Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5ดี พรีเมี่ยม กะลุวอเหนือ

5ดี พรีเมี่ยม กะลุวอเหนือ

Published by Niya J., 2021-06-11 18:33:34

Description: 5ดี พรีเมี่ยม กะลุวอเหนือ

Search

Read the Text Version

การประเมนิ คดั เลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชวี้ ัดท่ี 2 มีการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ ครกู บั ผเู้ รียนได้มีการจดั ทาํ แผนการจัดการเรียนรู้ วางแผน ออกแบบกจิ กรรม ผลติ สื่อร่วมกนั ถา่ ยทอด ความรู้สึกนึกคิด คุณธรรม การค้นพบสิ่งแปลกใหม่ ร่วมกันพัฒนาสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ให้ผู้เรียน มี ความเชื่อมั่นในตนเอง กระตือรือร้น กล้าแสดงความคิดเห็น รู้จักยอมรับข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ส่งเสริม ให้ ผู้เรียนถามตอบ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้และ ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่มี ความหมายตอ่ ตนเอง เปน็ ผู้จดั โอกาส บรรยากาศ ส่งิ แวดลอ้ ม และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อ้อื ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 47

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชวี้ ัดที่ 3 มีการออกแบบการจัดการเรยี นรหู้ รอื ส่ือการเรยี นการสอน ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย และ น่าสนใจ นํานวัตกรรม Learning Scan by kaluwonuea “เพียงแค่สแกนก็เกิดการเรียนรู้ได้” ได้นําส่ือ เทคโนโลยีมาปรับใช้การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom การเรียนทางช่องโทรทัศน์ EN การเรียนทางเว็บไซต์การออกแบบการจัดการเรียนรู้หรือสื่อการ เรียนการสอนใหม้ ี ผ่านสืบค้น รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลผ่านการสแกน QR Code เป็นคลังรวบรวมความรู้ที่ หลากหลาย ทนั สมยั และนา่ สนใจ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 48

การประเมนิ คดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชีว้ ัดที่ 4 มีทักษะในการกระตุ้นการเรยี นรู้ และพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง กศน.ตาํ บลกะลวุ อเหนอื ดาํ เนนิ การจัดกจิ กรรมเน้นกระบวนการมสี ่วนรว่ ม กระบวนการกลุ่ม การทำ โครงงาน เพ่ือพัฒนาผเู้ รียน และกระตุ้นการทํางาน เพื่อให้ผูเ้ รียนมีการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง เปน็ คนเก่ง คนดี และมีความสุข กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 49

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ช้ีวัดที่ 5 มีเทคนคิ การประชาสมั พนั ธ์ กศน.ตําบลกะลวุ อเหนือ ใชส้ ือ่ เทคนคิ ที่หลากหลายการประชาสมั พันธ์ เช่น จดั ทําเว็ปไซด์ กศน. ตําบล / Facebook fanpag ติดตามผู้เรียนผ่าน กลุ่มไลน์ จัดการเรียนรู้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ จัดทําแผนการ ดําเนินงาน / รายงานผลผ่านระบบ DMIS สบื คน้ รวบรวมและเผยแพรข่ ้อมูลผา่ น การสแกน QR Code สบื ค้น ข้อมูลผา่ น Learning Scan by kaluwonuea “เพยี งแค่สแกนก็เกดิ การเรยี นรไู้ ด”้ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 50

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 6 ความพึงพอใจของผเู้ รยี น/ผรู้ ับบริการ มีการสาํ รวจความพงึ พอใจของผ้เู รยี น/ผรู้ ับบรกิ ารแบบประเมินผ่าน Google Form กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 51

องคป์ ระกอบด้านท่ี 2 สภาพแวดล้อมทางกายภาพของ กศน.ตาบล ดึงดดู ความสนใจและเอื้อต่อการเรียนรู้ (Good Place Best-Check in)

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 องคป์ ระกอบด้านที่ 2 สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของ กศน.ตำบล ดึงดดู ความสนใจและเอื้อตอ่ การเรียนรู้ (Good Place Best-Check in) ---------------------------------------------------- ตวั ช้วี ัดที่ 1 สภาพอาคารอยู่ในสถานทม่ี นั่ คง มีความเปน็ สัดสว่ นและปลอดภยั ด้านอาคารสถานที่ สภาพอาคารอยู่สถานที่มั่นคง มีความเป็นสัดส่วนและปลอดภัย มีการพัฒนา ปรบั ปรงุ อาคารสถานทีท่ ง้ั ภายในและภายนอกให้มคี วามพร้อมในการให้บรกิ ารใหม้ ีความสะอาด ร่มรน่ื สวยงาม ปลอดภยั เหมาะสมและมีบรรยากาศเอื้อตอ่ การสง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 52 กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 มีการจัดสภาพแวดลอ้ มโดยยึดหลัก 5 (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสยั ) การสร้างบรรยากาศ กศน.ตําบลกะลวุ อเหนือ ใหเ้ อื้อต่อการเรียนรู้ (Good Place Best Check-in) เปน็ ปจั จัยสําคัญที่จะดึงดดู ให้ผ้เู รียนเขา้ มาแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เนื่องจาก กศน.ตาํ บลกะลวุ อเหนือ ต้งั อยูใ่ จกลาง ชุมชน และตั้งอยู่ใกล้มสั ยิดซึง่ เปน็ ศนู ย์รวมการทํากจิ กรรมต่างๆ ของคนในชมุ ชน โดยมีการจดั มมุ ใหค้ วามรู้ ตา่ งๆ เช่น มมุ สง่ เสริมและพัฒนาประชาธปิ ไตย มุมเรียนรู้ ICT มมุ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ มุมรักการอา่ น มุม เศรษฐกิจพอเพยี ง รวมทง้ั ยังม่งุ เน้นใหเ้ ปน็ กศน.ตําบล 5 ส. คือ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สรา้ งนสิ ยั และสะดุดตา กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 53

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชว้ี ัดที่ 3 ผใู้ ช้บรกิ าร เกดิ ความรสู้ กึ เปน็ มติ ร (friendly) สะอาดตา (tidy) ปลอดภัย (safely) มี ชีวิตชีวา (tively) และมีความสุข (happy) ในการเข้าใช้บริการ กศน.ตําบลกะลวุ อเหนือ เป็นแหลง่ เรียนร้ทู ี่หลากหลาย มีอาคารสถานที่ทง้ั ภายใน และภายนอกทม่ี ี ความพร้อมในการให้บริการ อาคารมน่ั คง มีความสะอาด ร่มรน่ื สวยงาม ปลอดภยั จดั มุมเพ่ือ การเรยี นรู้ สาํ หรับผู้ทม่ี าใช้บริการ เกดิ ความรูส้ กึ สะดวก สบาย มวี ัสดุ อปุ กรณ์ เพยี งพอกบั ความต้องการเหมาะสม และมี บรรยากาศเอ้ือต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรผู้ ูม้ าใชบ้ ริการมีความสุข กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 54

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชีว้ ัดที่ 4 มีการแสดงขอ้ มูลสารสนเทศตามบริบทของ กศน.ตําบล ทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั มีการแสดงข้อมูลสารสนเทศตามบริบทของกศน.ตําบล ที่เป็นปัจจุบันจัดทาํ ระบบฐานข้อมูลใน ระบบ DMIS ในการบริหารจัดกิจกรรม จัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี นําเสนอแผนต่อคณะกรรมการกศน.ตําบล พิจารณา อนุมัติ พร้อมนําข้อมูลที่มีความจําเป็นต่อการดํารงชีวิตประจําวัน เช่น ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ในชุมชน สถานที่ท่องเที่ยวในตำบล ได้จัดทําข้อมูลสารสนเทศเผยแพร่ในรูปแบบผ่านร้านค้าออนไลน์ (OOCC) เฟสบุ๊ค กลุ่ม LINE ผ่านแอปพลิเคชั่นต่างๆ จดั หาสอื่ การเรยี นรปู้ ระเภทตา่ ง ทงั้ ส่อื เอกสารสิ่งพิมพ์ แผ่นปา้ ยประชาสัมพันธ์ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เว็ปไซต์ และยังจัดอบรมให้ประชาชนได้มีทักษะความรู้ในการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต นาํ ไปใช้ ให้ทันตอ่ เหตกุ ารณท์ ่ถี ูกตอ้ งและทนั สมัย กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 55

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ช้วี ัดที่ 5 มเี อกลักษณ์/อตั ลักษณ์ ของตาํ บลตามบริบทของพน้ื ที่ กศน.ตําบลกะลวุ อเหนือ ยดึ ชมุ ชนเป็นฐานในการดําเนินงานและการจดั การเรยี นรู้ กศน.ตําบลกะลุวอ เหนอื ตงั้ อยู่ทศ่ี าลาตันหยงศรัทธามัย ใชเ้ ปน็ สถานที่จัดกระบวนการเรยี นรู้ของชุมชนทงั้ งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน งานการศึกษาตอ่ เน่ือง งานการศึกษาพัฒนาสังคมและชุมชน งานการศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต เป็นแหล่งเรยี นรู้ ต่างๆ ภูมิปัญญา ปราชญ์ ชุมชน วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานภาคีเครือข่าย ผู้นํา ชุมชน ในการดําเนิน กิจกรรม กศน.แบบบูรณาการ การเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวติ ของชุมชน โดยมีคณะกรรมการ กศน.ตำบล ที่เป็นคนในชุมชนให้การส่งเสริมสนับสนุนติดตามและร่วม ประเมนิ ผลการดําเนินงาน กศน.ตําบล กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 56

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ชีว้ ดั ที่ 6 มีสิง่ อํานวยความสะดวกที่หลากหลายทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ เชน่ โตะ๊ เกา้ อี้ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ กศน.ตาํ บลกะลวุ อเหนือ มีโตะ๊ เก้าอ้ี คอมพิวเตอร์สาํ หรับบริการสบื คน้ ข้อมูล โทรทศั น์ เครื่องเล่นดวี ดี ี อุปกรณ์รบั สญั ญาณดาวเทียม วทิ ยุ ฯลฯ และดูแล บาํ รงุ รักษาวัสดุ และครุภัณฑ์ ใหอ้ ย่ใู นสภาพที่ พร้อมใช้งาน ส่ือการเรยี นรทู้ ุกประเภท เชน่ หนงั สอื แบบเรียน สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ ชุดการเรยี น หนังสอื ทวั่ ไป กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 57

การประเมนิ คดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชว้ี ดั ที่ 7 เปน็ สถานที่ที่ใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีในการเรียนรขู้ องผู้ใช้บรกิ าร ได้แก่ internet ,wifi ส่อื การเรยี นรู้ของผู้เขา้ ใช้บริการ กศน.ตาํ บลกะลุวอเหนอื เปน็ สถานที่ทใ่ี ชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีในการเรยี นรู้ของผ้ใู ชบ้ รกิ าร ได้แก่ internet ,wifi สือ่ การเรยี นรู้ของผ้เู ข้าใชบ้ รกิ าร 1. จดั ทําเว็บไซด์ กศน.ตําบล / Facebook fanpage 2. ตดิ ตามผู้เรียนผา่ น กลุ่มไลน์ 3. จดั ทาํ แผนการดาํ เนินงาน / รายงานผลผา่ นระบบ DMIS 4. สืบคน้ รวบรวมและเผยแพรข่ ้อมูลผ่านการสแกน QR Code 5. สืบคน้ ขอ้ มลู ผา่ น Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแคส่ แกนก็เกดิ การเรยี นรู้ได้” กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 58

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ชี้วดั ท่ี 8 เป็นจดุ เชค็ อิน (check in) ท่ีส่งผลตอ่ การเรียนรขู้ องผ้เู รยี นรูอ้ อนไลนเ์ ป็นตน้ กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ ตั้งอยู่ใจกลางชุมชน และตั้งอยู่ใกล้มัสยิดซึ่งเป็นศูนย์รวมการทํากิจกรรม ต่างๆ ของคนในชมุ ชน เปน็ จุดเช็คอนิ แหลง่ เรยี นรทู้ างวัฒนธรรม และเป็น จุดเช็คอนิ (Check in) สําหรับผู้มา เยอื น กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 59

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชีว้ ัดท่ี 9 มีการจดั ทํารหัสควิ อาร์โค้ด (QR Code) เพ่ือในการศกึ ษา เรยี นรู้ ขอ้ มลู ตา่ งๆ กศน.ตาํ บลกะลวุ อเหนอื จัดทําสอ่ื เพ่ือความสะดวก สบาย รวดเรว็ ทันสมัย เรยี นร้ผู ่าน QR Code เพอื่ ศกึ ษาข้อมูลต่างๆ ผา่ นนวตั กรรม Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแคส่ แกนก็เกดิ การเรียนรู้ได้” กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 60

องคป์ ระกอบด้านท่ี 3 กิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน หรอื การศึกษาต่อเน่ือง หรอื การศึกษาตามอธั ยาศยั มีความทนั สมยั มีประสิทธิภาพในการให้บริการ (Good Activities)

การประเมนิ คดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 องค์ประกอบดา้ นที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาขนั้ พื้นฐาน หรอื การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง หรือการศึกษาตามอธั ยาศัย มีความทันสมัย มีประสิทธภิ าพในการให้บริการ (Good Activities) ---------------------------------------------------- ตวั ชี้วัดที่ 1 มีการจัดกจิ กรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหรือการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งหรือการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มผี ล เชงิ ประจักษ์ โดดเด่น และมีการปฏบิ ตั ิทดี่ ีรวมทัง้ มีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ใช้ระบบออนไลน์ 1.1 มกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนร้มู ีผลเชิงประจักษ์โดดเด่น กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ ดําเนินการนําเทคโนโลยีดิจิทัล นวัตกรรมเข้ามาบูรณาการปรับปรงุ พัฒนา และประยุกต์ใช้ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย (Good Innovation) เช่น การจัดการเรียนการ สอนผา่ นห้องเรยี นออนไลน์ การสรา้ ง QR Code เพื่อรวบรวมองคค์ วามรตู้ ่างๆ เพ่ือตอบสนองแกผ่ เู้ รยี น เรียนรู้ ผา่ น QR Code เพ่อื ศกึ ษาข้อมูลตา่ งๆผ่านนวตั กรรม Learning Scan by Kaluwonuea “เพยี งแค่สแกนก็เกิด การ เรยี นร้ไู ด้”และผู้รบั บริการโดยจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้แก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายในชุมชนร่วมกับเครอื ขา่ ย 1. การจดั ทําแผนจัดการศึกษาเพ่อื การศึกษาข้ันพน้ื ฐานจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การรหู้ นังสอื 2. จดั ทาํ แผนจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ติ การศกึ ษาเพอื่ พฒั นา สงั คมและชมุ ชน ทสี่ อดคล้องกบั ความต้องการของชมุ ชนโดยการนําเทคโนโลยีสมยั ใหม่ และอาชีพใหม่ท่ี สอดคล้องกับสถานการณป์ จั จุบัน จัดการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตาํ บลกะลวุ อเหนือ เป็นศนู ย์กลางการจัดกิจกรรมของชุมชน เช่น เวทชี าวบ้าน สภากาแฟ สถานท่พี บปะเสวนา แลกเปล่ียนความคิดเห็น กิจกรรมศาสนา วัฒนธรรม เวทีประชาธิปไตย กีฬา ฯลฯ โดยครู กศน.ตําบล เป็นผู้ดําเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั้ง เทศบาล ตลอดจนภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้ง อาสาสมัคร ในชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) อาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ข้าราชการบํานาญ เยาวชน ผู้นําท้องถิ่น ในการจัดกิจกรรม เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่าง ต่อเน่อื งไปสู่สังคมแห่งการเรยี นรู้ กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 61

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1.2 มีการปฏิบัตทิ ดี่ ี (Best Practice) กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ มีผลการดําเนินงานเป็นที่ประจักษ์ โดดเด่น มีผลการปฏิบัติที่ดี (Best Practise) ทั้งการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาต่อเนื่องหรือการศึกษาตามอัธยาศัย การเรียนแบบชน้ั เรียนและการใช้ระบบออนไลน์ มกี ารนาํ เทคโนโลยีดิจิทัล มาบรู ณาการและ ประยุกต์ใช้อย่าง เหมาะสมกับทุกกลุ่มเป้าหมาย สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ทีด่ ี (Good Innovation) ด้วยการ นําเทคโนโลยี QR Code มาประยุกต์เป็นช่องทางการเข้าถึงองค์ความรู้ทีค่ รูรวบรวมไวอ้ ย่างเป็นระบบ ทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถ เรยี นรู้บนหลักคดิ Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแคส่ แกนก็เกดิ การเรียนรไู้ ด้” Learning Scan by Kaluwonuea กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 62

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1.3 มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทใี่ ชร้ ะบบออนไลน์ กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้มีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั บริบทชุมชนและความต้องการของกลุม่ เป้าหมายในชมุ ชน โดยการนาํ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และผ่านการสื่อสาร เว็บไซด์ กศน.ตําบล ติดตามงาน กศน.ผ่าน facebook fanpage /Line มีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีใช้ระบบออนไลน์ ผ่านห้องเรียนออนไลน์ ระบบช่วยเหลือผู้เรียนออนไลน์ เรียนรู้ผ่าน Youtube , สืบค้นข้อมูลผ่าน E- book, QR code, มีการขายออนไลน์ผ่าน 00CC ศูนย์จําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ออนไลน์ กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 63

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชว้ี ดั ที่ 2 มีการบูรณาการนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ ได้จัดกระบวนการเรียนรูแ้ บบบูรณาการสอดแทรกเน้ือหาสาระให้กับ ผู้เรียน การศกึ ษาขั้นพื้นฐานการบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการเรยี นการสอน เปน็ รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนที่สร้างกระบวนการเรียนรูท้ ี่ส่งผลใหก้ ับผู้เรยี นเกิดอุปนิสัยพอเพียง ได้เป็นอย่างดี นํา นวตั กรรม Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแคส่ แกนก็เกิดการเรียนรู้ได้” ใหม้ กี าร เรียนรู้จากการจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ” การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานเครือข่ายหรือภูมิปญั ญาท่ีเป็นแบบอย่าง ทด่ี ี การหนำข้าว (พันธุ์ขา้ วไร)่ สบื สานภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น การไถแปร ก่อนการดำนา การหมกั ดองดนิ เพื่อย่อย สลายเพิ่มปริมาณดิน และเป็นปุ๋ยให้กับนาข้าว โดยวิทยากรจากโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริบ้าน โคกปาฆาบือซา กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 64

การประเมนิ คดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชีว้ ัดท่ี 3 มีการออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาของชุมชนและ ความ ตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายอยา่ งครอบคลุมและเปน็ ระบบโดยคํานงึ ถงึ ตน้ นำ้ (Upstrean) กลางน้ำ (Midstream) ปลายน้ำ (Downstream) “คิดเปน็ ” อยบู่ นพื้นฐานความคิดทวี่ ่า ความต้องการของแตล่ ะบุคคลไม่เหมือนกัน แต่ทุกคนมี จุดรวม ของความต้องการที่เหมือนกัน คือ ทุกคนต้องการความสุข เกิดจากการพึ่งพาระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ เช่นเดียวกนั กศน. ได้ร่วมจัดเวทีค้นหาศกั ยภาพ ร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็นการจัดกระบวนการ เรียนรู้ของชุมชน การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย จัดทําหลักสูตรและโครงการที่สอดคล้องกับชุมชนและร่วม ติดตาม ประเมินโดยชมุ ชน/ประชานิเทศ ซึ่งต้องเริ่มจากสิ่งที่ชุมชนมีอยูไ่ ด้จัดกิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กับผู้เรียน และประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับวิชาหน้ากากอนามัย วิชาช่างเชื่อม วิชากระเป๋าจากปาหนัน และ “วิชาการตัดเย็บเสื้อผ้า” ตั้งแต่ต้นน้ำ-กลางน้ำ-ปลายน้ำ ณ ชุมชนตือลาฆอปาลัส ตําบลกะลุวอเหนือ อําเภอเมือง จงั หวัดนราธิวาส ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผผู้ ลติ ผลิตภัณฑ์ ตลาด -การประชาสัมพันธ์รวมกลุ่มผู้สนใจ -เรยี นรูก้ ารหาแบบใหม่ๆมาเป็น -ประชาสมั พนั ธ์/หาชอ่ งทาง –จัดต้ังกลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน การตลาด -เรยี นรจู้ ากการลองผดิ ลองถูก แบบในการตัดเยบ็ เสือ้ ผ้าเป็น -ตลาดชมุ ชนภายในตำบล -เรยี นร้จู ากวทิ ยากรอาชพี -MOU กบั โรงเรยี นในตำบลเพ่ือ - เช่อื มประสานผู้นำ วทิ ยากร ผลิตภณั ฑ์หลัก - ผลติ เสือ้ ผ้าใหก้ ับนักเรยี น ภูมปิ ัญญา หนว่ ยงานเครอื ข่าย -ตลาดร้านค้าชมุ ชนออนไลน์ -สรา้ งระบบการออมทรัพย์ เคร่ืองจักรมคี ุณภาพและทนั สมัย กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ (OOCC) และทันต่อความต้องการของตลาด -ลกู คา้ ประจำ -ลองผดิ ลองถูก เรียนรู้จาก วิทยากรอาชีพในการผลติ เส้ือผา้ รปู แบบใหมๆ่ ให้ทันยคุ ทันสมัย ภาคเี ครือข่ายสนบั สนนุ -โรงเรียนบ้านเขาตันหยงมิตรภาพที่ 153 –กศน.ตำบลกะลวุ อเหนอื -พฒั นาชมุ ชน -วิสาหกิจชมุ ชน - เทศบาลตำบลกะลวุ อเหนือ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 65

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ช้ีวดั ที่ 4 มีการใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับบรบิ ทของผูเ้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ ารในแตล่ ะกจิ กรรม แต่ละพน้ื ท่ี จดั กระบวนการเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย กศน.ตําบลกะลวุ อเหนือ และ กศน.อาํ เภอเมืองนราธิวาส ร่วมกับกลุม่ เป้าหมาย ผู้เรยี น/ผู้รับบริการได้ นําเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน/ผู้รับบริการมาใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ หลากหลายร่วมกับเครือข่ายออกแบบกิจกรรมในลักษณะบูรณาการระหว่างวิถีชีวิตการทํางานและการเรียนรู้ ผ่าน ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการศึกษาอําเภอเมืองนราธิวาส “ห้องเรียนออนไลน์” นํามาใช้ตั้งแต่ การ ประชาสัมพันธ์รับ สมัคร การลงทะเบียนนักศึกษา ซึ่งจะอาศัยระบบออนไลน์ในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งจะมีทั้ง ระบบ OnSite คอื การส่งชุดส่ือผสม ใบความรู้ ใบงาน แบบฝกึ หัดใหก้ ับผเู้ รยี นโดยตรง และระบบ Online คือ การเรียนผ่าน คอมพิวเตอร์ มอื ถือ เว็บไซต์ ซึ่งมหี ลากหลายรูปแบบ เชน่ การใช้ Google Classroom การเปิด ช่อง YouTube การใช้ Application และระบบการเรียนระบบ OnAir ผ่าน ETV ครูจะติดตามผู้เรียนผ่าน page/ facebook/ Line ปัจจุบันเทคโนโลยีดจิ ิทัล และอินเตอร์เน็ต มีความสําคัญต่อการจัดการเรียนรู้กับทุก กลมุ่ เปา้ หมาย Learning Scan by Kaluwonuea “เพยี งแค่สแกนก็เกิดการเรียนรู้ได”้ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 66

องคป์ ระกอบด้านที่ 4 ภาคีเครอื ข่าย ร่วมจดั ส่งเสริม สนับสนุน การจดั การเรียนรตู้ ลอดชีวิตได้อย่างมีคณุ ภาพ (Good Partnership)

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 องคป์ ระกอบดา้ นท่ี 4 ภาคเี ครือขา่ ย ร่วมจดั ส่งเสริม สนบั สนุนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อยา่ งมคี ุณภาพ (Good Partnership) ---------------------------------------------------- ตวั ชี้วัดที่ 1 มีทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรแู้ ละภาคีเครอื ข่ายในระดบั พนื้ ท่ที ี่เป็นปัจจบุ นั กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ มีการจัดทําเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่ายในระดับ พื้นที่ ที่เป็นปัจจุบันได้รวบรวมข้อมูลจัดตั้ง แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา และทําเนียบเครือข่ายการจัดกิจกรรม มี การ เผยแพรผ่ า่ นการสอื่ สาร เว็บไซด์ กศน.ตาํ บล ผา่ น page/ facebook / Line กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 67

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชว้ี ดั ที่ 2 มีภาคเี ครือข่ายในระดับพืน้ ที่ รว่ มวางแผนการจดั การเรยี นรู้ตลอดชีวิต กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ มีการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ซึ่งประกอบคณะกรรมการ กศน.ตําบล ชมรมกํานันผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมหมู่บ้านชุมชน วัด เทศบาล เกษตรอําเภอ รพ.สต.ตำบลกะลุวอ เหนือ พัฒนากรตําบล สหกรณ์ ปศุสัตว์ ประมง ตํารวจ ทหาร ผู้นําท้องถิ่น อสม. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ฯลฯ ร่วมวางแผน/ส่งเสริมร่วมกิจกรรมจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต บริการให้ชุมชนในรูปแบบการบูรณาการการ ทาํ งาน รว่ มกนั ตวั ชีว้ ดั ที่ 3 มีภาคีเครอื ขา่ ยในระดับพ้นื ท่ี ร่วมจัดการเรียนรูต้ ลอดชีวิต กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ มีภาคีเครือข่าย ร่วมจัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้ อย่างมีคุณภาพ (Good Partnership) กศน.ตําบลกะลุลวอเหนือ ร่วมกับภาคีเครือข่าย กรรมการกศน.ตําบล กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ส่วนราชการและองค์กรชุมชน ได้ร่วมกันบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุก รูปแบบให้ชุมชน อย่างเหมาะสมมาโดยตลอด พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ส่งเสริมภูมิปัญญา อาสาสมัครกศน.ตําบล ประจําหมู่บ้าน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านประจําหมู่บ้าน จัดทําบันทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือ (MOU) กับภาคี เครอื ขา่ ย สามารถขบั เคลื่อน กศน.ตำบลกะลวุ อเหนอื กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 68

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ช้วี ัดที่ 4 มภี าคเี ครอื ขา่ ยในระดับพนื้ ท่ี ร่วมนเิ ทศประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ลอดชีวติ มีประชานิเทศ ภาคีเครอื ข่าย ติดตามนิเทศในการดําเนนิ งานในพน้ื ที่ กศน.ตาํ บลกะลวุ อเหนือ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 69

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ชี้วัดท่ี 5 มีภาคเี ครอื ข่ายในระดบั พื้นท่ี รว่ มรับประโยชนก์ ารจดั การเรยี นรู้ตลอดชีวิต มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบในพื้นที่ตําบลกะลุวอเหนือ เครือข่ายผู้จัดกิจกรรมร่วมรับ ประโยชน์การจดั การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อาทิเช่น การจัดการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ เป็นหน่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนในชุมชน ซึ่งมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคีเครือข่าย เป็นผู้ ส่งเสริมสนับสนุน และร่วมจัดกิจกรรม อาทิ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีเป้าหมายให้กับคนในชุมชนได้ เรียนรูต้ ลอด ประโยชน์ท่เี ครอื ข่ายในพืน้ ท่ีได้รับในการจดั การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต การจัดการเรยี นร้แู บบบรู ณาการประโยชนท์ เี่ ครือข่ายและประชาชนในพ้นื ท่ีไดร้ บั ในการจดั การ เรียนรู้ ตลอดชวี ติ กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 70

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชีว้ ดั ที่ 6 มีอาสาสมคั ร กศน.ตำบล อาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ น หรอื อาสาสมคั รรปู แบบอื่นๆ ท่ีส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตไดอ้ ย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ มีอาสาสมัคร กศน.ตําบล หมู่บ้านละ 2 คน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน หมบู่ ้านละ 2 คนร่วมส่งเสริมสนบั สนนุ การจดั การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 71

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ช้ีวดั ที่ 7 มีการจัดทำบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ (MOU) ร่วมกบั หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ในการ จัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ กศน.ตําบลกะลวุ อเหนือ ได้จัดทําบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) ภาคีเครือขา่ ยในการขับเคลื่อน กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ และส่งเสริมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ประชาชนใน ชุมชนให้ทั่วถึงและ เท่าเทยี ม ตัวชี้วัดท่ี 8 มีการดำเนนิ การจัดกิจกรรตามบนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนในระดบั พน้ื ที่ของ กศน.ตำบล ในการจัดการเรยี นรู้ตลอดชีวติ กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ ดําเนินการจัดกิจกรรมตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กบั ภาคี เครือข่าย และหนว่ ยงานภาครฐั ในพนื้ ที่ กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 72

การประเมินคดั เลือก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ชวี้ ดั ท่ี 9 มภี าคีเครอื ข่าย ไดร้ ับรางวัล (โล่, เกียรติบตั ร ฯลฯ) จากการรว่ มจดั ส่งเสริม สนับสนนุ การ จัดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ของ กศน.ตำบล กศน.ตำบลกะลุวอเหนือได้ร่วมงานกับภาคีเครือข่าย สามารถขับเคลื่อนงานในพื้นท่ี จนได้รับรางวัล ภาคเครือขา่ ย ประเภทหน่วยงานเครอื ข่ายภาครัฐดีเดน่ จากหนว่ ยงาน กศน.จังหวดั นราธิวาส กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ 73

องคป์ ระกอบด้านที่ 5 มีนวตั กรรมที่เป็นประโยชน์และสามารถนาไปใช้ได้จริง (Good Innovation)

การประเมนิ คดั เลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 องคป์ ระกอบดา้ นที่ 5 มนี วัตกรรมที่เปน็ ประโยชนแ์ ละสามารถนำไปใช้ได้จรงิ (Good Innovation) ---------------------------------------------------- ตัวช้ีวัดที่ 1 มีการนำเทคโนโลยี หรือนวตั กรรมมาประยกุ ต์ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้ ชุมชนเกิดการเรยี นรู้ตลอดชีวติ กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ มีการนําเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนเพื่อให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ได้นํามาประยุกต์ใช้เทคโนโลยี QR Code เป็นกิจกรรมการ เรียนรู้ของ QR Code สมาร์ทโฟน แอปพลิเคชั่น การเรียนรู้ด้วยตนเองในการจัดการเรียนการสอน เพราะ เทคโนโลยี รหัส QR Code เป็นรูปแบบนวัตกรรมการศึกษาที่สามารถเชื่อมต่อสู่องค์ความรู้ต่างๆ ได้ง่าย รวดเร็ว และทนั สมัย เข้าถึงแหลง่ ข้อมูล คลังข้อมูลออนไลน์คือ เนื้อหาทเี่ ข้าถงึ ได้ง่ายผ่านอนิ เทอร์เน็ต สามารถนํามาใช้ ประโยชน์ใน จัดการเรียนรกู้ บั ผ้เู รยี น ตามบริบทชมุ ชนไดจ้ ริง Learning Scan by Kaluwonuea “เพยี งแค่สแกนก็เกดิ การเรียนร้ไู ด”้ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 74

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชี้วัดที่ 2 มีการทดลอง พัฒนาโดยใช้กระบวนการปฏิบัติที่ดี เพื่อสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้/ นวัตกรรม อาชีพ หรือนวัตกรรมอื่นที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนนั้น อีกทั้งประชาชนสามารถพัฒนาตนเองได้ พฒั นาชมุ ชนไดอ้ ย่างยัง่ ยนื กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ ดําเนินการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้/อาชีพ/ทักษะ ที่สอดคล้องกับบริบท ของชุมชน อกี ทั้งประชาชนสามารถพฒั นาตนเองพัฒนาชมุ ชนไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแค่สแกนก็เกิดการเรียนรู้ได้” ครูยุค 5 G มีการพัฒนา ความรู้ ความสามารถให้ทันยุคปัจจุบัน โดยนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยการผลิตสื่อและใช้ส่ืออย่างเป็น ระบบ ตลอดจนการพัฒนาครูจากผู้ถ่ายทอด มาเป็นผู้แนะนําและที่ปรึกษาครูได้ออกแบบการสอนแบบบูรณา การ ให้ทั้งผู้เรียน และตามบริบทชมุ ชน ได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน และเผยแพรค่ วามร้แู ละ นวัตกรรมที่ได้สู่สาธารณชน โดยอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้และการจัดกิจกรรม มีรูปแบบ การจัดการเรียนรูท้ ่หี ลากหลาย เช่น การพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอน การจัดการทรพั ยากรและแหล่งเรยี นรู้และ การ จัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ให้เหมาะกับลักษณะของผู้เรียนยุคใหม่ที่กระแสเทคโนโลยีพัฒนาอย่างไม่ หยดุ ยงั้ จึงทดลอง พฒั นาโดยกระบวนการปฏิบัติดงั น้ี 1) สร้าง QR Code เพ่ือให้ผสู้ นใจสมคั รเรียนดว้ ยการสแกนควิ QR Code รับทราบข้อมลู งาน กศน. 2) สร้างระบบตรวจสอบความประสงค์การเรียนในรูปแบบต่างๆ ของผเู้ รียนการเลือกการเข้าชั้นเรียน ดว้ ย QR Code ผ่านห้องเรียนออนไลน์ 3) สร้างแบบสอบถามออนไลน์เพื่อให้ผู้เรียนเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน Google Form เมื่อใส่คําถามครบ แล้วแบบสอบถามออนไลน์เพื่อให้นักศึกษาสแกนไปยัง แบบสอบถามออนไลน์ ด้วยโปรแกรม QR Code Generator การเพิ่มเพื่อนแบบ QR Code โดยการสแกนใน Function ของ Line ใช้โทรศัพท์มือถือที่มี โปรแกรม Line แล้วใชร้ ะบบสแกนดจ์ าก QR Code 4) สร้างแบบสอบถามออนไลน์เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วย QR Code เพื่อให้นักศึกษาสแกนไป ยัง แบบสอบถามออนไลนด์ ้วยโปรแกรม QR Code Generator 5) การเพม่ิ เพื่อนแบบ QR Code โดยการสแกนใน Function ของ Line กบั สมารท์ โฟน 6) ออกแบบเทคโนโลยีรหัส QR Code สําหรับการจัดการเรียนการสอน แบบเรียน หนังสือเรียน แบบทดสอบ ใบงาน การเรียนรู้ผ่านโครงงาน งานมอบหมาย การเพิ่มเนื้อหาบทเรียน เพื่อให้นักศึกษาเข้าชั้น เรียน ดว้ ย Google Form สแกนผ่าน QR Code ผ่านหอ้ งเรียนออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟน 7) สร้างแบบ QR Code นําไปสแกน QR Code ที่นักศึกษาได้ไป จะปรากฏเนื้อหาให้นักเรียนศึกษา ในรูปแบบวดี โี อ ใหน้ กั เรียนกดเลน่ วดี ีโอ และทําการศกึ ษาข้อมลู ในวดี ีโอ 8) สร้างแบบ QR Code สําหรับห้องสมุด กศน.ตําบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้สแกน QR Code ในการ เชื่อมโยงข้อมูลหนังสือที่ต้องการค้นหา การยืม และสามารถสแกน QR Code เข้าสู่เนื้อหาตามที่นักศึกษา ต้องการ เรียนรู้ 9) สรา้ งแบบ QR Code สําหรบั บ้านหนงั สือชมุ ชน ตําบลกะลุวอเหนือ ใช้ QR Code ในการเชอื่ มโยง ข้อมลู หนงั สอื ที่ต้องการคน้ หา การยมื และสามารถสแกน QR Code เข้าสู่เน้ือหาตามท่ปี ระชาชนสนใจ 10) ออกแบบ QR Code มาประยุกตใ์ ชไ้ ดห้ ลากหลายรปู แบบ เชน่ แสดง URL ของเวบ็ ไซต์, ข้อความ เบอร์โทรศัพท์และข้อมูลที่เป็นตัวอักษร QR Code ถูกนําไปใช้ในหลายๆ ด้าน เนื่องจากความรวดเร็ว ประโยชน์ที่ เห็นได้ชัดที่สุดของ QR Code คือการแสดงURLของเว็บไซต์เพราะ URL โดย ปกติแล้วจะจดจํา ยากเพราะยาว 75 กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ไลน์กลุ่ม กศน.ตำบลกะลุวอเหนอื กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 76

การประเมนิ คดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตวั ช้ีวัดที่ 3 มีการนำนวตั กรรมทีเ่ กดิ จากการทดลอง การพัฒนามาใช้ หรือเผยแพรผ่ า่ นชอ่ งทางต่างๆ มีการนํานวัตกรรมที่เกิดจากการทดลองการพัฒนามาใช้หรือเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแคส่ แกนก็เกิดการเรยี นรไู้ ด้” เผยแพร่ผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ ดังนี้ 1) ใช้รูปแบบเทคนิคในการส่อื สารท่ีเน้นการสง่ ผ่านความคิดแบบปากต่อปาก จากคนกล่มุ เดยี วกันและ มคี วามเป็นกนั เอง ซ่ึงย่อมสรา้ งความเขา้ อกเขา้ ใจบนพนื้ ฐานของการรับรูส้ ภาพสังคม วัฒนธรรม และวิถปี ระชา ร่วมกนั ได้ เช่น การร่วมจัดเวทใี นชมุ ชนประชาสมั พันธ์บอกต่อปากต่อปาก การนําพรอ้ มนํา Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแค่สแกนกเ็ กิดการเรียนรู้ได้” ทไ่ี ดท้ ดลองใช้แลว้ ไปขยาย บอกเลา่ ประสบการณ์เทคนิค สู่ ชมุ ชน เพือ่ การขยายผลตอ่ ไป 2) QR Code เพ่ือเรยี นรู้ส่ิงรอบๆตัว และกท็ าํ ล้ิงคว์ ีดโี อเร่ืองต่างๆ สอ่ื สารผ่านส่ือสังคมออนไลน์ เน่ืองจาก มีความใกลเ้ คยี งกบั การสื่อสารแบบตวั บุคคล แตม่ ีจดุ เดน่ ทีส่ ามารถส่งตอ่ ข้อมลู สําคัญหรือรปู ภาพต่างๆ ได้อย่าง รวดเรว็ ซง่ึ สามารถสะท้อนถึงข้อเทจ็ จรงิ ได้ดีกว่าคาํ พดู หรอื ตวั หนงั สอื . กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 77

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชวี้ ดั ท่ี 4 มีการประเมินผลการนำนวตั กรรมไปใช้ กศน.ตาํ บลกะลุวอเหนอื มีการประเมินผลการนํานวัตกรรมไปใช้ 1) เพื่อนํา QR Code นวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนแบบบูรณาการให้ทั้งผูเ้ รียน เพื่อ ออกแบบการสร้างองค์ความร้ใู หม่ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึน้ 2) เพื่อนํา QR Code นวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหาในการเรียนการสอนเรื่องจากปัญหาที่มักพบอยู่เสมอ คือ ผู้สอนส่วนใหญย่ งั คงยึดรปู แบบการสอนแบบบรรยายโดยมีครูเป็นศูนย์กลางมากกว่าการสอนในรูปแบบอ่ืน จึงมี แนวคิดนํารูปแบบเทคนิคการสอนด้วยวิธีการ Learning Scan by Kaluwonuea “เพียงแค่สแกนก็เกิด การเรียนร้ไู ด”้ ให้ทนั ยุคออนไลน์ 3) การนําเทคโนโลยีการสแกน QR Code ทําให้ผูเ้ รยี นสามารถเรยี นรู้ไดอ้ ย่างกว้างขวางและได้พบกับ สภาพความจรงิ ในชีวิตมากท่สี ดุ 4) การนํา QR Code มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เป็นการประหยัด ในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี เข้ามา ช่วยในการจัดการเรียนการสอน ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม ช่วยใหบ้ รรยากาศการเรยี นรู้ สนุกสนาน ทําให้ผ้เู รียนเรียนรไู้ ดเ้ ร็วข้ึน ทําใหบ้ ทเรยี นน่าสนใจ ลดเวลาในการสอนและประหยดั ค่าใชจ้ ่าย กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 78

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตัวชี้วัดที่ 5 มีแนวทางการพัฒนาหรือต่อยอด เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ บริบทของชมุ ชน Learning Scan by Kaluwonuea “เพยี งแค่สแกนก็เกดิ การเรียนรูไ้ ด้” มแี นวทางการพัฒนา รปู แบบ และเทคนิคการถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรม ไปเผยแพร่สู่ผู้ใช้จริงได้โดยการนํามาใช้งานกับสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในการทํา กิจกรรมร่วมกันสร้าง ความสนใจและความเชื่อมั่นใน การที่ จะปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการเรียนดั้งเดิมตามความเคยชิน มาสู่การใช้ QR Code ให้มีความรู้ เกี่ยวกับเทคนิค และวิธีการสร้างสรรค์หรือออกแบบแนวทางการนําเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ให้เกิดประโยชน์ สงู สดุ กศน.ตำบลกะลุวอเหนือ 79

การประเมินคดั เลอื ก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คณะผจู้ ดั ทำ ทีป่ รึกษา นายสุรสิทธ์ิ สดุ สาย ผอู้ ำนวยการ สนง.กศน.จังหวดั นราธิวาส นายคณิณ ทองเอียด รองผู้อำนวยการ สนง.กศน.จงั หวดั นราธวิ าส นายจริ วัฒน์ ไทยเก้ือ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งนราธิวาส นางสาวนาริณยี ์ อโนมะศิริ ครชู ำนาญการ นางสาวมณฑาวดี แสงฉายศภุ กุล ครอู าสาสมัครฯ กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ วา่ ทรี่ อ้ ยตรีหญงิ สโรชา ยอดรกั ครูอาสาฯ สถาบนั ศึกษาปอเนาะดารสุ ซอลีฮีน คณะกรรมการ กศน.ตำบลกะลุวอเหนอื และภาคีเครอื ข่าย คณะครูอาสาสมัครฯ คณะครู กศน.ตำบล ผจู้ ดั ทำ มะสาและ ครู กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ มะสาและ ครผู ู้ชว่ ย กศน.ตำบลกะลุวอเหนอื นางสาวนิเม๊าะห์ นางสาวมารีแย ออกแบบและจดั ทำรปู เลม่ ครูผ้ชู ่วย กศน.ตำบลกะลวุ อเหนอื นางสาวนริ อฮายา เจษฎาภา กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ

กศน.ตาบลกะลวุ อเหนือ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งนราธิวาส สานักงาน กศน.จงั หวดั นราธิวาส กระทรวงศึกษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook