ ผหู้ ญงิ 100 ลา้ นคนทวั่ โลกใชย้ า รักษาโรค เมื่อแบคทีเรียด้ือยาเกิดข้ึนในส่ิงแวดล้อม จะอยู่และ คมุ กำ� เนดิ ทปี่ ระกอบดว้ ยฮอรโ์ มนเอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรน สร้างชุมชนของกลุ่มแบคทีเรียดื้อยา เช่น Escherichia coli และลงสู่ระบบบำ� บัดนำ�้ เสยี และสง่ิ แวดลอ้ ม Salmonella spp. Campylobacter spp. และ enterococci spp. จากสัตว์ สามารถตดิ ต่อสคู่ นไดห้ รือเขา้ หว่ งโซอ่ าหาร Ethinyl estradiol เป็นฮอรโ์ มนท่ีออกฤทธ์ทิ างชีวภาพ มี การใช้ในหลากหลายรูปแบบ เม่ือพบในสิ่งแวดล้อมในปริมาณ No.32 January 2016

เรื่องเด่นประจำ�ฉบบั 13 ตวั อย่างผลกระทบจาก Diclophenac 2546 และ พ.ศ. 2550 พบวา่ นกแรง้ คอขาว (Gyps bengalensis) Diclophenac [2-(2,6-dichloranilino) phenyl acetic acid] ลดลง 0.1% ในปี พ.ศ. 2533 นกแร้งพันธ์ุ Gyps indicus และ เป็นยาแก้ปวดและยาแก้อักเสบท่ีนิยมใช้ และขายท่ัวโลกใน พันธ์ุ Gyps tenuirostris ลดลง 3.2% จากเดิม หลายรูปแบบประมาณ 40 ย่หี อ้ หลังจากที่ Dutta et al., 2543 จากการพิสูจน์การตายของนกพบว่ามีผลึกกรดยูริกใน พบว่ายาสามารถขัดขวางการสังเคราะห์ DNA ของแบคทีเรีย อวัยวะภายใน ท�ำให้เกิดภาวะไตวาย ท�ำให้เชื่อว่านกแร้งอ่อน ของและต้านแบคทเี รียกลุ่มดอื้ ยาเช่น E. coli และ Salmonella ไหวตอ่ ยา diclophenac ทกี่ นิ ผา่ นซากสตั ว์ ถงึ แมว้ า่ diclophenac spp. จึงเปน็ ท่นี ิยมของสัตวแพทย์ ในประเทศอินเดียนยิ มใช้ใน จะถูกห้ามใช้ในกลุ่มประเทศเอเชียใต้ต้ังแต่ปีพ.ศ. 2549 จาก การรักษาและท�ำให้สตั ว์ สขุ ภาพดี ผลิตนมได้มาก การตดิ ตามตรวจสอบประชากรนกแรง้ พบวา่ ลดลงจนเหลอื นอ้ ย Wildlife Extra, 2555 รายงานว่าในประเทศอนิ เดียและ เป็นเพราะยังมีการใช้ในหลายรูปแบบ ตัวยาอ่ืนที่มีฤทธิ์ทางยา ปากีสถาน นิยมทิ้งซากสัตว์ในชนบทที่มีสัตว์ป่ากินเน้ือ โดย เหมอื นกันเช่น non-steroidal anti-inflammatory (NSAID) และ เฉพาะชมุ ชนนกแรง้ จากการสำ� รวจอยา่ งกวา้ งขวางในระหวา่ งปี meloxicam มคี วามเปน็ พษิ ต่อนกแร้งน้อยกว่า พ.ศ. 2534 ถงึ พ.ศ. 2536 และสำ� รวจครงั้ ที่ 2 ในปี พ.ศ.2545 ถงึ เอกสารอ้างอิง [1] Dutta, N.K., Annadurai, S., Mazumdar, K., Dastidar, S.G., Kristiansen, J.E., Molnar, J., Martins, M. and Amaral, L. (2543). The anti-bacterial action of diclofenac shown by inhibition of DNA synthesis. Int. J. Antimicrob Agents, 14(3): 249-251. [2] Foster, H.R., Burton, G.A., Basu, N. and Werner, E.E. (2010) Chronic exposure to fluoxetine (Prozac) causes developmental delays in Rana pipiens larvae. Environ Toxicol Chem., 12: 2845-2850. [3] Megan Scudellari, (2015 ) Drugging the Environment, The Scientist Eporing life, inspiring innovation, http://www.the-scientist.com [4] Sanchez, W., Sremski, W., Piccini, B., Palluel, O., Maillot-Maréchal, E., Betoulle, S., Jaffal, A., Aït-Aïssa, S., Brion, F., Thybaud, E., Hinfray, N. and Porcher, J.M. (2011) Adverse effects in wild fish living downstream from pharmaceutical manufacture discharges. Environment International, 37(8): 1342-1348. [5] Schultz, M.M. and Schoenfuss, H.L. (2009) Antidepressants at environmentally relevant concentrations affect predator avoidance behavior of larval fathead minnows (Pimephales promelas). Environ Toxicol Chem., 12: 2677-2684. [6] UAAUS-H2O-http://www.uasus-h2o/modules/2015/environmental-imp) [7] Van Aerle, R., Nolanusan, M., Jobling, S., Christiansen, L.B., Sumpter, J.P. and Tyler, C.R. (2001) Sexual disruption in a second species of wild cyprinid fish (the gudgeon, Gobio gobio) in United Kingdom freshwaters. Environmental Toxicology and Chemistry, 20: 2841-2847. [8] WildLife Extra (2012) Indian vulture crisis update - diclofenac still widely used. No.32 January 2016

14 ติดตามเฝา้ ระวัง จนิ ดารัตน์ เรืองโชตวิ ทิ ย์ “การทอ่ งเทีย่ วโดยชมุ ชน” ทางเลอื กเพอ่ื การแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมจากภาคการทอ่ งเท่ยี ว ผลกระทบของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ วตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและภาวะโลกร้อน คณะกรรมการของรฐั บาลนานาชาตวิ า่ ดว้ ยเรอ่ื งการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change -IPCC) ไดป้ ระเมนิ วา่ ภาคการทอ่ งเทยี่ วมสี ว่ นในการปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดโ์ ดยคดิ เปน็ 5% ของกา๊ ซเรอื นกระจกทงั้ หมด แมภ้ าคการทอ่ งเทยี่ วจะมสี ดั สว่ นในการปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดไ์ มม่ าก แตก่ าร ขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว การเพมิ่ จำ� นวนของนกั ทอ่ งเทย่ี วและการเดนิ ทางขา้ มประเทศ ทำ� ให้ กจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ วทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชว่ งไมก่ ส่ี ปั ดาหข์ องนกั ทอ่ งเทยี่ วกอ่ ใหเ้ กดิ การปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ มากกวา่ คนปกตทิ ใ่ี ชใ้ นหนงึ่ ชว่ งชวี ติ องคก์ ารทอ่ งเทยี่ วโลก (UNWTO) ไดป้ ระมาณการกจิ กรรมประเภทตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการทอ่ งเทย่ี วในการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ดงั นี้ การคมนาคมทางอากาศ 40% การคมนาคมทางบก 32% การคมนาคมขนสง่ อน่ื ๆ 3% ทพี่ กั แรม 21% และกจิ กรรมทอ่ งเทย่ี ว 4% การคมนาคม ทพี่ กั อาศยั การคมนาคมเปน็ หวั ใจสำ� คญั ของการทอ่ งเทย่ี ว การเดนิ ทาง เครื่องปรับอากาศเป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่สิ้นเปลือง ทางอากาศเป็นการเดินทางที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมา พลังงานมากท่ีสุด โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศของโรงแรม มากกวา่ การเดนิ ทางรปู แบบอน่ื ถงึ 2-4 เทา่ ในปจั จบุ นั ประเทศ และรสี อรท์ ทสี่ ว่ นมากจะเปดิ เครอื่ งปรบั อากาศทง้ิ ไวต้ ลอดเวลา ในแถบยโุ รปและออสเตรเลยี หลายประเทศ ไดเ้ รม่ิ มกี ารรณรงค์ ในบริเวณห้องโถง นอกจากน้ีโรงแรมและรีสอร์ทยังจ�ำเป็น ใหล้ ดการเดนิ ทางไปยงั ตา่ งประเทศทตี่ อ้ งเดนิ ทางทางเครอ่ื งบนิ ท่ีจะต้องใช้ทรัพยากรน�้ำจ�ำนวนมาก ส�ำหรับการอุปโภคและ เป็นระยะทางไกลๆ และหันมาท่องเท่ียวในประเทศ หรือท่อง บริโภค ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดขยะและของเสียจ�ำนวนมาก เที่ยวแถบประเทศเพ่ือนบ้านเพ่ิมข้ึน เพ่ือเป็นการช่วยลดการ หากว่าน้�ำเสีย ขยะ และของเสียดังกล่าวไม่ได้รับการบ�ำบัด ปล่อยก๊าซเรือนกระจก นอกจากนี้การขนส่งสินค้าเป็นอีกส่วน หรือก�ำจัดท่ีดี จะส่งผลให้เกิดก๊าซมีเทนซ่ึงเป็นหน่ึงในก๊าซที่ หนึ่งท่ีมีการใช้พลังงานอย่างมาก เม่ือมีนักท่องเท่ียวเดินทาง เป็นสาเหตุของภาวะโลกรอ้ นได้เช่นกัน นอกจากนีก้ ารก่อสรา้ ง เข้ามาท่องเท่ียวเพ่ิมมากขึ้น จ�ำนวนวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ โรงแรมจ�ำเป็นต้องใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติจ�ำนวนมาก อาทิ ต่างๆ ในพ้ืนที่อาจจะไม่เพียงพอ จึงท�ำให้ต้องสั่งซื้อจากพื้นท่ี ไม้ หิน น�้ำ และดิน อีกทั้งระหว่างการก่อสร้างก็จะต้องมีการ อื่นท�ำให้เกิดการขนส่งระยะไกล ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซ ขนสง่ ซง่ึ ตอ้ งใชพ้ ลงั งานจำ� นวนมาก และบอ่ ยครง้ั ทกี่ ารกอ่ สรา้ ง คารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากการขนสง่ สนิ คา้ หรอื ผลติ ภณั ฑด์ งั กลา่ ว ดงั กลา่ วจะเกดิ ขน้ึ ในพน้ื ทเ่ี สย่ี งทจี่ ะสง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ บรเิ วณชายฝง่ั ทะเล ซง่ึ จะทำ� ใหก้ ารกดั เซาะชายฝง่ั ทวคี วาม รนุ แรงมากข้ึน No.32 January 2016

ตดิ ตามเฝ้าระวงั 15 กจิ กรรมทอ่ งเทยี่ ว การประชุมระดับโลกเร่ืองสง่ิ แวดลอ้ มโลก (Earth Summit) นบั การนงั่ เรอื เทยี่ วชมธรรมชาตหิ รอื ดำ� นำ�้ เพอื่ ชมปะการงั ใต้ เป็นจุดเริ่มในการผลักดันความคิดเร่ือง “การพัฒนาท่ีย่ังยืน” ทะเล การสตาร์ทเครื่องยนต์เรือโดยสารแต่ละคร้ังสง่ ผลตอ่ การ ซึ่งมีอิทธิพลถึงการให้ความส�ำคัญเรื่อง “การท่องเที่ยวท่ียั่งยืน” เกิดคล่ืนกระทบกับชายฝั่ง ย่ิงมีเรือโดยสารจ�ำนวนมากจ�ำนวน จากกระแสการพัฒนาการท่องเท่ียว 3 ประการ คือ กระแส คล่ืนที่จะกระทบฝั่งก็จะเพ่ิมมากข้ึนด้วย ซ่ึงเป็นสาเหตุที่ท�ำให้ ความต้องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝ่งั ทะเล นอกจากนี้ ยังมปี ญั หาเร่อื ง กระแสความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทย่ี วทสี่ นใจการทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื คราบนำ้� มนั และเขมา่ ของนำ้� มนั เชอื้ เพลงิ จากการใชเ้ รอื โดยสาร การเรียนรู้ และกระแสความต้องการในการพัฒนาคนและให้ อกี ทง้ั การทนี่ กั ทอ่ งเทยี่ วขาดความชำ� นาญในการดำ� นำ้� ดปู ะการงั ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น การท่องเที่ยว น�้ำตื้น อาจส่งผลท�ำให้เกิดความเสียหายต่อปะการังและสัตว์ รปู แบบใหมๆ่ ทส่ี นองความตอ้ งการดงั กลา่ วของสงั คมจงึ เกดิ ขน้ึ นำ้� ได้ และมชี ื่อเรียกแตกตา่ งกนั ตามรูปแบบตา่ งๆ เหลา่ นั้น อาทิเช่น ธรุ กจิ สนามกอลฟ์ มกี ารใชท้ รพั ยากรและพลงั งานจำ� นวน • การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) หรือ มากในการก่อสร้าง ใช้ท่ีดินจ�ำนวนมาก ซ่ึงส่วนใหญ่จะสร้าง การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเท่ียวท่ีเน้นการสัมผัส บริเวณเนินเขา หรือชายทะเลเพื่อทัศนียภาพท่ีสวยงาม มีการ ธรรมชาติที่สมบูรณ์และมีกิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีเน้นการ ตัดต้นไม้เพื่อปรับพ้ืนท่ี มีการใช้น�้ำจ�ำนวนมากเพื่อรดน�้ำสนาม ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติให้อุดมสมบูรณ์ หญ้า และยังต้องมีการส�ำรองน้�ำไว้ใช้ตลอดทั้งปี การกักเก็บ ไมท่ �ำลายสง่ิ แวดลอ้ ม น�้ำไว้ใช้จะท�ำให้เกิดการแย่งชิงน�้ำกับภาคการเกษตร ท�ำให้เกิด • การทอ่ งเทย่ี วแบบโฮมสเตย์ (Home stay ) หรอื ภาษา ภาวะขาดแคลนนำ�้ ในทส่ี ดุ นอกจากนกี้ ารขดุ สระหรอื ขดุ เจาะบอ่ ราชการเรียกว่า “ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท” นักท่องเท่ียว บาดาลนนั้ อาจส่งผลใหเ้ กิดดนิ ทรุดตวั หรือยุบตัวได้ อาจมกี จิ กรรมทอ่ งเทย่ี วทห่ี ลากหลาย แตต่ อ้ งการพกั ในหมบู่ า้ น กิจกรรมการท่องเท่ียวก่อให้เกิดการทิ้งขยะมากมาย ชนบทหรอื ทพี่ กั ในบา้ นของคนในชมุ ชนทไี่ ดส้ มั ผสั กบั วถิ ที อ้ งถน่ิ หลายประเภท เชน่ จากบรรจภุ ณั ฑอ์ าหารและเศษอาหาร จาก โดยตรง ขวดน้�ำพลาสติก จากกระดาษช�ำระ และจากบรรจุภัณฑ์ต่างๆ • การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based เปน็ ตน้ การหมกั หมมของขยะมลู ฝอยกอ่ ใหเ้ กดิ กา๊ ซมเี ทนซง่ึ กอ่ Tourism - CBT) เปน็ ความพยายามหนึ่งของการสรา้ งทางเลือก ให้เกิดภาวะเรือนกระจกซ่ึงเป็นสาเหตุส�ำคัญของภาวะโลกร้อน ในการพัฒนาในประเด็นการท่องเที่ยวท่ีให้คนในชุมชนเข้ามามี อีกด้วย สว่ นรว่ มและไดร้ บั ประโยชนจ์ ากทอ่ งเทย่ี ว และมบี ทบาทในการ พฤติกรรมของนักท่องเท่ียวเองน้ันก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัย กำ� หนดทศิ ทางการพฒั นา ท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ภาวะโลกร้อน เช่น การเปิดแอรห์ รอื เปิดน�้ำทิง้ ไว้ใน การทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศ (Ecotourism) เขา้ มาเปน็ กระแสใหม่ หอ้ งพกั การบรโิ ภคอาหารหรอื ใชส้ นิ คา้ ทน่ี ำ� เขา้ จากตา่ งประเทศ และกระแสใหญใ่ นอุตสาหกรรมท่องเท่ียวไทย โดยการผลกั ดนั (สน้ิ เปลอื งพลงั งานในการขนสง่ ) เลอื กทจี่ ะเดนิ ทางโดยเครอ่ื งบนิ ของการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย (ททท.) ในขณะทก่ี ารทอ่ งเทย่ี ว เพื่อความสะดวกรวดเร็ว หรือเดินทางโดยใช้รถยนต์ในระยะ โดยชมุ ชน (Community Based Tourism - CBT) เริ่มกอ่ ตัวขึน้ ทางใกล้ๆ ที่สามารถเดินทางโดยจักรยานหรือการเดินได้ และ เม่ือการท่องเท่ียวเติบโตอย่างรวดเร็วจนเกินขีดความสามารถ ในการรองรบั ของแหลง่ ท่องเทย่ี ว และ/หรือการเพิ่มขน้ึ โดยขาด มาตรการการจดั การทด่ี ยี อ่ มหมายถงึ การเรง่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย กับส่ิงแวดลอ้ มและกระต้นุ การเกดิ ภาวะโลกร้อน ดังน้ัน การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจึงควร เติบโตควบคู่ไปกับการจัดการสิ่งแวดล้อมท่ีดี มีการให้ความรู้ แก่นักท่องเที่ยว และผู้ประกอบการรวมทั้งผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง กบั อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วในทกุ ภาคสว่ น เพอื่ สรา้ งจติ สำ� นกึ และความตระหนกั ในปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและภาวะโลกรอ้ น เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทยคงความงดงามของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วตามธรรมชาติ และช่วยลดผลกระทบตอ่ ภาวะโลกร้อนให้ไดม้ ากทีส่ ดุ และจาก ท่ีมา: (http://news.mthai.com/hot-news/414842.html) No.32 January 2016

16 ติดตามเฝ้าระวงั ความหมายของการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน (Community Based Tourism) คือการท่องเที่ยวท่ีค�ำนึงถึงความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ก�ำหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดย ชุมชน เพื่อชุมชนและชุมชนมีบทบาทเป็นเจ้าของมีสิทธิในการ จดั การดแู ลเพ่ือให้เกดิ การเรยี นรแู้ กผ่ ูม้ าเยอื น องคป์ ระกอบของการจดั การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม : ชมุ ชนมฐี าน ทรพั ยากรธรรมชาตทิ อี่ ดุ มสมบรู ณ์ และมวี ถิ กี ารผลติ ทพี่ ง่ึ พาและ ใชท้ รพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งยง่ั ยนื ชมุ ชนมวี ฒั นธรรมประเพณที ่ี เป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะถ่ิน ด้านองค์กรชุมชน : ชุมชนมีระบบสังคมที่เข้าใจกัน มี ปราชญ์หรือผู้มีความรู้ และทักษะในเร่ืองต่างๆ หลากหลาย ชุมชนรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ พฒั นา ด้านการเรียนรู้ : ลักษณะของกิจกรรมการท่องเที่ยว สามารถสรา้ งการรับรู้ และความเขา้ ใจในวถิ ีชีวติ และวฒั นธรรม ที่แตกต่าง มีระบบจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ระหว่าง ชาวบ้านกับผู้มาเยือน สร้างจิตส�ำนึกเร่ืองการอนุรักษ์ ท่ีมา: (http://travel.mthai.com/blog/84388.html/attachment/27022631) ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมทั้งในส่วนของชาวบ้านและ เติบโตคู่ขนานไปกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยสถาบันการ ผูม้ าเยือน ท่องเท่ียวโดยชุมชน เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคล่ือน จาก ดา้ นการจัดการ : มกี ฎ-กติกาในการจัดการส่งิ แวดลอ้ ม แนวคิดที่จะให้ชุมชนได้เข้ามามีบทบาทในการจัดการท่องเท่ียว วฒั นธรรม และการท่องเที่ยว มอี งค์กรหรือกลไกในการท�ำงาน มากข้ึน มีการก�ำหนดทิศทางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อจัดการท่องเที่ยว และสามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับ เพอ่ื ชมุ ชน และชมุ ชนมบี ทบาทเปน็ เจา้ ของ มสี ทิ ธใิ นการจดั การ การพัฒนาชุมชนโดยรวมได้ มีการกระจายผลประโยชน์ที่ ดแู ลเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรแู้ กผ่ มู้ าเยอื น โดยมองวา่ การทอ่ งเทย่ี ว เปน็ ธรรม มกี องทนุ ทเ่ี ออ้ื ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจ ตอ้ งท�ำงานครอบคลุม 5 ดา้ น พร้อมกัน ทัง้ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม แนวทางการบริหารจัดการ CBT : มอี งคป์ ระกอบทสี่ ำ� คญั คอื ท่องเที่ยวที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนถูกน�ำมาใช้เป็นเครื่อง ศักยภาพของคน ต้องเร่ิมท่ีคนในชุมชนท่ีจะต้องรู้จัก มือในการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น โดยอาศัยการร่วมแรง ร่วมใจของชุมชนเจา้ ของพ้ืนท่ีใหก้ ารสนบั สนุน ส่งเสรมิ อนรุ ักษ์ รากเหง้าของตนเองให้ดีเสียก่อน เพื่อความพร้อมในการบอก ทรพั ยากร และน�ำมาสร้างมูลคา่ เพ่ิมจากกิจกรรมทอ่ งเทย่ี ว อัน เลา่ ข้อมูลและคนในชุมชนตอ้ งมคี วามพร้อมทีจ่ ะเรยี นรู้ มีความ นำ� มาซงึ่ รายไดเ้ สรมิ ใหแ้ กค่ นในชมุ ชน อยา่ งไรกต็ าม การเตบิ โต สามัคคี ทำ� งานร่วมกันได้ ของกิจการท่องเท่ียวโดยชุมชนที่เกิดจากนโยบายการส่งเสริม การทอ่ งเทยี่ วจากบนลงลา่ ง (Top-Down) ของภาครฐั กอ่ ใหเ้ กดิ ศักยภาพของพ้ืนท่ี หมายรวมถึง ทรัพยากรธรรมชาติ ปญั หาหลายอยา่ งตามมา เชน่ ความขดั แยง้ จากการทำ� งานกลมุ่ และวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีสืบสานต่อกันมา และการเปลยี่ นแปลงรปู แบบการทอ่ งเทยี่ วจนทำ� ใหเ้ กดิ กทำ� ลาย คนในชุมชนต้องรู้จัก ต้องรักและหวงแหนเห็นคุณค่าของ วถิ ีชีวติ สังคมวฒั นธรรม และสง่ิ แวดล้อม ทรัพยากรในชุมชนของตน สามารถท่ีจะน�ำมาจัดการได้อย่าง คุ้มคา่ และยัง่ ยืน ทงั้ น้แี ล้วชุมชนต้องมีความพร้อมในการเรยี นรู้ ตลอดจนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องแนวคิด พื้นฐานทาง ดา้ นการทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชน และการจดั การในพ้นื ท่ไี ดด้ ว้ ย No.32 January 2016

ตดิ ตามเฝา้ ระวงั 17 การจดั การ เปน็ เรอื่ งทไ่ี มง่ า่ ยนกั ทจี่ ะทำ� อะไร เพอ่ื ใหเ้ กดิ 3. ชมุ ชนตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการจดั ตง้ั องคก์ รภายในชมุ ชน ประโยชนส์ งู สดุ เกดิ ความยงั่ ยนื สมดลุ ในกลมุ่ คนหมมู่ าก ดงั นนั้ เพ่ือรับผิดชอบกิจกรรมนี้ หรือผลักดันให้องค์กรชุมชนอ่ืนท่ี ชุมชนที่จะสามารถบริหารจัดการ การท่องเที่ยวโดยชุมชน : พจิ ารณาแลว้ วา่ มคี วามพรอ้ มทำ� หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบเปน็ หนว่ ยงาน “Community-based Tourism : CBT” ไดต้ อ้ งเปน็ ชมุ ชนทม่ี ผี นู้ ำ� ท่ี หน่ึงขององค์กรนั้นๆ แต่ท้ังน้ีการด�ำเนินการขององค์กรต้อง เปน็ ทยี่ อมรบั มคี วามคดิ มวี สิ ยั ทศั น์ ความเขา้ ใจเรอ่ื งการทอ่ งเทย่ี ว เปน็ ไปดว้ ยความโปรง่ ใส เพราะมผี ลประโยชนท์ เ่ี ขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง โดยชุมชน ทั้งยังต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานทั้งภาค 4. การพจิ ารณาเอกลกั ษณเ์ ฉพาะถนิ่ หรอื ของดใี นชมุ ชน รัฐท่ีเก่ียวข้อง ต้องมีการพูดคุยก�ำหนดแนวทางในการเตรียม เพอ่ื จดั ปรบั เปน็ กจิ กรรมทอ่ งเทยี่ วใหส้ อดคลอ้ งตอ่ ชมุ ชน สง่ ผลกระทบ ความพร้อมชุมชน รู้ว่าพ้ืนท่ีของตนจะมีรูปแบบการท่องเที่ยว ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและวฒั นธรรมใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ เทา่ ทส่ี ามารถจะทำ� ได้ อย่างยั่งยืนได้อย่างไร ควรมีกิจกรรมอะไรบ้าง และจะมีการ 5. ความพรอ้ มของผทู้ สี่ นใจจะเกย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมทอ่ งเทย่ี ว กระจาย จดั สรรรายได้อย่างไร สิ่งสำ� คญั ทีส่ ุดของการท่องเทย่ี ว จะมีบทบาทหลากหลายมากขึ้น คือจะมีผู้ที่เกี่ยวข้องกับท่ีพัก โดยชมุ ชนกค็ อื การมสี ว่ นรว่ ม อนั หมายรวมถงึ ในทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง อาหาร การดูแลความปลอดภัย การน�ำพานักท่องเทยี่ ว การสือ่ เพ่ือส่วนรวม ความหมาย และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้องไม่ใช่กระจุกตัวอยู่ การมสี ว่ นรว่ ม การสอื่ สารพดู คยุ เปน็ การสอื่ ความคดิ เหน็ เฉพาะกลุ่มแกนน�ำภายในชุมชนเท่านั้น ควรมีระบบกระจายท่ี การถกปัญหา รวมถึงการหาทางแก้ไขปัญหาต่างๆ จากการ ทวั่ ถงึ และเปน็ ธรรม ระดมความคดิ จากประสบการณข์ องนกั วจิ ยั ทอ้ งถน่ิ พบวา่ ชมุ ชน 6. การเสรมิ สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ จัดให้มีเวทีพูดคุย ร่วมกันคิดวางแผนด�ำเนินการ ประสานงาน จริง เพื่อสามารถจัดปรับกระบวนการให้เหมาะสม สอดคล้อง กับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการท�ำงานร่วมกัน สร้าง ยงิ่ ขนึ้ และรว่ มแกไ้ ขปญั หาทเี่ กย่ี วขอ้ ง ตลอดจนการลดผลกระทบ กฎระเบยี บของชมุ ชนทางดา้ นต่างๆ เพื่อใหค้ นในชุมชนรวมถงึ ของการท่องเท่ียวในคร้ังต่อไป ผมู้ าเยือนปฏบิ ตั ิตาม 7. ประสบการณท์ กั ษะในการจดั การทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชน ท่ีต้องบูรณาการความต้องการ ความเพลิดเพลิน ความตื่นตัว การประเมนิ ความเปน็ ไปไดข้ องการจดั การทอ่ งเทย่ี ว และการเรียนรู้ ให้เป็นโปรแกรมและกิจกรรมการท่องเที่ยวท่ี โดยชมุ ชน เหมาะสมของแต่ละพนื้ ท่ี การประเมินว่า การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนน้ัน มี ความเป็นไปได้มากน้อยเพียงไร สามารถท�ำได้โดยการร่วมกัน ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชน อภปิ ราย ระดมความคดิ เหน็ จากชมุ ชนใหก้ วา้ งขวางจนสามารถ 1. การท่องเท่ียวโดยชุมชน (CBT) มีส่วนสนับสนุน สรุปด้วยมติของชุมชนเอง ซึ่งมีองค์ประกอบการประเมินอยู่ 7 การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติโดยชมุ ชน ประการด้วยกัน คอื “ความอยู่รอดของชุมชนขึ้นอยู่กับฐานทรัพยากร 1. ผู้น�ำชุมชนและแกนน�ำชุมชน สามารถวิเคราะห์ ธรรมชาตวิ ถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรมของคนทอ้ งถน่ิ มคี วามเชอื่ มโยง สถานการณ์ภายนอก และสภาพปัญหาชุมชนตลอดจนมอง ผูกพันกับทรัพยากร ดิน น�้ำ และป่า” CBT เป็นเครื่องมือ แนวทางแก้ไขปัญหาได้แบบชัดเจน และมองกิจกรรมการ ในการส่งเสริมการจัดการทรัพยากรอย่างย่ังยืน ทั้งการสร้าง ท่องเท่ียวเป็นกิจกรรมหน่ึง หรือกิจกรรมร่วมเช่ือมต่อทิศทาง การแกไ้ ขปญั หาโดยภาพรวมของชมุ ชนได้ แลว้ จงึ ไดก้ ำ� หนดเปน็ วัตถุประสงค์เปา้ หมายการท�ำกจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี ว 2. การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนทง้ั หมด เนอ่ื งจากเปน็ เรอื่ งท่ี ตอ้ งเกยี่ วขอ้ งกบั สทิ ธขิ องชมุ ชน การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรมชมุ ชนท่ีชมุ ชน ต้องมีการคิดไตร่ตรองวินิจฉัย และร่วมตัดสินใจจะเปิดหมู่บ้าน รองรับอย่างไร ควรเป็นรูปแบบใด ใครบ้างที่เกี่ยวข้อง ใครมี บทบาทจัดการอย่างไร และภายหลังนักท่องเท่ียวกลับแล้วมี การลดผลกระทบอยา่ งไร ดว้ ยวธิ กี ารใด ตลอดจนการแบง่ ปนั ผล ประโยชนภ์ ายในชุมชน No.32 January 2016

18 ตดิ ตามเฝา้ ระวัง ที่มา: (http://dmdc.rmutl.ac.th/academic_details.php?academic_ ท่มี า: (http://travel.mthai.com/region/central/102645.html/attachmer) services_id=309) ความภาคภูมิใจให้กับชุมชนในการเผยแพร่ภูมิปัญญาในการ มีกระบวนการในการจัดการความรู้ภายในชุมชน มีการพัฒนา จัดการทรัพยากร ส่ือสารปัญหาความขัดแย้งในการแย่งชิง ทักษะและเพิ่มเติมความรู้ใหม่ให้กับสมาชิกในชุมชนในการ ทรัพยากรให้คนภายนอกได้รับทราบ สร้างสรรค์กิจกรรมการ บริหารจัดการท่องเท่ียว สร้างความม่ันใจในการพูดคุยแลก ท่องเท่ียวให้ผู้มาเยือนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ จัดสรรรายได้ เปล่ียนกับคนภายนอก มีความเช่ือมั่นให้คนในชุมชนในการ จากการท่องเที่ยวสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาชุมชน สร้าง น�ำเสนอ “ปัญหาและความต้องการ” กับหน่วยงานภายนอก ความร่วมมือของหน่วยงานในการท�ำงานเป็นพันธมิตรร่วมกับ น�ำเสนอประสบการณ์และความส�ำเร็จในการพัฒนากับคนและ ชมุ ชนในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม หน่วยงานที่มาศึกษา-ดูงาน นอกจากเป็นการพัฒนา “คนใน” 2. การท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT) มีส่วนสนับสนุน แล้วยังให้การศกึ ษากบั “คนนอก” ด้วย การฟืน้ ฟวู ัฒนธรรมท้องถ่ิน 4. การท่องเท่ียวโดยชุมชน (CBT) มีส่วนสนับสนุน “วิถีชีวิตและวัฒนธรรม เป็นสิ่งท่ีบอกถึงอัตลักษณ์ เศรษฐกิจชุมชนและคุณภาพชวี ติ คนท้องถ่ิน ความเปน็ ชมุ ชน ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนจะทำ� ใหช้ มุ ชนสามารถ “การท่องเที่ยวเป็นการดึงคนจากภายนอกมาเรียนรู้ ปรับตัวให้อยู่ในสังคม โดยท่ียังคงอนุรักษ์วัฒนธรรมและปรับ ชุมชน แรงจูงใจที่ท�ำให้นักท่องเที่ยวเข้ามาในชุมชนคือ วิถีชีวิต ประยุกต์ให้สอดคล้องกับยุคสมัย มีการสืบทอดสู่คนรุ่นหลังได้ ที่แตกตา่ ง และวัฒนธรรมด้ังเดมิ จุดดึงดดู คือวถิ ที เี่ รียบงา่ ยและ อย่างต่อเนอื่ ง” CBT เปน็ เคร่อื งมอื ในการสร้างความภาคภูมใิ จ มกี ารดำ� รงชวี ติ ทผ่ี กู พนั กบั ธรรมชาติ การทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชนจงึ ใหก้ บั ชาวบา้ นในการน�ำเสนอ “ของดีชุมชน” ใหค้ นภายนอกได้ เป็นรายได้เสริม ท่ีสามารถน�ำรายได้นั้นไปปรับปรุงท่ีอยู่อาศัย รบั รู้ ท�ำให้เกดิ การสบื คน้ ถา่ ยทอด และฟ้ืนฟูวัฒนธรรมจากรนุ่ การออมทรัพย์ไว้ใช้ยามขาดแคลน เจ็บป่วย หรือเป็นทุนการ สู่รุ่น ชุมชนมีการบริหารจัดการและร่วมกันก�ำหนดว่าวิถีชีวิต ศึกษาให้กับลูกหลาน โดยท่ีชาวบ้านยังคงด�ำเนินวิถีด้ังเดิมหรือ และวัฒนธรรมอะไรบ้างที่ชุมชนพรอ้ มในการนำ� เสนอและสร้าง เป็นการสร้างทางเลือกเรื่องรายได้ให้กับบางครอบครัว ในการ การเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน ตลอดจนมีแนวทางปฏิบัติตัวส�ำหรับ สร้างอาชีพเสริมท่ีเก่ียวเนื่องกับการท่องเท่ียว สร้างงานให้กับ นกั ทอ่ งเท่ยี ว คนในชุมชนการท่องเที่ยวโดยชุมชนยังเป็นเคร่ืองมือในการ 3. เทยี่ วโดยชมุ ชน (CBT) มสี ว่ นสนบั สนนุ การพฒั นาคน พัฒนาเรื่องความสะอาด และสขุ อนามยั นอกจากน้ี เมือ่ ชมุ ชน “ความภาคภูมิใจในความเป็นท้องถ่ิน หรือชาติพันธุ์ เรม่ิ เปน็ ทรี่ จู้ กั กจ็ ะมหี นว่ ยงานลงไปสนบั สนนุ เรอื่ งอปุ โภคบรโิ ภค” ของตน ความร่วมมือและความสามัคคีของคนในชุมชน การมี การที่การท่องเท่ียวเป็นเพียงรายได้เสริม ท�ำให้ชาวบ้านไม่คิด พน้ื ทท่ี างสงั คม ไดร้ บั การยอมรบั จากคนภายนอก เปน็ หวั ใจสำ� คญั พ่ึงพารายได้หลักจากการท่องเท่ียว และสามารถด�ำรงชีวิตได้ ของการด�ำรงไว้ซึ่งความเป็นชุมชน” CBT ช่วยให้คนในชุมชน อย่างปกตติ ่อเน่ืองไมว่ ่าจะมีนักทอ่ งเทย่ี วมาเทีย่ วหรอื ไมก่ ็ตาม ได้มีส่วนร่วมและก�ำหนดบทบาทของชุมชนต่อการท่องเท่ียว No.32 January 2016

ติดตามเฝา้ ระวัง 19 ผลกระทบจากการทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชน : “Community- อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังมีบทบาทส�ำคัญในการกระตุ้น based Tourism : CBT” เศรษฐกจิ ไทยใหฟ้ น้ื ตวั ในชว่ งวกิ ฤตเศรษฐกจิ ในแตล่ ะปกี ารทอ่ งเทยี่ ว 1. ผลกระทบดา้ นบวก สง่ ผลใหช้ มุ ชนมจี ติ สำ� นกึ เกดิ การ น�ำเงนิ เข้าประเทศหลายแสนล้านบาท พัฒนาตนเอง พึง่ พาตนเอง คิดเปน็ ท�ำเปน็ มคี วามพยายามใน 2. ผลกระทบด้านลบ เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ การเรยี นรพู้ ฒั นา เกดิ รายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ มกี ารรวมตวั กนั สรา้ งความ จำ� นวนขยะทเ่ี พมิ่ มากขน้ึ จากนกั ทอ่ งเทยี่ ว การใชน้ ำ้� ระบบนเิ วศ เขม้ แขง็ ในชมุ ชน นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาที่ย่ังยนื ตามความคาดหวัง ธรรมชาติ การรบั วฒั นธรรมทเ่ี ขา้ มาอยา่ งรวดเรว็ เกดิ กระแสการ และความพยายามท่ีจะด�ำเนินการเพื่อให้เป็นตามหลักการ เลียนแบบ มีความขัดแย้งทางความคิด เสียความเป็นส่วนตัว พัฒนาอย่างยั่งยืน 3 ด้าน ได้แก่ 1) ดา้ นเศรษฐกจิ 2) ด้านสงั คม ในการที่จะต้องรองรับนักท่องเที่ยว และท่ีส�ำคัญคืออาจถึง วัฒนธรรม 3) ส่ิงแวดล้อม และสิ่งส�ำคัญประการหน่ึงท่ีจะน�ำ กับสูญเสียเอกลักษณ์ของท้องถิ่น หากมีการตอบสนองความ ไปสคู่ วามยัง่ ยืนคือการรวบรวมองคค์ วามรู้ ภมู ิปัญญา สบื สาน ต้องการของนักท่องเที่ยวมากเกินไป ในส่วนการตลาดน้ัน สืบทอด ตลอดจนการน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ เกิดความรักความ แต่ละชุมชนจะต้องให้ข้อมูลแนะน�ำชุมชนตนเองและชุมชนอ่ืน ภาคภูมิในความรู้สึกเป็นเจ้าของ มีส่วนร่วมในทรัพยากรของ ท่ีถูกต้องและน่าสนใจแก่นักท่องเท่ียว และท่ีน่าภูมิใจส�ำหรับ ชุมชน และเกิดกระบวนการเรยี นรกู้ ารทำ� งานร่วมกนั ชุมชนคือ การรกั ษแ์ ละหวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติ วฒั นธรรม การทอ่ งเทยี่ วยงั สรา้ งความตระหนกั ถงึ คณุ คา่ สง่ิ แวดลอ้ ม ประเพณี ภูมิปัญญาบรรพบุรุษท่ีสืบต่อกันมา แต่ชุมชนไม่ เกดิ การกระตนุ้ ใหค้ นในชมุ ชนตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของสงิ่ แวดลอ้ ม ได้ละทิ้งพ้ืนฐานเดิม หรือปรับเปล่ียนวิถีชีวิตไปตามกระแส ซึ่งเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยว ใช้รายได้จากการท่องเที่ยวมา วัฒนธรรม และไม่ได้มุ่งหวังรายได้จากการท่องเท่ียวท่ีจะได้ให้ สนบั สนนุ ในการดแู ลรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม อนั เปน็ การนำ� ทรพั ยากร เป็นรายได้หลักของชุมชนโดยละท้ิงอาชีพดั้งเดิมที่จะเป็นการที่ การทอ่ งเทยี่ วมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ นอกเหนอื จากนน้ั จะปรบั ตวั เพ่ือรองรับกระแสการทอ่ งเทีย่ วทเ่ี ข้าไปในชมุ ชน เอกสารอา้ งอิง เพชรศรี นนท์ศริ .ิ 2553. รูปแบบการด�ำเนนิ งานของกลุม่ ท่องเทยี่ วโดยชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง Pattern of Community-Based Tourism Operation in the Lower Northern Thailand. (เอกสารเผยแพร่) วีระพล ทองมา. การทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชน (Community Based Tourism: CBT) ส�ำหรบั การพฒั นาคุณภาพ ชวี ิตของชมุ ชนในเขตที่ดินป่าไม้. เชียงใหม่ : คณะพัฒนาการท่องเทีย่ ว มหาวิทยาลัยแม่โจ.้ (เอกสารเผยแพร)่ http://www. Cbt-i.org (สบื ค้นเมื่อวันที่ 29 ตลุ าคม 2558) No.32 January 2016

20 ติดตามเฝา้ ระวงั รฐั เรืองโชติวทิ ย์ ปญั หาหมอกควนั ทไี่ มเ่ คยจบสิ้น จากปญั หาหมอกควนั ทผี่ า่ นมาเปน็ วกิ ฤตคอ่ นขา้ งรนุ แรง ยง่ิ มคี วามรนุ แรงมากขนึ้ ในปี 2558 การจดั การแกไ้ ขปญั หา ต้องมีการใช้องค์ความรู้ที่ถูกต้อง หากการแก้ไขปัญหาท่ีไม่ได้ใช้ความรู้ท่ีถูกต้องหรือใช้ความรู้สึกแทนนั้นจะท�ำให้การแก้ ปัญหาเป็นไปอย่างไร้ทิศทาง และบางครั้งอาจท�ำให้เกิดปัญหาเพิ่มขึ้นได้อีก ส�ำหรับมลพิษทางอากาศมี 2 แหล่งก�ำเนิด คอื 1) เกิดตามธรรมชาติ 2) เกดิ จากการกระทำ� ของมนษุ ย์ สำ� หรบั ประเทศไทยนน้ั มสี ภาพภมู อิ ากาศรอ้ นชนื้ ดงั นน้ั สาเหตุ ท่เี กดิ จากธรรมชาติจึงเปน็ ไปไดย้ าก ท่จี ะมีการเสยี ดสีและท�ำใหเ้ กิดไฟลุกไหม้ไดเ้ องเมื่อเปรยี บเทยี บกับเขตอเมรกิ าหรอื ยโุ รปซงึ่ ฤดหู นาวจะมคี วามชน้ื ตำ่� มาก ซงึ่ อาจจะเกดิ การลกุ ไหมโ้ ดยธรรมชาตไิ ด้ ฉะนนั้ สาเหตทุ เี่ กดิ จากธรรมชาตมิ โี อกาส น้อยมาก จงึ มุง่ ประเด็นไปท่ีสาเหตุจากการกระท�ำของมนุษย์ สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศท่ีส�ำคัญในประเทศ โดยสาเหตุหลัก 3 สาเหตุนั้น เกิดทุกวันและเกิดทั้งปี แบง่ ได้ 4 สาเหตุ ดงั น้ี จึงมีตัวเลขดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศท่ีมีอยู่ในระดับหน่ึงท่ีเป็น 1. การจราจร โดยมลพิษมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง พืน้ ฐานอย่แู ล้ว จากการติดตามตรวจวดั อยา่ งต่อเนื่อง ของเครื่องยนต์ เช่น รถยนต์ รถไฟ และเครอ่ื งบนิ ซึง่ เกดิ ทกุ วัน ดังนั้นการจัดการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ เร่ือง และทงั้ ปี โดยคา่ PM10 เฉล่ียอยทู่ ่ี 20-30 มคก./ลบ.ม. หมอกควัน จึงควรที่จะพิจารณาให้ครอบคลุมทั้ง 4 สาเหตุ 2. โรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นขนาด ดังที่กล่าวไว้แลว้ ใหญ่และขนาดเล็ก โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าชีวมวลทั้งขนาดใหญ่ ตวั อยา่ งการเกดิ หมอกควนั ในกรงุ ลอนดอน ปี ค.ศ. 1923 และขนาดเลก็ และอกี ประเดน็ หนงึ่ คอื โรงงานอตุ สาหกรรมขนาด ซ่ึงเกิดอย่างรุนแรงเน่ืองมาจากการเผาไหม้ถ่านหินท�ำให้เกิด เล็กท่ีเป็น SME เนื่องจากส่วนใหญ่มุ่งเน้นเพื่อลดต้นทุนโดย มลพิษทางอากาศท้ัง PM10 และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ขาดการตระหนักในเร่ืองสิ่งแวดล้อม เช่น โรงอบไม้ โรงเผาอิฐ และเมือ่ ท�ำปฏิกริ ยิ ากับความชน้ื ทำ� ใหเ้ ป็นกรด ประชาชนจงึ สูด เซรามิกส์ เป็นตน้ หายใจเอากรดเขา้ ไป สง่ ผลใหค้ นลม้ ปว่ ยและเสยี ชวี ติ เปน็ จำ� นวน 3. การเผาขยะของชุมชน เนื่องจากการจัดการปัญหา มาก และจากเหตกุ ารณด์ งั กลา่ วกรงุ ลอนดอนไดม้ มี าตรการแกไ้ ข ดา้ นขยะยงั ไมด่ เี ท่าท่ีควร จงึ ทำ� ใหช้ มุ ชนตอ้ งจดั การปญั หาขยะ ปญั หาอยา่ งจรงิ จงั โดยการยา้ ยโรงงานทใ่ี ชถ้ า่ นหนิ และหนั มาใช้ ดว้ ยตนเอง คือ การเผา พลังงานที่สะอาด จงึ ท�ำให้สามารถลดปัญหาเร่อื งหมอกควนั ใน 4. การเผาปา่ การเผาในการเกษตรกรรม ซง่ึ จะเกดิ ใน กรงุ ลอนดอนไดอ้ ยา่ งมากจนถงึ ปจั จบุ นั ในขณะทปี่ ระเทศไทยยงั ช่วง 4 เดอื นแรกของปี ตง้ั แต่ มกราคม-เมษายน แมว้ ่าจะเป็น ไม่มกี ารสรปุ บทเรยี นนี้เพื่อนำ� มาแก้ปัญหาหมอกควัน ชว่ งสั้นๆ ของปี แตว่ ่ามีปรมิ าณหมอกควนั มหาศาล No.32 January 2016

ตดิ ตามเฝ้าระวงั 21 หรอื อยา่ งกรณนี ครปกั กง่ิ ประเทศสาธารณรฐั ประชาชน จนี ทมี่ ปี ญั หาหมอกควนั จากการจราจรหนาแนน่ จนเปน็ ปญั หา ผลกระทบทางสขุ ภาพเรอื้ รงั หลายประเทศประกาศหา้ มเดนิ ทาง ทอ่ งเทยี่ วในพน้ื ทเี่ มอื งใหญข่ องประเทศจนี โดยเฉพาะกลมุ่ เสยี่ ง อย่าง เด็กและคนชรา ท้ังนี้มลพิษทางอากาศในเขตเมืองมีการ สะสมอยา่ งยาวนานและรนุ แรง จงึ ตอ้ งมกี ารจดั การอยา่ งจรงิ จงั ในการแก้ไขปัญหาการจราจรในเมืองใหญ่เพ่ือไม่ให้มลพิษเกิน กว่าค่ามาตรฐานและมีผลกระทบอย่างรนุ แรง ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพษิ ทางอากาศ มลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาไหม้น้ันมีหลายชนิด เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และ แกส๊ ทุตยิ ภูมิ เชน่ โอโซน (O3) และสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน โดยเฉพาะปริมาณไฮโดรคาร์บอนยังมีการศึกษาไม่มากนัก รูปที่ 1 แสดงสถานการณห์ มอกควันไฟปา่ ในปี พ.ศ. 2558 ซ่ึงมลพิษเหลา่ นีส้ ่งกระทบต่อระบบตา่ งๆ ของร่างกาย ดงั นี้ จากรูปท่ี 1 เป็นตัวอย่างท่ีบอกถึงสาเหตุการเกิดไฟป่า ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) โดยเฉพาะส่งผลกระทบ ได้ชัดเจน นั่นคอื เกดิ โดยมนุษยเ์ ป็นคนเผาป่า เป็นการยืนยนั ว่า ตอ่ ระบบทางเดนิ หายใจ ยงิ่ ฝนุ่ มขี นาดเลก็ มากยงิ่ จะทำ� อนั ตราย สาเหตขุ องการเผาทสี่ ำ� คญั มาจากการปลกู ขา้ วโพด จากภาพจะ มากขน้ึ ฝุน่ ทีม่ ขี นาดเลก็ กวา่ 1 ไมครอน จะสามารถดูดซมึ เขา้ เห็นเป็นเส้นไฟที่คนจุดเป็นแนวโดยการใช้จุดธูปผูกติดกับกล่อง กระแสเลือดได้ สามารถท�ำอันตรายต่อทุกระบบของร่างกาย ไม้ขีดไฟ แล้วต้ังไว้ตามจุดต่างๆ และข้อสังเกตหน่ึงในด้านล่าง ได้ อีกทัง้ ยงั ท�ำอนั ตรายตอ่ ระบบเลอื ด เป็นสาเหตใุ ห้กลา้ มเนื้อ ของแนวไฟจะเห็นท่ีเป็นสีน�้ำตาล ในขณะที่ด้านบนเป็นสีเขียว หวั ใจตายได้ และยงั เปน็ อนั ตรายตอ่ ตาและผวิ หนงั โดยมผี ลการ ซ่ึงสีน้�ำตาลที่เห็นคือต้นไม้ท่ีตายแล้ว เพราะถูกฉีดพ่นด้วย วิจัยล่าสุดพบว่าฝุ่นท�ำให้เกิดเส้นเลือดอุดตันในสมองอีกด้วย ยาฆ่าหญา้ มาก่อนแล้ว โดยจะพ่นในเดอื นพฤศจกิ ายน และทิ้ง เป็นอันตรายต่อ ทารกในครรภ์ อาจท�ำให้คลอดก่อนก�ำหนด ไว้ประมาณ 3 เดือน แล้วท�ำการเผา ก็จะได้พ้ืนท่ีในการปลูก หรือเด็กมีความผิดปกติในอัตราท่ีสูงข้ึน และประเด็นท่ีมักจะ ข้าวโพด ท้ังน้ีเป็นผลสืบเนื่องมากจากวิกฤตราคาน�้ำมันแพง ถูกละเลยคือโรคเหล่านีเ้ ปน็ โรคเรื้อรังซึง่ ตอ้ งใช้ระยะเวลา 10 ปี จึงได้มีการคิดค้นไบโอดีเซลและเอทานอลขึ้นมา ท�ำให้บาง จงึ จะแสดงอาการ ทำ� ใหข้ าดความตระหนกั ในเรอื่ งปญั หาสขุ ภาพ ประเทศเลกิ ปลูกพืชอาหาร และหันมาปลกู พืชพลงั งานทดแทน ดงั กลา่ ว งานวจิ ยั ตา่ งๆ เหลา่ นจ้ี งึ สำ� คญั เปน็ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะเปน็ ตวั เช่น ข้าวโพดและอ้อย เพื่อน�ำไปผลิตไบโอดีเซลและเอทานอล บ่งช้ถี งึ อนั ตรายของฝุน่ ได้ ซง่ึ ใหร้ าคาดกี วา่ ทำ� ใหเ้ กดิ วกิ ฤตขาดแคลนอาหาร (Food Crisis) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มีคุณสมบัติเป็นกรด เมื่อ จงึ มกี ลมุ่ นกั ลงทนุ ในตา่ งประเทศเขา้ มาสง่ เสรมิ การปลกู ขา้ วโพด หายใจเข้าไป เหมือนกับการสาดกรดเข้าไปในระบบทางเดิน อาหารสัตว์เป็นจ�ำนวนมากในประเทศไทย หลายจังหวัดปลูก หายใจ จึงท�ำให้เสียชีวิตเพราะระบบหายใจล้มเหลวได้ และยัง ข้าวโพดกันอย่างกว้างขวางบางจังหวัดปลูกข้าวโพดทั้งจังหวัด สามารถท�ำอนั ตรายกบั เดก็ ในครรภ์ได้ เช่น ในจังหวัดน่าน เหล่านี้คือสาเหตุว่าท�ำไมจึงมีการปลูกโพด ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) เป็นปฏิกิริยาระหว่าง กันเป็นจ�ำนวนมาก และท�ำให้เกิดปัญหาไฟป่า หมอกควันใน ออกซิเจนและไนโตนเจน ซ่ึงเป็นองค์ประกอบหลักของอากาศ ปัจจุบัน นอกจากนี้ ปัญหาหมอกควันและไฟป่า ยังท�ำให้เกิด ที่เราหายใจเข้าไป เม่ือได้รับความร้อนก็จะเกิดปฏิกิริยาร่วมกัน กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นปรมิ าณทส่ี งู มาก ซงึ่ หากไมด่ ำ� เนนิ การ กลายเป็นไนโตรเจนออกไซด์ ซ่งึ เป็นสารกอ่ มะเร็งและส่งผลต่อ เร่งแกไ้ ขปัญหาในอนาคต และสิง่ ทตี่ ้องการเห็นคอื ประเทศไทย ทารกในครรภ์ จ�ำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องแก้ไขปัญหาการเผาป่า ถูกขึ้น Blacklist ในเรื่องของการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเรง่ ด่วน ซงึ่ เปน็ สาเหตขุ องโลกรอ้ น เพราะถา้ ถกู บบี บงั คบั โดยตา่ งชาตจิ ะ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีคุณสมบัติในการจับ ท�ำใหป้ ระเทศไทยมกี ารจดั การดีมากกว่าการจดั การด้วยตัวเอง เมด็ เลอื ดแดงไดด้ ี ดงั นน้ั หากหายใจเอากา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ No.32 January 2016

22 ติดตามเฝา้ ระวงั เขา้ ไปมากจะทำ� ใหร้ า่ งกายขาดออกซเิ จน เชอ่ื มโยงไปยงั การเกดิ จึงมใิ ชส่ าเหตเุ ดยี วทที่ ำ� ใหเ้ กดิ โรคมะเรง็ ปอดตอ้ งมสี าเหตหุ มอก ภาวะโรคหวั ใจและ ทำ� อนั ตรายตอ่ เดก็ ในครรภ์ และจะทำ� ใหเ้ ดก็ ควนั เป็นสาเหตุเพิ่มเข้ามา ท�ำให้อัตราการป่วยมะเร็งปอดของ มีน�ำ้ หนักแรกคลอดน้อย ภาคเหนือสูงที่สุด เนื่องจากในภาคเหนือมีการเผามานับร้อยปี โอโซน (O3) เป็นการท�ำปฏิกิริยาของไนโตรเจนได จึงท�ำให้มีการหายใจสูดหมอกควันสะสมมาเป็นระยะเวลานาน ออกไซด์ ความรอ้ น และแสงอาทิตย์ อีกทั้งยังพบว่าผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดมักจะไม่เข้ารับการรักษาใน สารประกอบไฮโดรคาร์บอน โดยเฉพาะ PAH (สารก่อ โรงพยาบาลเมอ่ื ทราบวา่ ปว่ ย เพราะเชอ่ื วา่ อยา่ งไรตอ้ งเสยี ชวี ติ มะเร็ง) พบมากในฤดรู ้อนถึง 70% เปน็ ช่วงท่มี ีการเผาสูงมาก อยแู่ ลว้ ดงั นนั้ ตวั เลขผปู้ ว่ ยทแี่ ทจ้ รงิ นนั้ จะตอ้ งสงู กวา่ 40 คนตอ่ มลสารตา่ งๆ ขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคกล่มุ เดียว ประชากรแสนคนอย่างแน่นอน ซึ่งสูงมากเม่ือเปรียบเทียบกับ และสารชนดิ เดยี วสามารถทำ� ใหเ้ กดิ โรคในรา่ งกายไดห้ ลายระบบ ค่าเฉล่ียอุบัติการณ์ป่วยของประเทศไทยอยู่ที่ 10 คนต่อ เพราะเกิดการเสริมฤทธ์ิกัน ดงั น้นั จึงทำ� ให้เกดิ โรคชนิดเดยี วกนั ประชากรแสนคน และโรคหลายโรคไปพร้อมๆ กัน มีการรายงานที่ชัดเจนว่า ดังนั้นการจัดการปัญหาหมอกควันไฟป่าจะต้องมี ภาคเหนือมีอัตราการเป็นมะเร็งปอดสูงท่ีสุดในประเทศไทย องค์ประกอบหลัก 3 ประการ ดังน้ีคือ 1) องค์ความรู้ 2) การ โดยเฉพาะในจงั หวัดล�ำปางสงู ทสี่ ุด รองลงมา คอื จังหวัดลำ� พูน เคลือ่ นไหวทางสังคม 3) นโยบายของรัฐทีช่ ดั เจน รฐั ต้องจริงจงั และจังหวดั เชยี งใหม่ ตามล�ำดับ โดยมีอุบตั กิ ารณ์ของโรคมะเร็ง มีการบูรณาการในทุกภาคหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันคิด ในภาคเหนืออยู่ท่ี 40 คนต่อประชากรแสนคน หากพิจารณา แกไ้ ขปัญหา มีการวางแผนทั้งในระยะสนั้ ระยะยาว จงึ จ�ำเป็นที่ สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปอดจากบุหร่ีแล้วพบว่าภาคที่มี ทกุ ฝา่ ยตอ้ งชว่ ยกนั ทงั้ ในระดบั นโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จงั อัตราการสูบบุหรสี่ งู สุดนน้ั เปน็ ภาคใต้ รองลงมา คือ ภาคอสี าน เพื่อลดปัญหาหมอกควันให้ได้ผลจากการวางแผนระยะสั้นและ และภาคเหนือเป็นอันดับสามของประเทศไทย ฉะนั้นบุหรี่ ระยะยาว ภาพแสดง ทศิ ทางของมลพิษทางอากาศท่ลี อยตัวและมีทิศทาง ภาพแสดง จดุ hotspot ท่ีเกิดหมอกควันทางภาคเหนอื ของประเทศไทย ตามกระแสลม ที่มา สำ� นกั จดั การคณุ ภาพอากาศ กรมควบคมุ มลพษิ พ.ย. 2557 การติดตามอต้างรอวจิงจสาอกบคเอุณกภสาาพรปอราะกกาอศบกกรามรคบวรบรยคาุมยมลพษิ 2558 เอกสารอ้างองิ กรมควบคมุ มลพษิ สำ� นักจัดการคุณภาพอากาศ. 2558 การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ภาคเหนอื (สิงหาคม 2558), เอกสารประกอบการบรรยาย. กรุงเทพฯ : ส�ำนักจดั การคุณภาพอากาศ กรมควบคุมมลพิษ. กรมควบคมุ มลพิษ. 2558. รายงานสถานการณม์ ลพษิ 2557 กรุงเทพฯ : กรมควบคมุ มลพษิ . รัฐ เรืองโชตวิ ทิ ย์. 2558. การจดั การสงิ่ แวดลอ้ มเมือง, เอกสารประกอบการบรรยายนกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ วิทยาเขตรังสิต. No.32 January 2016

ติดตามเฝา้ ระวัง 23 ดร. สดุ า อทิ ธสิ ุภรณร์ ตั น์ และ ดร. วาลิกา เศวตโยธนิ ผลกระทบของ การดื้อยาปฏชิ วี นะในสิง่ แวดล้อม ในปจั จบุ นั ผลกระทบของการดอ้ื ยาปฏชิ วี นะ (Antibiotic Resistance) หรอื การดอ้ื ยาตา้ นจลุ ชพี (Antimicrobial Resistance: AMR) เปน็ ปญั หาทที่ ว่ั โลกกำ� ลงั ใหค้ วามสำ� คญั ในระดบั ตน้ ๆ เนอ่ื งจากกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชน โดยทเี่ มอ่ื ผปู้ ว่ ย มกี ารตดิ เชอ้ื ดอ้ื ยา ยาทท่ี ำ� การรกั ษาเดมิ จะไมม่ ปี ระสทิ ธผิ ล จำ� เปน็ ตอ้ งใชย้ าทม่ี คี วามแรงของฤทธย์ าเพม่ิ ขน้ึ หรอื ยาทที่ ำ� การคดิ คน้ ขนึ้ ใหมจ่ งึ จะทำ� การรกั ษาได้ ไดม้ กี ารประมาณการวา่ ในปี 2050 หรอื ในอกี 35 ปขี า้ งหนา้ จะมผี ปู้ ว่ ยเสยี ชวี ติ ราวๆ 10 ลา้ นคนตอ่ ปี จากการติดเช้ือที่ด้ือต่อยาต้านจุลชีพ ซ่ึงเป็นจ�ำนวนท่ีสูงกว่าการเสียชีวิตเนื่องจากการท่ีผู้ป่วยเป็นมะเร็ง ดังรูปที่ 1 โดยผู้ป่วยท่ี เสยี ชวี ิตจะมาจากทวปี เอเชียมากทส่ี ดุ ถึง 4,730,000 คน รองลงมา คือ ทวีปแอฟริกา 4,150,000 คน ดังรปู ที่ 2 ซึ่งในประเทศไทย มกี ารประมาณการวา่ ในแตล่ ะปคี นไทยตดิ เชอื้ แบคทเี รยี ดอื้ ยาประมาณ 88,000 คน และเสยี ชวี ติ จากเชอื้ เหลา่ นป้ี ระมาณ 38,000 คน คดิ เป็นความเสียหายทัง้ ทางตรงและทางออ้ มรวมกันถึง 46,000 ลา้ นบาท(1) รูปท่ี 1 การประมาณการผ้ปู R่วยesทis่เี สtaียnชcีวeติ 2ใน01ป4ี )2050 (Review on Microbial รปู ที่ 2 การประมาณการผแทู้ ต่อี ล่ าะจปจี ะในเสปยี ี ช2ีว0ติ5อ0ันเนอื่ งมาจากการดอ้ื ยาใน สาเหตุของการดือ้ ยา การออกฤทธห์ิ รอื การทำ� งานของยาปฏชิ วี นะ อาจจะเปน็ เพยี งการยบั ยงั้ การเจรญิ เตบิ โตของเชอื้ หรอื ฆา่ เชอื้ ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถ เจริญเตบิ โต หรอื แบ่งเซลลต์ อ่ ไปได้ ซึง่ การออกฤทธ์ขิ องยาปฏชิ ีวนะ แบง่ เป็น 4 กลไก(2) ได้แก่      1. ยับยัง้ การสรา้ งผนงั เซลล์ของแบคทเี รีย ไดแ้ ก่ ยาในกลุม่ beta-lactam เชน่ penicillins และ cephalosporins      2. ยับย้ังการท�ำงานของเอนไซม์ในแบคทเี รยี ไดแ้ ก่ ยาในกลมุ่ quinolones      3. ยบั ยง้ั การสงั เคราะห์โปรตีนของแบคทีเรยี ได้แก่ ยาในกลมุ่ tetracyclines, chloramphenicals และ macrolides      4. ยบั ยงั้ กระบวนการสรา้ งสารอาหารและพลงั งานของแบคทเี รยี ไดแ้ ก่ ยาในกลมุ่ sulfamethoxazole และ trimethoprim No.32 January 2016

24 ติดตามเฝ้าระวัง โดยสว่ นใหญย่ าปฏชิ วี นะทใ่ี ชร้ กั ษาโรคโดยทวั่ ไป สามารถ ปนเปื้อนของสารผลิตภัณฑ์ทางยาจากน้�ำท้ิงชุมชน และโรง หาซ้ือได้ง่ายตามร้านขายยา ซ่ึงท�ำให้ขาดการควบคุมปริมาณ พยาบาลในน�้ำทิ้งและน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดแล้ว(5),(6) และยังมี การใช้ยาที่เหมาะสม ประกอบกับมีการใช้ยาเกินความจ�ำเป็น รายงานวา่ พบการปนเปอื้ นของยาปฏชิ วี นะหลายประเภท รวม หรือบางทีเป็นการใช้ยาผิดประเภทกับโรคท่ีเป็น หรือการรับ ท้ังแบคทีเรียท่ีด้ือยาปนเปื้อนบริเวณแม่น้�ำเจ้าพระยาด้วย โดย ประทานยาไมค่ รบเทอม ทำ� ใหเ้ ปน็ สาเหตหุ น่ึงของการด้ือยาใน เฉพาะแบคทีเรียดื้อยา เช่น Escherichia coli พบว่ามีการปน ผู้ป่วยได้ เนื่องจากแบคทีเรียสามารถสร้างเอ็นไซม์ท่ีท�ำให้ลด เปื้อนค่อนข้างสูงในบริเวณแหล่งชุมชน(7) ในขณะเดียวกันไม่ ความแรงของฤทธ์ิยาหรือเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ เฉพาะกับคนเท่านั้นที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะ ในฟาร์มปศุสัตว์ เซลลท์ ำ� ใหย้ าปฏชิ วี นะไมส่ ามารถยบั ยงั้ การเจรญิ ของแบคทเี รยี ได้แก่ ฟาร์มสุกร ฟาร์มไก่ และฟาร์มเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำ อย่าง ได(้3) โดยแบคทเี รยี ทด่ี อ้ื ตอ่ ยาน้ี ยงั มกี ลไกการสง่ ผา่ นการดอ้ื ยา ฟาร์มปลาและกุ้งก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นเดียวกัน ไม่เฉพาะ ไปให้กับแบคทีเรียชนิดอ่ืนที่มีอยู่ในธรรมชาติท�ำให้เกิดการ ส�ำหรับวัตถุประสงค์เพื่อการรักษาโรคเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน ดอื้ ยาได(้4) ซงึ่ การสง่ ผา่ นรหสั พนั ธกุ รรมทดี่ อ้ื ตอ่ ยานี้ (antibiotic ยังใช้ประโยชน์เพื่อเร่งอัตราการเจริญเติบโตของสัตว์ด้วย จาก resistance DNA) ดังรูปท่ี 3 ซง่ึ สามารถทำ� การทดสอบลกั ษณะ ผลการศึกษาในหลายๆ พื้นท่ี พบว่ามีการพบยาปฏิชีวนะและ ของแบคทีเรียท่ีดื้อยาโดยสังเกตได้จากแบคทีเรียสามารถเจริญ แบคทีเรียด้ือยาหลายประเภทปนเปื้อนในน�้ำท้ิงที่ออกจาก เตบิ โตได้บนอาหารเล้ียงเชื้อทมี่ ียาปฏิชวี นะอยู่ (ขวา) ในขณะท่ี ฟาร์มทั้งท่ีมีการบ�ำบัดแล้วและไม่มีผ่านการบ�ำบัดก็ตาม(8) ซ่ึง แบคทเี รยี ทไ่ี วตอ่ ยาจะสงั เกตเหน็ เปน็ วงใสรอบๆ กระดาษทผี่ สม แบคทเี รยี ทดี่ อ้ื ยา สามารถแพรก่ ระจายไดท้ ง้ั ในเนอ้ื สตั วท์ น่ี ำ� มา ความเขม้ ขน้ ของยาปฏิชวี นะไว้ (ซ้าย) ดงั รปู ที่ 4 ปรงุ อาหาร และในผลติ ภณั ฑท์ างเกษตรกรรมจากการใชป้ ยุ๋ คอก จนถงึ ผบู้ รโิ ภค ดังรูปที่ 5 รปู ที่ 3 การสง่ ผา่ นของสารพนั ธุกรรมทดี่ อื้ ต่อยาในแบคทเี รีย (http://www.bbc.com/news/health-34857015) รูปท่ี 4 ลกั ษณะการทดสอบการดื้อยาปฏชิ ีวนะของเชอ้ื แบคทีเรยี : รูปที่ 5 การแพร่กระจายของเชื้อดอ้ื ยาจากต้นทาง (ฟารม์ ปศุสตั ว)์ จนถงึ ผู้ แบคทwีเiรkียimทe่ไี วdตia่อ.oยrาg/(wซiา้kยi/F) iแleล:Aะnแtบibคioทtiเี cร_ียsทe่ีดnือ้siตtv่อityย_าan(ขdว_าre) s(histttapnsc:/e/c.JoPmGm) ons. บริโภค (http://www.cdc.gov/foodsafety/from-farm-to-table.html) การวิจัยเพื่อบ�ำบัดและควบคุมการแพร่กระจายแบคทีเรีย การปนเปอ้ื นในส่งิ แวดลอ้ ม ด้ือยาปฏชิ ีวนะ จากท่กี ล่าวข้างต้น ยาปฏิชีวนะต่างๆ สามารถปนเปอื้ น ในแง่ของการควบคุมและป้องกันการด้ือยาต้านจุลชีพ ลงสู่ส่ิงแวดล้อมได้โดยการขับถ่าย ซึ่งที่ยาปฏิชีวนะหลาย นั้น ทั้งในโรงพยาบาลและในฟาร์มปศุสัตว์ ตามบทบาทของ ประเภทมีความคงตัวสูง ท�ำให้ย่อยสลายได้ยาก จากผลการ กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดม้ ีการ ศึกษาของศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม พบว่ามีการ ก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์ส�ำหรับการควบคุมและการเฝ้าระวัง No.32 January 2016

ตดิ ตามเฝ้าระวัง 25 อย่างเปน็ รปู ธรรม ทั้งการรณรงคใ์ ห้มีการใชย้ าต้านจลุ ชีพอย่าง ต่อระบบนิเวศและประชาชนเมื่อมีการระบายทิ้งลงสู่แหล่งน�้ำ เหมาะสม และสร้างความตระหนักแก่สังคมถึงภัยของการใช้ ธรรมชาติในระยะแรก รวมไปถึงวิธีการบ�ำบัดท่ีเหมาะสม ซ่ึง ยาต้านจุลชีพ อย่างไรก็ตามการปนเปื้อนของยาปฏิชีวนะหรือ ผลการศกึ ษาทผี่ า่ นมา รว่ มกบั ทางมหาวทิ ยาลยั วาเซดะ ประเทศ ยาต้านจุลชีพในสิ่งแวดล้อม ก็เป็นปัญหาสำ� คัญท่ีส่งผลกระทบ ญี่ปุ่น พบว่า พืชน�้ำที่มีการใช้ในระบบบ�ำบัดน้�ำเสียแบบบึง ท�ำให้เกิดการแพร่กระจายของแบคทีเรียท่ีดื้อยาจากแหล่ง ประดิษฐ์ นอกจากท่ีจะท�ำการบ�ำบัดสารอินทรีย์ได้เป็นอย่างดี ก�ำเนิดไปสู่แบคทีเรียพื้นถ่ินท่ีมีอยู่ในธรรมชาติ ซึ่งควรมีการ ยังสามารถท�ำการบ�ำบัดสารผลิตภัณฑ์ทางยาได้ โดยการผลิต ศึกษาวิจัย เพื่อท�ำให้ทราบถึงสถานการณ์การแพร่กระจายที่ เอน็ ไซมอ์ อกซเิ ดส และสารออกซไิ ดสบ์ างตวั ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ า เกิดขึ้น กลไกการคงตัว และสะสมในส่ิงแวดล้อม การประเมิน ไบโอเฟนตันส�ำหรับการย่อยสลายสารผลิตภัณฑ์ทางยาได้ ความเสี่ยงจากผลกระทบของแบคทีเรียด้ือยาต่อระบบนิเวศ อย่างมีประสิทธภาพ(9) ดังรูปที่ 6 จึงมีแผนที่จะท�ำการศึกษา รวมถึงการพัฒนาวิธีการบ�ำบัดท่ีเหมาะสม ทั้งยาปฏิชีวนะท่ี ในรายละเอียดถึงสภาวะที่เหมาะสมส�ำหรับการบ�ำบัดสาร ปนเปอ้ื น และแบคทเี รยี ดอื้ ยาเหลา่ นี้ ศนู ยว์ จิ ยั และฝกึ อบรมดา้ น ดังกล่าวในระยะต่อไป โดยมีความคาดหวังว่า ข้อมูลทาง สง่ิ แวดลอ้ ม กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ไดม้ แี ผนทจ่ี ะทำ� การ วิชาการที่ได้จะมีส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนการบริหารจัดการ ศกึ ษาสถานการณก์ ารปนเปอ้ื นยาปฏชิ วี นะ แบคทเี รยี ดอ้ื ยาจาก การควบคุมและป้องกันถึงผลกระทบและปัญหาที่อาจเกิดขึ้น แหล่งก�ำเนิด ได้แก่ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียชุมชนแต่ละประเภท จากการดื้อยาปฏชิ วี นะในส่ิงแวดลอ้ มได้ และจากฟาร์มปศุสัตว์ เพื่อน�ำไปใช้ในการประเมินความเส่ียง รูปท่ี 6 ปฏิกิรยิ าการผลติ สาร OH-radical ตรวจจับดว้ ย AFP (aminophenyl fluorescein) ทท่ี ำ� ใหเ้ กิดไบโอเฟนตนั สำ� หรับการบำ� บัดสารปฏชิ ีวนะทำ� การทดสอบจากรากพืชของต้นจอกญปี่ ่นุ (Amazon frogbit) (http://www.tropicalfishkeeping.com/profiles/amazon-frogbit) เอกสารอ้างอิง [1] เจาะลกึ สุขภาพ. 2558. เชอ้ื ด้ือยา “ในสงครามกบั แบคทีเรีย มนุษยก์ �ำลงั เปน็ ฝา่ ยพา่ ยแพ้”. เข้าถึงได้จาก http://www.hfocus.org/ content/2015/11/11253 [2] ชลุ ีพร บุตรโคตร. จ้รี .พ.เลกิ ให้ยาปฏิชวี นะพร่�ำเพร่อื พบคนไทยเส่ยี งติดเชื้อ-ด้อื ยาเพมิ่ . เข้าถึงได้จาก http://www.thaihof.org/main/article/ detail/2555 [3] วีรวรรณ ลวุ รี ะ. การดอ้ื ยาปฏิชีวนะของแบคทเี รยี . สงขลานครนิ ทรเ์ วชสาร ปีท่ี 24 ฉบับท่ี 5 ก.ย.-ต.ค. 2549, 453-459. [4] Hong, P.Y., Al-Jassim, N., Ansari, M. I., Mackie, R. I. 2013. Environmental and public health implications of water reuse: antibiotics, antibiotic resistance bacteria, and antibiotic resistance genes. Antibiotics,2: 367-399. [5] Chaminda, T., Furumai, H., Sawaittayotin, V. 2013. Evaluation of pharmaceutical and personal care products (PPCPs) in downstream of Chao Phraya and in raw sewage in Thailand. 5th Southeast Asia Water Environment, IWA publishing, UK: 159-164. [6] วาลกิ า เศวตโยธิน และ สดุ า อทิ ธิสภุ รณร์ ตั น.์ 2558. การปนเปอื้ นของสารกลมุ่ ผลิตภัณฑ์ยาและผลติ ภณั ฑด์ แู ลสุขภาพในแม่น้�ำบางปะกง. Green Research, ปีท่2ี ฉบบั ท่ี 11: หน้า 8-12. [7] Honda, R., Watanabe, T., Sawaittayotin, V., Masago, Y., Chulasak, R., Tanong, K., Chaminda, G. T., Wongsila, K., Sienglum, C., Sunthonwattahanaphong, V., Poonnotok, A., Chiemchaisri, W., Chiemchaisri, C., Furumai, K., Yamamoto, K. 2015. Impacts of urbanization on the prevalence of antibiotic-resistant Escherichia coli in the Chaophraya River and its tributaries. Water Sci. Technol. Accepted. [8] Boonyasiri A., Tangkoskul T., Seenama C., Saiyarin J., Tiengrim S., Thamlikitkul V. 2014. Prevalence of antibiotic resistant bacteria in healthy adults, foods, food animals, and the environment in selected areas in Thailand. Pathogens and Global Health 108:235–245. [9] Reis, A. R., Sakakibara, Y. 2012. Enzymatic degradation of endocrine-disrupting chemicals in aquatic plants and relations to biological Fenton reaction. Water Sci. Technol. 66(4): 775-782. No.32 January 2016

26 กา้ วหนา้ พฒั นา จตุรงค์ เหลาแหลม เทคโนโลยีที่เหมาะสม ตอ่ การฟื้นฟดู นิ ทีป่ นเปอ้ื นโลหะหนัก การฟน้ื ฟพู นื้ ทป่ี นเปอ้ื น (Site Remediation) คอื การปรบั บ�ำบัดอาจขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น สภาวะแวดล้อม สภาพพ้ืนที่ที่ได้รับการปนเปื้อนสารพิษหรือของเสียอันตราย ปริมาณความเข้มข้นของสารปนเปื้อน (ธเรศ ศรีสถิตย์, 2558) โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการโดยใช้กลไกลทาง โดยวิธีนี้จะใช้ส�ำหรับสารเคมีหรือสารมลพิษท่ีมีส่วนประกอบ เคร่ืองยนต์การผลิตหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ ส่วนใหญ่เป็นพวกสารอินทรีย์หรือสารที่สามารถย่อยสลาย เพื่อใช้ในการลด เจือจางหรือหมดไป จนไม่ท�ำให้เกิดอันตราย ได้เองตามธรรมชาติหรืออาจจะใช้วิธีการบ�ำบัดทางชีวภาพ ต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และส่งิ แวดล้อม (เกษม จันทรแ์ กว้ , 2544, (Bioremediation) ก็ได้ การย่อยสลายเองตามธรรมชาติ แสดง กรมโรงงานอตสาหกรรม, 2553) เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมตอ่ การ ดังรูปท่ี 1 แสดงให้เห็นว่าการย่อยสลายแบบไร้ออกซิเจน พบ ฟ้นื ฟูดินมีดงั น้ี มากกว่าการย่อยสลายแบบใช้ออกซิเจน ดังน้ันสิ่งจ�ำเป็นใน 1. Monitored Natural Attenuation (MNA) เป็น การย่อยสลายรูปแบบน้ี ได้แก่ nitrate, sulfate, ferric iron, เทคนิคการปล่อยให้เกิดการย่อยสลายเองตามธรรมชาติ โดย manganeseและ carbon dioxide (USEPA, 2004:IX-2-IX-3) การติดตามตรวจวัดเป็นระยะ ทั้งน้ีประสิทธิภาพของการ รปู ท่ี 1 ภาพจำ� ลองการเกิด Monitored Natural Attenuation (ที่มา: http://www.sanierungsverfahren.de/sanverfahren/insitu5.html) No.32 January 2016

กา้ วหน้าพัฒนา 27 2. การเปล่ียนรูปให้เป็นของแข็งและการปรับเสถียร ท่ีจะใช้บ�ำบัดได้กับดินทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นดินเหนียว ดิน (Stabilization and solidification) คือ กระบวนการเปล่ยี นรปู โคลน หรือดินทราย ข้อดีของวิธีน้ี คือ ค่าใช้จ่ายค่อนข้างต่�ำ ทางเคมีของสารปนเปื้อนเพื่อให้เกิดการจับหรือการจับตัวกัน และเป็นวิธีที่นิยมใช้กันแพร่หลายและสารเติมแต่งราคาไม่สูง ให้อยู่ในรูปแบบของแข็งของสารปนเปื้อนท่ีอยู่ในดินซึ่งเกิดจาก และนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นพน้ื ทห่ี ลากหลาย สว่ นขอ้ จำ� กดั คอื สาร กระบวนการทางกายภาพ วิธีน้ีไม่ได้เป็นวิธีแยกหรือก�ำจัดสาร ปนเปื้อนไม่ได้ถูกท�ำลาย ปริมาตรของดินที่ได้รับการบ�ำบัดนั้น มลพษิ ออกจากดนิ เปน็ วธิ กี ารปอ้ งกนั หรอื ทำ� ใหส้ ารปนเปอ้ื นในดนิ อาจเพิ่มมากข้ึนอย่างเห็นได้พร้อมกับปริมาณของสารท่ีท�ำ ปล่อยสารปนเปื้อนออกมาช้าลง วิธีน้ีจะจัดการหรือขัดขวาง ปฏิกริ ิยาทีเ่ พ่ิมมากขนึ้ การแพร่กระจายของสารปนเปื้อนหรือสารมลพิษที่สามารถ 3. Electrokinetic remediation เปน็ กระบวนการสกดั ละลายได้ในชั้นดินเพื่อให้มีระดับที่อยู่ภายใต้ระดับบังคับ โลหะหนกั ออกจากดนิ ดว้ ยวธิ กี ารทางไฟฟา้ โดยใหก้ ระแสไฟฟา้ กฎหมาย โดยสามารถที่จะนำ� เอาดินที่ได้ผา่ นการบ�ำบดั นไี้ ปฝัง ไหลผา่ นทางขวั้ ไฟฟา้ ซงึ่ เปน็ ขวั้ บวกและขวั้ ลบ โดยสารปนเปอ้ื น กลบในหลมุ ฝงั กลบต่อไปได้ จะถกู ทำ� ใหเ้ คลอ่ื นทไี่ ปยงั ขวั้ ไฟฟา้ ทไี่ ดม้ กี ารตดิ ตงั้ ไว้ โดยในการ Stabilization คือ การท�ำให้ปฏิกิริยาทางเคมีซ่ึงตรึง ที่จะแยกเอาสารปนเปือ้ นออกมานน้ั จะต้องใชส้ ารละลายทท่ี �ำ สารปนเปอ้ื นไมใ่ หช้ ะลา้ งออกสสู่ งิ่ แวดลอ้ มไดน้ อ้ ยลง คลา้ ยๆ กบั หนา้ ทเ่ี ปน็ ตวั เรง่ ไดแ้ ก่ สารทเ่ี ปน็ กรดออ่ น สาร surfactants และ Solidification ประกอบด้วยการผสมส่ิงปนเปื้อนกับน้�ำและสาร สาร complex agents วิธีน้ีสามารถจะใช้บ�ำบัดดินท่ีปนเปื้อน ท่ีท�ำหน้าท่ีตรึง แต่สารที่ท�ำหน้าท่ีตรึงในขณะเดียวกันจะท�ำให้ ประเภทของดนิ เหนยี วหรอื สารฮวิ มกิ ทส่ี งู เปน็ องคป์ ระกอบ และ เกิดปฏิกิริยาทางเคมีที่จะท�ำให้สารปนเปื้อนออกสู่ส่ิงแวดล้อม ใช้ได้ดีกับดินประเภทท่ีไม่เป็นเนื้อเดียวกัน รวมถึงดินที่เป็นท้ัง นอ้ ยลง แบบอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวด้วยน�้ำอีกด้วย ส่วนใหญ่จะใช้ในการ Solidification คือ การตรึงของเสียไว้ในก้อนวัสดุที่เป็น บำ� บดั สารปนเปอ้ื นทเ่ี ปน็ โลหะหนกั ดงั แสดงในรปู ที่ 3 ขอ้ ดขี อง ของแข็งและยึดติดไว้กับท่ี ประกอบด้วย การผสมสิ่งปนเปื้อน วธิ นี ส้ี ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั ดนิ ทมี่ คี า่ การซมึ ผา่ นตำ่� และเปน็ แบบ กับสารที่ท�ำหน้าที่จับสารปนเปื้อน ซ่ึงเป็นสารท่ีท�ำให้วัตถุที่จับ ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน สามารถน�ำไปใช้กับสารปนเปื้อนอ่ืนๆ ได้ กันหลวมๆ ตดิ กันแนน่ ข้ึนสารที่ทำ� หนา้ ที่ตรึงโดยทว่ั ๆ ไป เชน่ คา่ ใชจ้ า่ ยไมส่ งู เมอ่ื เทยี บกบั วธิ บี ำ� บดั แบบอน่ื และสามารถออกแบบ ซีเมนต์ เถ้าลอย และดินเหนียว โดยต้องมีการผสมน้�ำเพื่อจะ ตามพ้ืนที่ปนเปื้อนท่ีอยู่ในดินท่ีต้องการบ�ำบัดฟื้นฟู ข้อด้อย ให้มีการยึดจับหลังจากน้ันจะปล่อยให้แห้งเพ่ือให้ได้เป็นก้อน คือ การเกิดปฏิกิริยาดังกล่าวอาจท�ำให้ค่า pH ของดินเกิดการ ท่แี ข็ง ดงั แสดงในรปู ท่ี 2 เปล่ียนแปลงอย่างเห็นได้ชัด การฝังโลหะลงไปในพ้ืนท่ีอาจจะ ท�ำให้เกดิ การไฟฟา้ ลัดวงจรได้ (ธเรศ ศรีสถติ ย,์ 2558) รปู ที่ 3 แสดงลกั ษณะของ Electrokinetic remediation (ทมี่ า: http://www.electrokinetic.co.uk/consolidation.htm) รปู ที่ 2 แสดงลักษณะของ Solidification 4. การฟื้นฟูพ้ืนท่ีปนเปื้อนโดยใช้พืช (Phytore- (ทีม่ า: Juris and Maris, 2012) mediation) เป็นการใช้พืชในการบ�ำบัดสารปนเปื้อนในบริเวณ พน้ื ที่ปนเปอ้ื น เพ่ือลดอนั ตรายของสารปนเป้อื นตอ่ มนุษยแ์ ละ วธิ นี เ้ี หมาะสำ� หรบั ใชบ้ ำ� บดั ดนิ ทม่ี กี ารปนเปอ้ื นโลหะ สาร ส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยีน้ีสามารถประยุกต์ใช้ในการบำ� บัดสาร กัมมันตรังสี และสารอินทรีย์รวมถึงสารประกอบอินทรีย์ท่ีเป็น ปนเปอ้ื นทงั้ ท่อี ยู่ในรูปแบบสารอนิ ทรียท์ ่ีมคี วามเข้มขน้ ตำ�่ และ แบบ Nonvaolatile และ Semivolatile organic และวธิ นี ส้ี ามารถ สารอนินทรีย์ท่ีอยู่ในตัวกลาง ดิน น�้ำ อากาศ ซึ่งการบ�ำบัดนี้ No.32 January 2016

28 ก้าวหน้าพฒั นา อาศัยประโยชน์จากกระบวนการการดูดน้�ำและแร่ธาตุผ่านทางรากของพืช และกระบวนการการคายนำ้� ออกทางใบของพืชในการ เปลีย่ นแปลงสารปนปื้อนเหล่านัน้ ให้อยใู่ นรูปทีไ่ มม่ คี วามเปน็ พิษหรอื ความเป็นพษิ ลดลง ซ่ึงขนั้ ตอนน้เี รียกวา่ Rhizofiltration เมอื่ สารปนเปื้อนถูกล�ำเลียงเข้าไปข้างในพืชแล้วน้ัน การท่ีสารปนเปื้อนจะถูกท�ำให้แบ่งแยกออกมาได้น้ันจะต้องอาศัยกระบวนการ เมตาบอลซิ มึ ของพชื โดยสำ� หรบั สารปนเปอ้ื นทอี่ ยใู่ นรปู แบบสารอนิ ทรยี ์ ในขน้ั ตอนนเี้ รยี กวา่ Phytodegradation สว่ นสารอนนิ ทรยี ์ จะถูกดดู ซบั ไวใ้ นเนือ้ เยอ่ื ภายในนัน้ จะเรยี กว่า Phytoaccumulation ดังแสดงในรูปท่ี 4 รูปท่ี 4 แสดงลกั ษณะของก(ทาี่มรฟา:้นื Pฟrูพis้ืนciทla่ปี eนtเaปl.้ือ, น2โ0ด0ย5ใ)ชพ้ ชื (Phytoremediation) Phytoextraction คือ กระบวนการทส่ี ารปนเป้ือนน้ันไดถ้ ูกดดู ผา่ นเขา้ ไปในพชื ส่วนทโี่ ผล่พน้ ดนิ ของพชื ที่ปลูกไว้ในพ้นื ท่ีจะ ต้องบำ� บดั นั้นจะถูกน�ำไปก�ำจดั โดยการเผาหรอื การน�ำไปท�ำปยุ๋ หมัก วิธีน้ีเหมาะส�ำหรับพ้นื ท่ีปนเป้ือนทมี่ คี วามลกึ ไม่มากนอ้ ยกวา่ 3 เมตร และเหมาะสำ� หรับท่ีจะบำ� บัดพ้นื ท่ีทม่ี พี ืน้ ที่กว้างความเขม้ ข้นของสารไม่มากเพราะความลกึ ของรากพืชที่โตเร็วนัน้ มีความ ยาวของรากไม่ลกึ ข้อดขี องวิธีน้ี คือ ค่าใช้จ่ายไม่สงู ไมม่ ีคนต่อตา้ นเป็นวธิ ที ่ีปลอดภยั กบั คนทอ่ี ยู่ในบริเวณพนื้ ทเ่ี สีย่ ง ส่วนข้อดอ้ ย คอื ไมส่ ามารถนำ� ไปใช้กบั พื้นที่ท่มี กี ารปนเป้อื นทมี่ ีความลึกได้เน่ืองจากรากของพชื ไมส่ ามารถลงถึงความลกึ ท่ปี นเปื้อนรวมถงึ การ บำ� บัดใชร้ ะยะเวลานานอย่างน้อย 3-5 ปี สว่ นสารปนเปื้อนน้ันจะตอ้ งนำ� ไปก�ำจัดให้หมดหรอื ท�ำลายใหห้ มดไป เอกสารอา้ งองิ กรมโรงงานอุตสาหกรรม. 2553. คู่มือแนวทางปฏบิ ัตทิ ี่ดีด้านสิ่งแวดล้อม เพอื่ ป้องกันการปนเปือ้ นดนิ และน้�ำใตด้ ิน ส�ำหรับสถานประกอบการ หลมุ ฝงั กลบของเสยี อนั ตราย. กรมโรงงานอุตสาหกรรม : กรงุ เทพมหานคร. เกษม จันทร์แก้ว. 2544. วิทยาศาสตร์ส่งิ แวดลอ้ ม. พมิ พค์ ร้งั ที่ 5. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ : กรุงเทพมหานคร. ธเนศ ศรีสถิตย.์ 2558. เทคโนโลยฟี นื้ ฟทู ท่ี ม่ี กี ารปนเปื้อนโลหะหนกั ในดนิ และตะกอนดินล�ำน�ำ้ . ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย : กรุงเทพมหานคร. Juris Burlakovs and Maris Klavins. Stabilization and Solidification Technology Implementation in Latvia: First Studies. 2012. International Journal of Environmental Pollution and Remediation. Volume. 1 Priscila Lupino Gratao, Majeti Narasimha Vara Prasad, Patricia Felippe Cardoso, Peter John Lea and Ricardo Antunes Azevedo. 2005. Phytoremediation: green technolory for the clean up of toxin metals in the environment. Braz.J Plant Physiol., 17(1):53-64. United States Environment Protection Agency (US.EPA). 2005. How to Evaluate Alternative Cleanup Technologies for Underground StorageTank Sites: A Guide for Corrective Action Plan Reviewers. http://www.sanierungsverfahren.de/sanverfahren/insitu5.html (สบื ค้นเม่ือวันที่ 29 ตุลาคม 2558) http://www.electrokinetic.co.uk/consolidation.htm (สืบคน้ เมื่อวันที่ 29 ตลุ าคม 2558) No.32 January 2016

ISSN:1686-1612 พึง่ พาธรรมชาติ 29 จติ ตมิ า จารุเดชา การเปล่ยี นแปลงกลมุ่ ประชากรจุลินทรยี ใ์ นดิน ในพน้ื ที่เกษตรกรรมท่ีมีการน�ำน้ำ� ท้ิงชมุ ชน ทผี่ ่านการบ�ำบัดแลว้ กลับมาใชใ้ หม่ การนำ� นำ�้ ทงิ้ จากชมุ ชนทผี่ า่ นการบำ� บดั แลว้ และนำ� กลบั ในดนิ ซง่ึ จะมบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ สภาพความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ มาใช้ใหม่ในพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการ โดยจะท�ำหน้าท่ีในการย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ หรือสาร ของเกษตรกรในการใช้น�้ำเพื่อการเพาะปลูกในช่วงฤดูกาลที่ อนิ ทรยี ใ์ นดนิ การสรา้ งสารฮวิ มสั ในดนิ การเปลย่ี นแปลงรปู แบบ ขาดแคลนน้ำ� นน้ั นอกจากจะเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปญั หา ของสารประกอบต่างๆ ในดินเพื่อรักษาสมดุลของดิน โดย วกิ ฤตกิ ารณก์ ารขาดแคลนนำ�้ สำ� หรบั พน้ื ทกี่ ารเพาะปลกู พชื แลว้ ในดินทมี่ ีความอดุ มสมบรู ณ์สงู มักมคี วามหลากหลายของชนิด ปริมาณธาตุอาหารท่ียังคงมีเหลืออยู่ในน�้ำท่ีผ่านการบ�ำบัดแล้ว และปรมิ าณของกลมุ่ ประชากรจลุ นิ ทรยี ม์ ากกวา่ ดนิ ทขี่ าดความ ยังส่งผลให้พืชที่เพาะปลูกมีการเจริญเติบโตที่ดีข้ึน ซ่ึงจะท�ำให้ อดุ มสมบรู ณห์ รอื พน้ื ทที่ ม่ี กี ารปนเปอ้ื นสะสมของสารมลพษิ และ สามารถลดปรมิ าณปยุ๋ ที่จะตอ้ งใชล้ งได้ ซึง่ จะเป็นการลดตน้ ทนุ จากการศึกษาของกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม (2556) ได้ การผลติ ลงไดท้ างหนงึ่ แตส่ งิ่ สำ� คญั อยา่ งหนงึ่ ทจ่ี ะตอ้ งพจิ ารณา จัดท�ำแนวทางการนำ� น�้ำกลับมาใช้ใหม่ในพื้นที่เกษตรกรรมของ คือ น้�ำทิ้งจากชุมชนท่ีผ่านการบ�ำบัดแล้วและน�ำกลับมาใช้ใหม่ ประเทศไทยซึ่งเป็นเกณฑ์คุณภาพน้�ำขั้นต่�ำ โดยทบทวนเกณฑ์ นั้น ยังอาจมีการปนเปื้อนของสารพิษ หรือสารอันตรายต่างๆ คุณภาพน้�ำภายในประเทศ คือ แหล่งน้�ำผิวดิน จากมาตรฐาน เช่น กลมุ่ สารโลหะหนกั กลมุ่ สารยาเวชภัณฑ์และเครือ่ งส�ำอาง คุณภาพน้�ำต่างประเทศ เช่น อิสราเอล อินเดีย อเมริกา กลมุ่ สาร disinfectant เปน็ ตน้ ซ่ึงสารปนเปอื้ นเหล่านี้ มักย่อย ซาอดุ อิ าระเบยี ออสเตรเลีย เลบานอน และญี่ปุ่น เป็นตน้ โดย สลายได้ยากในธรรมชาติ และเม่ือมีการน�ำน�้ำนั้นมาใช้ในพื้นที่ ได้เปรียบเทียบมาตรฐานท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงข้อมูลคุณภาพน้�ำ เกษตรกรรม อาจมีการสะสมเพ่ิมปริมาณมากขึ้นในดิน และ ความต้องการจากการส�ำรวจโดยใช้แบบสอบถามเข้าร่วมใน อาจก่อให้เกิดความเป็นพิษหรือเป็นอันตรายต่อระบบนิเวศน์ การพิจารณา และผ่านการระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ หรือสภาพแวดล้อมของดิน โดยเฉพาะกลุ่มประชากรของ นักวิชาการ ได้พิจารณาเกณฑ์ความเหมาะสมส�ำหรับ จุลินทรีย์ท่ีอาศยั อยู่ในดนิ ได้ ซง่ึ การเปลย่ี นแปลงกลุ่มประชากร ประเทศไทย ดงั ตารางที่ 1 ของจลุ นิ ทรียท์ อ่ี าศยั อยู่ในดนิ น้นั อาจจะสง่ ผลกระทบตอ่ ความ อุดมสมบูรณ์ของดินได้ ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มประชากรจุลินทรีย์ Research No.32 January 2016

30 พงึ่ พาธรรมชาติ ตารางท่ี 1 ตารางเกณฑ์แนวทางการนำ� นำ�้ กลับมาใช้ใหมใ่ นการเกษตร ของกรมส่งเสรมิ คุณภาพสิง่ แวดล้อม คำ� แนะน�ำภาคเกษตร ดชั นี หนว่ ย พชื ท่ีใชเ้ ปน็ อาหาร พชื ทร่ี บั ประทาน พชื ทรี่ บั ประทาน พืชที่ไมไ่ ด้ใชเ้ ป็นอาหาร ใบหรอื หวั ผลหรือเมลด็ สี - ไม่เปน็ ท่ีนา่ รังเกียจ ไมเ่ ป็นทน่ี ่ารงั เกียจ ไมเ่ ปน็ ทนี่ ่ารงั เกียจ กลิ่น - ไมเ่ ป็นที่นา่ รังเกียจ ไม่เป็นที่น่ารังเกยี จ ไมเ่ ป็นทีน่ ่ารงั เกยี จ คา่ ความเป็นกรด-ดา่ ง - 6-9 6-9 6-9 คา่ ความข่นุ NTU <5 <20 - คา่ การนำ� ไฟฟา้ ไมโครซีเมนต/์ <2,000 <2,000 <2,000 เซนติเมตร คา่ บีโอดี mg/l <10 <20 <30 ค่าคลอรีนอิสระตกค้าง mg/l 0.7-1.0 - - ค่าของแข็งแขวนลอย mg/l - - <30 ค่าไนเตรท-ไนโตรเจน mg/l <10 <35 <35 ค่าฟคี อลโคลฟิ อร์ม cfu/100 ml ไม่พบ <1,000 <3,000 ไข่พยาธิ จำ� นวน/ลติ ร 1 1 - ดังน้ันการจะน�ำเกณฑ์คุณภาพน้�ำทิ้งจากชุมชนที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วมาใช้ในพื้นท่ีเกษตรกรรม จะต้องศึกษาผลกระทบต่อ สภาพแวดลอ้ มทางนเิ วศวทิ ยาของดินดว้ ย โดยเฉพาะกลมุ่ ประชากรของจลุ นิ ทรีย์ เพอ่ื ป้องกันการสญู เสียความอุดมสมบรู ณข์ อง จ�ำนวนกลมุ่ ประชากรจลุ นิ ทรยี ์ทอี่ าศยั อยู่ในดิน ซ่งึ จะมผี ลกระทบตอ่ ความอดุ มสมบูรณข์ องดินในระยะยาวได้ วธิ ีการศกึ ษา ท�ำการศึกษาการเปล่ียนแปลงกลุ่มประชากรจุลินทรีย์ในดินในแปลงทดสอบ (Test) ซ่ึงเป็นการใช้น้�ำท่ีผ่านการบ�ำบัดจาก ระบบทรายกรองเรว็ (Rapid sand) เปรยี บเทยี บกบั แปลงควบคมุ (Control) ซง่ึ เปน็ การใชน้ ำ�้ ประปา โดยทงั้ แปลงทดสอบและแปลง ควบคมุ ได้ปลูกผกั มะระและฟัก ชนิดละ 2 แปลง ดังแสดงในรปู ท่ี 1 มะ มะ ฟัก ฟกั มะ มะ ฟัก ฟกั ระ ระ 21 ระ ระ 21 21 21 แปลงทดสอบ (Test) แปลงควบคมุ (Control) รปู ที่ 1 แสดงแผนภาพท�ำการศกึ ษาการเปล่ียนแปลงกลุม่ ประชากรจุลินทรยี ์ในดินในแปลงทดสอบและแปลงควบคุม Research No.32 January 2016ISSN:1686-1612

พ่ึงพาธรรมชาติ 31 ผลการศึกษา 1. ผลการวิเคราะห์คุณภาพนำ้� คณุ ภาพน้ำ� จากระบบทรายกรองเร็ว ทใ่ี ชใ้ นการรดน�ำ้ มะระและฟกั พบวา่ คา่ บโี อดี ของแข็งแขวนลอย ไนเตรต มีคา่ เฉลี่ย อยู่ท่ี 15.5 และ 10.5 มลิ ลิกรมั ตอ่ ลิตร ตามล�ำดับ สว่ นคา่ อโี คไล มีคา่ เฉล่ียอยูท่ ่ี 3,400 cfu ตอ่ 100 มลิ ลลิ ติ ร ซงึ่ ใน 6 เดอื น ท่ีท�ำการตรวจวดั จะมคี า่ สงู มากถึง 20,000 และตรวจวัดไม่พบอกี 3 เดือน ท�ำใหม้ คี า่ เฉลี่ยสูง และเมอื่ เปรียบเทยี บคณุ ภาพนำ้� จากระบบทรายกรองเรว็ กบั เกณฑแ์ นวทางการนำ� นำ�้ กลบั มาใช้ใหม่ในการเกษตร สำ� หรบั พืชท่ใี ชร้ บั ประทานผล พบว่าคณุ ภาพน้�ำ จากระบบทรายกรองเรว็ มคี า่ บโี อดี ของแขง็ แขวนลอย ไนเตรต มคี า่ ผ่านเกณฑ์ ซึง่ กำ� หนดค่าบโี อดี และ ไนเตรต มคี ่าน้อยกวา่ 20 และ 35 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล�ำดับ ส่วนค่าของของแข็งแขวนลอยไม่ได้ก�ำหนดไว้ส�ำหรับพืชรับประทานผล ส่วนค่าอีโคไล มคี า่ เกนิ เกณฑ์ ซงึ่ กำ� หนดไวท้ ่ี 1,000 cfu ตอ่ 100 มลิ ลลิ ติ ร จงึ สรปุ วา่ ระบบทรายกรองเรว็ สามารถนำ� ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ คณุ ภาพ น้�ำท้ิงชุมชนท่ีผ่านการบ�ำบัดแล้ว จนได้ตามเกณฑ์แนวทางการน�ำน้�ำกลับมาใช้ใหม่ในการเกษตร ท�ำให้มีความเหมาะสมต่อการ นำ� ไปใช้ในการเกษตรได้ ดังแสดงในตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 การเปรยี บเทยี บคณุ ภาพน้ำ� จากระบบทรายกรองเรว็ กบั เกณฑ์แนวทางการน�ำน�ำ้ กลบั มาใชใ้ หมใ่ นภาคเกษตร คำ� แนะนำ� ภาคเกษตร ระบบทราย กรองเรว็ ดชั นี หน่วย พืชท่ใี ชเ้ ป็นอาหาร พืชที่ไมไ่ ด้ใชเ้ ป็น (ค่าเฉลย่ี ) อาหาร พชื ท่ีรับประทาน พชื ที่รบั ประทาน ใบหรือหัว ผลหรอื เมล็ด สี - ไมเ่ ปน็ ท่นี ่ารงั เกียจ ไม่เป็นท่ีน่ารังเกยี จ ไมเ่ ป็นทน่ี า่ รงั เกียจ ใส กล่ิน - ไม่เปน็ ทนี่ า่ รังเกียจ ไม่เป็นท่นี า่ รงั เกียจ ไมเ่ ปน็ ทนี่ ่ารงั เกียจ ไม่มีกลิ่น ค่าความเปน็ กรด-ดา่ ง - 6-9 6-9 6-9 7.21-7.53 คา่ ความขุ่น NTU <5 <20 - 30->50 ค่าการน�ำไฟฟา้ ไมโครซีเมนต/์ <2,000 <2,000 <2,000 570 (520-630) ค่าบีโอดี เซนติเมตร <10 <20 <30 14.74 mg/l (4.8-40.60) ค่าคลอรนี อสิ ระตกคา้ ง mg/l 0.7-1.0 - - ไมไ่ ด้ตรวจวดั คา่ ของแขง็ แขวนลอย mg/l - - <30 5.2 (1.4-9) คา่ ไนเตรท-ไนโตรเจน mg/l <10 <35 <35 10.49 คา่ ฟีคอลโคลฟิ อรม์ cfu/ 100 ml ไมพ่ บ <1,000 <3,000 (0.04-17.93) 3400 (200-20,000) ไข่พยาธิ จ�ำนวน/ลิตร 1 1 1 ไมไ่ ดต้ รวจวดั Research No.32 January 2016ISSN:1686-1612

ISSN:1686-161232 พ่ึงพาธรรมชาติ 2. ผลการวเิ คราะหค์ ณุ ภาพดนิ เมอ่ื ทำ� การตรวจวดั คณุ ภาพดนิ พบวา่ ดนิ ทเี่ พาะปลกู มะระและฟกั ณ โรงปรบั ปรงุ คณุ ภาพนำ้� เทศบาลเมอื งบรุ รี มั ย์ ในแปลง ทดสอบทงั้ 8 แปลง ไดแ้ ก่ มะระ 4 แปลง และฟกั 4 แปลง ซง่ึ แปลงมะระและฟกั ทง้ั 4 แปลงจะแยกเปน็ แปลงทรี่ ดนำ้� จากระบบทราย กรองเรว็ และนำ้� ประปา อยา่ งละ 2 แปลง ซงึ่ ผลการตรวจวดั คุณภาพดนิ ทัง้ หมด เป็นดนิ ร่วนเหมอื นกนั ทั้งหมด นอกจากน้ีมคี า่ ph ใกลเ้ คยี งกัน โดยมคี า่ เฉล่ียอย่ทู ี่ 7.3 ซง่ึ มีค่าเปน็ กลาง นอกจากน้ียังมี % อนิ ทรยี วัตถุและ C/N Ratio ใกล้เคียงกนั โดยมคี ่าเฉลยี่ เท่ากับ 1.42 และ 13 สว่ นปริมาณธาตุอาหารและปุ๋ยในดนิ กเ็ ช่นเดียวกัน ไดแ้ ก่ ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซยี ม (Ca) แมกนีเซยี ม (Mg) ไนโตรเจนท้งั หมด ฟอสฟอรัสทัง้ หมด โซเดียมท้ังหมด ไนเตรต และแอมโมเนยี่ ม ผลคณุ ภาพดินทั้ง 8 แปลงคา่ ใกล้เคียงกัน โดยมคี า่ เฉล่ียเทา่ กบั 23 76 170 315 619 213 150 9 และ 7 มลิ ลกิ รัมต่อกิโลกรมั ตามลำ� ดบั สรปุ ไดว้ า่ คณุ ภาพของดนิ ทใ่ี ชน้ ำ้� จากระบบทรายกรองเรว็ และนำ�้ ประปา รดแปลง มะระและฟกั พบวา่ ไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั โดยมีค่าสารอนิ ทรีย์ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั C/N Ratio และธาตอุ าหารในดนิ ในปรมิ าณใกลเ้ คียงกนั แสดงวา่ นำ�้ จากระบบทราย กรองเร็วสามารถใชใ้ นการเกษตรโดยไม่มีผลกระทบต่อปริมาณแร่ธาตอุ าหารในดนิ 3. ผลการวเิ คราะห์กลมุ่ ประชากรจลุ นิ ทรยี ์ในดิน จากการสกัด DNA ของส่งิ มชี ีวิตในตัวอย่างดิน ท่ปี ลกู มะระและฟกั (Soil extraction kit) และการวเิ คราะห์ DNA ที่สกดั ได้ จากตวั อย่างดนิ ด้วย 0.7% Agarose gel เทียบกับแถบแบนของ DNA Marker จะเห็นได้ว่าการสกัดตัวอย่างดนิ ดว้ ยชุดสกดั ดิน (Soil extraction kit) ไดป้ รมิ าณ DNA ไมม่ าก จะเหน็ ไดว้ า่ DNA ทส่ี กดั ไดจ้ ากตวั อยา่ งดนิ จะปรากฏแถบแบนของ DNA ไมช่ ดั เจนนกั จากน้ันน�ำตัวอย่าง DNA ท่ีสกัดได้มาเพ่ิมจ�ำนวน DNA โดยเฉพาะของพวกจุลินทรีย์ ด้วยเทคนิค Polymerase chain reaction (PCR) และทำ� การตรวจวัดปรมิ าณ DNA ดว้ ย 1.5% Agarose gel แลว้ ทำ� การเทียบกบั DNA Marker จะเห็นไดจ้ ากพบ แถบแบนของ DNA 2 แถบแบน ซง่ึ อย่ใู นช่วง 150 – 300 bp (Base pair) เม่อื เทยี บกับ DNA Marker ซง่ึ ในการทดลองได้มกี าร ท�ำซ้ำ� ในแต่ละชุดการวิเคราะห์ พบวา่ ดนิ ท่นี �ำมาวเิ คราะห์มคี วามเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั (homogeneity) โดยจะใหป้ ริมาณ DNA เท่ากัน ในทกุ คู่ของการทดลองที่ทำ� ซ้ำ� นำ� ตวั อยา่ ง DNA ของจลุ นิ ทรยี ์ ทเี่ พม่ิ ปรมิ าณแลว้ มาวเิ คราะหห์ าจำ� นวนประชากรจลุ นิ ทรยี ใ์ นดนิ ดว้ ยเทคนคิ Denaturing gradient gel electrophoresis (DGGE) ผลวิเคราะหห์ ากลุ่มจลุ นิ ทรียใ์ นดนิ ทัง้ 8 แปลง ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจิกายน 2557 ถงึ เดอื น เมษายน 2558 พบว่าตัวอย่างดนิ ท้งั 8 แปลง ที่มีการปลกู มะระและฟกั มกี ารเปรยี บเทยี บการใช้น�้ำจากระบบทรายกรองเร็วและ น้�ำประปา พบว่ามีลักษณะของกลุ่มประชากรจุลินทรีย์ไม่แตกต่างกัน แสดงว่าน้�ำจากระบบทรายกรองเร็วไม่มีผลกระทบต่อการ เปลย่ี นแปลงของกลมุ่ ประชากรจลุ นิ ทรยี ใ์ นดนิ แตเ่ มอ่ื เปรยี บเทยี บจำ� นวนกลมุ่ ประชากรจลุ นิ ทรยี พ์ บวา่ ในแตล่ ะเดอื นมจี ำ� นวนกลมุ่ ประชากรไมเ่ ทา่ กนั โดยในเดอื นพฤศจกิ ายนและธนั วาคม 2557 ซงึ่ เปน็ ชว่ งปลายฤดฝู นเขา้ สตู่ น้ ฤดหู นาว จะมจี ำ� นวนกลมุ่ ประชากร จุลินทรีย์ 3 กลุ่ม เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาวช่วงเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ 2558 พบว่ามีจ�ำนวนกลุ่มประชากรจุลินทรีย์เพ่ิมข้ึนเป็น 8 กลมุ่ และเมอื่ เขา้ สตู่ น้ ฤดรู อ้ นชว่ งเดอื นมนี าคมถงึ เมษายน 2558 พบวา่ กลมุ่ ประชากรจลุ นิ ทรยี ล์ ดลง เหลอื เพยี ง 5 กลมุ่ แสดงวา่ ฤดูกาลมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของกล่มุ ประชากรจุลนิ ทรียใ์ นดิน ในกรณขี องชนดิ ของพืช ได้แก่ มะระและฟัก พบวา่ ไมม่ ีผลต่อ การเปลย่ี นแปลงของกลมุ่ ประชากรจลุ นิ ทรยี ใ์ นดนิ ตัวอย่างการตรวจวดั ประชากรจุลนิ ทรียแ์ สดงในรูปที่ 2 และ 3 Research No.32 January 2016

ISSN:1686-1612 พง่ึ พาธรรมชาติ 33 รปู ทื่ 2 แสดงกลมุ่ ประชากรจลุ ินทรยี ์ในแปลงมะระและฟักในเดือนมกราคม 2558 รปู ท่ื 3 แสดงกลุม่ ประชากรจลุ ินทรยี ์ในแปลงมะระและฟักในเดือนเมษายน 2558 สรุปผลการศกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ 1. ระบบทรายกรองเรว็ (Rapid sand) สามารถนำ� มาใชใ้ นการปรับปรงุ คุณภาพนำ้� ทง้ิ ชุมชนทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแลว้ จนไดต้ าม เกณฑ์แนวทางการน�ำน�ำ้ กลับมาใชใ้ หมใ่ นการเกษตร ของกรมส่งเสรมิ คุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม 2. เกณฑค์ ุณภาพน�ำ้ ที่แนะนำ� สำ� หรบั การนำ� น�ำ้ กลบั มาใชใ้ หม่ในภาคการเกษตร พบว่าไมม่ ีผลกระทบต่อสภาพนิเวศวิทยา ของสงิ่ แวดลอ้ มท้งั คณุ ภาพดินและกลมุ่ ประชากรจุลินทรยี ์ในดิน 3. ควรมกี ารศกึ ษาเพมิ่ เตมิ อกี ในหลายๆ พน้ื ที่ ทง้ั นเี้ นอื่ งจากดนิ ในประเทศไทยมคี ณุ ลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะพน้ื ที่ 4. นำ�้ ทงิ้ จากชมุ ชนทผ่ี า่ นการบำ� บดั แลว้ จนไดต้ ามเกณฑท์ แี่ นะนำ� เพอ่ื การนำ� กลบั มาใชใ้ หมใ่ นภาคการเกษตร จะเปน็ แนวทาง หน่ึงท่สี ามารถชว่ ยแก้ไข หรือบรรเทาปญั หาภัยแลง้ และการขาดแคลนน้ำ� ในการเกษตรลงได้ Research No.32 January 2016

34 พงึ่ พาธรรมชาติ นภัสนันท์ จอกทอง พืชกับการติดตามเฝ้าระวัง และการบ�ำบัดฟืน้ ฟพู ้ืนท่ีปนเป้อื นสารอนิ ทรีย์ระเหยง่าย ปัจจุบันสารเคมีอันตรายประเภทสารอินทรีย์ระเหย ติดตามเฝ้าระวังเป็นวิธีการท่ีเหมาะสม เนื่องจากราคาของการ ได้มีการสังเคราะห์ขึ้นและใช้ในกระบวนการผลิตในหลาย ติดตามตรวจสอบไม่จ�ำเป็นต้องมีการก่อสร้างบ่อ ไม่รบกวน อุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรม ระบบนเิ วศโดยรอบของพน้ื ทปี่ นเปอ้ื น ครอบคลมุ พนื้ ทไ่ี ดบ้ รเิ วณ อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมซักล้าง และอุตสาหกรรมเหล็ก กว้าง ในท�ำนองเดียวกันนอกจากการใช้พืชเพื่อการเฝ้าระวัง เป็นต้น ซึ่งถ้าการจัดการสารอินทรีย์ระเหยเหล่าน้ีอย่างไม่ การปนเปื้อนแล้วยังสามารถใช้พืชในการบ�ำบัดสารปนเปื้อนได้ ถูกวิธีไม่ว่าจะโดยเจตนาหรือไม่ อาจท�ำให้เกิดการปนเปื้อน อีกด้วย การบ�ำบัดการปนเปอื้ นโดยใชพ้ ชื เปน็ การใชร้ ะบบทาง สารอันตรายลงสู่ดินและน�้ำใต้ดินและสามารถแพร่กระจาย สรรี วทิ ยาของพชื และการทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งพชื และจลุ นิ ทรยี ์ สู่ระบบนิเวศทางธรรมชาติได้ และในท้ายท่ีสุดการปนเปื้อนน้ี ที่อยู่ในบริเวณรากพืชเพื่อเคล่ือนย้าย เปลี่ยนรูป ย่อยสลาย สามารถส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนจากการบริโภคผ่านทาง เป็นต้น ในต่างประเทศได้มีการใช้พืชในติดตามเฝ้าระวังและ ห่วงโซ่อาหารและเมื่อร่างกายได้รับสารดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง การบ�ำบัดพื้นท่ีปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยอยู่หลายพื้นที่ เช่น จะท�ำให้เกิดความเส่ียงต่อการสุขภาพ เช่น เป็นโรคมะเร็งได้ ในประเทศสหรัฐอเมริกาโดย Gopalakriahnan ในปี 2009 ได้ ในประเทศไทยได้มีการตรวจพบการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ ทำ� การศึกษา พชื จำ� นวน 5 ชนิด ในการตรวจสอบสารไตรคลอ ระเหยแล้วในหลายพ้ืนที่ เช่น บริเวณลักลอบท้ิงกากของเสีย โรเอทธิลนี ในดนิ พืชที่ใช้ในการศกึ ษา ได้แก่ Red maple, Silver ในพ้ืนที่ ต�ำบลกลางดง อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา maple, White pine, Linden และ Tulib tree โดยได้ศึกษาความ บริเวณนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดล�ำพูน และบริเวณ สัมพันธ์ระหว่างปริมาณสาร TCE ที่ปนเปื้อนในดิน การดูดซับ นคิ มอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวดั ระยอง เปน็ ตน้ สารปนเปื้อนของพืชและการกระจายตัวของสารในส่วนต่างๆ การตรวจติดตามเฝ้าระวังเพ่ือการบ�ำบัดการปนเปื้อน ของพืช และได้ด�ำเนินการศึกษาการสกัดสาร TCE ออกจาก สารอินทรีย์ระเหยท้ังในดินและน�้ำใต้ดิน โดยท่ัวไปใช้การ สว่ นตา่ งๆ ของพชื ดว้ ยวธิ ี Hot Methanol จากการศกึ ษาสามารถ เก็บตัวอย่างดินในพ้ืนที่และการเก็บน้�ำใต้ดินจากบ่อน�้ำและ สรุปได้ว่า พืชทั้ง 5 ชนิด สามารถใช้เป็นระบบเฝ้าระวังการ บ่อสังเกตการณ์ในพื้นที่ ซ่ึงบางกรณีในพื้นที่ลักลอบทิ้งกาก ปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในดิน และส�ำหรับในประเทศไทย อตุ สาหกรรมหรอื ในพนื้ ทอี่ ตุ สาหกรรมไมม่ บี อ่ สงั เกตการณแ์ ละ ได้มีการศึกษาวจิ ัย โดย ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ จากมหาวทิ ยาลยั การตดิ ตงั้ บอ่ สงั เกตการณใ์ หมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ วลาและงบประมาณ นเรศวรรว่ มกบั กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ไดท้ ำ� การศกึ ษา ซึ่งการใช้พืชจึงอาจเป็นทางเลือกหน่ึง ในการตรวจติดตามเฝ้า การใช้หญ้าแฝกบ�ำบัดฟื้นฟูการปนเปื้อนสารอันตรายในดิน ระวังสารอินทรีย์ระเหยท้ังในดินและน้�ำใต้ดิน เนื่องจากพืช และน้�ำใต้ดิน พบว่า หญ้าแฝกสามารถเคลื่อนย้ายสาร VOCs สามารถสะสมสารอินทรีย์ระเหยที่ได้รับจากดิน น�้ำ ผ่านทาง จากดินและน้�ำสู่บรรยากาศโดยการระเหยผ่านใบ และสามารถ รากพืช การใช้พืชที่เติบโตในบริเวณพ้ืนท่ีปนเปื้อนในการตรวจ สลายสารฟีนอล และ PAHs โดยเริ่มท�ำการวิจัยศึกษากลไก Research No.32 January 2016ISSN:1686-1612

ISSN:1686-1612 พงึ่ พาธรรมชาติ 35 การสลายสารฟนี อล โดยพบวา่ รากของหญา้ แฝกจะหลง่ั เอนไซม์ ทางเคมีวเิ คราะห์ท่ีเหมาะสม เช่น วิธี Gas Chromatography- Peroxidase และสาร H2O2 ซงึ่ สามารถเปลย่ี นสารฟนี อล ซง่ึ เปน็ mass spectroscopy ปจั จยั หนงึ่ ทมี่ คี วามสำ� คญั ในการใชพ้ ชื เพอ่ื สารอันตรายให้เป็นสารโพลีฟีนอลท่ีไม่มีพิษได้ ก่อนจะถูกย่อย ตรวจตดิ ตามเฝ้าระวงั และการบำ� บดั ฟ้นื ฟคู อื การศกึ ษาเทคนคิ สลายโดยจุลชีพที่ราก (Rhizomicrobes) ของหญ้าแฝกจึงเป็น และวิธีการที่เหมาะสม ในการวิเคราะห์หาสารอินทรีย์ระเหย กระบวนการท�ำงานร่วมกันระหว่างพืชและจุลชีพ นอกจากนี้ ที่เก็บสะสมอย่ใู นเนอ้ื เย่อื พชื ให้มีความถูกตอ้ ง ซ่งึ ทางศูนย์วจิ ัย ยังมีงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยอาจารย์ และฝกึ อบรมดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มจงึ ไดท้ ำ� การศกึ ษาวจิ ยั การประยกุ ต์ จรี าจันทร์ จนั ทรง์ าม ได้ทำ� การศกึ ษาสมรรถนะการเจริญเติบโต ใช้เทคนิคการสกัดสารอินทรีย์ระเหยในเนื้อเย่ือพืชในพื้นที่ท่ีมี ของหญา้ แฝกในดนิ ทป่ี นเปอ้ื นสารไตรคลอโรเอทธลิ นี ซง่ึ ผลการ การปนเปอ้ื นดว้ ยของเหลวความดนั สงู เพ่ือการตดิ ตามเฝา้ ระวงั ศึกษาพบว่า สารไตรคลอโรเอทธิลีน (TCE) สามารถเคลอื่ นยา้ ย ซึ่งโดยทั่วไปการสกัดสารออกจากเนื้อเยื่อพืชจะใช้เทคนิค จากดินเข้าสู่หญ้าแฝกไปเก็บสะสมไว้ในส่วนของพืช ซ่ึงแสดง การสกัดด้วยของเหลว (liquid extraction) ตัวท�ำละลายที่เป็น ให้เห็นว่าพืชชนิดน้ี (หญ้าแฝก) มีแนวโน้มท่ีจะใช้ในการฟื้นฟู ของเหลวจะผ่านเข้าไปในโครงสร้างของแข็งได้ช้าเน่ืองจาก ดนิ ที่ปนเปอื้ นสาร TCE ได้ จะเห็นได้วา่ การใชพ้ ืชในการบำ� บดั ความหนดื ของของเหลวและเปน็ การใชต้ วั ทำ� ละลายทไ่ี มเ่ ปน็ มติ ร สารในสิ่งแวดล้อม (Phytoremidation) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ ต่อสิ่งแวดล้อมในปริมาณมาก ดังนั้น ศูนย์วิจัยและฝึกอบรม ไดร้ บั ความสนใจอยา่ งมาก ซงึ่ สามารถนำ� พชื ทม่ี ศี กั ยภาพในการ ดา้ นสิง่ แวดล้อม จงึ มุ่งเนน้ ศึกษาวิธีการสกัดทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพสงู บำ� บดั มาปลกู ในบรเิ วณพน้ื ทป่ี นเปอ้ื นหรอื ใชพ้ ชื ทมี่ อี ยใู่ นบรเิ วณ สามารถทำ� ไดง้ า่ ย รวดเรว็ ลดปรมิ าณการใชต้ วั ทำ� ละลายหรอื ใช้ พืน้ ที่ปนเป้ือนน�ำมาวเิ คราะหห์ าสารปนเปอื้ นในเน้อื เยอ่ื พชื ซงึ่ ตวั ทำ� ละลายทม่ี คี วามเปน็ พษิ นอ้ ยลง ซงึ่ นำ� ไปสกู่ ารใชเ้ ทคโนโลยี สามารถทำ� ไดโ้ ดยการตดั ใบหรอื สว่ นของลำ� ตน้ ของพชื นำ� ไปสกดั สะอาด การสกดั ด้วยของเหลวความดนั สูง (pressurized liquid หาสารอนิ ทรยี ร์ ะเหยออกจากเนอ้ื เยอื่ ของพชื โดยใชเ้ ทคนคิ การ extraction, PLE) เปน็ เทคนิคหนึ่งทส่ี ามารถน�ำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ น สกัดด้วยวิธีการใช้สารเคมีเป็นตัวท�ำละลาย และจึงน�ำไปตรวจ การสกัดสารอินทรียร์ ะเหยในเน้ือเยือ่ พชื เนอื่ งจากมีคุณสมบตั ิ หาความเข้มข้นของสารอินทรีย์ระเหยที่สกัดออกมาได้ด้วยวิธี ของการสกัดทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพดงั ทไี่ ด้กลา่ วมา รปู การตดิ ตง้ั ระบบเฝ้าระวงั เอกสารอ้างองิ Gayathri Gopalakrishnan.Charles J.(2009).Mass recovery method for Trichloroethylene in plant tissue : Environmental Toxicology and Chemistry,6,1185-1190. Péres VF, Saffi J, Melecchi MI, et al. Comparison of soxhlet, ultrasound-assisted and pressurized liquid extraction of terpenes, fatty acids and Vitamin E from Piper gaudichaudianum Kunth. Journal of Chromatography A 2006; 1105(1-2): 115-8. จรี าจันทร์ จันทรง์ าม. 2554. สมรรถนะการเจริญเติบโตของหญา้ แฝกในดนิ ท่ีปนเป้ือนสารไตรคลอโรเอทธลิ นี . ในการประชุมทางวชิ าการของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครง้ั ท่ี 48 (หน้า 7, 58-65). กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ ธนพล เพญ็ รัตน์. 2558. การสาธิตและประเมนิ ประสิทธิภาพการใชป้ ระโยชน์หญา้ แฝกในการบ�ำบัดฟนื้ ฟูดินและน้ำ� ทีป่ นเปือ้ นสารฟนี อล จากการลกั ลอบทิง้ กากอุตสาหกรรมใน ต.หนองแหน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา อย่างครบวงจร. ในการประชุมสมั มนาหญ้าแฝก นานาชาติ ครง้ั ที่ 6. ดานัง : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีดานงั . Research No.32 January 2016

36 ERTC Update การถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตเตาเผาขยะชวี มวลไร้ควนั และเตาเผาถ่านมลพิษตำ�่ เฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม โดยศนู ยว์ จิ ยั และฝกึ อบรม ด้านส่ิงแวดล้อม ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การถ่ายทอด เทคโนโลยีการผลิตเตาเผาขยะชีวมวลไร้ควันและเตาเผาถ่าน มลพิษต่�ำ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558” เมอ่ื วนั ที่ 24 ธนั วาคม 2558 ทผี่ า่ นมา ณ เครอื ขา่ ยสหกรณ์ การเกษตร ต. ตะขบ อ.ปกั ธงชยั จ.นครราชสมี า โดยมี นายโสฬส ขันธ์เครือ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารดงั กลา่ ว โดยจดั ขนึ้ เปน็ ครงั้ ท่ี 3 ซึง่ ผูเ้ ข้ารบั การอบรม จ�ำนวน 50 คน สามารถน�ำความรู้ ความเข้าใจนี้ไปเผยแพร่บอกต่อแก่คนในชุมชน และยังสามารถ น�ำไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการแก้ปัญหาและลดมลพิษได้อย่างเป็น รูปธรรม เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมในการ จดั การปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม ฉลากสง่ิ แวดล้อมประเภทที่ 2 แบบรับรองตนเอง กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม โดยศนู ยว์ จิ ยั โดย คณุ วาวรชั น์ เรอื งกจิ ไพศาล ผปู้ ระกอบการ นำ�้ ยาทำ� ความสะอาดเอนกประสงค์ และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ ชมรม วาวรสั น์ Waoras ซงึ่ ประสบความสำ� เรจ็ ในการพฒั นาสนิ คา้ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม อีโค่กรีนวัน เข้าร่วมแสดงสินค้าที่เป็นมิตรต่อ ได้กล่าวถึงประโยชน์ท่ีผู้ประกอบการจะได้รับจากการจัดท�ำฉลากสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม ที่ได้รับฉลากส่ิงแวดล้อมประเภท ประเภทท่ี 2 แบบรบั รองตนเอง ทง่ี า่ ยและไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ การ ใชเ้ วลาไมน่ าน ท่ี 2 แบบรับรองตนเอง ในงาน Otop City ระหวา่ ง ประมาณ 3 เดือน ก็สามารถเผยแพร่ผ่านเวปไซด์ www.thaiecoproduct.com วันท่ี 23 - 30 ธนั วาคม 2558 ณ ศูนยแ์ สดงสินคา้ ซ่ึงเป็นที่ยอมรับของต่างประเทศตามมาตรฐาน ISO 14021 และได้ด�ำเนินการ อิมแพคเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี พร้อมท้ัง ขยายผลโครงการโดยจดั ตงั้ “ชมรมอโี ค่กรนี วัน” ขึน้ เพอื่ สนบั สนนุ ใหเ้ กิดการพัฒนา ได้รับเชิญให้ร่วมบรรยายเพื่อให้ความรู้ เร่ือง ผลติ ภัณฑช์ ุมชนที่เป็นมติ รต่อส่งิ แวดลอ้ ม ในผูป้ ระกอบการรายอ่นื ๆ ต่อไป ฉลากส่ิงแวดล้อมประเภทท่ี 2 แบบรับรองตนเอง ศูนย์วิจยั และฝึกอบรมด้านสง่ิ แวดล้อม กรมส่งเสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปที ่ี 13 ฉบับที่ 32 มกราคม 2559 เทคโนธานี ตำ� บลคลองห้า อำ� เภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 12120 No.32 Jaโwทnwรuwศ.พั daทerq์ 0yp2.g-25o70.t7h1-64182-9 โทรสาร 02-577-1138


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook