สง่ิ มีชีวิตกบั สง่ิ แวดลอ้ ม สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 ตัวชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาตรแ์ ละเทคโนโลยี สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำยะลำ เขต 1
ส่ิงมีชีวติ กับส่งิ แวดลอ้ ม สิ่งมีชวี ติ สามารถดารงเผา่ พนั ธุต์ ่อไปได้ ขนึ้ อยู่กับหลายปัจจยั เช่น การ หาอาหาร การลา่ เหยื่อ การปรับตัวให้เขา้ กับสภาพแวดล้อม ดงั น้ัน ส่งิ มีชวี ิตแตล่ ะชนดิ จึงตอ้ งปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดลอ้ มในแตล่ ะแหล่ง ที่อย่อู าศยั ใหไ้ ด้ เพอื่ การดารงชวี ิต การปรับตัวของสิ่งมีชีวติ ในแต่ละแหลง่ ท่ีอยู่ แหลง่ น้า : บริเวณทีม่ กี ารละสมของนา้ บนผิวโลก ㆍ แหลง่ นา้ ผิวดนิ ทเ่ี ปน็ นา้ จดื ได้แก่ ทะเลสาบนา้ จืด แม่นา้ ลา ธาร ห้วย หนอง คลอง บึง ㆍ แหลง่ น้า ผิวดนิ ท่เี ปน็ นา้ เต็ม ไดแ้ ก่ ทะเลสาบน้า เค็ม ทะเล มหาสมุทร การปรบั ตัวของพชื ในแหล่งน้า ㆍ ผักตบชวา และบวั จะมชี อ่ งอากาศเล็ก ๆ จานวนมากอยู่ ภายในก้าน ใบและก้านดอก ทา ใหล้ าตน้ มีนา้ หนักเบาและ ลอยน้าได้ การปรบั ตวั ของสตั ว์ในแหลง่ น้า ㆍ ปลามรี ูปรา่ งเพรียวยาวเพ่ือลดแรงตา้ นของน้า และมี ครีบเพื่อชว่ ยใน การเคลื่อนที่ในนา้ ㆍ สตั วส์ ะเทินนา้ สะเทินบก เชน่ กบ ในขณะท่ีเปน็ ลกู ออ็ ด อาศัยอยู่ ในน้า หายใจทางเหงือกตอ่ มาเมื่อมกี าร เจรญิ เติบโตเตม็ ทจ่ี ะหายใจ ทางปอด
ส่ิงมีชวี ติ กับส่ิงแวดลอ้ ม ป่าชายเลน : พ้นื ทร่ี อยตอ่ ระหวา่ งแผ่นดินและทะเลทีม่ กี ารเปล่ยี นแปลง สภาพแวดล้อมตลอดเวลา สภาพป่าชายเลนจะมลี ักษณะของดิน ㆍ ความเค็มของน้า ทะเล การขน้ึ -ลงของน้า ระบบนเิ วศทีม่ คี วามเค็ม ㆍ มดี ินเลนที่มีอนิ ทรยี สารจานวนมาก ทา ให้พืชเจริญเติบโตไดด้ ี และมี สตั วอ์ าศัยอย่จู านวนมาก เนือ่ งจากมสี ภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมและมีแหลง่ อาหารอดุ มสมบรู ณ การปรับตัวของพืชในป่าชายเลน • บริเวณป่าชายเลนจะมนี า้ ทว่ มขัง เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ล ของน้าข้ึน นา้ ลงส่งผลใหแ้ กส๊ ออกซิเจนในอากาศไม่ สามารถแพรก่ ระจายลงสู่ดินได้ เช่น รากของตน้ แสมต้องการแกส๊ ออกชเิ จน เชน่ เดยี วกบั พืชชนดิ อน่ื แตด่ ว้ ยพืน้ ทที่ มี่ ีนา้ ท่วมขงั ตลอด จงึ มกี ารพัฒนาราก หายใจโผลพ่ ้นเหนือดินเพ่อื รบั แก๊สพืช ไดแ้ ก่ โกงกาง ตะบนู แสม ประสกั เสม็ด ปรง การปรับตวั ของสตั ว์ในปา่ ชายเลน • ปา่ ชายเลนเปน็ แหลง่ อาหารท่ีมคี วามอดุ มสมบรู ณ์ จงึ มีสตั ว์ อาศยั อย่จู านวนมาก เชน่ ปูแสม หอยนางรม หอยแมลงภู่
ส่ิงมชี ีวติ กับส่ิงแวดลอ้ ม บริเวณขั้วโลก : ขวั้ โลก คอื พ้นื ทที่ ้งั หมดที่ถกู ปกคลุมด้วยนา้ แขง็ และมีอากาศหนาวเยน็ ขว้ั โลกแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน ดังนี้ ㆍ ขั้วโลกเหนอื เป็นพ้นื ท่กี วา้ งของมหาสมทุ รทีน่ า้ กลายเป็นนา้ แข็ง และมหี มิ ะปกคลุม ไมม่ แี ผ่นดินและพนั ธ์ุพชื ㆍ ขวั้ โลกใต้ เป็นแผ่นดินขนาดใหญ่ทีถ่ ูกปกคลุมด้วยหิมะและน้าแข็ง การปรบั ตวั ของพชื บริเวณขัว้ โลก • ปา่ ไมค่ ่อยมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพ เน่อื งจากมี อากาศหนาวเย็น จึงมีพนั ธ์พุ ชื ไมห่ ลากหลายพืชบาง ชนดิ มีความทนทานสูง บาง คร้ังอาจจมใตห้ มิ ะเป็น เวลานานนบั ปี จงึ มโี อกาสเจรญิ เติบโตได้อกี ครัง้ ในฤดู ร้อน หญ้าและพชื ท่ีอย่บู ริเวณขว้ั โลก เช่น สน มอสส์ ตะไครน่ า้ การปรับตัวของสตั วบ์ ริเวณข้วั โลก • ขั้วโลกเหนอื : มีสัตว์อาศยั อยตู่ ลอดปี แตส่ ตั วบ์ าง ชนดิ จะยา้ ยมาอาศยั อยูใ่ นฤดูที่อบอุ่น สตั ว์ในขั้วโลก เหนอื สว่ นใหญม่ ีขนหนา ยาว ปกคลุ่มทว่ั ตัวและมี ชน้ั ผิวหนังหนา เพอ่ื สร้างความอบอุน่ ให้แก่ร่างกาย เชน่ หมขี ้ัวโลก สิงโตทะเล • ข้ัวโลกใต้ : เป็นบริเวณที่มีมหาสมทุ รล้อมรอบ เปน็ แหล่งทีอ่ ยู่ อาศัยของสตั วห์ ลายชนิด ซึง่ มีการ ปรับตวั โดยมีขนและไขมันหนา เพอื่ ป้องกันความ หนาวเยน็ แต่มสี ตั ว์เพียงไมก่ ่ีชนดิ ที่อาศยั อยู่ ขั้วโลก ใตต้ ลอดปี เชน่ เพนกวนิ แมว
ส่ิงมีชีวติ กับส่ิงแวดลอ้ ม ทะเลทราย : เป็นบริเวณท่กี ว้างใหญ่ ปกคลมุ ด้วยทราย ไมเ่ หมาะกับการดารงชีวติ ทาให้พบจานวน ชนดิ ของสิ่งมีชวี ิตคอ่ นข้างนอ้ ย ㆍมีอากาศหนาวจดั ในเวลากลางคืน และมอี ากาศรอ้ นจดั ในเวลากลางวนั ㆍบางสว่ นของทะเลทรายจะถกู น้า กดั เซาะเป็นแอง่ ทาใหร้ องรับนา้ ฝนไวใ้ หส้ ัตว์ที่ อาศัยในทะเลทรายใช้ ปัจจัยที่สาคัญตอ่ การดารงชีวติ ในทะเลทราย คอื น้า การปรับตัวของพชื ในทะเลทราย พชื ในทะเลทรายมกี ารปรบั ตัวเพอ่ื ความอยู่รอดในสภาพแหง้ แล้ง 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ -การปรบั ตัวด้วยการเก็บน้า ไว้ในลาต้น หรือมีรากหยง่ั ลึกในดินเพอื่ หานา้ -การปรบั ตวั ด้วยการลดรูปของใบให้มขี นาดเล็กลง หรอื มีสารคลา้ ยข้ผี งึ้ คลอื บ ผิวใบเพอ่ื ลด การคายนา้ -การปรบั ตวั ด้วยการผลติ เมล็ดทที่ นทานตอ่ ความแห้งแลง้ การปรบั ตัวของสตั ว์ในทะเลทราย -สัตว์ทม่ี ีการปรับตัวโดยการจาศลี ตลอดช่วงเวลาทอี่ ากาศรอ้ นจัดและออกหา กินเมอื่ ฝนตกหรอื ออกหากินในเวลากลางคนื เชน่ กระรอกทะเลทราย สุนัขจ้งิ จอก ทะเลทรายในชว่ งเวลาที่แลง้ จัด -สตั วท์ มี่ กี ารปรับตวั ทางสรรี ะ เพอ่ื ใหม้ ีชวี ติ รอดในสภาพอากาศท่ีเปลี่ยนแปลง อย่างรนุ แรง และเพอื่ ป้องกนั อนั ตราย เชน่ อูฐ กิง้ ก่าหนาม
ส่ิงมชี วี ติ กับส่ิงแวดลอ้ ม ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มชี ีวติ และส่ิงมีชีวิต การอยู่รว่ มกันของสง่ิ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ ย่อมมคี วามสัมพันธเ์ กี่ยวเนอื่ ง กนั ไมท่ างตรงก็ทางอ้อม เชน่ เสอื กบั หญ้า โดยเสือไม่กนิ หญา้ แต่กินสตั วก์ ิน หญ้า เช่น กระต่าย กวาง วัว เปน็ ตน้ เพ่อื ให้งา่ ยตอ่ ความเขา้ ใจ จึงมีการใช้ เครอ่ื งหมายต่อไปนี้แสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งกล่มุ สิ่งมีชวี ติ ที่อาศัยรว่ มกัน + หมายถึง การได้ปะโยชน์จากอกี ฝา่ ยหนง่ึ - หมายถึง การเสียประโยชน์ใหอ้ กี ฝ่ายหนง่ึ 0 หมายถงึ การไม่ได้ประโยชน์แตก่ ็ไมเ่ สียผลประโยชน 1. ภาวะพง่ี พากนั (mutualism : +/+) เป็นความสมั พันธท์ สี่ ิ่งมีชวี ติ 2 ชนิด ได้ประโยชนร์ ว่ มกัน โดย ตอ้ งอาศัยอยรู่ ว่ มกันจงึ จะสามารถดารงชีวติ อยูไ่ ด้ เชน่ รากับสาหร่าย (ไลเคน) แบคทีเรียไรโซเบียมในปมรากถ่วั 2. ภาวะการได้รบั ประโยชนร์ ่วมกนั ( protocooperation : +/+) เป็นความสัมพันธ์ที่สง่ิ มีชีวติ ตา่ งได้ประโยชนท์ งั้ 2 ฝ่าย แต่ไม่ จาเปน็ ต้องอาศัยอยูร่ ่วมกัน เช่น ดอกไม้กบั แมลง นกเอ้ียงกับควาย ปูเสฉวนกับดอกไมท้ ะเล 3. ภาวะเกือ้ กลู หรือภาวะองิ อาศยั (commensalism : +/0) เป็นความสมั พันธท์ ี่ส่งิ มชี วี ิตชนดิ หนง่ึ ได้ประโยชน์ สว่ นสงิ่ มีชวี ติ อกี ชนดิ หนง่ึ ไมเ่ สยี ประโยชน์ เช่น กลวั ยไม้บนต้นไม้ใหญ่ และปลา ฉลามกบั เหาฉลาม ทม่ี าของภาพ http://www.rspg.or.th/tis_museum/semi_articles/semi_articles_8/semi_article_8.html
ส่ิงมีชวี ติ กับส่ิงแวดลอ้ ม 4.ภาวะปรสิต (parasitism:+/-) เชน่ เป็นความสมั พันธท์ สี่ ิง่ มชี วี ติ ชนิดทีเ่ สยี ประโยชน์ เรียกว่า ผถู้ ูก อาศยั (host) และสงิ่ มีชวี ติ ท่ีไดป้ ระโยชน์ เรยี กว่าปรสิต (parasite) การฝากบนตน้ ไม้และพยาธใิ บไมใ้ นตับ 5. ภาวะการลา่ เหยอ่ื ( predation : +/-) เปน็ ความสมั พันธ์ท่ีสิ่งมชี วี ติ ชนิดหนง่ึ เสียประโยชน์ เรยี กว่า เหยื่อ (prey)และส่ิงมีชีวิตอีกชนิดหน่งึ ได้ประโยชน์ เรยี กว่าผลู้ า่ (predator) เชน่ เสือลา่ กวาง นกกินปลา จ้ิงจอกลา่ กระต่าย 6. ภาวะเป็นกลาง (neutralism : 0/0) เปน็ ความสมั พันธ์ทีส่ ง่ิ มชี วี ิตทงั้ 2 ฝ่าย ไม่ไดแ้ ละไม่เสียประโยชน์ เกดิ ขึ้นเม่อื คสู่ มั พนั ธม์ ีการดารงชีวติ ท่แี ตกตา่ งกนั เชน่ กระต่ายและนกฮกู ทีอ่ าศยั อยใู่ นป่า 7. ภาวะมีการแก่งแย่งหรือแข่งขนั (competition : -/-) เปน็ ความสัมพนั ธ์ท่สี ิ่งมีชวี ติ ทีอ่ ยู่รว่ มกันตอ้ งแก่งแย่งปจั จัยท่ีจาเป็นตอ่ การ ดารงชวี ติ เช่น การแย่งกนั ครอบครองอาณาเขต การแยง่ อาหาร นา้ และแสงแดด เชน่ แมวแย่งกินอาหาร 8. ภาวะย่อยสลายซาก (aprophytiam : +/0 ) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มีชีวติ กบั ซากของสง่ิ มีชวี ติ โดยผยู้ ่อยสลายย่อยซาก อนิ ทรียสาร (decomposer) เป็นสารอนินทรียก์ ลับสู่สิ่งแวดล้อม เชน่ แบคทเี รีย เหด็ และรา ทม่ี าของภาพ http://www.rspg.or.th/tis_museum/semi_articles/semi_articles_8/semi_article_8.html
ส่ิงมีชวี ติ กับส่ิงแวดลอ้ ม กลุ่มส่ิงมีชวี ิตที่อาศยั อยรู่ ่วมกันจะถา่ ยทอดพลังงานจากผู้ผลิตไปยงั ผู้บรโิ ภค โดยการกนิ กนั เปน็ ทอดๆ ต่อเน่ืองเป็นลูกโซ่ เรียกวา่ โซ่อาหาร (food chain) เชน่ หญา้ ตั๊กแตน กบ งู เหยยี่ ว ลาดบั ขน้ั การกินอาหารในระบบนเิ วศสามารถประกอบดว้ ยโซอ่ าหาร ที่ซบั ซ้อน เรียกว่า สายใยอาหาร (food web) นกฮูก สุนัขจิง้ จอก นก กระต่าย หนู ตั๊กแตน แครอท หญ้า ข้าว
ส่ิงมีชวี ติ กับส่ิงแวดลอ้ ม การถ่ายทอดพลังงานในโซ่อาหารหรือสายใยอาหารแต่ละครง้ั จะถกู ถ่ายทอด ไปยงั ผบู้ รโิ ภคลาดบั ถัดไปเพยี งรอ้ ยละ 10 สว่ น พลงั งานอกี ร้อยละ 90 จะถูก เปล่ียนไปเปน็ พลังงานความร้อน การถา่ ยทอดพลงั งานในโซ่อาหารอาจแสดงใน รูปแบบท่ีเรยี กวา่ พรี ะมดิ พลังงานของสิ่งมีชีวติ (pyramid of energy) ซ่ึงเป็น พรี ะมิดแสดงปรมิ าณพลังงานของแตล่ ะลาดับขน้ั ของการกนิ โดยผูผ้ ลติ จะอยูใ่ น ลาดับล่างสุด นอกจากน้ียังสามารกแสดงในรูปของพีระมดิ จานวนของสิ่งมีชวี ิต (pyramid of numbers) และพีระมดิ มวลของส่งิ มชี ีวิต ภาพแสดง พรี ะมดิ พลงั งาน ภาพแสดง พีระมิดจา้ นวนของสง่ิ มชี ีวติ ภาพแสดง พรี ะมิดมวลของสง่ิ มชี วี ิต ทีม่ าของภาพ http://jeerapa-thong.blogspot.com/2016/03/blog-post_12.html
ส่ิงมชี ีวติ กับส่ิงแวดลอ้ ม ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิง่ มชี ีวิตและส่ิงไมม่ ีชีวติ ในการดารงชีวิตของสิ่งมชี วี ิตจาเปน็ ตอ้ งอาศยั สิ่งแวดล้อมตา่ ง ๆ เพ่อื ชว่ ยใน การดารงชีวิต ซงึ่ ส่ิงแวดลอ้ มจดั เปน็ ปจั จัยไมม่ ชี วี ติ ส่งิ แวดล้อมทจี่ าเป็นต่อการ ดารงชวี ิต ไดแ้ ก่ แสง อณุ หภูมิ นา้ ดิน แรธ่ าตุในดนิ อากาศ • แสงสว่าง พืชใช้แสงในการสงั เคราะห์แสงและแสงสว่างเปน็ ตัวกระตุน้ ให้ สัตว์กลางวันออกหากิน • อณุ หภูมิ นกและสตั ว์เล้ยี งลูกด้วยน้านมจะออกหากินอพยพย้ายถนิ่ ฐาน ไปยังบรเิ วณทีม่ ีอณุ หภูมิเหมาะสมกวา่ • แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์และแกส๊ ออกซิเจน พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซดใ์ น การสงั เคราะหแ์ สงและสตั ว์ใช้แก๊สออกซเิ จนในการหายใจ • แร่ธาตุตา่ ง ๆ เช่น ไนโตรเจนในการหายใจโพแทสเซยี ม จาเปน็ ต่อการ เจรญิ เตบิ โตและกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ของพืช • นา้ หรอื ความชน้ื น้า เป็นวตั ถดุ บิ ในการสงั เคราะหแ์ สงและใช้เป็นตัวทาละลาย สารบางชนดิ ทาใหเ้ กดิ ปฏิกิรยิ าตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย • สภาพภูมิประเทศ สภาพภมู ปิ ระเทศ เชน่ ความสูงของพืน้ ท่ที ่แี ตกตา่ งกนั ทาให้ องคป์ ระกอบของส่ิงมชี วี ติ แตล่ ะพน้ื ท่ีต่างกัน • ความเปน็ กรด-เบส พชื แตล่ ะชนดิ เจริญเตบิ โตไดด้ ใี นดนิ ทมี่ ีความเปน็ กรด-เบส ตา่ งกนั
สมบัตขิ องวัสดุ สสารและสถานะของสาร สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 ตวั ชว้ี ดั ป.4/1, ป.4/3, ป.4/4 ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส้านกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
สมบัติของวัสดุ วัสดุ หมายถงึ สิ่งทน่ี ามาทาของเลน่ ของใช้ โดยวสั ดรุ อบ ๆ ตัวเรามีท้งั วสั ดุ ธรรมชาติ ซ่งึ ได้จาก สิ่งมชี วี ิตและสิ่งไม่มชี วี ติ และวสั ดสุ งั เคราะห์ วสั ดธุ รรมชาติ หมายถึง วสั ดตุ ่างๆทีไ่ ดจ้ าก ธรรมชาติ เชน่ หนิ ดนิ ทราย ไม้ เปลือกหอย ขนสัตว์ เส้นใยจากพชื ยางธรรมชาติ เปน็ ตน้ ดนิ ไม้ หิน วสั ดุสงั เคราะห์ วัสดทุ ี่เกดิ จากการสงั เคราะห์สารเคมีหรือนา วสั ดุธรรมชาตมิ าดัดแปลงด้วยกรรมวิธีต่างๆเช่น กระดาษ ผา้ พลาสติก โลหะ ยาง ปนู พลาสเตอร์เป็นตน้ เชอื กไนลอน เส้นใยสังเคราะห์ ผ้าโพลิเอสเตอร์ ไหมพรม
สมบตั ิของวัสดุ ความแข็งของวัสดุ คือ ความสามารถทนตอ่ การขูด ขดี ขว่ น หรือทาให้ วสั ดสุ กึ กรอ่ น วัสดแุ ต่ละชนดิ มคี วามแขง็ แตกตา่ งกัน วสั ดุที่มีความแขง็ นอ้ ยเมื่อ ถกู ขูดขดี จะเปน็ รอย ง่าย หรือถูกตดั ใหข้ าดจากกันง่าย วัสดทุ ีม่ ีความแข็งมากเมอ่ื ถูกขดู ขีดจะเปน็ รอยน้อย หรือไมเ่ ป็นรอย หรอื ถกู ตัดใหข้ าดจากกันยาก การทดสอบความแข็งของวสั ดุ 2.ความยดื หย่นุ ความยืดหยุ่นของวสั ดุ คอื ลกั ษณะของวัสดุเมือ่ ถูกดงึ บบี หรือกระแทก และสามารถ คนื สสู่ ภาพเดมิ ได้ หรือใกลเ้ คียงสภาพเดมิ ได้ แต่ถ้าวัสดทุ ่มี สี ภาพยืดหยุ่นถูก แรงกระทาให้ เกิดสภาพยืดหยุ่นมาก ๆ จะทาให้วัสดนุ นั้ ๆ สูญเสยี สภาพยดื หยนุ่ ได้ วสั ดุบางชนิดยงั มีสมบัติดา้ น สภาพยดื หยุ่น เช่น เด็ก ๆ กระโดดบนแทรมโพลีน ซ่ึง เปน็ เครอื่ งเล่น ท่ที าจากยาง ฟองน้ามคี วามยดื หยุน่ จงึ กลับส่สู ภาพเดมิ ได้
สมบตั ขิ องวัสดุ 3. การนา้ ความรอ้ น การนาความรอ้ นของวัสดุ คือ ความสามารถของวัสดุในการ สง่ ผ่านความรอ้ นจากท่หี นึง่ ไปยงั อกี ท่ีหนึง่ ได้ วัสดุที่นาความร้อน จะร้อนได้เร็วเมอ่ื ได้รบั ความรอ้ น วสั ดุแตล่ ะชนิด เม่อื ได้รับความ ร้อนจะยอมใหค้ วามรอ้ นผ่านไดไ้ ม่เทา่ กัน วัสดทุ ยี่ อมให้ความรอ้ นผ่านได้ เหลก็ เหลก็ ดี เรยี กว่า ตัวน้าความรอ้ น ซ่งึ ส่วน วัสดุท่ีนาความรอ้ น ใหญ่เปน็ วสั ดุประเภทโลหะ เชน่ เงิน ทองแดง เหลก็ อะลมู ิเนยี ม วัสดทุ ่ี ไมย่ อมใหค้ วามรอ้ นผ่านได้ เรยี กว่า ฉนวนความรอ้ น ซง่ึ วัสดทุ ีเ่ ปน็ ฉนวนความร้อน เชน่ แก้ว พลาสติก ผ้า กระดาษ กระเบ้ือง ไม้ วสั ดุฉนวนความรอ้ น
สมบตั ิของวสั ดุ 4. การน้าไฟฟา้ การน าไฟฟา้ ของวสั ดุ คือ ความสามารถของวสั ดุทยี่ อมใหพ้ ลงั งานไฟฟา้ เคลอ่ื นทผี่ า่ นวสั ดุนีไ้ ด้ วัสดแุ ต่ละชนดิ สามารถยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหล ผ่านไดแ้ ตกตา่ งกนั ➢ วัสดุทยี่ อมใหก้ ระแสไฟฟา้ ผา่ นได้ดี เรียกว่า ตัวนา้ ไฟฟา้ ➢ วสั ดทุ ไี่ มย่ อมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านได้ เรียกวา่ ฉนวนไฟฟา้
การใชป้ ระโยชนจ์ ากวสั ดุ 1.การใช้ประโยชน์จากความแข็งของวสั ดุ โลหะ มคี วามแข็งทนทาน จงึ นามาใช้ทาโครงสรา้ งของรถ โครงสรา้ ง อาคาร ประตูรั้ว ไม้ มีความแขง็ จงึ นามาใช้ทาโตะ๊ เก้าอี้ ประตู ตู้ อฐิ มคี วามแขง็ จึงนามาใชท้ ารว้ั ผนังอาคาร
2.การใช้ประโยชน์จากสภาพยดื หย่นุ ของวสั ดุ ฟองนา้ มคี วามยดื หยนุ่ และนมุ่ จึงนามาใช้ทาเบาะชุดรบั แขก เบาะรถยนต์ 3.การใชป้ ระโยชนจ์ ากการนา้ ความร้อนของวสั ดุ การใชห้ ม้อสเตนเลส เพอื่ ใหน้ าความรอ้ น ไปยงั อาหารและทาใหอ้ าหาร สกุ ได้เรว็ ถงุ มือกนั ความร้อน เปน็ อปุ กรณ์ท่ี ทาจากวสั ดุทเ่ี ป็นฉนวนความร้อน จงึ ป้องกนั ไมใ่ ห้ความรอ้ นถ่ายโอน มายังมือเรา
4.การใชป้ ระโยชน์จากการน้าไฟฟา้ ของวัสดุ วสั ดุแตล่ ะชนดิ มีสมบตั ดิ ้านการยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้ แตกต่างกนั เราสามารถนาสมบัตทิ ่ีแตกตา่ งกันดงั กลา่ วมาใช้ประโยชน์ ในการทาสงิ่ ของเคร่ืองใช้ เชน่ เต้าเสียบ ซึ่งทามาจากทง้ั วสั ดทุ ีน่ าไฟฟา้ เพอื่ ใหส้ ามารถนากระแสไฟฟ้าไปยงั เครอื่ งใช้ไฟฟ้าให้สามารถทางานได้ และวสั ดทุ เี่ ป็นฉนวนไฟฟ้า เพือ่ ป้องกันไม่ใหไ้ ฟฟ้าดดู
สสารรอบตัวเรา สสาร วัตถุตา่ ง ๆ ท่อี ย่รู อบตวั เรามคี วามหลากหลายทัง้ ขนาด รปู รา่ ง สี กลิ่น ที่แตกตา่ งกนั เราเรยี กวัตถตุ ่าง ๆ เหล่าน้ันว่า สสาร (matter) ส่วน คาวา่ สาร (substance) ทเ่ี ราคุ้นเคยนนั้ ใชเ้ รยี กสารท่มี ีสมบัติ จาเพาะ เจาะจง เช่น น้าตาลทราย เกลอื แอลกอฮอลล์ นา้ ตาลทราย เกลือ สถานะของสสาร วัตถุต่าง ๆ ท่ีอยรู่ อบตัวเราจะมรี ปู รา่ ง ขนาด สี ท่แี ตกต่างกัน แตว่ ัตถุต่าง ๆ เหล่านนั้ ล้วนแล้วแต่มีสง่ิ ทเี่ หมือนกนั คอื เปน็ สง่ิ ท่ีมีมวล และต้องการท่ีอยู่ ซง่ึ เรยี กว่า สสาร โดยสสารรอบตัวเรานั้นสามารถ จัดจาแนกได้เป็น ๓ สถานะ คือ ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
สมบตั ขิ องของแข็ง ของเหลว และแกส๊ 1.น้า แข็ง เป็น ส สาร ท่ีอยู่ใ น ของแข็ง การจัดเรยี งอนุภาคของของแขง็ สถานะของแข็ง ซ่ึงของแข็งมี อนุภาคเรียงชิด ติดกันอย่าง หนาแน่น ดังน้ัน ของแข็งจึงมีทั้ง รู ป ร่ า ง แ ล ะ ป ริ ม า ต ร ค ง ตั ว ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่ บรรจุ 2.น้า เป็นสสารที่อยู่ในสถานะ ของเหลว การจดั เรยี งอนภุ าคของของเหลว ของเหลว ซ่ึงของเหลวมีช่องว่าง ระหว่าง อนุภาคอยู่บ้าง ทาให้ อนุภาคของของเหลวมีอิสระใน การเคล่ือนท่ี ดังนั้น ของเหลว จึงมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตาม รู ป ร่ า ง ข อ ง ภ า ช น ะ ที่ บ ร ร จุ แตย่ งั คงมี ปรมิ าตรเท่าเดมิ 3.ไ อ น้ า เ ป็ น ส ส า ร ที่ อ ยู่ ใ น แก๊ส การจดั เรียงอนุภาคของแก๊ส สถานะแก๊ส ซึ่งมีรูปร่างและ ปริมาตร เปล่ียนแปลงไปตาม รูปร่างและขนาดของภาชนะท่ี บรรจุ เนื่องจากแก๊ส มีช่องว่าง ระหว่างอนุภาคมากจึงอยู่ห่าง กัน ดังน้ัน อนุภาคของแก๊สจึง ส า ม า ร ถ เ ค ล่ื อ น ที่ ไ ป ท่ั ว ทุ ก ทิศทางทง้ั ภาชนะที่บรรจุ
เสียงและการได้ยิน สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตราฐาน. ว 2.3 ตัวชีว้ ดั ป.5/1, ป.5/2 , ป.5/3 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 สำระกำรเรยี นรูว้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สา้ นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
เสยี งคืออะไร เกิดขึ้นและเคลอื่ นที่ไดอ้ ยา่ งไร เสียง เปน็ พลงั งานรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะเปน็ คล่ืน เกิดจาก การส่นั สะเทอื นของวัตถุและเรียกวตั ถุที่สัน่ สะเทอื นว่า แหล่งก้าเนดิ แสง แหลง่ ก้าเนิดเสียง คือ วัตถุที่ทาให้เกิดเสียง เมื่อเกิดการส่ันสะเทือน จะทาให้เกิดเสียงท่ีมี ความแตกตา่ งกนั ไปตามระดบั ความดงั ของเสียงมีหนว่ ยวัดเป็น เดซิเบล (db) ประเภทของแหลง่ ก้าเนิดเสียง 1.แหลง่ ก้าเนิดเสียงทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ คือ แหล่งกาเนิดเสียงที่ให้เกิดเสียงข้ึน จากการกระทาของมนุษย์ ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การดดี การสี การตี และการเป่า จนทา ให้เกิดเป็นเสียงขึ้น กลายเป็นแหล่งกาเนิด เสียงท่มี นษุ ยส์ ร้างข้ึน 2. แหล่งก้าเนดิ เสียงตามธรรมชาติ คือ แหล่งกาเนิดเสียงท่ีให้เกิด เสียงข้ึนเองโดยธรรมชาติ เช่น เสี ยง สั ต ว์ ห รื อ เสี ยง ท่ี เกิ ด จ า ก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น เสียงน้าตก เสียงคล่ืนกระทบฝั่ง เสียงสัตว์ร้อง เสียงลม เสียงฟ้า รอ้ ง และฟา้ ผ่า
เสยี งคืออะไร เกดิ ขึน้ และเคลอ่ื นทไ่ี ดอ้ ยา่ งไร การเคล่ือนทข่ี องเสียง การเดินทางของเสยี ง ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนท่ี ตวั กลางเป็นไดท้ งั้ ของแข็ง ของเหลว แกส๊ (อากาศ) การได้ยนิ เสยี ง ต้องอาศยั ตัวกลางของเสียงมายังอวยั วะรบั เสยี ง (ห)ู ของเรา ตวั กลางของเสียง เสียงเดินทางได้ในตัวกลางท่ีเป็นของแข็ง ของเหลว ก๊าซ แต่มีความ แตกตา่ งกนั “เสยี งเคล่อื นที่ไดด้ ที ส่ี ดุ ในตวั กลางทีเ่ ป็น ของแขง็ รองลงมา คือ ของเหลว และก๊าซ ตามลา้ ดบั ” แกส๊ ของเหล ของแข็ง ว
เสียงคอื อะไร เกิดขนึ้ และเคลอื่ นทีไ่ ด้อย่างไร เสียงดงั เสยี งคอ่ ย เกดิ จากพลงั งานจากแหล่งกาเนิดเสียง เคลื่อนทม่ี าถึงหูของเรา พลังงานมาก เสียงดัง พลงั งานนอ้ ย เสียงค่อย เสยี งสูง (แหลม) – เสยี งต่า้ (ทุ้ม) เกดิ จากความถีใ่ นการส่ันของแหลง่ กาเนดิ เสยี ง ความถีม่ าก (ส่นั มาก) เสียงสูง(แหลม) ความถ่ีน้อย (สัน่ น้อย) เสยี งต้่า (ทุ้ม)
เสียงคืออะไร เกิดขึ้นและเคลอื่ นทีไ่ ด้อยา่ งไร ความถ่ี มหี น่วยเปน็ เฮิร์ซ (จา้ นวนรอบท่ีส่ัน/วนิ าท)ี ความถี่ตา้่ สุดและความถส่ี ูงสดุ ที่คนปกตไิ ด้ยนิ คือ 20 – 20,000 เฮริ ซ์ ความถต่ี า้่ สุดและความถสี่ งู สดุ ที่สนุ ขั ไดย้ นิ คอื 15 – 50,000 เฮริ ซ์ การไดย้ นิ เสยี ง ประกอบดว้ ย 1. แหลง่ กา้ เนดิ เสียง 2. ตวั กลางของเสยี ง 3. หู
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: