Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่4,5

บทที่4,5

Published by piriyanamhongg, 2021-11-30 16:29:32

Description: บทที่4,5

Search

Read the Text Version

nursing care delivered outside hospitals Community nursing2 Piriya Namhong 6231901037 SCHOOL OF NURSING - MAE FAH LUANG UNIVERSITY

ทฤษฎีการพยาบาลครอบครัว family nursing theories การพยาบาลครอบครัว เป็นการดูแลครอบครัวโดยการบูรณาการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3 กลุ่มทฤษฎี ได้แก่ ทฤษฎีครอบครัวตามมุมมอง สังคมศาสตร์ (Family Social Science Theories) ทฤษฎี ครอบครัวบำบัด (Family Therapy Theories) และทฤษฎีทางการ พยาบาล (Nursing Conceptual Frameworks) มาเป็น แนวทาง ในการดูแลครอบครัว ตัวอย่างของทฤษฎีครอบครัวตามมุมมอง สังคมศาสตร์ ได้แก่ ทฤษฎีระยะพัฒนาการครอบครัวหรือวงจรชีวิต (Family Development Theory หรือ Life Cycle Theory) ทฤษฎีระบบครอบครัว (Family Systems Theory) ทฤษฎี โครงสร้างหน้าที่ (Structural Functional Theory) ทฤษฎีระบบชีว นิเวศวิทยา (Bioecological Systems Theory) และทฤษฎีวิกฤติ หรือรูปแบบ ABCX (ABCX Model of Family Stress and Coping) ดังนั้น ทฤษฎีครอบครัวตามมุมมอง สังคมศาสตร์จึงมักนามา ใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการประเมินและการให้การพยาบาลครอบครัว

ทฤษฎีระยะพัฒนาการ ครอบครัวหรือวงจร ชีวิต (FAMILY DE VELOPMENT THEORY / LIFE CYCLE THEORY) พั ฒ น า โ ด ย ดู ว า ล ล์ ความหมายของ ( D U V A L L ) ตั้ ง แ ต่ ปี ค . ศ . ค ร อ บ ค รั ว ต า ม ก ร อ บ 1 9 5 7 ค ร อ บ ค รั ว เ ป็ น ร ะ บ บ ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร กึ่ ง ปิ ด ที่ เ กิ ด จ า ก ป ฏิ สั ม พั น ธ์ พิ จ า ร ณ า ไ ด้ 2 ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง บุ ค ค ล ซึ่ ง ห ม า ย ถึ ง คื อ ร ะ บ บ ค ร อ บ ค รั ว มิ ไ ด้ แ ย ก อ อ ก จ า ก สั ง ค ม โ ด ย เ ด็ ด ข า ด ประเภทที่ 1 ครอบครัวเป็นหน่วยที่มีปฏิสัมพันธ์ ยั ง ค ง มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ สิ่ ง ของบุคคล แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย น อ ก ร ะ บ บ ต ล อ ด เ ว ล า แ ต่ มิ ไ ด้ เ ป็ น ไ ป ประเภทที่ 2 ครอบครัวเป็นระบบกึ่งปิด อ ย่ า ง มี อิ ส ร ะ เ รี ย ก ว่ า พั ฒ น เนื่ องจากครอบครัวมิได้แยกจากระบบอื่ นๆใน กิ จ ( D E V E L O P M E N T A L สิ่งแวดล้อม อย่างเด็ดขาด ครอบครัวมี TASKS) ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างมีขอบเขต ข้อ พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ตกลงเบื้องต้นของทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว ห ม า ย ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร มีดังนี้ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ทั้ ง ใ น ลั ก ษ ณ ะ 1. แต่ละครอบครัวพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไป โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ บ ท บ า ท ตามช่วงระยะเวลา ห น้ า ที่ ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น 2. บุคคลมีวุฒิภาวะและมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ค ร อ บ ค รั ว จ า ก จุ ด เ ริ่ ม ต้ น อื่น รวมทั้งมีพฤติกรรมและปฏิกิริยาตอบสนอง ถึ ง จุ ด สุ ด ท้ า ย พั ฒ น า ก า ร ต่อ สิ่งแวดล้อม ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ส า ม า ร ถ 3. ครอบครัวและสมาชิกในครอบครัวจะมี ทำ น า ย ว ง จ ร ชี วิ ต ข อ ง แ ต่ ล ะ พฤติกรรมที่เฉพาะซึ่งถูกกาหนดโดยครอบครัว บุ ค ค ล ซึ่ ง มี ก า ร พั ฒ น า ไ ป และโดย บริบทของวัฒนธรรมและสังคมที่เขา ต า ม ขั้ น ต อ น เ ริ่ ม ต้ น จ า ก วั ย ดารงอยู่ ท า ร ก จ น ก ร ะ ทั่ ง สู่ วั ย ผู้ สู ง 4. ครอบครัวจะมีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด อ า ยุ TEACHER อาจารย์ดร.พิมพ์พิสาข์ จอมศรี | อาจารย์ดร.ปิยธิดา จุลละปีย

(SYSTEM THEORY) ทฤษฎีระบบ นำ เ ส น อ โ ด ย V O N ช นิ ด ข อ ง ร ะ บ บ แ บ่ ง B E R T A L A N F F Y นั ก อ อ ก ไ ด้ เ ป็ น 2 ช นิ ด คื อ ชี ว วิ ท ย า ใ น ปี ค . ศ . 1 9 8 6 ซึ่ ง เ ส น อ แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ 1. ระบบเปิด หมายถึง มีปฏิสัมพันธ์ของสิ่ง ก ฎ ส า ก ล ที่ จ ะ เ ป็ น แวดล้อมภายนอกตลอดไป โ ค ร ง ส ร้ า ง ร่ ว ม สำ ห รั บ 2. ระบบปิด เป็นระบบที่อยู่ได้ด้วยตัวเอง ใน ร ะ บ บ ต่ า ง ๆ โ ด ย มี จุ ด มุ่ ง สภาพความเป็นจริงนั้นไม่มีสิ่งมีชีวิตใดในโลกที่ ห ม า ย ใ ห้ ศ า ส ต ร์ ต่ า ง ๆ นำ สามารถอยู่ได้ในระบบปิด จะต้องมี การแลก ไ ป ใ ช้ กั บ ร ะ บ บ เ ฉ พ า ะ ไ ด้ เปลี่ยนพลังงานกับสิ่งแวดล้อมภายนอกไม่มาก โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง เ สี ย เ ว ล า ใ น ก็น้อย ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ซ้ำ ซ้ อ น พ ย า บ า ล ไ ด้ นำ ท ฤ ษ ฎี ร ะ บ บ ม า ใ ช้ กั บ ก ลุ่ ม ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ระบบครอบครัว ทั้ ง ใ น ร ะ ดั บ บุ ค ค ล 1. ระบบคู่ครอง (spouse system) สามี ภรรยา ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ชุ ม ช น บุตร 2. ระบบบิดามารดา - บุตร (parent child องค์ประกอบของระบบ system) บิดา มารดา และบุตร สิ่งนำเข้า (INPUT) เช่น การแจ้งข้อมูลการเสียชีวิตของ 3. ระบบพี่น้อง (sibling system) ความสัมพันธ์ ญาติสนิท เป็นพี่น้องกัน ได้แก่ วิธีประคับประคองซึ่งกัน กระบวนการ (PROCESS) เช่น กิจกรรมของครอบครัว และกัน การให้อภัย การเจรจาต่อรอง และสมาชิกครอบครัว การดูแล ตนเองและการดูแลซึ่ง 4. ระบบย่อยอื่น ๆ (other subsystem) ได้แก่ กันและกันของสมาชิกครอบครัวทั้งในภาวะปกติและภาวะ ระบบย่อยอื่นที่อยู่ในครอบครัว ได้แก่ ระบบ ที่เผชิญปัญหาต่างๆ เครือญาติ ปู่ย่า ตายาย ลุงป้า น้า หลาน การประเมินผล (EVALUATION) เช่นผลการประเมิน ภาวะโภชนาการ TEACHER อาจารย์ดร.พิมพ์พิสาข์ จอมศรี | การส่งข้อมูลย้อนกลับ (FEEDBACK) ช่วยตรวจสอบ อาจารย์ดร.ปิยธิดา จุลละปีย ความผิดพลาด

ทฤษฎีโครงสร้าง และหน้าที่ (STRUCTURAL FUNCTIONAL THEORY) ท ฤ ษ ฎี โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ แ น ว คิ ด ข อ ง ห น้ า ที่ ห น้ า ที่ ( S T R U C T U R A L (CONCEPT OF FUNCTIONAL FUNCTION) THEORY) วิ ธี ที่ ค ร อ บ ค รั ว จั ด ร ะ บ บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม บ ท บ า ท ย่ อ ย ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ที่ ไ ด้ รั บ ซึ่ ง เ กี่ ย ว ข้ อ ง โ ด ย ต ร ง กั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ซึ่ ง กั น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว กั น ค ร อ บ ค รั ว มี ห น้ า ที่ จ ะ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม บ ท บ า ท ที่ สั ง ค ม ค า ด ห วั ง ก า ร เ ช่ น ค ร อ บ ค รั ว เ ดี่ ย ว แ ส ด ง บ ท บ า ท ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว จ ะ ค ร อ บ ค รั ว ข ย า ย ห รื อ ใ น เ ป็ น ไ ป ต า ม ต า แ ห น่ ง ห น้ า ที่ ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง อ า น า จ แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล เ ช่ น เ ป็ น บิ ด า เ ช่ น ม า ร ด า ห รื อ บิ ด า เ ป็ น ม า ร ด า ส า มี ภ ร ร ย า บุ ต ร ใ ห ญ่ 4 มิ ติ ย่ อ ย มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ แ ล ะ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ซึ่ ง ประการที่ 1 หน้ําที่ด้านความรักความเอาใจใส่แก่ กั น แ ล ะ กั น ดั ง นี้ ครอบครัว (affective function) มิติที่ 1 โครงสร้างบทบาท (ROLE STRUCTURE) ประการที่ 2 หน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดู เช่น สามี-บิดา ภรรยา-มารดา (socialization function) มิติที่ 2 ระบบค่านิยม (VALUE SYSTEMS) ความเชื่อและทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ประการที่ 3 หน้าที่ในการผลิตสมาชิกใหม่ มิติที่ 3 กระบวนการสื่อสาร (reproductive function) (COMMUNICATION PATTERNS PROCESSES) ความรู้สึก ความต้องการ ประการที่ 4 หน้าที่ในด้านเศรษฐกิจ (economic มิติที่ 4 โครงสร้างอำนาจ (POWER SYSTEMS) function) การจัดการกับสถานการณ์ที่วิกฤติภายใน ครอบครัว ประการที่ 5 หน้าที่ในการดูแลสุขภาพ (health care function) TEACHER อาจารย์ดร.พิมพ์พิสาข์ จอมศรี | อาจารย์ดร.ปิยธิดา จุลละปีย

(ABCX MODEL OF FAMILY STRESS) ทฤษฎีวิกฤติ ส า เ ห ตุ ข อ ง ภ า ว ะ วิ ก ฤ ติ รู ป แ บ บ ก า ร ป รั บ ตั ว ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว 1 . ภ า ว ะ วิ ก ฤ ติ จ า ก ก า ร DOUBLE ABCX MODEL เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม พั ฒ น า ก า ร ก า ร เ จ ริ ญ 1. ระยะการรับมือชั่วคราว (Adjustment เ ติ บ โ ต จ า ก ช่ ว ง วั ย ห นึ่ ง ไ ป phase) สู่ อี ก ช่ ว ง วั ย ห นึ่ ง โ ด ย เมื่อครอบครัวเผชิญกับการเสียสมดุลจาก เ ฉ พ า ะ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สถานการณ์วิกฤติใด ๆ (stressor; A) เช่น การ จ า ก วั ย เ รี ย น ไ ป สู่ วั ย รุ่ น เจ็บป่วย รุนแรงของสมาชิกครอบครัว การหย่า ร้าง หรือการเสียชีวิตของสมาชิกในครอบครัว 2 . ภ า ว ะ วิ ก ฤ ต จ า ก เ ห ตุ ก า เป็นต้น ร ณ 3 ป ร ะ เ ภ ท คื อ 2. ระยะการปรับตัวถาวร (Adaptation phase) 1) เกิดจากการเจ็บป่วยและอุบัติเหตุ เช่น บุคคล ครอบครัวที่เผชิญกับเหตุการณ์วิกฤติและผ่าน ในครอบครัวได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคร้ายแรง ระยะการรับมือชั่วคราวไปแล้ว แต่ครอบครัวยัง หรือบุคคลในครอบครัวประสบอุบัติเหตุร้ายแรง ไม่สามารถแก้ไขเหตุการณ์วิกฤตินั้นได้หรือ จนต้องสูญเสียอวัยวะหรือพิการ เป็นต้น แก้ไขได้ไม่ดีหรือเหตุการณ์นั้นก่อให้เกิดปัญหา 2) เกิดจากสิ่งแวดล้อม เช่น อุบัติภัย อุทกภัย เพิ่มมากขึ้น วาตภัย และอัคคีภัย เป็นต้น 3) เกิดจากภาวะด้านจิตใจและสังคม เช่น ผู้มีราย ได้หลักของครอบครัวต้องตกงาน การสูญเสีย บุคคลในครอบครัว หรือการหย่าร้าง TEACHER อาจารย์ดร.พิมพ์พิสาข์ จอมศรี | อาจารย์ดร.ปิยธิดา จุลละปีย

(ABCX MODEL OF FAMILY STRESS) ทฤษฎีชีวนิเวศวิทยา พั ฒ น า ขึ้ น โ ด ย U R I E 3. บริบทแวดล้อม (CONTEXT) หมายถึงสิ่ง BRONFENBRENNER แวดล้อมที่อยู่รอบตัวของบุคคล แบ่งออกเป็น 4 ระบบ ดังนี้ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ท ฤ ษ ฎี ชี ว นิ เ ว ศ วิ ท ย า 1) ระบบเล็ก (micro-systems) เช่น ครอบครัว พี่ PROCESS - PERSON น้อง เพื่อน โรงเรียน CONTEXT - TIME 2) ระบบกลาง (meso-systems) เป็นการมี (PPCT MODEL) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมในระบบเล็กด้วย กันเอง 1. กระบวนการ (PROCESS) เช่น ปฏิสัมพันธ์ 3) ระบบภายนอก (exo-systems) เป็นสิ่งแวดล้อม ระหว่างพ่อแม่และเด็ก หรือเด็กกับเด็ก ภายนอกที่มีอิทธิพลต่อระบบกลางและระบบเล็ก แต่ ไม่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับบุคคล 2. บุคคล (PERSON) คือศูนย์กลางของระบบมี 4) ระบบใหญ่ (macro-systems) เป็นสิ่งแวดล้อม คุณลักษณะ 4 ด้าน ใหญ่สุด เช่น สังคม เศรษฐกิจ เชื้อชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรม 1) ด้านความต้องการ (demand characteristics) เช่น โรค ข้อจากัด หรือการพึ่งพิง 4. เวลา (TIME) 2) ทรัพยากรภายใน (bioecological resources) เช่น ประสบการณ์การเจ็บป่วย ความรู้เกี่ยวกับโรค 1) การเปลี่ยนแปลงตามวิถีชีวิตปกติ เช่น การเข้า หรือทักษะการดูแลสุขภาพ โรงเรียน การแต่งงาน และการเกษียณอายุ 3) ด้านการแสดงออก (dispositions) 2) การเปลี่ยนแปลงนอกเหนือวิถีชีวิตปกติหรือสิ่งที่ 4) ด้านลักษณะทางประชากร (demographic ไม่คาดคิด เช่น การหย่าร้าง เจ็บป่วย กะทันหัน หรือ characteristics) เช่น อายุ เพศ และเชื้อชาติ ตาย TEACHER อาจารย์ดร.พิมพ์พิสาข์ จอมศรี | อาจารย์ดร.ปิยธิดา จุลละปีย

(FAMILY THERAPY THEORY) ทฤษฎีครอบครัวบําบัด เ ริ่ ม ม า จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ทฤษฎีการให้คำปรึกษาครอบครัวเชิงการ ค ร อ บ ค รั ว ข อ ง ผู้ ป่ ว ย จิ ต สื่อสาร (COMMUNICATION FAMILY เภท (SCHIZOPHRENIA) THERAPY THEORY) แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว ข อ ง เ ด็ ก ที่ มี ปั ญ ห า ท า ง อ า ร ม ณ์ เวอร์จิเนีย ซาเทียร์ (Virginia Satir) การบำบัดมุ่ง เน้นไปที่การสร้างการสื่อสารที่ชัดเจน สอดคล้องกัน ทฤษฎีการบำบัดครอบครัวเชิง และการเปลี่ยนแปลงกฎของครอบครัว โครงสร้าง (STRUCTURAL FAMILY THERAPY THEORY) VIRGINIA SATIR เป็นบุคคลสาคัญและถือว่า เป็น “มารดาแห่งการบาบัดด้วยครอบครัว” นักบำบัดพยายามขจัดความสัมพันธ์ที่ผิดปกติ ภายในครอบครัวและทำให้กลับมามีสุขภาพที่ดีขึ้น ทฤษฎีการบำบัดครอบครัวเชิงระบบ (FAMILY SYSTEMS THERAPY THEORY) โดย เมอร์เรย์ โบเวน (Murray Bowen) - มุ่งเน้น การส่งเสริมให้ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล จากสมาชิกในครอบครัว TEACHER อาจารย์ดร.พิมพ์พิสาข์ จอมศรี | อาจารย์ดร.ปิยธิดา จุลละปีย

(NURSING THEORIES AND HEALTH PROMOTION MODELS) ทฤษฎีการพยาบาลและ รูปแบบการสร้าง เสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม รูปแบบจำลองข้ามทฤษฎีหรือ ระยะการ (OREM’S SELF-CARE DEFICIT เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม THEORY (TRANSTHEORETICAL MODEL) 1.บุคคลเป็นองคร์วมที่เป็นระบบเปิด 1) ระยะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 2. สิ่งแวดล้อมมีผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ 2) กระบวนการเปลี่ยนแปลง ต่อชีวิต สุขภาพ ของบุคคล ครอบครัว ชุมชน 3) ดุลยภาพในการตัดสินใจ 4) สมรรถนะของตนเอง 3. สุขภาพ (well being)คือการรับรู้ถึงภาวะของ ตนเอง 4. การพยาบาล สนับสนุนให้คนดำรงไว้ซ่ึงการมี สุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดี รูปแบบความเชื่อด้านสุขภาพ ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถ ตนเองหรือการรับรู้ (HEALTH BELIEF MODEL: HBM) สมรรถนะ แห่งตน (SELF-EFFICACY THEORY) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล การรับรู้สมรรถนะแห่งตน TEACHER อาจารย์ดร.พิมพ์พิสาข์ จอมศรี | อาจารย์ดร.ปิยธิดา จุลละปีย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook