Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน 1/64 ม.ปลาย (ศาสนาและหน้าที่พลเมือง)

แผน 1/64 ม.ปลาย (ศาสนาและหน้าที่พลเมือง)

Published by Niya J., 2021-07-26 09:22:58

Description: แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1/2564 ระดับ ม.ปลาย รายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค31002)

Search

Read the Text Version

38 เฉลยใบงานที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรม คา่ นิยม รายวิชา ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง รหสั วชิ า สค31002 1. คำวา่ “วฒั นธรรม” พระราชบญั ญตั ิวฒั นธรรมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2553 หมายถึงอะไร ตอบ หมายถึง วถิ ีการดำเนินชีวติ ความคดิ ความเช่ือ คา่ นิยม จารีต ประเพณี พิธีกรรมและภมู ปิ ญั ญา ซ่งึ กลมุ่ ชนและสังคมได้รว่ มสรา้ งสรรค์ สังคม ปลูกฝังสบื ทอด เรยี นรปู้ รับปรุง และเปลย่ี นแปลง เพ่อื ให้ เกิดความเจริญงอกงามทั้งดา้ นจติ ใจ และวัตถุ อยา่ งสนั ตสิ ุข และยง่ั ยนื 2. เอกลกั ษณ์หรอื ลักษณะประจำชาติ หมายถึง อะไร ในทางวชิ าการมีความหมาย 2 ประการ คือ ตอบ เอกลักษณห์ รือลกั ษณะประจำชาติ มคี วามหมาย 2 ประการ คือ 1. หมายถึง ลกั ษณะทเ่ี ปน็ อุดมคติซงึ่ สงั คมต้องการให้คนในสังคมน้ัน ยดึ มนั่ เป็นหลักในการดำเนนิ ชีวิต เปน็ ลักษณะทีส่ ังคมเห็นวา่ เป็นสิ่งดีงามและให้การเทดิ ทนู ยกย่อง 2. หมายถึงลกั ษณะนสิ ัยที่คนท่ัวไปในสงั คมนนั้ แสดงออกในสถานการณ์ต่างๆเชน่ ในการทำงานการพักผ่อน หยอ่ นใจ และในการดำเนินชีวติ ทัว่ ไปในสงั คมเป็นลักษณะนิสยั ที่พบในคนสว่ นใหญข่ องประเทศ และ สว่ นมากมกั จะแสดงออกโดยไม่รตู้ ัวเพราะเป็นเรื่องของความเคยชินท่ีปฏิบตั ิกันมาอยา่ งนั้น 3. คา่ นิยม หมายถงึ อะไร ตอบ รปู แบบความคิดของสมาชิกในสงั คมทจี่ ะ พิจารณาตดั สิน และประเมนิ วา่ สิง่ ใดมีคุณค่า มปี ระโยชน์ พงึ ปรารถนา ถกู ต้อง เหมาะสม ดงี ามควรท่ี จะยึดถอื และประพฤติปฏบิ ัติ 4. แนวทางการปฏิบัตติ นตามคา่ นยิ ม พน้ื ฐาน มีกปี่ ระการ ได้แกอ่ ะไรบา้ ง ตอบ 5 ประการ คือ 1) การ พึ่งตนเอง ขยนั หม่นั เพยี ร และ มี ความ รบั ผดิ ชอบ 2 ) การ ประหยัด และ อดออม 3) มี ระเบียบ วินยั และ เคารพ กฎหมาย 4) การ ปฏบิ ัติ ตาม คุณธรรม ของ ศาสนา 5) ความ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. ค่านิยมท่สี ำคญั ของสังคมไทยได้แก่ ตอบ 1 ) การ นบั ถือ พุทธศาสนา 2 ) การ เคารพ เทิดทูน พระมหากษัตริย์ 3 ) การ รัก สงั คม ไทย 4 ) ความ ซ่ือสัตย์ สุจริต 5 ) การ เคารพ ผู้อาวโุ ส

39 ใบความรู้ ที่ 3 เร่อื ง วฒั นธรรมประเพณีในประเทศและตา่ งประเทศ รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง รหัสวชิ า สค31002 วัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้น เด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จาก กันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการ บรโิ ภคและสินค้าบริโภค เชน่ วัฒนธรรมระดับสูง วฒั นธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพ้นื บา้ น หรอื วัฒนธรรมนิยม เป็น ตน้ แตน่ กั มานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิไดเ้ ป็นเพยี งสินค้าบรโิ ภค แตห่ มายรวมถึงกระบวนการ ในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการ ปฏบิ ตั ทิ ่ที ำใหว้ ตั ถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยดู่ ว้ ยกนั ในสายตาของนักมานษุ ยวิทยาจงึ รวมไปถึงเทคโนโลยี ศลิ ปะ วิทยาศาสตร์รวมทง้ั ระบบศลี ธรรม วัฒนธรรมในภูมภิ าคต่าง ๆ อาจไดร้ ับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาค อื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ วา่ จะเป็นเรอ่ื งศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัตศิ าสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอด ประเภทของวัฒนธรรม วฒั นธรรม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • วัฒนธรรมทางวัตถุ คือ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อความสุขทางกาย อันได้แก่ ยานพาหนะ ทีอ่ ยู่อาศยั ตลอดจนเครอ่ื งป้องกันตวั ใหร้ อดพ้นจากอันตรายทง้ั ปวง • วัฒนธรรมทางจิตใจ เป็นเรื่องเกี่ยวกับเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ เพื่อให้เกิดปัญญาและมีจิตใจที่ งดงาม อันได้แก่ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม คติธรรม ตลอดจนศิลปะ วรรณคดี และระเบียบแบบแผน ของขนบธรรมเนยี มประเพณี นักมานุษยวิทยาส่วนใหญ่มักใช้คำ \"วัฒนธรรม\" ไปในเชิงของวิสัยสามารถของคนทั่วไปในการบ่งชี้ จัด หมวดหมู่และสื่อถึงประสบการณ์ของตนในลักษณะเชิงสัญลักษณ์ คนเราใช้วิสัยสามารถดังกล่าวสำหรับบ่งช้ี เรือ่ งราวและสงิ่ ต่างๆ ท่ีเกิดในหม่มู นษุ ยด์ ้วยกันมานานมากแลว้ อย่างไรกต็ าม นกั วานรวทิ ยาหรอื ไพรเมตวทิ ยาก็ได้ บ่งชี้ลักษณะวัฒนธรรมดังกลา่ วในวานรหรือไพรเมตซึ่งเป็นกลุ่มสัตว์ที่มีสายพันธุ์ใกล้ชดิ กับมนุษย์มากทีส่ ุดมานาน แล้วเช่นกัน และโดยนักโบราณคดีจะมุ่งเฉพาะไปที่วัฒนธรรมที่เป็นเรื่องราวเท่านั้น (ซากเรื่องราวที่เกิดจาก กิจกรรมของมนุษย์) ขณะเดียวกัน นักมานุษยวิทยาสังคมก็มองไปที่ปฏิสัมพันธ์ของสังคม สถานภาพและสถาบัน ส่วนนกั มานุษยวิทยาวฒั นธรรมกเ็ นน้ ที่บรรทัดฐานและคุณค่า การแบ่งแยกแนวกนั น้ี แสดงให้เห็นถงึ เงื่อนไขที่แตกตา่ งกันทีข่ ึ้นอยูก่ ับงานที่ต่างกันของนักมานุษยวทิ ยา และความจำเปน็ ทจี่ ะต้องม่งุ เน้นจุดการวจิ ยั ที่ต้องชดั เจน จึงไม่จำเปน็ ว่าจะเป็นการสะท้อนถึงทฤษฎีของวัฒนธรรม ซงึ่ ยอ่ มแตกต่างไปตามเชิงของเรอ่ื งราว เชิงสังคม และเชงิ บรรทดั ฐาน (norm) รวมทงั้ ไมจ่ ำเปน็ ต้องสะทอ้ นถึงการ แขง่ ขนั กันเองในระหวา่ งทฤษฎตี ่าง ๆ ของวัฒนธรรม แนวความคดิ ท่เี ก่ยี วข้องกับวฒั นธรรม

40 วัฒนธรรม \"ฟาร์ฮาง\" นบั เปน็ จดุ รวมของอารยธรรมอิหรา่ น จิตรกรรมนกั ดนตรีสตรชี าวเปอร์เซยี จาก \"พระราชวัง สรรค์ 8 ช้นั \" ศิลปะอียิปตโ์ บราณ คำว่า \"วัฒนธรรม\" ในภาษาไทย มาจากคำสองคำ คำว่า \"วัฒน\" จากคำศัพท์ วฑฺฒน\" ในภาษาสันสกฤต หมายถึงความเจริญ ส่วนคำว่า \"ธรรม\" มาจากคำศัพท์ \"ธรฺม\" ในภาษาสันสกฤต หมายถึงความดี เมื่อนำสองคำมา รวมกันจึงได้คำว่า \"วัฒนธรรม\" หมายถึงความดีอันจะก่อให้เกิดความงอกงามที่เป็นระเบียบเรียบร้อยพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ใหค้ วามหมายของวฒั นธรรมไวว้ ่าเปน็ \"ส่งิ ท่ีทำใหเ้ จริญงอกงามแก่หมู่คณะ, วิถีชีวิตของหมู่คณะ , ในพระราชบัญญัติวัฒนธรรม พ.ศ. 2485 หมายถึงลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน, ทางวิทยาการ หมายถงึ พฤตกิ รรมและส่ิงท่ีคนในหมู่ผลิตสร้างขึ้นด้วยการเรียนรจู้ ากกันและกัน และรว่ มใช้อยใู่ นหมู่ของตน แต่ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้นิยามไว้ว่า \"สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมชาวเขา\" คำว่า \"วัฒนธรรม\" ในภาษาไทยตามความหมายนี้ใกล้เคียงกับคำว่า \"อารย ธรรม\" (ดู #วัฒนธรรมในเชิงของอารยธรรม)ส่วนคำว่า \"culture\" ในภาษาอังกฤษ ที่แปลว่าวัฒนธรรมนั้น มาจาก ภาษาละติน คำว่า \"cultura\" ซึ่งแยกมาจากคำ \"colere\" ที่แปลว่า การเพาะปลูก ส่วนความหมายทั่วไปในสากล หมายถงึ รปู แบบของกิจกรรมมนษุ ยแ์ ละโครงสร้างเชงิ สัญลกั ษณ์ทีท่ ำให้กิจกรรมนนั้ เดน่ ชัดและมีความสำคัญ มีการกลา่ วถงึ วัฒนธรรมวา่ เปน็ \"หนทางท้ังหมดแหง่ การดำเนนิ ชวี ิต\" ซ่ึงรวมถงึ กฎกตกิ าแห่งกิริยามรรยาท การแต่งกาย ศาสนา พิธีกรรม ปทัสถานแห่งพฤติกรรม เช่น กฎหมายและศีลธรรม ระบบของความเชื่อรวมทั้ง ศลิ ปะ เชน่ ศลิ ปะการทำอาหาร การนิยามที่หลากหลายนี้สะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่างของทฤษฎีที่จะทำให้เกิดความเข้าใจ หรือทำให้ เกิดเกณฑ์เพื่อใช้ในการประเมินกิจกรรมของมนุษย์ โดยในปี พ.ศ. 2414 เอ็ดเวิร์ด เบอร์เนต ไทเลอร์ ได้พรรณนา

41 ถึงวัฒนธรรมในมมุ มองดา้ นมานุษยวิทยาสังคม ไว้ว่า \"วัฒนธรรม หรือ อารยธรรม หากมองในเชงิ ชาติพนั ธวุ์ รรณนา อย่างกว้าง ๆ ก็คือ ความทับซ้อนกันระหว่างความรู้ ความเชื่อ ศิลปะ ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณีและสมรรถนะ อนื่ ท่มี นุษยต์ ้องการแสวงหาเพือ่ การเปน็ สมาชกิ ของสังคม\" เมื่อปี พ.ศ. 2543 ยูเนสโก ได้พรรณนาถึงวัฒนธรรมไว้ว่า \"...วัฒนธรรมควรได้รับการยอมรับว่าเป็นชุดท่ี เด่นชัดของจิตวิญญาณ เรื่องราว สติปัญญาและรูปโฉมทางอารมณ์ของสังคม หรือกลุ่มสังคม ซึ่งได้หลอมรวม เพมิ่ เติมจากศลิ ปะ วรรณคดี การดำเนนิ ชวี ิต วถิ ชี ีวิตของการอยู่รว่ มกัน ระบบคณุ ค่า ประเพณีและความเช่อื \" ถึงแม้ว่าการนิยามความหมายคำว่า \"วัฒนธรรม\" ของทั้งสองจะครอบคลุมแล้ว แต่ก็ยังไม่เพียงพอสำหรับ คำว่า \"วฒั นธรรม\" ที่มีการใชก้ ันอยู่ ในปี พ.ศ. 2495 อลั เฟรด ครูเบอร์ และไคลด์ คลกั คอหน์ ได้รวบรวมนิยามของ คำ \"วัฒนธรรม\" ได้ถึง 164 ความหมาย ซึ่งได้ตีพิมพ์ลงในหนังสือเรื่อง \"วัฒนธรรม: การทบทวนเชิงวิกฤติว่าด้วย มโนทศั น์และนยิ าม\" (Culture: A Critical Review of Concepts and Definitions) นิยามดังกล่าวนี้ และอีกหลายนิยามช่วยทำให้เกิดองค์ประกอบของรายการวัฒนธรรม เช่น กฎหมาย เครื่องมือสมัยหิน การแต่งงาน ฯลฯ แตล่ ะอยา่ งนมี้ กี ารเกดิ และมคี วามไปเป็นชุดของมันเอง ซง่ึ จะเกดิ เปน็ ช่วงเวลา ในชุดหนึ่งที่หลอมประสานกันแล้วก็ผ่านออกไปเป็นชุดอย่างอื่น ในขณะที่ยังเป็นชุด มันก็จะเปลี่ยนแปลงไปทำให้ เราสามารถพรรณนาได้ถึงววิ ฒั นาการของกฎหมาย เคร่อื งมือฯ และการแต่งงานดังกลา่ วได้ ดังน้นั โดยนิยามแลว้ วฒั นธรรมก็คอื ชุดของเร่ืองราวทางวฒั นธรรม นนั่ เอง นกั มานษุ ยวิทยาเลสลี ไวท์ ต้ัง คำถามไว้ว่า \"เรื่องราวเหลา่ น้ันคืออะไรกันแน่?\" เปน็ เรือ่ งราวทางกายภาพหรอื ? หรือเป็นเรื่องราวทางจติ ใจ ทง้ั สอง อย่าง? หรือเป็นอุปลักษณ์? ในหนังสือเรื่อง \"วิทยาศาสตร์แห่งวัฒนธรรม\" (Science Of Culture 2492) ไวท์ สรุปว่ามันคือเรื่องราว \"sui generis\" นั่นคือ การเป็นชนิดของมันเอง ในการนิยามคำว่า ชนิด ไวท์มุ่งไปที่ \"การ สร้างสัญลักษณ์ซึ่งเป็นประเด็นที่ไม่มีผู้ใดตระหนักถึงมาก่อน ซึ่งเขาเรียกว่า \"ซิมโบเลท\" (the symbolate) คือ เรื่องราวที่เกิดจากการกระทำที่สร้างสัญลักษณ์ ดังนั้น ไวท์จึงนิยามว่า \"วัฒนธรรม คือ ซิมโบเลทในเชิงของบริบท นอกกาย\" คำสำคัญของนิยามนจ้ี ึงไดแ้ กก่ ารคน้ พบซิมโบเลทนนั่ เอง ในการใฝ่หานิยามที่ใช้การได้ นักทฤษฎีสังคมชื่อ ปีเตอร์ วอลเตอร์ กล่าวง่าย ๆ ว่า วัฒนธรรมเป็น \"การ แลกเปลี่ยนเค้าร่างของประสบการณ์\" ซึ่งรวมถึงแต่ไม่จำกัดเฉพาะ ภาษาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและอื่น ๆ รวมท้ัง นิยามก่อน ๆ วฒั นธรรมในเชิงของอารยธรรม ในปัจจบุ ันคนจำนวนมากมคี วามคิดทางวัฒนธรรมท่ีพฒั นามาจากวฒั นธรรมของยโุ รปช่วงคริสตศ์ ตวรรษที่ 18 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณระหว่าง พ.ศ. 2244 – พ.ศ. 2373) ซึ่งประมาณได้ว่าตรงกับแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย วัฒนธรรมท่ีพัฒนาในช่วงระหวา่ งนี้เนน้ ถึงความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมในยุโรปเองและในระหว่างประเทศมหาอำนาจกับประเทศ อาณานิคมทั่วโลกของ ตน ใช้ตัวบ่งช้วี ัฒนธรรมดว้ ย \"อารยธรรม\" แยกความเปรียบตา่ งของวัฒนธรรมดว้ ย \"ธรรมชาติ\" และใชแ้ นวคิดน้ีมา เปน็ ตวั ชีว้ ัดวา่ ประเทศหรือชาติใดมีอารยธรรมมากกวา่ ชาติใด บุคคลใดมีวฒั นธรรมมากน้อยกว่ากัน ดังน้ัน จึงมีนัก ทฤษฎีวัฒนธรรมบางคนพยามยามที่แยกวัฒนธรรมมวลชน หรือวัฒนธรรมนิยมออกจากการนิยามของวัฒนธรรม นักทฤษฎี เช่น แมททิว อาร์โนลด์ (พ.ศ. 2365 - พ.ศ. 2341) มองว่าวัฒนธรรมเป็นเพียง \"ความคิดและการพูดทีด่ ี

42 ที่สุดที่ได้เกิดขึ้นมาบนโลก\" อาร์โนลด์ได้แยกแยะให้เห็นความแตกต่างของวัฒนธรรมมวลชนกับความวุ่นวายใน สังคมและอนาธปิ ไตย ในแนวนี้วฒั นธรรมจะเชื่อมโยงเป็นอยา่ งมากกับการงอกงามของวัฒนธรรม นั่นคือ การปรุง แตง่ ทกี่ า้ วไปข้างหน้าของพฤติกรรมมนุษย์ อาร์โนลดเ์ น้นการใช้คำนี้อย่างคงเส้นคงวา วา่ \"...วัฒนธรรม คือ การไล่ ตามหาความสมบูรณ์สุดยอดด้วยการเรียนรู้ในทุกเร่ืองที่เก่ยี วขอ้ งกับเรา น่ันคือส่ิงทด่ี ที สี่ ุดท่ีไดร้ ับการคิดและพูดขึ้น ในโลก\" ศลิ ปะของ \"วฒั นธรรมขั้นสงู \": ภาพเขยี นโดย เอด็ การ์ เดอกาส ในทางปฏิบัติ วัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับกิจกรรมชั้นสูง เช่นพิพิธภัณฑ์ประเทืองปัญญา ศิลปะและดนตรี คลาสสิก และยังเป็นคำที่พรรณนาถึงผู้รู้และการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมเหล่านี้ นี่คือ กิจกรรมที่เรียกว่า \"วัฒนธรรมขั้นสูง\" เป็นวัฒนธรรมของสังคมกลุ่มชนชั้นกุมอำนาจ ทั้งนี้เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างกับ \"วัฒนธรรม มวลชน\" หรือ \"วฒั นธรรมประชานยิ ม\" นับจากคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา (พ.ศ. 2344) นักวิจารณ์สังคมเริ่มยอมรับถึงความแตกต่างของ \"วัฒนธรรมสูงสุด\" และ \"วัฒนธรรมต่ำสุด\" ดังกล่าวมาแล้ว แต่ก็ได้ย้ำให้เห็นถึงการปรุงแต่งและความละเอียด ซับซ้อนว่าเป็นวฒั นธรรมทีม่ ีการพัฒนาที่วิบัติและไม่เป็นธรรมชาติ บดบังและบิดเบือนความเปน็ ธรรมชาติแท้ของ มนุษย์ และในแงน่ ้ี ดนตรพี ืน้ บ้าน (ทแี่ ต่งโดยชนช้ันแรงงาน) แสดงออกอย่างเปดิ เผยหมดเปลือกถงึ วิถีการดำรงชีวิต ที่เป็นจริง และว่าดนตรีคลาสสิกดเู ปน็ เปลือกผิวเผินและกำลงั ถดถอยลงในแง่การดำรงชีวติ จริง และก็เช่นเดยี วกนั มุมมองนี้ได้พรรณาให้เห็นถึงคนพื้นเมืองในฐานะของ \"คนเถื่อนใจธรรม\" (Noble savage) ที่ดำรงชีวิตอย่างไร้ มลทนิ ไมป่ ระณีตซบั ซ้อนและไม่วิบัตจิ ากระบบชนชน้ั นายทนุ ของโลกตะวันตก ปัจจุบัน นักวทิ ยาศาสตร์สังคมได้ปฏเิ สธแนวคิดของ \"วฒั นธรรมเชิงเอกภาค\" (monadic culture) และ สงั คมทต่ี รงข้ามกบั ธรรมชาติ พวกเขายอมรบั วฒั นธรรมที่ไมใ่ ช่วฒั นธรรมชน้ั สงู สดุ ยอดว่าดีเทา่ ๆ กบั วัฒนธรรมสดุ ยอด (รบั ว่าวฒั นธรรมทไ่ี ม่ใชต่ ะวันตกมีอารยธรรมเทา่ เทยี มกัน และมองวา่ เปน็ วฒั นธรรมเหมอื นกนั แต่เป็นคนละ แบบ ดงั นน้ั นกั สังเกตการณ์วัฒนธรรมจงึ แยกความแตกต่างของวฒั นธรรมข้นั สูงของคนช้ันสงู กบั วฒั นธรรมประชา นยิ มว่าหมายถงึ สินคา้ และกิจกรรมท่ผี ลิตเพื่อวัฒนธรรมและบรโิ ภคโดยมวลชน (เปน็ ทน่ี ่าสงั เกตดว้ ยเชน่ ว่าบางคน จำแนกวฒั นธรรมทงั้ สูงและต่ำว่าเป็นวฒั นธรรมย่อย (subculture) วัฒนธรรมในมุมมองของโลก

43 ในยุคโรแมนตกิ ผู้รอบรู้ในเยอรมัน โดยเฉพาะผหู้ ว่ งใยใน \"ขบวนการรักชาติ\" เช่น ขบวนการรักชาติที่ พยายามก่อต้ังประเทศเยอรมันจากรัฐตา่ ง ๆ ท่ีต่างกม็ เี จา้ ครองนครอยูแ่ ล้ว และกลุ่มผรู้ ักชาติทเ่ี ป็นชนกลมุ่ นอ้ ยที่ พยายามต่อตา้ นจักรวรรดิออสเตรีย-ฮงั การี พวกเหล่านม้ี สี ่วนช่วยพฒั นาหวั เรอื่ งวัฒนธรรมมาสู่ \"มมุ มองของโลก\" มากขน้ึ ในกรอบแนวคดิ ลกั ษณะนี้ มุมมองโลกที่พุ่งไปสู่การจำแนกลักษณะของกลุ่มชาติพนั ธ์ุ มคี วามชัดเจนขนึ้ และไม่ให้ความสำคัญของขนาดกลุม่ ชน แม้จะเป็นแนวคิดที่กวา้ งข้ึนแต่ก็ยงั คงเห็นว่ายงั การแบง่ ความแตกต่าง ระหว่างวัฒนธรรม \"อารยธรรม\" และ วฒั นธรรม \"ดง้ั เดมิ \" หรือ วัฒนธรรม \"ชนเผา่ \" อยู่ ในปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2420) นกั มานษุ ยวิทยา ไดย้ อมรบั และปรับวัฒนธรรม ใหม้ ี นยิ ามท่กี วา้ งข้นึ ให้ประยกุ ต์ได้กบั สงั คมต่าง ๆ ทห่ี ลากหลายไดม้ ากขนึ้ เอาใจใสใ่ ห้ความสนใจกบั ทฤษฎีของ วิวฒั นาการมากข้นึ มีการอนุมาณวา่ มนษุ ย์ทงั้ ปวงววิ ฒั นาการมาเทา่ เทยี มกัน และมนุษย์ทม่ี วี ฒั นธรรมจะตอ้ งเป็น ผลมาจากววิ ฒั นาการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง มีการแสดงถึงความลงั เลทจ่ี ะใชว้ ิวัฒนาการทางชวี วทิ ยามาใช้อธบิ ายความ แตกตา่ งระหวา่ งวัฒนธรรมที่มีลกั ษณะเฉพาะทีต่ า่ งกนั ซ่งึ เป็นแนวที่เป็นการแสดงรูปแบบหรือส่วนหน่งึ ของสังคม เปรียบเทยี บกบั อีกสังคมโดยรวม และแสดงใหเ้ ห็นกระบวนการครอบงำ และกระบวนการต่อตา้ น ในช่วง พ.ศ. 2494 – พ.ศ. 2503 ได้เริ่มมกี ารยกเอา \"กลุ่มวฒั นธรรมย่อย\" ท่มี ีลักษณะเด่นเฉพาะท่ีอยู่ ภายใตว้ ฒั นธรรมที่ใหญก่ วา่ มาเป็นหัวขอ้ การศึกษาโดยนักสังคมวทิ ยา ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 (พ.ศ. 2444 – พ.ศ. 2543) ไดเ้ กิดแนวคดิ ทเี่ รียกว่า \"วฒั นธรรมบรรษทั \" (corporate culture) ทีเ่ ด่นชัดเก่ยี วกับบรบิ ทของการจ้างงาน ในองค์การหรือในทีท่ ำงานขน้ึ วัฒนธรรมในเชิงสัญลกั ษณ์ ภาพจิตรกรรมดอกไม้ ผีเสื้อและ ประติมากรรมหินโดย เช็น ฮองซู ศิลปินสมัยราชวงศ์หมิง (พ.ศ. 2141 - พ.ศ. 2195)ชาวจนี ยกยอ่ งว่าภาพเขียนจนี คือองค์ประกอบหลักของวัฒนธรรมระดบั สงู ในมุมมองเชิงสัญลักษณ์ของวัฒนธรรม ผลงานของคลิฟฟอร์ด เกียรซ์ (พ.ศ. 2516) และวิกเตอร์ เทอร์ เนอร์ (พ.ศ. 2510) ได้หยิบยกสัญลกั ษณ์วา่ เป็นท้ังการกระทำของ \"นักแสดง\" ในสังคมและบริบทที่ทำให้การแสดง นั้นมีความหมาย แอนโทนี พี โคเฮน (พ.ศ. 2528) เขียนถึง \"เคลือบเงาสัญลักษณ์\" (Symbolic gloss) ว่าเป็นตัว ช่วยให้ผู้แสดงทางสังคมสามารถใช้สัญลักษณ์ทั่ว ๆ ไปสื่อและทำความเข้าใจระหว่างกันในขณะที่ยังคงรักษา สัญลักษณ์เหล่านั้นให้คงอยู่กับความสำคัญและความหมายส่วนบุคคลไว้ได้ สัญลักษณ์ช่วยจำกัดขอบเขตความคิด

44 ทางวัฒนธรรม สมาชิกของวัฒนธรรมต้องพึ่งพิงสัญลักษณ์เมื่อจะต้องวางกรอบความคิดและการแสดงออกทาง ปญั ญาของตน โดยสรุป สัญลักษณ์ทำให้วัฒนธรรมมีความเป็นไปได้ แพร่หลาย และอ่านได้ง่าย สัญลักษณ์เป็น \"สายใย แห่งความมีนัย\" (webs of significance) \" เป็นตัวทำให้ \"ความเป็นปกติ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และความ เป็นระบบ\" เกดิ ขึ้นในกลุ่ม ดงั ตวั อย่างของ วลีที่ใชม้ ากจนเบ่อื หู (Stock phrase หรือ Cliché) ขา้ งล่างนี้ \"หยดุ เดีย๋ วนี้ ในนามของกฎหมาย!\" - คำพูดท่มี าจากบทท่ีนายอำเภอหรือผรู้ ักษากฎหมายใช้ในภาพยนตร์ คาวบอยอเมรกิ ัน กฎหมายและความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย – อเมรกิ ัน สันติภาพและความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย – ฟลิ ปิ ปินส์ ประชาชนตอ้ งมากอ่ น - ไทย วัฒนธรรมในเชงิ ของกลไกสร้างเสถียรภาพ ทฤษฎีวัฒนธรรมใหม่พิจารณาถึงความเป็นไปได้ที่ว่าตัววัฒนธรรมเองเป็นผลิตผลของแนวโน้มของ เสถยี รภาพท่ตี กทอดมาจากแรงกดดันของววิ ฒั นาการท่ีมผี ลไปถึงความคลา้ ยของตนเองและยอมรบั ตนเองในสังคม โดยรวม ทเ่ี รียกว่า \"เผ่าชนนิยม\" (Tribalism) วัฒนธรรมและววิ ัฒนาการทางจติ วิทยา นักวิจัยด้าน \"จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ\" โต้เถียงกันว่า จิต คือหน่วยสะสางระบบของการรับรู้ข้อมูลทาง ประสาทที่เกิดจากการคัดเลือกทางพันธุกรรมเพื่อปรับใช้ในการแก้ปัญหาของบรรพบุรุษนานมาแล้ว นักจิตวิทยา เชิงวิวฒั นาการมคี วามเห็นว่า ความหลากหลายของรูปแบบทว่ี ัฒนธรรมของมนุษยร์ ับไวน้ ้นั ถูกกีดขวางไว้ด้วยกลไก ของกระบวนการประมวลขอ้ มูลทีฝ่ งั อยู่ในพฤติกรรมของเรา[ ซง่ึ รวมถงึ หนว่ ยมาตรฐานแหง่ การรบั ภาษา กลไกในการหลีกเลีย่ งการสมสู่กับญาติสนทิ กลไกในการตรวจจบั กลโกง ความพงึ ใจในการเลอื กคกู่ ับความมีเชาว์ปญั ญา กลไกในการเที่ยวคน้ หา กลไกในการหาพวก กลไกในการตรวจหาตัวแทน ความกลวั และกลไกในการปกป้อง (กลไกในการเอาชวี ติ รอด) กลไกเหล่านี้ได้รับการวางให้เป็นทฤษฎีเพ่ือใช้เป็นพื้นฐานทางจติ วิทยาของวัฒนธรรม เพื่อความเข้าใจคำ ว่าวัฒนธรรมอย่างลึกซงึ้ เราจะต้องมคี วามเข้าใจในเงือ่ นไขทางชวี วทิ ยาของความเป็นไปได้เสียกอ่ น วัฒนธรรมภายในสงั คม

45 สังคมขนาดใหญ่มักมี วัฒนธรรมย่อย หรือกลุ่มของคนที่มีพฤติกรรมและความเชื่อที่แปลกไปจากสังคม ใหญ่โดยรวมของตน วัฒนธรรมย่อยอาจเด่นจากอายุของสมาชิกกลุ่มหรอื โดยเช้ือชาติ ชาติพันธุ์ ชั้นทางสังคมหรอื เพศ คุณลักษณะที่เป็นตัวบ่งบอกลักษณะของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยอาจเป็น สุนทรียภาพ ศาสนา อาชีพ การเมือง เพศ หรือความสำคัญขององค์ประกอบเหล่าน้ี แนวทางที่ใช้ปฏบิ ัตกิ ับกลุ่มต่างด้าวและวฒั นธรรมของพวกเขามี 4 ทาง ไดแ้ ก่ • เอกวัฒนธรรมนิยม (Monoculturalism) : ในประเทศยุโรปบางประเทศ วัฒนธรรมมีความผูกพันอย่าง แนบแน่นกับลัทธิชาตินิยม ดังนั้นนโยบายของรัฐบาลจึงใช้วิธีดูดกลืนคนต่างด้าว แต่การเพิ่มขึ้นของการ ยา้ ยถ่ินฐานในชว่ งไม่นานมานี้ ทำให้หลายประเทศเรมิ่ หนั ไปใชแ้ นวทาง \"อเนกวัฒนธรรมนยิ ม\" บา้ งแล้ว • วัฒนธรรมแกนกลาง (Leitkultur หรือ core culture) : เป็นแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นในประเทศเยอรมัน เมื่อเร็ว ๆ นี้ โดยบาสซาม ไทไบ แนวคิดนี้ก็คือชนกลุ่มน้อยสามารถมีเอกลักษณ์ของตนเองได้ แต่อย่าง น้อยต้องสนับสนนุ แนวคดิ ที่เป็นแกนกลางของวัฒนธรรมท่กี ลุม่ ตนรว่ มเป็นสว่ นอยู่ • หม้อหลอมละลาย (Melting Pot) : ในสหรฐั ฯ มุมมองทถ่ี อื ปฏบิ ตั กิ นั ได้แก่การเป็นหม้อหลอมละลาย เปน็ ที่ซง่ึ วัฒนธรรมของตา่ งด้าวท่ีย้ายถิน่ เขา้ มาอยู่หลอมรวมและผสมผสานกันโดยรัฐไมต่ ้องเขา้ ไปย่งุ เก่ยี วดว้ ย • อเนกวัฒนธรรมนิยม (Multiculturalism) : ได้แก่นโยบายที่คนต่างด้าวที่ย้ายถิ่นเข้ามาใหม่ พึงสงวน รักษาวฒั นธรรมดงั้ เดิมของตนไวร้ ว่ มกนั วัฒนธรรมอื่นและมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กนั อย่างสันติ วิธีการที่รัฐดำเนินการกับวัฒนธรรมของกลุ่มต่างด้าวผู้ย้ายถิน่ มักไม่ตกอยู่ในแนวทางปฏิบัติอันใดอันหนึง่ ดังกล่าวข้างต้น ระดับความแตกต่างของวัฒนธรรมย่อยกับวัฒนธรรมเจ้าถิ่น จำนวนผู้ย้ายถิ่นเข้า ทัศนคติของ ประชากรที่มอี ยเู่ ดิม ประเภทของนโยบายของรัฐท่ีใชแ้ ละผลสมั ฤทธิ์ของนโยบายเหล่าน้ี ประกอบกันทำให้ยากที่จะ ได้ผลลัพธ์ที่เป็นแบบทั่วไปได้ เช่นเดียวกันกับวัฒนธรรมย่อยอื่น ๆ ภายในสังคม ทัศนคติที่เป็นกระแสรวมของ ประชากรและการสื่อความระหว่างกลุ่มวัฒนธรรมต่าง ๆ ด้วยกันล้วนมีอิทธิพลมากในผลลัพธ์ที่ได้ออกมา การศกึ ษาวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ในสังคมหนง่ึ เปน็ เรือ่ งซับซ้อนซึ่งการการวจิ ยั ทขี่ นึ้ อยู่กบั ตวั แปรทมี่ ากมายหลายหลาก วัฒนธรรมโดยภูมิภาค วัฒนธรรมภูมิภาคจำนวนมากได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้า ขาย การย้ายถ่นิ ฐาน การส่อื สารมวลชนและศาสนา แอฟริกา แม้จะมีต้นตอที่แตกต่างกัน วัฒนธรรมแอฟริกา โดยเฉพาะวัฒนธรรมแถบใต้สะฮาราซึ่งได้รับการก่อรูป โดยการตกเปน็ อาณานคิ มของยุโรป และโดยเฉพาะแอฟริกาเหนือทถี่ กู กอ่ รูปโดยวัฒนธรรมอาหรบั และอิสลาม

46 อเมรกิ า ผู้ชายชาวโฮปคี นหน่งึ กำลังทอผ้าดว้ ยเครือ่ งทอพ้ืนเมืองใน วัฒนธรรมของอเมริกาได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากชนพื้นเมืองที่อาศัยในผืนทวีปนัน้ มานานก่อนทีช่ าวยุโรป ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่ ผู้มาจากแอฟริกา (โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่ประชากรชาวแอฟริกัน-อเมริกัน) และจากผู้อพยพชาว ยโุ รปต่าง ๆ โดยเฉพาะชาวสเปน ชาวองั กฤษ ชาวฝรั่งเศส ชาวโปรตุเกส ชาวเยอรมัน ชาวไอร์แลนด์ ชาวอิตาลีและ ชาวฮอลแลนด์ เอเชีย แม้ว่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศเอเซียจะสูงมากก็ตาม แต่ก็ยังมีอิทธิพลของการ เปลี่ยนถ่ายวัฒนธรรมให้เหน็ ไม่น้อย แม้เกาหลี ญี่ปุ่นและเวียดนามไม่ใช้ภาษาจีนในการพูด แต่ภาษาของประเทศ เหล่านี้ก็มีอิทธิพลของจีนทั้งการพูดและการเขียน ดังนั้น ในเอเซียตะวันออก อักษรจีนจึงได้รับการยอมรับว่าเป็น ตัวกลางของอิทธิพล ด้านศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพุทธและลัทธิเต๋า มีผลกระทบสูงต่อวัฒนธรรมประเพณีของ ประเทศกลุ่มเอเซียตะวันออก รวมทั้งการมีลัทธิขงจื๊อผสมปนอยู่ในปรัชญาทางสังคมและศีลธรรมของประเทศ เหลา่ น้ี ศาสนาฮินดู และ อิสลาม ส่งอิทธิพลทางวัฒนธรรมต่อประชากรในเอเซียใต้มานานนับหลายร้อยปี เชน่ เดียวกันที่ศาสนาพทุ ธแพรก่ ระจายเปน็ อยา่ งมากในเอเซียตะวนั ออกเฉยี งใต้ แปซิฟกิ เกอื บทุกประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกได้รบั อทิ ธิพลอยา่ งต่อเนอ่ื งจากวฒั นธรรมของชนพื้นถิ่นเดิม แมจ้ ะได้รบั ผลกระทบจากอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรปบ้าง โดยเฉพาะฟิลิปปนิ ส์ และเกอื บทกุ ประเทศในหมูเ่ กาะโปลินีเซยี นบั ถอื ศาสนาครสิ ต์ ประเทศอนื่ ๆ เชน่ ออสเตรเลียและนวิ ซีแลนด์ถกู ครอบงำโดยผู้อพยพท่ีเป็นชนผวิ ขาวและ ลกู หลานของพวกชนเหลา่ น้ี แตถ่ งึ กระน้นั วฒั นธรรมพนื้ ถ่ินออสเตรเลียและวฒั นธรรมเมารีในนวิ ซีแลนดก์ ย็ งั ปรากฏใหเ้ หน็ ชัดเจน

47 ยุโรป วัฒนธรรมยุโรปก็เช่นกันที่ได้ส่งอิทธิพลอย่างกว้างขวางออกไปใกลจากผืนทวีปจากการล่าอาณานิคม ใน ความหมายอย่างกว้างมักเรียกว่าเป็น \"วัฒนธรรมตะวันตก\" อิทธิพลดังกล่าวนี้เห็นได้ชัดจากการแพร่หลายของ ภาษาองั กฤษ และภาษายโุ รปบางภาษาแม้ไมม่ ากเท่า อทิ ธพิ ลทางวัฒนธรรมสำคญั ทมี่ ตี ่อยุโรปได้แก่วฒั นธรรมกรีก โบราณ โรมนั โบราณและศาสนาครสิ ต์ แมอ้ ิทิพลทางศาสนาจะจางลงในยุโรปบา้ งแล้วก็ตามแต่ ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ โดยทั่วไป ประเทศกลุ่มตะวันออกกลางมีวัฒนธรรมสำคัญที่เด่นชัดอยู่ 3 ได้แก่วัฒนธรรมอารบิก วัฒนธรรมเปอร์เซียและวัฒนธรรมตุรกีซึ่งต่างก็มอี ิทธิพลต่อกันและกนั ในระดับต่างมาตลอดช่วงเวลาต่าง ๆ ที่ผ่าน มา ภูมิภาคท้ังหมดเปน็ มุสลิมแตก่ ็มีครสิ เตียนและศาสนาของชนกลมุ่ นอ้ ยบางศาสนาแทรกอยบู่ ้าง วัฒนธรรมอารบิกได้รับอิทธิพลที่ลึกมากจากวัฒนธรรมเปอร์เซียและตุรกีผ่านทางศาสนาอิสลาม ระบบ การเขียน ศลิ ปะ สถาปัตยกรรม วรรณคดีและอ่ืน ๆ ระยะทางท่ีใกล้ของอหิ ร่านส่งอิทธิพลต่อภูมภิ าคท่ีอยู่ใกล้ เช่น อิรักและตุรกี การสืบย้อนทางภาษาพบได้ในสำเนียงอาหรับในภาษาอิรักและภาษาคูเวตรวมทั้งในภาษาตุรกี การ ครอบครองตะวันออกกลางทนี่ านถึง 500 ปขี องพวกออ๊ ตโตมานมอี ทิ ธิพลทรี่ นุ แรงมากต่อวฒั นธรรมอาหรับ ซง่ึ อาจ แผ่ไปไกลถึงอัลจีเรียและจะพบอิทธิพลระดับสูงท่ีอียิปต์ อิรักและลิแวนต์ (Levant) ในแถบตะวันตกของทะเลเมดิ เตอรเ์ รเนยี น ระบบความเชือ่ ศาสนาและระบบความเชื่ออื่น ๆ มักรวมเป็นส่วนที่แยกไม่ได้กับวัฒนธรรม Religion ในภาษาอังกฤษน้ัน มาจากภาษาละติน religare มีความหมายว่า \"to bind fast\" หรือ \"การผูกมัดที่แน่นหนา\" ศาสนามีบทบาทใน วัฒนธรรมในประวตั ศิ าสตร์ของมนษุ ยชาตมิ าโดยตลอด[ ศาสนามักกำหนดกฎระเบียบปฏิบัติ เช่น \"บัญญัติ 10 ประการ\" ในศาสนาคริสต์ หรือ \"ศีลห้า\" ใน พระพุทธศาสนา ในบางครั้งก็เกี่ยวพันกับรัฐบาล เช่นในระบอบ \"เทวาธิปไตย\" (theocracy) รัฐที่ปกครองโดยใช้ หลกั ศาสนา นอกจากน้ศี าสนายังมีอิทธพิ ลอย่างมากต่อศิลปะ ประเพณีศูนย์ยุโรป ในบางกรณี ประเพณีศูนย์ยุโรป (Eurocentric) มีผลต่อการแบ่งภูมิภาคเป็นตะวันตก และไม่ใช่ตะวันตก ซึ่งมีข้อเสยี อยู่เช่นกัน วัฒนธรรมตะวนั ตก แผ่กระจายจากยุโรปไปถงึ ออสเตรเลีย แคนาดาและ สหรฐั ฯ คอ่ นข้างเขม้ ข้น วฒั นธรรมตะวันตกได้รบั อิทธพิ ลอย่างสูงจากกรีกโบราณ โรมโบราณและศาสนาคริสเตียน วัฒนธรรมตะวันตกมีแนวโน้มที่จะเป็นปัจเจกมากกว่าวัฒนธรรมที่ไม่ใช่ตะวันตก วัฒนธรรมมองมนุษย์ พระเจ้าและธรรมชาติหรือจักรวาลแยกส่วนมากกว่าวัฒนธรรมที่ไม่ใช่ตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตกบ่งชี้ด้วยความ มง่ั ค่ังทางเศรษฐกิจ การรูห้ นังสอื และความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี

48 กลมุ่ ศาสนาแอบราฮมั (Abrahamic religions) ลัทธิยูดา นบั ไดว้ า่ เป็นศาสนาแรกในกลุ่ม เป็นลทั ธิเทวนิยมที่เช่ือในพระเจ้าองคเ์ ดียว เป็นศาสนาท่ีเก่าแก่ ท่ีสดุ และยงั อยู่ย่งั ยนื ถงึ ปจั จบุ นั คุณค่าและประวตั ศิ าสตร์ของชาวยิวนบั เปน็ ส่วนหลกั สำคญั ท่ี เป็นรากฐานของกลุ่ม ศาสนาแอบราฮัมอื่น เช่นคริสต์ศาสนา ศาสนาอิสลาม รวมทั้งศาสนาบาไฮ อย่างไรก็ดี แม้จะมีรากฐานร่วมจาก แอบราฮัมด้วยกันมาแต่โบราณ แต่แต่ละศาสนาก็มีความแตกต่างกันทางศิลปะที่ชัดเจน (ทั้ง ทัศนศิลป์และ นาฏศิลป์) ซึ่งความแตกต่างน้เี นื่องมากจากอิทธิพลภูมภิ าคที่มีอยู่ก่อนโดยมศี าสนาเข้ามาในภายหลังและกลายเป็น ศาสนาทีเ่ ปน็ ตัวแสดงลักษณะเด่นทางวัฒนธรรมในเวลาตอ่ มา ศาสนาคริสต์กลายเป็นอิทธิพลแปลงโฉมทีส่ ำคัญของยุโรปและโลกใหม่ อย่างน้อยก็เป็นเวลานับได้ในชว่ ง 500 ถึง 1700 ปี มาแล้ว แนวคิดทางปรัชญาสมยั ใหม่ส่วนใหญ่ได้อิทธิพลจากนักปรชั ญาคริสเตียน เชน่ เซนตโ์ ทมัส อาควีนัส และ อีราสมุส มหาวิหารคริสเตียนได้รับการยกย่องว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่สำคัญเช่นเดียวกับโบสถ์โน เตรอะดามในปารสี เวลส์แคทรดี รัล และโบสถ์มหานครในเมกซโิ กซิตี อิทธิพลอิสลามเป็นอิทธิพลท่ีครอบงำภาคเหนือของแอฟริกา ภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวนั ออกกลาง เป็นเวลานานเกือบ 1,500 ปี บางครง้ั มีการผสมผสานกบั ศาสนาอนื่ บ้าง อิทธิพลอสิ ลามอาจเห็นได้จากปรัชญาต่าง ๆ ที่หลากหลาย เช่น อิบันบาจจาห์ (Ibn Bajjah) อิบันตูเฟล (Ibn Tufail) อิบันคาห์ดุน (Ibn Khaldun) และ อะเวอร์โรส (Averroes) นอกจากนี้ยังมี เรื่องร้อยกรองและวรรณคดี เช่น เฮวี อิบันยักดานห์ (Hayy ibn Yaqdhan) เดอะแมดแมนออฟเลย์ลา (The Madman of Layla) เดอะคอนเฟอเรนซ์ออฟเดอะเบิร์ด (The Conference of the Birds) และเดอะมาสวานิ (Masnavi) ในศิลปะและสถาปัตยกรรมก็มีอิทธิพลอิสลามท่ีสำคัญ เช่น สุเหร่าอูเมย์ยาด (Umayyad Mosque) โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม (Dome of the Rock) สุเหร่าไฟซาล ฮาไก โซเฟยี (ซ่ึงเคยเป็นทงั้ โบสถ์และสเุ หรา่ ) พรอ้ มทัง้ ส่ิงกอ่ สรา้ งแบบสถาปัตยกรรมสไตล์อาหรับ (Arabesque) อ่ืนๆ ศาสนายูดาและศาสนาบาไฮ ปกติเป็นศาสนากลุ่มน้อยอยู่ในชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังมีส่วนที่เด่นชัดใน วัฒนธรรมรวมและศาสนารวมของชาตินั้น ๆ บุคคลสำคัญท่ีนับถือศาสนายูดาซึ่งเป็นที่รู้จักได้แก่ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และเฮนรี คิสซิงเจอร์ นักดนตรี นักแสดง เช่น พอลลา อับดุล แซมมี เดวิส จูเนียร์และบ็อบ ดีแลน สำหรับศาสนาบาไฮที่เด่นคือโบสถ์บาไฮที่สวยงาม นักดนตรีเช่น ดิสซีกิลลิสปี และนักคิดเช่น อาเลน ลีรอย ล็อก เฟรเดริก เมเยอร์และริชารด์ เซนตบ์ าร์บ เบเกอร์ เป็นต้น มานุษยวิทยาสายหลักมมี ุมมองทางวัฒนธรรมว่าประชาชนจะมีความรสู้ ึกต่อตา้ นเมื่อถูกบอกว่ามีสัตว์และ วญิ ญาณฝังอย่ใู นธรรมชาติของมนษุ ย์ ศาสนาตะวันออกและปรชั ญา

49 แอกน,ี ฮินดู เทพแหง่ เพลิง ปรัชญาและศาสนามักจะกลมกลืนผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในแนวคิดตะวันออก ประเพณีศาสนา และปรัชญาตะวันออกหลายกลุ่มมีต้นตอมาจากอินเดียและจีนและแผข่ ยายไปทั่วเอเซียจาก การแพร่กระจายทาง วัฒนธรรม (cultural diffusion) และการย้ายถนิ่ ของประชากร ศาสนาฮินดูเปน็ บ่อเกิดของพระพุทธศาสนา นกิ าย มหายานซึ่งแพร่กระจายขึน้ เหนือและตะวันออกจากอินเดียสู่ธิเบต จีน มองโกเลีย ญี่ปุ่นและเกาหลี อ้อมลงใต้จาก จนี สู่เวยี ดนาม พทุ ธศาสนานิกายเถรวาทแพรก่ ระจายจากอนิ เดยี สู่เอเซียตะวันออกเฉยี งใต้ ตงั้ แต่ศรลี ังกา บางส่วน ทางภาคใต้ของจนี กมั พูชา ลาว พมา่ และไทย ปรัชญาอินเดียรวมถึงปรัชญาฮินดู มีองค์ประกอบที่ไม่แสวงหาวัตถุ ในขณะที่อีกแนวคิดหนึ่งจากอินเดีย คอื (Carvaka?) สอนใหแ้ สวงหาความสุขจากโลกวัตถุ ทัง้ ลัทธิขงจอ๊ื และลัทธเิ ต๋าซึ่งมีบ่อเกิดในจีนได้มีอิทธิพลฝังลึก ท้ังในศาสนาและแนวคดิ ทางปรัชญารวมทั้งในหลกั การปกครองบ้านเมอื งและศิลปะไปทั่วเอเซยี ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 20 (พ.ศ. 2444 – พ.ศ. 2543) สองประเทศที่มีประชากรมากที่สุดใน เอเซียที่มีความแตกต่างในแนวคิดทางปรัชญาการเมืองได้เกิดเป็นรูปเป็นร่างขึ้น คานธีให้ความหมายใหม่กับคำว่า \"อหิงสา\" ซึ่งเป็นความเชื่อหลักของทั้งศาสนาฮินดู และศาสนาเชน และได้ปรับความหมายใหม่มาเป็นแนวคิด \"ความไม่รุนแรง\" (nonviolence) และการไม่ต่อต้าน (nonresistance) ซึ่งกว้างไกลออกไปจากวงกรอบล้อมของ อนิ เดยี ในระยะเดียวกัน ปรัชญาคอมมิวนิสต์ของเมาเซตงุ ไดก้ ลายเปน็ ระบบความเช่ือนอกศาสนาที่มีอำนาจมาก ศาสนาพื้นบ้าน ศาสนาพื้นบ้านที่นับถือโดยชนเผ่าต่าง ๆ มีอยู่ทั่วไปในเอเซีย แอฟริกาและอเมริกา อิทธิพลของศาสนา เหล่านี้มีมากพอควร ซึ่งมีทั้งเผยแพร่ฝังอยู่ในวัฒนธรรมและในบางกรณีกลายเป็นศาสนาประจำชาติ เช่นศาสนา ชินโต เชน่ เดยี วกบั ศาสนาหลักต่าง ๆ ศาสนาพน้ื บ้านสามารถตอบสนองความต้องการการปกป้องคมุ้ ครองยามมีภัย ช่วยรักษาความเจ็บป่วย ล้างความอบั โชคและชว่ ยทำพิธตี ่าง ๆ รวมท้ังการเป็นช่องการเกดิ และตายของมนษุ ย์ ความฝนั อเมริกนั \"ความฝันอเมริกัน\" (The \"American Dream\") เป็นความเชื่อของชาวอเมริกันจำนวนมาก ว่าด้วยการ ทำงานหนัก กล้าหาญและมีความมุ่งมั่น โดยไม่คำนึงถึงชั้นสังคม บุคคลสามารถบรรลุสู่ชีวิตที่ดีกว่าได้เสมอ

50 ความคิดนี้มีรากมาจากความเชื่อที่ว่าสหรัฐอเมริกาคือ \"เมืองบนเนินเขา เป็นแสงที่ก่อให้เกิดประเทศ\" ซึ่งเป็นคุณ ค่าท่ยี ึดถือโดยชาวยุโรปผอู้ พยพมาตง้ั ถิ่นฐานในยคุ แรก ๆ และไดย้ ึดถอื คณุ คา่ นสี้ บื มาหลายช่วั คน แนวคิดนี้สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอื่นด้วย เช่นกรณีของ \"ความฝันออสเตรเลียอันยิ่งใหญ่\" แม้จะสะท้อน ไปทาง \"การเปน็ เจา้ ของบา้ น\" มากกว่า การแตง่ งาน โบสถ์คริสเตียนเกือบทั้งหมดมักใช้เป็นที่ประกอบพิธีแต่งงาน ซึ่งปกติส่วนหนึ่งของพิธีมักรวมถึงการ ปวารณาที่จะสนับสนุนโบสถ์ ในการแต่งงาน ชาวคริสเตียนจะมีความสัมพันธ์คู่ขนานไปกับพระเยซูและโบสถ์ของ ตน ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมีความเชื่อว่าการหย่าร้างผิดศีลธรรม และคู่หย่าร้างไม่อาจแต่งงานใหม่ใน โบสถ์ได้ หากไม่ทำพิธลี ้างบาปอย่างเป็นทางการกอ่ น วฒั นธรรมศกึ ษา วฒั นธรรมศกึ ษา เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2510 เป็นตน้ มา) เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการนำแนวคิดลัทธิมากซ์มาบรรจุในวิชาสงั คมวิทยาอีกครั้งหน่ึง และสว่ นหน่งึ ก็เปน็ เสียงให้กับสังคมวิทยาและ สาขาวิชาอื่น เช่นวรรณคดีวิจารณ์ ขบวนการนี้มุ่งประเด็นไปเน้นที่การวิเคราะห์กลุ่มวัฒนธรรมย่อยในสังคมทุน นยิ ม ตามประเพณที ี่ไม่นบั เปน็ มานุษยวิทยา วัฒนธรรมศกึ ษาโดยท่ัวไปจะเนน้ การศึกษาสินคา้ เพ่ือการบริโภค (เช่น แฟชั่น ศิลปะและวรรณคดี) เนื่องจากความเด่นชัดระหว่าง \"วัฒนธรรมสูง\" และ \"วัฒนธรรมต่ำ\" ในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 (พ.ศ. 2343-พ.ศ. 2443) ดูเหมือนจะเหมาะเพียงสำหรับการประยุกต์กับสินค้าที่ใช้ วิธีการผลิตเป็นจำนวนมากและจำหน่ายในตลาดเป็นจำนวนมากที่วัฒนธรรมศึกษาได้วิเคราะห์ไว้ ซึ่งนักวิชาการ เอย่ ถงึ ในชื่อวา่ \"วฒั นธรรมนิยม\" ปจั จบุ ัน นักมานุษยวิทยาบางคนได้เข้ามาร่วมงานดา้ นวฒั นธรรมศกึ ษามากขึ้น เกือบทั้งหมดไมย่ อมรับการ บ่งช้ถี ึงวฒั นธรรมค่กู บั สินคา้ บริโภค ย่งิ ไปกวา่ น้นั หลายคนยังตอ่ ต้านความคิดของวฒั นธรรมว่าเป็นการผูกมัด มีผล ให้ไม่ยอมรับแนวคิดของกลุ่มวัฒนธรรมไปด้วย พวกเขามองวัฒนธรรมเป็นสายใยที่ซับซ้อนของรูปแบบที่กำลัง เชอ่ื มโยงกบั ประชาชนในท้องถิน่ ตา่ ง ๆ และเช่อื มกบั การก่อรปู ของสังคมในขนาดทตี่ ่างกนั ดว้ ย ตามมุมมองดังกล่าว กลุ่มใด ๆ ก็สามารถสร้างเอกลกั ษณท์ างวฒั นธรรมของตนได้เอง เมื่อเร็ว ๆ นี้มีการโต้เถียงเกี่ยวกับวัฒนธรรมว่าจะสามารถเปลี่ยนพื้นฐาน \"การเรียนรู้ของมนุษย์\" ได้ หรือไม่ ซึ่งนักวิจัยทัง้ หลายกย็ ังมีความเหน็ แตกต่างกนั อยู่

51 การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม ภาพพิมพ์ลายแกะสมัยคริสต์ศตวรรษท่ี 19 (พ.ศ. 2344 – 2443) แสดงภาพชนพนื้ เมอื งออสเตรเลียต่อต้านการ มาถงึ ของกปั ตนั เจมส์ คุก เม่ือ พ.ศ. 2313 แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ไม่ว่าในทางยอมรับหรือต่อต้าน ย่อมขึ้นอยู่กับรากฐานของ วัฒนธรรมในสังคมนั้น ตัวอย่างเช่น ความเป็นชายและหญิงที่ต่างมีบทบาทอยู่ในหลายวัฒนธรรม เพศใดเพศหนึ่ง อาจต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งกระทบต่ออีกเพศหนึ่ง ดังเช่นที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมตะวันตกในช่วงครึ่งหลัง ของครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 (พ.ศ. 2493 -2443) ซึง่ ทำให้เกดิ แรงผลักดนั ชักจูงทั้งสองทาง คอื การกระตุ้นให้ยอมรับสิ่ง ใหม่ และการอนุรกั ษท์ ่ตี ่อตา้ นการเปลีย่ นแปลงนัน้ อิทธพิ ลทง้ั 3 ประการตอ่ ไปนสี้ ามารถทำให้เกดิ การเปล่ียนแปลงและการต่อต้าน 1. แรงผลักดันในทท่ี ำงาน 2. การตดิ ตอ่ กนั ระหวา่ งกลุม่ สงั คม 3. การเปลี่ยนแปลงสงิ่ แวดล้อมธรรมชาติ การเปลย่ี นแปลงของวฒั นธรรมอาจเกดิ มาจากสงิ่ แวดล้อม การคน้ พบ (และอิทธิพลภายในอ่นื ๆ) และการ ติดต่อสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอื่น ตัวอย่างเช่น ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุดช่วยนำไปสู่การค้นพบการทำเกษตรกรรม และ ตัวเกษตรกรรมเองกเ็ ป็นตวั ก่อให้เกิดนวัตกรรมมากมายทางเกษตรกรรม ซ่งึ นวตั กรรมน้กี ไ็ ด้นำไปสู่นวัตกรรมอื่น ๆ ทางวัฒนธรรม การแพร่กระจายนี้ ทำให้เกิดรูปแบบบางอย่างที่เคลื่อนตัวจากวัฒนธรรมหนึ่งไปสู่อีกวัฒนธรรมหน่ึง ตัวอย่างแฮมเบอร์เกอร์ ที่มีอยู่ทั่วไปในอเมริกาแต่อาจเป็นสิ่งแปลกใหม่เมื่อเริ่มกิจการในประเทศจีน \"การ แพร่กระจายแบบกระตุ้น\" (Stimulus diffusion) หมายถึงองค์ประกอบของวัฒนธรรมหนึ่งที่นำไปสู่การค้นพบใน อีกวัฒนธรรมหนึ่ง ทฤษฎีการแพร่นวัตกรรมนี้แสดงให้เห็นถึงแบบจำลองที่ใช้พื้นฐานการวิจัยเมื่อบุคคลหรือ วัฒนธรรมยอมรับความคิดใหม่ ๆ วธิ ีปฏบิ ตั ใิ หม่ ๆ และผลิตภณั ฑ์ใหม่ ๆ การรับวัฒนธรรมอื่น (Acculturation) มีความหมายต่างกันหลายประการ แต่ในบริบทนี้หมายถึงการ เปล่ยี นแทนลักษณะรากฐานจากวัฒนธรรมหน่งึ ไปสู่อีกวัฒนธรรมหน่ึง เชน่ ที่เกดิ กบั ชนเผ่าพ้ืนเมืองอเมริกาบางเผ่า รวมทั้งกลุ่มชนพื้นเมืองจำนวนมากทั่วโลกในระหว่างกระบวนการการครอบครองอาณานิคม กระบวนการอื่นท่ี

52 สัมพันธใ์ นระดับปัจเจกบคุ คลรวมถึงการผสมกลมกลืน (การยอมรับเอาวัฒนธรรมอื่นมาเป็นของตนในระดับบุคคล) และการผ่านข้ามทางวัฒนธรรม (transculturation) การประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ได้กลายเป็นนวัตกรรมใหม่ที่มีประโยชน์แก่กลุ่มชนและแสดงถึงพฤติกรรม ของพวกเขา โดยมิได้เปน็ สง่ิ ซ่ึงจับต้องได้ มนษุ ยชาติกำลังอยู่ในระยะการเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรมในอตั ราเร่งท่ัว ทั้งโลก ซึ่งขับเคลื่อนโดยการขยายตัวของการค้าของโลก การสื่อสารมวลชน และเหนือกว่าสิ่งอื่นใดก็คือการ \"ระเบิด\" ของประชากร ซึ่งเป็นปัจจัยร่วมท่ีสำคัญ ปัจจบุ ันประชากรโลกมอี ัตราเพิ่มขึ้นเปน็ 2 เทา่ ภายใน 40 ปี[ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมมีความซับซ้อนและมีผลกระทบระยะยาวมาก นักสังคมวิทยาและนัก มานุษยวิทยาเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญมากในการสร้างความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว การคงอยู่ ของมนษุ ยอ์ าจมองได้ว่าเป็น \"แงม่ ุมรวมทเ่ี ปน็

53 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) รายวิชา ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง รหสั วชิ า สค31002 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย คำช้แี จง จงเลอื กคำตอบทีถ่ ูกตอ้ งท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ศาสนาใดเช่ือเรอ่ื งการเวยี นวา่ ย ตาย เกิด ใน วัฏสงสาร ก. ชกิ ข์ ข. พุทธ ค. คริสต์ ง. อสิ ลาม 2. ศาสนาครสี ต์มีถน่ิ กำเนดิ ในประเทศใด ก. กรซี ข. ยูเครน ค. อังกฤษ ง. ปาเลสไตน์ 3. ขอ้ ใดคือพระราชโอรสของเจ้าชายสทิ ธัตถะกบั พระนางพิมพา ก. ราหลุ ข. สทุ โธทนะ ค. โกณฑญั ญะ ง. สกั กะเทวราช 4. ขอ้ ใดเปน็ หลกั ธรรมเพ่ือการอยู่ร่วมกันในสังคม ก. มรรค 8 ข. อรยิ สัจ 4 ค. อทิ ธบิ าท 4 ง. พรหมวหิ าร 4 5. ศาสนาแต่ละศาสนา มสี ง่ิ ใดที่ใช้เปน็ แนวทางในการประพฤติปฏบิ ตั ิ ก. ความเชอื่ ข. กฎหมาย ค. แรงบันดาลใจ ง. หลักธรรมคำสอน 6. หลักคำสอนที่วา่ ให้ศรัทธาต่ออลั เลาะห์ ให้ศรัทธาโดย ปราศจากข้อสงสยั ใด ๆ วา่ พระอัลเลาะห์ ทรงมี อย่จู ริง ทรงดำรงอยูด่ ว้ ยพระองค์ คือหลักคำสอนของศาสนาใด ก. พุทธ ข. ครีสต์ ค. อสิ ลาม ง. พราหมณ์ – ฮนิ ดู 7. การไม่ไปก้าวก่ายความเช่อื ของผูน้ ับถือศาสนาทไี่ ม่ ตรงกับศาสนาที่ตนนับถอื เป็นวิธีป้องกันและแก้ไข ความขัดแย้งทางศาสนา ตรงกบั ข้อใด ก. วธิ ยี อมกนั ข. วิธหี ลีกเลย่ี ง ค. วธิ ผี สมผสาน ง. วธิ กี ารประนปี ระนอม

54 8. บคุ คลใดนาหลกั ธรรมอิทธิบาท 4 ในเร่ือง ฉันทะ มาใช้ได้อยา่ งเหมาะสม ก. สมคดิ ศกึ ษาหาความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ ข. วมิ ล อดทนทางานจนได้เลื่อนตำแหน่ง ค. จนิ ดา ตง้ั ใจทำข้อสอบจนสอบได้ ท่ี 1 ของชนั้ เรียน ง. มิ่งขวญั คดิ ไตรต่ รอง วางแผนทกุ ครงั้ ก่อนลงมือทำงาน 9. ข้อใดคือประโยชน์ของการฝึกสมาธิอยู่เสมอ ก. มใี จรา่ เริง ข. มีรายได้สงู ค. มีอาชีพที่มน่ั คง ง. มีความวอ่ งไวในการทำงาน 10. บุคคลในข้อใดสามารถฝึกสมาธิตามแนวปฏบิ ตั ขิ อง ศาสนาครสี ต์ ก. นสิ า ชำระมลทินทางจติ ข. สมพร นง่ั สมาธิก่อนนอน ค. สชุ าติ ใหข้ นมคนเรร่ อนเป็นการใหท้ าน ง. เขม็ เพชร ทำละหมาดเปน็ ประจำทกุ วนั 11. ประเพณวี ่งิ ควาย เป็นประเพณีของจงั หวัดใด ก. ตรัง ข. ชลบรุ ี ค. ชยั นาท ง. จนั ทบุรี 12. หากตอ้ งการรับประทานอาหารประจำชาติของ ประเทศเมียนมาร์ ควรเลือกอาหารในขอ้ ใด ก. ลกั ซา ข. อัมบยตั ค. หลา่ เพ็ด ง. กาโด กาโด 13. ผู้ชายจะน่งุ กางเกงขายาวและสวมเสื้อผู้หญิงนุ่ง กระโปรงยาว ใสเ่ สือ้ สคี รีมแขนสั้นจับจีบยกตัง้ ข้นึ เหนอื ไหล่คลา้ ยปีกผเี สื้อ เป็นชดุ ประจำชาติของประเทศใด ก. ลาว ข. กมั พูชา ค. สิงคโปร์ ง. ฟิลิปปินส์

55 14. ขอ้ ใดคอื ภาษาทป่ี ระชากรสว่ นใหญ่ของทวีปเอเชียใชต้ ิดตอ่ สอื่ สารมากท่สี ดุ ก. ภาษาจนี และภาษาไทย ข. ภาษาจีนและภาษาอังกฤษ ค. ภาษาอังกฤษและภาษาไทย ง. ภาษาองั กฤษและภาษาฝรงั่ เศส 15. ระบำอปั สรา เป็นวัฒนธรรมของประเทศใด ก. ลาว ข. กมั พูชา ค. เมยี นมาร์ ง. ฟลิ ิปปนิ ส์ 16. บุคคลใดปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในการ อนรุ กั ษ์วฒั นธรรมไทย ก. แจง ใหด้ อกกหุ ลาบแฟนในวนั วาเลนไทน์ ข. เจน กอดและหอมแก้มแม่ทุกครัง้ กอ่ นไป ทำงาน ค. จิตดี พานอ้ งทำกระทงไปลอยที่ท่าน้ำในวนั ลอยกระทง ง. จุ๋ย เซอรไ์ พรสว์ นั เกิดลูกชายด้วยการซอื้ รถจักรยานยนต์เปน็ ของขวัญ 17. การไม่กล้าแสดงความคิดเห็นขัดแย้ง เพราะเกรงจะกระทบกระเทือนความรู้สึกผ้อู ื่น สะทอ้ น ลกั ษณะนิสัยคนไทยในค่านยิ มข้อใด ก. ความกตัญญูกตเวที ข. ความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ค. ความศรทั ธาและปัญญา ง. ความเคารพและอ่อนน้อมถอ่ มตน 18. บุคคลใดนาคา่ นิยมต่างชาติมาปรบั ใช้กบั สงั คมไทยได้อย่างเหมาะสม ก. ชาตรี ทาโทษนักเรียนที่ไมเ่ ข้าแถวหนา้ เสาธง ข. ปรีชา เลอื กนักเรียนที่เรยี นเก่งเปน็ หวั หน้าห้อง ค. เตย้ เพ่ิมคะแนนให้กบั นกั เรียนทรี่ อ้ งเพลงเพราะ ง. หน่อย ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั จัดนทิ รรศการวันวิทยาศาสตร์

56 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง รหัสวชิ า สค31002 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1. ข 11. ข 2. ง 12. ค 3. ก 13. ง 4. ค 14. ข 5. ง 15. ก 6. ค 16. ค 7. ก 17. ง 8. ก 18. ง 9. ง 10. ค

57 แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายสัปดาห์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ครง้ั ท่ี 10 รายวชิ า ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง รหสั วิชา สค 31002 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง (พบกลุ่ม 6 ชวั่ โมง การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 34 ชวั่ โมง) วันที่ ……………………….. เดอื น …………………………………………พ.ศ. 2564 มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยู่ร่วมกนั อย่างสนั ติสขุ มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย มจี ิตสาธารณะ เพอ่ื ความสงบสุขของสังคม มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศในสงั คมโลก 2. มีความรู้ ความเข้าใจ ดำเนินชีวติ ตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎระเบยี บของประเทศตา่ งๆในโลก ตวั ช้ีวัด หนา้ ท่ีพลเมือง 1. รแู้ ละเข้าใจบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนญู 2. รู้และเข้าใจบทบาทหนา้ ที่ขององค์กรตามรฐั ธรรมนูญและการตรวจสอบอานาจรัฐ 3. อธบิ ายความเปน็ มา และการเปลย่ี นแปลงของรฐั ธรรมนูญ 4. บอกวธิ ปี ฏิบัติตนตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย 5. รแู้ ละเข้าใจหลกั สทิ ธิมนุษยชน 6. อธิบายหลักสิทธิมนษุ ยชนใหผ้ ูอ้ น่ื ได้ 7. ปฏิบตั ิตนตามหลักสทิ ธิมนุษยชน เนื้อหา หนา้ ทพ่ี ลเมือง 1. บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญท่ีมผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และมผี ลต่อฐานะของประเทศใน สังคมโลก 2. บทบาทหน้าท่ีองค์กรตามรัฐธรรมนญู และการตรวจสอบการใช้อานาจรฐั 3. ความเป็นมา และการเปล่ียนแปลงของรัฐธรรมนูญ 4. รัฐธรรมนูญ และกฎหมายอน่ื ๆ 5. การปฏบิ ตั ติ นใหส้ อดคล้องตามบทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนญู และการสนับสนุนสง่ เสริมให้ผู้อนื่ ปฏิบตั ิ 6. หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนและบทบาทหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการสิทธิ์ 7. กฎหมายระหวา่ งประเทศท่วี า่ ด้วยการคุ้มครองสิทธิด้านบุคคล 8. การปฏบิ ตั ติ ามหลกั สิทธิมนุษยชน

58 แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) เรือ่ ง หนา้ ท่พี ลเมอื ง วิชา ศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง รายวชิ า สค 31002 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย คำชแี้ จง จงเลอื กคาตอบท่ีถูกตอ้ งที่สุดเพยี งขอ้ ค. แจนได้เปล่ยี นไปนับถือคริสต์ศาสนาเพราะ เดียว มสี ามีเป็นชาวอังกฤษ 1. ลักษณะสำคญั ทส่ี ุดของการปกครองระบอบ ง. กำนนั เขยี วชวนลูกบ้านประทว้ งการทำงาน ประชาธปิ ไตยตรงกับข้อใด ของรฐั ท่ีไมเ่ อื้อต่อผลประโยชน์ของตน ก. การปฏบิ ัตติ ามผู้นำ ข. ผู้นำมาจากการเลือกตั้ง 5. ขอ้ ใดจัดเป็นหน้าทที่ ี่ประชาชนชาวไทยพึงปฏบิ ัติ ค. ประชาชนทำอะไรตามใจชอบ ตามรัฐธรรมนญู ง. ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการปกครอง ก. การประกอบอาชพี ข. การนับถอื ศาสนา 2. บุคคลใดตอ่ ไปนี้แสดงบทบาทได้ไม่เหมาะสมกบั ค. การเสยี ภาษอี ากร สถานภาพ ง. การชมุ นุมอย่างสงบ ก. นายกุ๊กไก่ เป็นนักเรียนได้ขาดเรียนเพ่ือไปทำงาน พิเศษ 6. เม่ือรตั นามีอายคุ รบสิบหา้ ปบี ริบรู ณ์ เธอจงึ ไปทำ ข. นายโอ๊ค เป็นอาจารย์ได้เข้ามาสอนก่อนเวลาและ บัตรประชาชนท่ีอำเภอ แสดงวา่ รัตนาปฏบิ ตั ิตนใน เลิกสอนเม่ือเลยเวลาที่กำหนด เร่อื งใด ค. นายแจ็ค เป็นนกั มายากลมืออาชีพ ยอมแสดง ก. สิทธิ ข. บทบาท มายากลเส่ยี งตายเพื่อให้คนดูพอใจ ค. หนา้ ที่ ง. สถานภาพ ง. นายเต้ย เปน็ แพทยย์ อมเสียคา่ ใชจ้ ่ายสว่ นตวั เพื่อ ไปสัมมนาเรื่องเทคนคิ การแพทยส์ มยั ใหม่ 7. ถา้ มีตำรวจมาขอตรวจคน้ บา้ นของนักเรียนใน เวลากลางคนื โดยมีเอกสารการขอตรวจคน้ ท่ี 3. ขอ้ ใดต่อไปนเี้ ป็นสถานภาพทไ่ี ดร้ บั มาภายหลงั ออกโดยโรงพัก นักเรยี นจะให้ความร่วมมือกับ ก. เพศ เจ้าหน้าท่หี รอื ไม่ เพราะเหตุใด ข. สญั ชาติ ก. ให้ความรว่ มมอื เพราะเปน็ หน้าทข่ี องตนท่ี ค. การสมรส จะ ใหค้ วามร่วมมือกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ง. เชือ้ ชาติ ข. ไม่ให้ความร่วมมอื เพราะเป็นสิทธิของตน ทจี่ ะใหเ้ จ้าหน้าทที่ ำการตรวจคน้ บ้านหรือไม่ก็ได้ 4. บุคคลใดท่ปี ฏิบตั ติ นไมเ่ หมาะสมเก่ียวกับสทิ ธิ ค. ไม่ให้ความรว่ มมือ เพราะเปน็ เสรภี าพใน เสรภี าพของประชาชนชาวไทย เคหสถานท่จี ะไม่ใหผ้ ใู้ ดเข้ามาตรวจค้นโดยปราศจาก ก. เป้ไมย่ อมเปดิ ประตูให้คนแปลกหนา้ เขา้ บา้ น ความยนิ ยอม ข. กอ้ ยเดินทางไปมาระหวา่ งประเทศไทยกบั จนี อยู่ ง. ใหค้ วามรว่ มมอื เพราะการกระทำของ เสมอ เจา้ หนา้ ท่ตี ำรวจท่ีมาขอตรวจคน้ พร้อมเอกสารจาก โรงพักน้นั ถูกต้องตามกฎหมาย

59 8. บคุ คลใดต่อไปน้มี ีการกระทำทเ่ี ป็นการละเมิด ง. นายพายพุ ลไมเ่ คยติดตามเรอื่ งการเมอื ง สทิ ธขิ องผอู้ นื่ 13. บุคคลใดปฏบิ ตั ิตนเป็นคนดขี องสงั คม ก. นางนงนชุ ชวนเพอ่ื นๆ ตง้ั วงเลน่ แชร์ ก. นายกลา้ ลกั ลอบตัดไมส้ ักไปขาย ข. นายรณฤทธ์พิ าเพ่ือนมาเล้ียงฉลองวันเกิดทบ่ี า้ น ข. ผใู้ หญด่ ำเกณฑช์ าวบ้านซอ่ มแซมโรงเรียน ของตน ค. นายณรงคบ์ กุ รุกป่าชายเลนเพอ่ื ทำนากุ้ง ค. นายอเนกฟ้องร้องเจา้ หน้าท่ีของรฐั ท่เี วนคนื ท่ีดนิ ง. กำนนั สนทิ เป็นหวั คะแนนให้พรรคการเมือง ของตนอยา่ งไม่เป็นธรรม ง. นางสาวหวานตักบาตรที่หน้าบ้านของเพื่อนบ้าน ดังในท้องถิ่น ทกุ วนั โดยเพอื่ นบ้านไมท่ ราบ 14. นักเรียนจะชว่ ยเหลอื ประเทศชาตดิ า้ นเศรษฐกิจ 9. นายอนชุ าไม่ยอมไปใชส้ ิทธเิ ลอื กต้ัง ถือว่าเปน็ ด้วยวธิ ีใดจึงจะเหมาะสมทสี่ ดุ การแสดงออกทผี่ ิดในเรื่องใด ก. หารายไดเ้ สริม ก. สทิ ธิ ข. ใชเ้ งนิ อย่างพอเพยี ง ข. หนา้ ท่ี ค. ไมซ่ อื้ สนิ คา้ ตา่ งประเทศ ค. เสรภี าพ ง. ชวนเพือ่ น ๆ มาร่วมลงทนุ ขายของ ง. สถานภาพ 15. หากเพ่ือนของนกั เรียน 2 คนทะเลาะกันและต่าง 10. สิ่งท่ีควรปลูกฝงั ใหแ้ กส่ มาชกิ ในสังคม คนตา่ งก็มีเหตผุ ลของตน นักเรียนควรจะแก้ไข ประชาธปิ ไตยมากทสี่ ดุ คือข้อใด ปัญหาอยา่ งไร ก. การเปน็ พลเมืองดีของสังคม ก. ปลอ่ ยใหท้ ัง้ 2 คนทะเลาะกนั ตอ่ ไปเพราะ ข. การมีอสิ รเสรีอย่างเตม็ ท่ี ไมใ่ ชเ่ ร่อื งของตน ค. การเหน็ คุณค่าของประชาธปิ ไตย ง. การมสี ่วนร่วมในการปกครอง ข. รับฟังเหตผุ ลของแตล่ ะคน แล้วเลือกขา้ งท่ี ตนเหน็ ว่าถกู ต้องทส่ี ุด 11. ขอ้ ใดต่อไปน้ีไมไ่ ด้แสดงถึงการเปน็ พลเมืองดี ก. พลเมอื งดตี ้องตกั บาตร ค. พินิจและวิเคราะห์ถงึ ความสมั พันธ์ แล้วจงึ ข. พลเมืองดีตอ้ งต่นื แตเ่ ช้า เลอื กเข้าขา้ งเพ่ือนทตี่ นสนิทท่ีสุด ค. พลเมืองดีตอ้ งไปเลือกตั้ง ง. พลเมอื งดตี ้องไปทำงานให้ทันเวลา ง. นดั เพือ่ นท้ัง 2 คนมาพูดคุยกันเพ่ือไกล่ เกล่ยี และเปิดใจยอมรบั ซ่ึงกันและกนั 12. การปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ี ประชาธิปไตย ทางด้านการเมืองการปกครองข้อใดทค่ี วร 16. จริยธรรมกับพลเมืองดีมีความสัมพันธก์ ันใน ปรบั ปรงุ มากท่สี ุด ลกั ษณะใดมากท่สี ุด ก. นายสิทธิชยั ไมเ่ คยไปเลอื กตัง้ ก. จริยธรรมเป็นกฎของพลเมืองดี ข. นายอมรเทพไม่เคยไปประท้วง ข. จรยิ ธรรมเป็นหลักการของพลเมอื งดี ค. นายชาติชายไมเ่ คยคิดจะลงเล่นการเมือง ค. จริยธรรมเปน็ ของคู่กายของพลเมืองดี ง. จริยธรรมเปน็ เคร่ืองหมายของพลเมืองดี

60 17. การจะส่งเสรมิ ให้ทกุ คนในสงั คมเปน็ พลเมืองดี วธิ ีใดเป็นวิธที ไี่ ดผ้ ลท่สี ดุ ก. ยกตัวอยา่ งพลเมืองดีในอดีตให้ผู้อื่นรับรู้ ข. อธิบายลกั ษณะของพลเมืองดใี ห้ผอู้ ่นื รับรู้ ค. ปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งที่ดีใหผ้ อู้ ื่นไดร้ บั รู้ ง. แนะนำถึงผลดขี องการเป็นพลเมืองดใี ห้ผ้อู ื่นรับรู้ 18. การปฏิบตั ติ นเป็นนักเรยี นทด่ี ขี องโรงเรยี นใน ข้อใดที่เหมาะสมทสี่ ดุ ก. บริจาคเงนิ ใหก้ ับโรงเรยี น ข. เคารพกฎระเบียบของโรงเรยี น ค. รบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ีของตนเอง ง. บำเพญ็ สาธารณประโยชน์ให้กบั โรงเรยี น 19. การปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทใดของพลเมืองดที ี่ สง่ ผลต่อความเป็นระเบยี บเรียบร้อยในสังคม ก. การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ข. การปฏบิ ตั ติ ามสมัยนิยม ค. การปฏบิ ัตติ ามวัฒนธรรมที่ดงี าม ง. การปฏิบัตติ ามหลักคาสอนของศาสนา 20. การปฏิบตั ิของบคุ คลในข้อใดท่ีควรยึดถือเป็น แบบอยา่ ง ก. เก่งชอบโดดเรียนเป็นประจำ ข. เอกไมย่ อมสูบบหุ ร่ีแมจ้ ะถูกเพ่ือนชักชวนให้ สูบก็ตาม ค. ตอ้ ยเป็นเดก็ เรียนเก่งแต่ไม่ยอมเข้ารว่ ม กจิ กรรมของโรงเรียน ง. กำนนั แม้นเป็นหวั คะแนนใหก้ ับพรรค การเมืองดงั ในทอ้ งถ่ิน

61 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรือ่ ง หน้าท่พี ลเมือง วิชา ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง รายวชิ า สค 31002 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1. ง 11. ข 2. ก 12. ก 3. ค 13. ข 4. ง 14. ข 5. ค 15. ง 6. ค 16. ข 7. ง 17. ค 8. ง 18. ค 9. ข 19. ก 10. ก 20. ข

62 วธิ กี ารเรียน : แบบพบกลุ่ม (ON-Site) กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 1. ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรยี น ( 30 นาที ) การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O : Orientation) 1.1 ครทู ักทายนักศึกษา และนำเข้าสูบ่ ทเรียนโดยแจ้งข่าวสารเหตกุ ารณป์ ัจจบุ นั ให้นักศึกษาทราบ พรอ้ มท้งั แลกเรียนเปลย่ี นเรยี นรขู้ ้อมลู ข่าวสารเหตุการณป์ ัจจุบนั ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกนั ในชัน้ เรียน และทบทวนบทเรียนจากครงั้ ที่แล้ว เรือ่ ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพ่ือดงึ ความรู้และประสบการณ์ เดมิ ของนกั ศึกษา เนน้ การมสี ่วนรว่ ม มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สะทอ้ นความคิด และอภิปราย โดยใหเ้ ช่อื มโยงกับ ความรใู้ หม่ 1.2 ครูนำเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยครเู ปดิ วดี ที ัศน์ เร่อื ง พลเมืองดี และการปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดี จาก ลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v ให้นักศึกษารับชมเพอ่ื ให้นักศกึ ษามีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างการปฏิบัตติ นเปน็ พลเมอื งดี ให้นักศกึ ษาทราบ เพื่อเช่ือมโยงสู่บทเรียนต่อไป 1.3 ครแู ละนักศกึ ษาสรปุ สง่ิ ท่ีไดอ้ ภปิ รายร่วมกัน และนกั ศึกษาบนั ทึกลงในแบบบันทกึ การเรยี นรู้ กศน. 2. ขน้ั จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ( 4 ช่ัวโมง ) การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 2.1 ครูอธบิ ายเนอ้ื หาจากหนังสือเรียนรายวชิ าศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง เรอ่ื ง หน้าที่พลเมือง ในหัวข้อ ตอ่ ไปน้ี บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญท่มี ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและมผี ลต่อฐานะของประเทศในสงั คมโลก บทบาทหนา้ ที่องคก์ รตามรฐั ธรรมนูญและการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ และความเป็นมาและการเปลีย่ นแปลง ของรฐั ธรรมนญู พร้อมให้นกั ศกึ ษาจดบนั ทกึ รายละเอยี ดลงในแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน. 2.2 ครูใหน้ ักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเปน็ 5 กล่มุ ๆละเท่าๆกนั เพ่อื ศกึ ษาข้อมลู เกี่ยวกับ เรอ่ื ง หน้าที่ พลเมอื ง 2.3 ครูใหน้ กั ศึกษา ทำกิจกรรมสรุปความรู้เป็นแผนผังความคดิ เร่ือง พลเมอื งดี ลงในกระดาษบรฟู๊ ในหัวขอ้ ดังนี้ กลมุ่ ท่ี 1 รฐั ธรรมนญู และกฎหมายอ่นื ๆ กล่มุ ท่ี 2 การปฏบิ ตั ิตนใหส้ อดคลอ้ งตามบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนญู และการสนับสนุนส่งเสรมิ ใหผ้ ู้อื่นปฏิบตั ิ กลมุ่ ท่ี 3 หลกั สทิ ธมิ นุษยชนและบทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการสิทธ์ิ กล่มุ ที่ 4 กฎหมายระหว่างประเทศที่วา่ ด้วยการคุ้มครองสิทธดิ า้ นบคุ คล กลุ่มที่ 5 การปฏิบตั ติ ามหลักสิทธมิ นุษยชน 2.4 ครูให้แต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนมาออกมานำเสนอหน้าห้องเรียน และครเู ปน็ ผู้ตรวจสอบความ ถกู ต้อง ใหค้ วามร้เู พ่ิมเตมิ และข้อเสนอแนะ โดยใหน้ ักศึกษาจดบันทึกส่ิงท่ีได้จากการฟงั และสรุปลงในแบบบันทึก การเรยี นรู้ กศน. 2.5 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรอ่ื ง ความสะอาด ความสุภาพ ความขยนั ความประหยัด ความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความสามคั คี ความมีน้าใจ ความมวี นิ ัย ศาสน์ กษตั ริย์ รักความเปน็ ไทย และ ยึดมน่ั ในวิถชี ีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

63 3. ขัน้ สรุปและประเมินผล (1 ช่ัวโมง) ขั้นประเมินผล (E : Evaluation) 3.1 ครใู หน้ กั ศึกษาทำแบบทดสอบย่อย เรอื่ ง หนา้ ที่พลเมอื ง แบบปรนยั จำนวน 20 ข้อ จากชดุ แบบทดสอบ หรือจาก Google From พร้อมเฉลยและประเมินผล ให้นกั ศึกษาบันทึกคะแนนลงในแบบบนั ทึกการ เรียนรู้ กศน. 3.2 ครใู ห้นกั ศึกษาทำแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) แบบปรนยั วชิ า ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง จำนวน 20 ข้อ ผา่ นทาง Google Form พรอ้ มเฉลยและประเมนิ ผล ใหน้ กั ศึกษาบนั ทกึ คะแนนลงในแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน. 3.3 ครใู ห้นักศึกษาสรปุ การทำความดีและคณุ ธรรมท่ีไดป้ ฏิบัติ พรอ้ มบนั ทกึ ลงในสมุดบนั ทึกความดี เพือ่ การประเมินคุณธรรม 4. ขัน้ มอบหมายงาน การปฏิบัตแิ ละนำไปประยุกต์ (I : Implementation) 4.1 ครมู อบหมายให้นกั ศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเนอื้ หาเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียน เร่ือง หนา้ ที่พลเมือง ใน หัวข้อต่อไปนบ้ี ทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญท่ีมีผลต่อการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและมผี ลตอ่ ฐานะของประเทศในสังคม โลก บทบาทหนา้ ท่ีองค์กรตามรัฐธรรมนญู และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ความเป็นมา และการเปล่ียนแปลง ของรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนญู และกฎหมายอื่น ๆ การปฏิบัติตนใหส้ อดคล้องตามบทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู และ การสนบั สนุนส่งเสรมิ ใหผ้ ู้อ่ืนปฏบิ ตั ิ หลกั สทิ ธิมนษุ ยชนและบทบาทหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการสิทธ์ิ กฎหมายระหวา่ งประเทศทว่ี ่าดว้ ยการคุ้มครองสิทธดิ า้ นบุคคล และการปฏบิ ัติตามหลักสิทธิมนุษยชน จากหนังสอื เรียนออนไลน์รายวชิ าศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง ลิงคล์ ิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download และ สรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. 4.2 ครูมอบหมายให้นักศกึ ษาไปศึกษาค้นควา้ เน้ือหาจากหนังสือเรียนออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและ หน้าทพี่ ลเมือง ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ เร่ือง พลเมอื งดีในวิถปี ระชาธิปไตย และทำใบงานท่ี 1 เรื่อง หนา้ ทข่ี องชาวไทย ใบงานท่ี 2 เรือ่ ง การปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดีในวถิ ปี ระชาธิปไตย และใบงานที่ 3 เรื่อง พลเมืองดีในใจฉนั (โดยครูจะสง่ ใบงานทาง Google classroom) และใหน้ ักศกึ ษาส่งงานทาง LINE ตามวันเวลาท่คี รกู ำหนด 5. ขน้ั ตดิ ตามผล (30 นาท)ี 5.1 ครูติดตามงานท่ไี ดม้ อบหมายนักศึกษา เพ่อื ติดตามความคืบหนาทางแอปพลเิ คชัน Line ดงั นี้ 5.1.1 ติดตามงานที่ไดร้ บั มอบหมายสัปดาห์ทีผ่ า่ นมา 5.1.2 ตดิ ตามการทำกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต (กพช.) 5.1.3 ตดิ ตามสอบถามสขุ ภาพของนักศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย) 5.1.4 ตดิ ตามสอบถามการทำความดีในแต่ละวนั สัปดาหท์ ่ีผ่านมาและติดตามการบันทึก กิจกรรมที่ทำความดลี งในสมุดบนั ทึกบนั ทึกความดีเพื่อการประเมนิ คุณธรรม 5.1.5 ติดตามสอบถามเก่ยี วกับงานอดเิ รก สุนทรยี ภาพ การเล่นกฬี า การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็น ประโยชน์ ฯลฯ 5.1.6 ตดิ ตามความก้าวหน้าการทำโครงงาน สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้

64 1. หนงั สือเรยี นวชิ า สค 31002 ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง หรือ หนงั สอื เรียนออนไลน์ ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download 2. ค่มู ือนักศกึ ษา 3. วดี ีทศั น์, Youtube เกี่ยวกับ พลเมืองดี และการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v 4. แบบทดสอบย่อย เรื่อง หน้าท่ีพลเมือง แบบปรนัย จำนวน 20 ขอ้ (ชดุ แบบทดสอบ หรอื Google Form) 5. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) วิชาศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ (ชดุ แบบทดสอบ หรอื Google Form) 6. ใบความรู้ เรื่อง พลเมืองดใี นวถิ ปี ระชาธปิ ไตย 7. ใบงานที่ 1 เร่อื ง หนา้ ทขี่ องชาวไทย 8. ใบงานที่ 2 เร่ือง การปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดีในวิถปี ระชาธปิ ไตย 9. ใบงานที่ 3 เร่ือง พลเมืองดีในใจฉัน 10. แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน. การวัดและประเมนิ ผล 1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีรายบุคคล/รายกลุม่ 2. การตรวจแบบบันทกึ การเรียนรู้ กศน. 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน/ชิ้นงาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมินคุณธรรม

65 วธิ ีการเรียน : แบบออนไลน์ (ON-Line) กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 1. ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น ( 30 นาที ) การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O : Orientation) 1.1 ครูทักทายนกั ศึกษา และนาเข้าสบู่ ทเรยี นโดยแจง้ ข่าวสารเหตกุ ารณ์ปจั จบุ นั ผา่ นทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม ใหน้ กั ศึกษาทราบ พรอ้ มท้ังแลกเรียนเปลีย่ นเรยี นรขู้ อ้ มูลข่าวสารเหตกุ ารณ์ ปัจจุบนั ร่วมกันวเิ คราะห์ และแสดงความคิดเห็นรว่ มกัน ผ่านทาง Google Classroom หรอื LINE กลุ่ม พรอ้ ม อธบิ ายถงึ เหตุผลความจำเป็นท่ตี อ้ งจัดกิจกรรมการเรยี นรปู แบบออนไลน์ 1.2 ครูเปดิ วีดที ัศน์ เรื่อง พลเมืองดี และการปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดี ให้นกั ศึกษารบั ชมผ่านทาง YouTube จากลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v โดยครสู ง่ ลงิ ค์ผา่ นทาง Google Classroom หรอื แอปพลิเคชัน LINE แล้วครูถามนักศึกษาว่า จากวีดีทศั น์ท่นี ักศึกษารับชม นกั ศึกษาสามารถปฏิบตั ิตนเป็นพลเมือง ดี ได้อยา่ งไรบ้าง โดยใหน้ ักศึกษารว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละแลกเปลยี่ นเรยี นรู้แสดงความคดิ เห็นผ่านทาง Google Classroom หรอื แอปพลเิ คชนั LINE เพื่อเชอื่ มโยงเข้าสบู่ ทเรยี นตอ่ ไป 2. ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ( 4 ชวั่ โมง ) การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 2.1 ครมู อบหมายให้นกั ศึกษาไปศกึ ษาหาความรู้ เรื่อง หน้าทีพ่ ลเมือง จากหนังสือเรยี นออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมอื ง ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download หรือจากส่ือและแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ และใหส้ รุปลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. ในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1. บทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญทีม่ ผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และมผี ลตอ่ ฐานะของ ประเทศในสังคมโลก 2. บทบาทหน้าท่ีองค์กรตามรัฐธรรมนญู และการตรวจสอบการใช้อำนาจรฐั 3. ความเปน็ มา และการเปล่ียนแปลงของรฐั ธรรมนูญ 4. รฐั ธรรมนูญ และกฎหมายอน่ื ๆ 5. การปฏิบัตติ นให้สอดคล้องตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ และการสนบั สนุนส่งเสริมให้ ผอู้ ่นื ปฏบิ ัติ 6. หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนและบทบาทหน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบของคณะกรรมการสิทธ์ิ 7. กฎหมายระหวา่ งประเทศท่ีวา่ ดว้ ยการคุ้มครองสิทธิด้านบุคคล 8. การปฏบิ ตั ติ ามหลักสทิ ธิมนษุ ยชน 2.2 ครูมอบหมายให้นักศกึ ษาเลอื กหวั ข้อที่สนใจ จำนวน 1 เรื่อง ใหไ้ ปศึกษาคน้ คว้าจากหนงั สือ เรียนออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download หรอื จาก แหล่งการเรยี นรู้ตา่ งๆ และให้นกั ศกึ ษาจดั ทำสรปุ ความรเู้ ป็นแผนผังความคิด ลงในแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน. ดงั นี้ 1. บทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนญู ท่ีมีผลต่อการเปล่ยี นแปลงทางสังคม และมีผลตอ่ ฐานะของ ประเทศในสงั คมโลก 2. บทบาทหน้าท่ีองค์กรตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ 3. ความเปน็ มา และการเปลี่ยนแปลงของรัฐธรรมนูญ 4. รัฐธรรมนูญ และกฎหมายอน่ื ๆ

66 5. การปฏิบตั ิตนใหส้ อดคล้องตามบทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนญู และการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้ ผ้อู ืน่ ปฏบิ ตั ิ 6. หลักสิทธิมนษุ ยชนและบทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการสิทธ์ิ 7. กฎหมายระหวา่ งประเทศท่ีวา่ ดว้ ยการคุ้มครองสิทธดิ า้ นบคุ คล 8. การปฏบิ ตั ิตามหลักสิทธิมนุษยชน 2.3 ครสู อนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรื่อง ความสะอาด ความสุภาพ ความกตญั ญู กตเวที ความขยัน ความประหยัด ความซอ่ื สตั ย์ ความมีน้ำใจ ความมวี ินยั ศาสน์ กษัตรยิ ์ รักความเป็นไทย และยึด มน่ั ในวถิ ีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ผา่ นทาง LINE กลุม่ 3. ขัน้ สรุปและประเมนิ ผล (1 ชวั่ โมง ) ข้นั ประเมินผล (E : Evaluation) 3.1 ครูใหน้ ักศึกษาทำแบบทดสอบย่อย เร่อื ง หนา้ ที่พลเมอื ง แบบปรนัย จำนวน 20 ขอ้ ผ่านทาง Google From พรอ้ มเฉลยและประเมนิ ผล ให้นักศึกษาบันทกึ คะแนนลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. 3.2 ครใู ห้นกั ศึกษาทำแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) แบบปรนยั วชิ าศาสนาและหน้าท่ี พลเมือง จำนวน 20 ข้อ ผ่านทาง Google Form พรอ้ มเฉลยและประเมินผล ใหน้ กั ศึกษาบันทึกคะแนนลงในแบบ บนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน. 3.3 ครูให้นกั ศึกษาสรุปการทำความดแี ละคุณธรรมท่ไี ดป้ ฏิบัติ จากบนั ทกึ ลงในสมดุ บันทึกความ ดเี พือ่ การประเมนิ คุณธรรม 4. ขนั้ มอบหมายงาน การปฏิบัติและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation) 4.1 ครมู อบหมายใหน้ กั ศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเน้อื หาเพ่ิมเติมจากหนังสือเรยี น เรื่อง หน้าที่พลเมือง ใน หัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและมีผลต่อฐานะของประเทศใน สงั คมโลก บทบาทหน้าทีอ่ งค์กรตามรฐั ธรรมนูญและการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ความเปน็ มา และการ เปลย่ี นแปลงของรัฐธรรมนูญ รฐั ธรรมนูญ และกฎหมายอน่ื ๆ การปฏิบัตติ นให้สอดคล้องตามบทบญั ญัติของ รัฐธรรมนญู และการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ใหผ้ อู้ ่นื ปฏบิ ัติ หลักสทิ ธิมนษุ ยชนและบทบาทหน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบของ คณะกรรมการสิทธิ์ กฎหมายระหวา่ งประเทศทว่ี า่ ด้วยการคุ้มครองสทิ ธิด้านบุคคล และการปฏิบัติตามหลักสทิ ธิ มนษุ ยชน จากหนังสอื เรยี นออนไลน์รายวชิ าศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง ลิงคล์ งิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และสรุปลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. 4.2 ครมู อบหมายให้นกั ศึกษาไปศึกษาคน้ ควา้ เนือ้ หาจากหนังสอื เรยี นออนไลน์ รายวชิ าศาสนาและ หน้าทพ่ี ลเมือง ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ เรื่อง พลเมอื งดใี นวิถปี ระชาธปิ ไตย และทำใบงานท่ี 1 เรื่อง หน้าที่ของชาวไทย ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง การปฏิบตั ิตนเป็น พลเมอื งดใี นวิถปี ระชาธิปไตย และใบงานที่ 3 เรือ่ ง พลเมืองดใี นใจฉนั (โดยครูจะส่งใบงานทาง Google classroom) และให้นักศึกษาสง่ งานทาง LINE ตามวนั เวลาที่กำหนด

67 5. ขั้นตดิ ตามผล (30 นาที) 5.1 ครูตดิ ตามงานที่ได้มอบหมายนกั ศึกษา เพือ่ ติดตามความคืบหน้าทางแอปพลิเคชัน Line ดงั นี้ 5.1.1 ตดิ ตามงานที่ไดร้ บั มอบหมายสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.1.2 ตดิ ตามการทำกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (กพช.) 5.1.3 ติดตามสอบถามสุขภาพของนกั ศกึ ษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย) 5.1.4 ติดตามสอบถามการทาความดีในแตล่ ะวัน สัปดาหท์ ี่ผ่านมาและติดตามการบันทกึ กิจกรรมที่ทำความดลี งในสมุดบนั ทกึ บันทึกความดีเพื่อการประเมนิ คุณธรรม 5.1.5 ติดตามสอบถามเกย่ี วกับงานอดเิ รก สนุ ทรียภาพ การเล่นกฬี า การใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ฯลฯ 5.1.6 ตดิ ตามความก้าวหน้าการทำโครงงาน สอื่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. Google Classroom / แอปพลิเคชนั LINE 2. หนังสือเรยี นวิชา สค 31002 ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง หรอื หนงั สอื เรยี นออนไลน์ ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download 3. แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ กศน. 4. วดี โี อ, Youtube เก่ยี วกับ เรอ่ื ง พลเมืองดี และการปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดี จากลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v 5. แบบทดสอบย่อย เร่อื ง หน้าท่ีพลเมือง จำนวน 20 ข้อ (รูปแบบ Google Form) 6. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) วชิ าศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ (รปู แบบ Google Form) 7. ใบความรู้ เรือ่ ง พลเมอื งดใี นวิถปี ระชาธิปไตย 8. ใบงานที่ 1 เร่อื ง หน้าทีข่ องชาวไทย 9. ใบงานที่ 2 เร่อื ง การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย 10. ใบงานที่ 3 เรือ่ ง พลเมืองดใี นใจฉนั การวดั และประเมินผล 1. การมสี ว่ นรว่ มในการเขา้ เรียน จาก Google Classroom/LINE 2. ตรวจแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. 3. การตรวจใบงาน 4. การตรวจแบบทดสอบ 5. การประเมนิ คุณธรรม

68 วธิ กี ารเรียน : แบบหนงั สือเรยี น มอบหมายงาน (ON - Hand) กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 1. ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน ( 30 นาที ) การกำหนดสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation) 1.1 ครูสำรวจความพรอ้ มของนกั ศกึ ษาในการเรียนรู้ สำหรับนักศกึ ษาไมม่ ีอินเตอร์เน็ต และเครอื่ งมือ สอ่ื สาร โดยนำหนงั สอื เรียน ใบความรู้ และใบงาน ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้ทบ่ี า้ น ในรายวิชา ศาสนาและหน้าทพี่ ลเมือง จากหนังสอื ท่ีครูได้นำไปให้ พรอ้ มใหน้ ักศกึ ษา ศึกษาใบความรู้ จดั ทำใบงาน พร้อมท้งั ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 1.2 ครูนำตัวอยา่ งการเรียนรู้แบบโครงงาน ไปใหน้ กั ศึกษา ศึกษาเรียนรู้ทีบ่ ้าน เพอ่ื เชอ่ื มโยงเข้าสู่บทเรียน และมอบหมายงานตอ่ ไป 1.3 นักศึกษาสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในตัวอย่างรูปเล่มโครงงาน บันทึกลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. และ นำส่งตามวนั เวลาทคี่ รกู ำหนด 2. ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ( 4 ช่วั โมง ) การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 2.1 ครูมอบหมายใหน้ ักศึกษาไปศึกษาหาความรู้ เรอื่ ง พลเมอื งดีในวิถปี ระชาธปิ ไตย จากหนังสือ รายวิชา ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนญู ท่ีมีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงทางสงั คม และมผี ลตอ่ ฐานะของ ประเทศในสงั คมโลก 2. บทบาทหน้าที่องค์กรตามรัฐธรรมนญู และการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 3. ความเป็นมา และการเปลี่ยนแปลงของรัฐธรรมนูญ 4. รัฐธรรมนญู และกฎหมายอนื่ ๆ 5. การปฏบิ ัติตนใหส้ อดคล้องตามบทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญ และการสนบั สนนุ ส่งเสริมให้ ผู้อ่ืนปฏบิ ตั ิ 6. หลักสิทธิมนุษยชนและบทบาทหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการสิทธ์ิ 7. กฎหมายระหว่างประเทศที่ว่าดว้ ยการคมุ้ ครองสิทธิดา้ นบุคคล 8. การปฏิบตั ิตามหลักสิทธิมนษุ ยชน 2.2 ครมู อบหมายใหน้ ักศึกษาไปศึกษาค้นควา้ เนอื้ หาจากหนงั สือเรยี นรายวชิ าศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง และทำใบงาน ดงั นี้ ใบงานที่ 1 เร่ือง หน้าทีข่ องชาวไทย ใบงานที่ 2 เร่อื ง การปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดีในวิถีประชาธปิ ไตย ใบงานท่ี 3 เรอื่ ง พลเมืองดีในใจฉัน 2.3 ครูสอนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรื่อง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตญั ญู กตเวทคี วามขยัน ความประหยัด ความซอ่ื สัตย์ ความมนี ำ้ ใจ ความมวี ินยั ศาสน์ กษตั รยิ ์ รักความเป็นไทย และยึด มั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผ่านใบความรู้ ใบ งาน

69 3. ขนั้ สรปุ และประเมินผล (1 ช่วั โมง ) ข้ันประเมินผล (E : Evaluation) 3.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง หน้าที่พลเมือง แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ จากชุด แบบทดสอบ พร้อมเฉลยและประเมินผล ใหน้ กั ศกึ ษาบันทึกคะแนนลงในแบบบนั ทึกการเรียนรู้ กศน. 3.2 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดี เพ่ือ การประเมนิ คณุ ธรรม 4. ข้นั มอบหมายงาน การปฏิบตั แิ ละนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation) 4.1 ครูมอบหมายให้นักศึกษาศกึ ษาเรียนรู้จากหนงั สอื เรยี นรายวิชาศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง โดยศึกษา ในเรื่อง บทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนูญทม่ี ผี ลต่อการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม และมีผลต่อฐานะของประเทศในสังคมโลก, บทบาทหน้าที่องคก์ รตามรัฐธรรมนญู และการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ , ความเป็นมา และการเปล่ียนแปลงของ รฐั ธรรมนญู , รัฐธรรมนญู และกฎหมายอื่น ๆ , การปฏิบตั ติ นใหส้ อดคล้องตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู และการ สนับสนุนส่งเสรมิ ให้ผอู้ ่ืนปฏิบตั ิ , หลกั สทิ ธมิ นุษยชนและบทบาทหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการสทิ ธ์ิ, กฎหมายระหวา่ งประเทศที่วา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองสทิ ธดิ า้ นบุคคล และการปฏบิ ตั ิตามหลักสิทธิมนุษยชน และสรุปลง ในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 4.2 ครมู อบหมายให้นักศกึ ษาไปศึกษาคน้ คว้าเนอ้ื หาจากหนังสอื เรียนออนไลน์รายวิชาศาสนาและหน้าที่ พลเมอื ง จากลงิ้ http://203.159.251.144/pattana/download และศกึ ษาเน้อื หาจากใบความรู้ และทำใบงาน ท่ี 1 เรือ่ ง หน้าท่ีของชาวไทย ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดใี นวถิ ปี ระชาธิปไตย ใบงานที่ 3 เรื่อง พลเมืองดีในใจฉัน และให้นกั ศกึ ษาส่งงาน (โดยครูจะสง่ ใบงานทาง Google classroom) และใหน้ กั ศึกษาสง่ งาน ทาง LINE 5. ขัน้ ตดิ ตามผล (30 นาที) 5.1 ครูตดิ ตามงานทไี่ ดม้ อบหมายนกั ศึกษา เพอ่ื ติดตามความคืบหนาทางแอปพลิเคชนั Line ดังน้ี 5.1.1 ติดตามงานที่ไดร้ ับมอบหมายสปั ดาหท์ ่ผี ่านมา 5.1.2 ตดิ ตามการทำกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) 5.1.3 ตดิ ตามสอบถามสขุ ภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสุขภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย) 5.1.4 ตดิ ตามสอบถามการทำความดใี นแตล่ ะวนั สปั ดาห์ที่ผา่ นมาและตดิ ตามการบนั ทกึ กจิ กรรมท่ีทำความดีลงในสมุดบันทกึ บนั ทึกความดีเพื่อการประเมินคุณธรรม 5.1.5 ตดิ ตามสอบถามเกยี่ วกับงานอดเิ รก สนุ ทรียภาพ การเล่นกฬี า การใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ ฯลฯ 5.1.6 ติดตามความก้าวหน้าการทำโครงงาน

70 ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี นวิชาศาสนาและหนา้ ทพ่ี ลเมือง สค31002 2. คมู่ ือนกั ศึกษา 3. ใบความรู้ 4. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่ือง หนา้ ท่พี ลเมอื ง แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ 5..แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) วิชาศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ 6. ใบงานท่ี 1 7. ใบงานที่ 2 8. ใบงานที่ 3 9. แบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. การวัดและประเมินผล 1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีรายบุคคล/รายกลมุ่ 2. การตรวจแบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน. 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน/ชิ้นงาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมินคุณธรรม

71 วิธกี ารเรียน : แบบผา่ นชอ่ งทาง ETV (ON-Air) กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน ( 30 นาที ) การกำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O : Orientation) 1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นในเรื่อง หน้าที่พลเมือง ตามความเข้าใจของนักศึกษา โดยครูยกตัวอย่างการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตยจากอินเตอร์เน็ต พร้อมท้งั แลกเปลย่ี นเรียนรู้ รว่ มกันวเิ คราะห์ และแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกนั ในกลุ่ม LINE พร้อมทงั้ ทำแบบทดสอบ ก่อนเรียน (ชุดแบบทดสอบ หรือ Google Form) ผ่านทาง Google Classroom หรือ LINE กลุ่ม พร้อมอธิบาย ถึงเหตุผลความจำเปน็ ท่ตี ้องจดั กจิ กรรมการเรียนรูปแบบ ( ON-Air ) 1.2 ครนู ำเข้าสู่บทเรียนโดย ใหน้ กั ศึกษาสมคั รเป็นสมาชกิ ETV ตามลิ้งต่อไปนี้ http://203.159.251.144/pattana/download เพ่ือให้นักศึกษามีรหัสผา่ นเพ่ือเขา้ ไปศึกษาหาความร้ตู าม ตาราง ออนแอร์ ในแตล่ ะวนั ของสถานีวทิ ยุโทรทศั น์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตามลงิ้ รายการโทรทัศน์ส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบโรงเรียน http://www.etvthai.tv/Video/VDO_Detail_Ext.aspx?ContentID=320&videoid=1087&v=1&p=5 และ และ นกั ศึกษาสามารถติดตามขา่ วสารได้ในเฟสบคุ๊ ETV Channel ตามล้ิงตอ่ ไปน้ี https://www.facebook.com/Etv-Channel-1512499252411798/ 2. ข้นั จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ( 4 ชัว่ โมง ) การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 2.1 ครูมอบหมายให้นักศกึ ษาเข้าไปศึกษาหาความรู้ ของสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามเวบ็ ไซต์ www.etvthai.tv โดย เข้าสู่ระบบด้วยรหสั ผ่านท่ีนกั ศึกษาสมคั รไวแ้ ลว้ โดย สามารถดูตาราง ออนแอร์ได้ ตามล้งิ http://www.etvthai.tv/Front_ETV/FETV_Schedule.aspx และ สามารถดูรายการย้อนหลังได้ ตามลง้ิ http://www.etvthai.tv/home/home_External.aspx อีกชอ่ งทางการศึกษาหาความรู้โดยผ่าน ทวี ีดจิ ิตอลชอ่ ง 52 (กศน.) สามารถติดตามขา่ วสารและตาราง ออนแอร์ได้ในเฟสบุ๊ค : ETV สือ่ ดจิ ิทลั เพ่ือการศึกษา สำนักงาน กศน. ตามลง้ิ นี้ https://www.facebook.com/etv.digital/ 2.2 ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาเรียนรแู้ บบ (ON-Air) ในเร่ืองการเรยี นรู้ในรูปแบบโครงงานในหวั ข้อต่อไปนี้ 1. บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู ที่มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และมีผลตอ่ ฐานะของ ประเทศในสงั คมโลก 2. บทบาทหน้าท่ีองค์กรตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 3. ความเป็นมา และการเปล่ียนแปลงของรัฐธรรมนูญ 4. รฐั ธรรมนญู และกฎหมายอน่ื ๆ 5. การปฏิบัตติ นให้สอดคล้องตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนญู และการสนบั สนุนส่งเสรมิ ให้ ผ้อู ่นื ปฏบิ ัติ 6. หลกั สทิ ธิมนุษยชนและบทบาทหนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบของคณะกรรมการสิทธิ์ 7. กฎหมายระหว่างประเทศท่ีว่าดว้ ยการคุ้มครองสิทธิด้านบุคคล 8. การปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน

72 และให้นักศึกษาสรุปลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. นำส่งผ่านทาง Google Classroom หรือ แอป พลเิ คชนั LINE 2.3 ครสู อนและสอดแทรกคณุ ธรรม 11 ประการ ในเร่อื ง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตญั ญู กตเวที ความขยัน ความประหยัด ความซ่อื สตั ย์ ความมีนำ้ ใจ ความมีวนิ ยั ศาสน์ กษตั ริย์ รักความเปน็ ไทย และยึด ม่นั ในวิถชี วี ิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข ผา่ นทาง LINE กลุ่ม 3. ข้นั สรุปและประเมนิ ผล (1 ช่วั โมง ) ขนั้ ประเมนิ ผล (E : Evaluation) 3.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง หน้าที่พลเมือง แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ จากชุด แบบทดสอบ หรือจาก Google From พร้อมเฉลยและประเมินผลให้นักศึกษาบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการ เรยี นรู้ กศน. 3.2 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏิบัติ พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกความดี เพ่ือ การประเมนิ คณุ ธรรม 4. ขั้นมอบหมายงาน การปฏิบตั ิและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation) 4.1 ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษาไปอ่านทบทวนเน้อื หาเพ่ิมเตมิ จากหนงั สอื เรยี นรายวชิ าศาสนาและหน้าท่ี พลเมือง จากล้ิง http://203.159.251.144/pattana/download (แบบเรียนออนไลน)์ โดยศึกษาในเร่ือง บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และมีผลตอ่ ฐานะของประเทศในสงั คมโลก,บทบาท หน้าท่อี งค์กรตามรฐั ธรรมนญู และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ , ความเปน็ มา และการเปลย่ี นแปลงของ รัฐธรรมนูญ , รฐั ธรรมนญู และกฎหมายอนื่ ๆ , การปฏิบัติตนให้สอดคล้องตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และการ สนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้ผอู้ ่ืนปฏบิ ตั ิ , หลักสิทธิมนษุ ยชนและบทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการสทิ ธิ์, กฎหมายระหวา่ งประเทศท่วี ่าด้วยการค้มุ ครองสิทธิดา้ นบุคคล และการปฏบิ ตั ิตามหลกั สิทธมิ นษุ ยชน และสรุปลง ในแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 4.2 ครมู อบหมายให้นกั ศึกษาไปศกึ ษาค้นคว้าเน้ือหาจากหนังสือเรยี นออนไลนร์ ายวชิ าศาสนาและหน้าท่ี พลเมือง จากล้งิ http://203.159.251.144/pattana/download และศึกษาเนือ้ หาจากใบความรู้ และทำใบงาน ที่ 1 เรือ่ ง หนา้ ที่ของชาวไทย ใบงานที่ 2 เรื่อง การปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดใี นวถิ ีประชาธิปไตย ใบงานที่ 3 เร่ือง พลเมอื งดใี นใจฉัน และใหน้ ักศึกษาสง่ งาน (โดยครูจะสง่ ใบงานทาง Google classroom) และให้นักศกึ ษาส่งงาน ทาง LINE 5. ข้นั ตดิ ตามผล (30 นาที) 5.1 ครูติดตามงานทไี่ ด้มอบหมายนักศึกษา เพอื่ ติดตามความคืบหนาทางแอปพลเิ คชัน Line ดังน้ี 5.1.1 ตดิ ตามงานท่ีได้รบั มอบหมายสปั ดาห์ทผ่ี า่ นมา 5.1.2 ติดตามการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) 5.1.3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนักศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแต่งกาย) 5.1.4 ติดตามสอบถามการทำความดีในแต่ละวัน สัปดาห์ท่ีผ่านมาและตดิ ตามการบนั ทึก กจิ กรรมท่ีทำความดลี งในสมุดบนั ทึกบันทึกความดเี พื่อการประเมินคุณธรรม

73 5.1.5 ติดตามสอบถามเกีย่ วกับงานอดเิ รก สุนทรยี ภาพ การเล่นกฬี า การใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ฯลฯ 5.1.6 ตดิ ตามความก้าวหน้าการทำโครงงาน สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. www.etvthai.tv 2.ทวี ดี ิจติ อลชอ่ ง 52 (กศน.) 3. เฟสบุ๊ค https://www.facebook.com/etv.digital/ และ https://www.facebook.com/Etv-Channel-1512499252411798/ 4. Google Classroom / แอปพลเิ คชัน LINE 5. หนงั สอื เรยี นวิชาศาสนาและหน้าท่พี ลเมอื ง หรือ หนงั สอื เรยี นออนไลน์ ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download 6. ค่มู ือนักศกึ ษา 7. วดี ที ศั น์, Youtube เก่ยี วกบั พลเมืองดี และการปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดี ลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v 8. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง หน้าที่พลเมอื ง แบบปรนยั จำนวน 20 ขอ้ (ชดุ แบบทดสอบ หรือ Google Form) 9. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) วชิ าศาสนาและหน้าทีพ่ ลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ (ชดุ แบบทดสอบ หรือ Google Form) 10. ใบงานท่ี 1 11. ใบงานท่ี 2 12. ใบงานท่ี 3 13. แบบบนั ทึกการเรยี นรู้ กศน. การวัดและประเมินผล 1. การสงั เกตพฤติกรรมการมีรายบคุ คล/รายกลุ่ม 2. การตรวจแบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน/ชนิ้ งาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมนิ คณุ ธรรม

74 วธิ กี ารเรียน : ผ่านแอปพลิเคชัน (ON-Demand) กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน ( 30 นาที ) การกำหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (O : Orientation) 1.1 ครูทักทายนักศึกษา และนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นในเรื่อง หน้าที่พลเมือง ตามความเข้าใจของนักศึกษา โดยครูยกตัวอย่างการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตยจากอินเตอร์เน็ต พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน พร้อมทั้งทำแบบทดสอบ ก่อนเรียน (ชุดแบบทดสอบ หรือ Google Form) ผ่านทาง Google Classroom หรือแอปพลิเคชัน LINE กลุ่ม พร้อมอธิบายถงึ เหตุผลความจำเปน็ ทตี่ ้องจัดกจิ กรรมการเรยี นรปู แบบ (ON-Demand) 1.2 ครูนำเขา้ สู่บทเรียนโดยเปิดวดี ที ศั น์ เรื่อง พลเมืองดี และการปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดี ใหน้ กั ศึกษา รับชมผ่านทาง YouTube จากลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v ใหน้ ักศึกษารับชมเพื่อให้นักศกึ ษา สามารถปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมืองดี ได้ อยา่ งไรบ้าง นักศึกษารว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละแลกเปลย่ี นเรยี นรู้แสดงความ คิดเห็นผา่ นทาง Google Classroom หรือ แอปพลเิ คชนั LINE เพ่ือเชอ่ื มโยงเขา้ ส่บู ทเรียนต่อไป 1.3 ครูและนักศึกษาสรุปสิ่งที่อภิปรายร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และบันทึกลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. ผา่ นทาง Google Classroom หรอื แอปพลิเคชนั LINE 2. ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ( 4 ช่วั โมง ) การแสวงหาข้อมูลและการจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning) 2.1 ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษาไปศกึ ษาหาความรู้ เรือ่ ง หน้าทพี่ ลเมือง จากหนงั สือเรียนออนไลน์ รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download และ ศึกษาหาความรู้ ผ่าน เว็บไซต์ www.etvthai.tv และ ช่อง Yutube หรือจากส่ือและแหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ และให้สรปุ ลงในแบบบนั ทกึ การ เรียนรู้ กศน. ในหวั ขอ้ ต่อไปนี้ 1. บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญทีม่ ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และมผี ลต่อฐานะของ ประเทศในสงั คมโลก 2. บทบาทหนา้ ที่องค์กรตามรัฐธรรมนญู และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ 3. ความเป็นมา และการเปลี่ยนแปลงของรัฐธรรมนูญ 4. รฐั ธรรมนญู และกฎหมายอื่น ๆ 5. การปฏิบัตติ นใหส้ อดคล้องตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญ และการสนบั สนนุ ส่งเสริมให้ ผู้อืน่ ปฏบิ ตั ิ 6. หลักสทิ ธิมนุษยชนและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการสิทธ์ิ 7. กฎหมายระหว่างประเทศท่วี า่ ดว้ ยการคุม้ ครองสิทธิด้านบุคคล 8. การปฏิบัตติ ามหลกั สทิ ธิมนษุ ยชน 2.2 ครูสอนและสอดแทรกคุณธรรม 11 ประการ ในเรื่อง ความสะอาด ความสภุ าพ ความกตัญญู กตเวทคี วามขยนั ความประหยัด ความซือ่ สัตย์ ความมนี ำ้ ใจ ความมีวินัย ศาสน์ กษตั ริย์ รักความเป็นไทย และยึด มั่นในวถิ ชี วี ติ และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ผ่านทาง LINE กล่มุ

75 3. ขั้นสรปุ และประเมินผล (1 ชว่ั โมง ) ขนั้ ประเมินผล (E : Evaluation) 3.1 ครูให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง หน้าที่พลเมือง แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ จากชุด แบบทดสอบ หรอื จาก Google From พรอ้ มเฉลยและประเมินผล ให้นกั ศึกษาบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกการ เรียนรู้ กศน. 3.2 ครูให้นักศึกษาสรุปการทำความดีและคุณธรรมที่ได้ปฏบิ ตั ิ พร้อมบันทึกลงในสมุดบนั ทกึ ความดี เพื่อ การประเมนิ คุณธรรม 4. ขนั้ มอบหมายงาน การปฏิบตั ิและนำไปประยกุ ต์ (I : Implementation) 4.1 ครมู อบหมายให้นกั ศกึ ษาไปอา่ นทบทวนเนื้อหาเพิ่มเติมจากหนงั สือเรยี น เรื่อง หน้าทพ่ี ลเมือง ใน หัวข้อตอ่ ไปน้ีบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู ทมี่ ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและมผี ลตอ่ ฐานะของประเทศในสังคม โลก บทบาทหนา้ ท่ีองค์กรตามรัฐธรรมนญู และการตรวจสอบการใช้อานาจรฐั ความเป็นมา และการเปลย่ี นแปลง ของรัฐธรรมนญู รัฐธรรมนญู และกฎหมายอืน่ ๆ การปฏิบัติตนใหส้ อดคล้องตามบทบัญญัติของรฐั ธรรมนูญ และ การสนบั สนนุ ส่งเสริมให้ผู้อ่ืนปฏิบตั ิ หลกั สิทธมิ นุษยชนและบทบาทหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการสทิ ธิ์ กฎหมายระหว่างประเทศท่ีว่าดว้ ยการคมุ้ ครองสิทธดิ ้านบุคคล และการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน จากหนังสอื เรียนออนไลน์รายวชิ าศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง ลิงค์ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download และ สรปุ ลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. 4.2 ครมู อบหมายให้นักศึกษาไปศึกษาคน้ คว้าเน้ือหาจากหนงั สอื เรยี นออนไลน์รายวิชาศาสนาและหน้าท่ี พลเมอื ง ลิงค์ http://203.159.251.144/pattana/download และศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ เรอื่ ง พลเมืองดีใน วถิ ีประชาธิปไตย และทาใบงานที่ 1 เรอื่ ง หนา้ ที่ของชาวไทย ใบงานที่ 2 เร่อื ง การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีในวถิ ี ประชาธิปไตย และใบงานท่ี 3 เรื่อง พลเมืองดีในใจฉนั (โดยครจู ะสง่ ใบงานทาง Google classroom) และให้ นักศึกษาสง่ งานทาง LINE ตามวันเวลาทคี่ รูกำหนด 5. ขนั้ ตดิ ตามผล (30 นาท)ี 5.1 ครตู ิดตามงานท่ีได้มอบหมายนกั ศึกษา เพือ่ ติดตามความคบื หนาทางแอปพลิเคชนั Line ดังนี้ 5.1.1 ติดตามงานท่ีไดร้ ับมอบหมายสปั ดาหท์ ีผ่ ่านมา 5.1.2 ติดตามการทำกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) 5.1.3 ตดิ ตามสอบถามสุขภาพของนกั ศึกษา (การตรวจสขุ ภาพ/ความสะอาด/การแตง่ กาย) 5.1.4 ตดิ ตามสอบถามการทำความดใี นแต่ละวัน สปั ดาหท์ ี่ผา่ นมาและตดิ ตามการบันทึก กจิ กรรมท่ีทำความดลี งในสมุดบันทึกบันทึกความดเี พื่อการประเมินคุณธรรม 5.1.5 ตดิ ตามสอบถามเกี่ยวกับงานอดเิ รก สุนทรยี ภาพ การเลน่ กฬี า การใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็น ประโยชน์ ฯลฯ 5.1.6 ติดตามความกา้ วหนา้ การทำโครงงาน สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี นวชิ า สค 31002 ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง หรือ หนงั สือเรยี นออนไลน์ ลงิ ค์ http://203.159.251.144/pattana/download 2. คูม่ อื นักศกึ ษา

76 3. วดี ที ศั น์, Youtube เก่ียวกบั พลเมอื งดี และการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดี ลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v 4. แบบทดสอบย่อยก่อนเรยี น เร่ือง หน้าท่ีพลเมือง แบบปรนัย จำนวน 20 ข้อ (ชุดแบบทดสอบ หรอื Google Form) 5. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) วิชาศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง สค 31002 จำนวน 20 ขอ้ (ชุดแบบทดสอบ หรอื Google Form) 6. ใบความรู้ เรือ่ ง พลเมืองดีในวิถปี ระชาธปิ ไตย 7. ใบงานท่ี 1 เรื่อง หน้าทข่ี องชาวไทย 8. ใบงานท่ี 2 เร่อื ง การปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย 9. ใบงานที่ 3 เร่อื ง พลเมืองดีในใจฉนั 10. แบบบันทึกการเรยี นรู้ กศน. การวดั และประเมินผล 1. การสังเกตพฤตกิ รรมการมรี ายบคุ คล/รายกลุ่ม 2. การตรวจแบบบันทึกการเรียนรู้ กศน. 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน/ช้ินงาน 4. การตรวจใบงาน 5. การตรวจแบบทดสอบ 6. การประเมนิ คณุ ธรรม

77 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) ครง้ั ท่ี 10 (จำนวน 34 ชัว่ โมง) สาระการพฒั นาสังคม รายวิชา สค 31002 ศาสนาและหน้าท่พี ลเมอื ง ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย คำสั่ง ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม และไปทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต) โดยการไปศึกษาค้นคว้า อ่านหนังสือ จดบันทึก จากหนังสือแบบเรียน ตำรา หนังสือ และสื่ออื่นๆ ในห้องสมุดประชาชนจังหวัด ห้องสมุด ประชาชนอำเภอ โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา วิทยาลัยชุมชนในพื้นที่อำเอเมืองนราธิวาสหรือ อำเภออ่นื ๆ หรอื ไปสอบถามขอความรู้จากบุคคล ในหัวข้อต่อไปนี้ กลมุ่ ที่ 1 บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญทมี่ ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และมีผลต่อฐานะของประเทศใน สงั คมโลก กลมุ่ ท่ี 2 บทบาทหน้าท่อี งค์กรตามรฐั ธรรมนูญและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ กลมุ่ ท่ี 3 รัฐธรรมนูญ และกฎหมายอืน่ ๆ กลุม่ ท่ี 4 กฎหมายระหวา่ งประเทศทว่ี า่ ดว้ ยการคุ้มครองสทิ ธิดา้ นบคุ คล ขนั้ ตอนของการไปเรยี นรู้ต่อเนอ่ื ง (กรต.) ของนกั ศกึ ษา มดี งั นี้ 1. แผนการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต.) ในแต่ละแต่ละสัปดาห์ แต่ละครั้งที่ครู กศน.ตำบล/ครู ศรช. หรือครู ประจำกลุ่มกลุม่ มอบหมาย 2. ให้บริหารเวลาและใช้เวลาในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต.) สปั ดาห์ละ 15 ชั่งโมงเปน็ อยา่ งนอ้ ย 3. อ่านหนงั สือ สอบถามผู้รู้ และจดบนั ทึกทุกครัง้ ทมี ีการทำกิจกรรม กรต. และเกบ็ หลักฐานไว้ทกุ คร้ังเพื่อ ส่งครกู ศน.ตำบล/ครูศรช. หรอื ครูประจำกลมุ่ ตรวจใหค้ ะแนนการทำ กรต. 4. จดั ทำรายงานเปน็ เลม่ ตามแบบรายงานท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กำหนด และใหส้ ง่ ในวันทม่ี กี ารนำเสนอผลการทำกรต. ในเร่ืองนนั้ ๆ 5. ตัวแทนกลุม่ นำเสนอด้วยตนเอง (กรณที ีท่ ำกรต.คนเดียว) โดยให้นำเสนอผลงานตามข้อ4 กลุ่มละ/คน ละไม่เกนิ 10 นาที ในวนั พบกลุม่ ครงั้ ตอ่ ไป

78 ใบความรู้ เรื่อง พลเมอื งดี ในวถิ ีประชาธิปไตย รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง รหัสวชิ า สค31002 ความหมายของ “พลเมอื งดี” ในวถิ ปี ระชาธิปไตย พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ได้ให้ความหมายของค าตา่ งๆ ไว้ ดงั นี้ “พลเมือง” หมายถึง ชาวเมอื ง ชาวประเทศ ประชาชน “วิถ”ี หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน “ประชาธิปไตย” หมายถึง ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ หรือการถือเสียง ขา้ งมากเปน็ ใหญ่ ดังนั้น ความหมายของ “พลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย” จึงหมายถึง ประชาชนที่ยึดมั่นในแนว ทางการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเคารพเสียงข้างมากเป็นใหญ่ โดยใช้หลักการยึดมั่นในศีลธรรมและ คุณธรรมของ ศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการด ารงชีวิต ปฏิบัติตนตามกฎหมาย ด ารงตนเป็น ประโยชน์ต่อสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้เป็นสังคมและ ประเทศประชาธิปไตยอย่าง แท้จริง หลกั การทางประชาธปิ ไตย หลกั การทางประชาธิปไตย ท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ 1. หลกั อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน หมายถงึ ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจสูงสุดในการปกครองรฐั 2. หลกั ความเสมอภาค หมายถึง ความเท่าเทียมกนั ในสงั คมประชาธิปไตย ถือว่าทกุ คนทเี่ กดิ มาจะมี ความ เทา่ เทียมกันในฐานะประชากรของรฐั มีสทิ ธิ เสรภี าพ หนา้ ทีเ่ สมอภาคกัน ไมม่ ีการแบ่งชนช้นั 3. หลกั นิติธรรม หมายถงึ การใช้หลักกฎหมายเปน็ กฎเกณฑ์การอยู่รว่ มกนั เพือ่ ความสงบสุขของสังคม 4. หลกั เหตผุ ล หมายถงึ การใชเ้ หตุผลท่ถี กู ตอ้ งในการตัดสนิ หรือยตุ ิปัญหาในสังคม 5. หลักการถือเสยี งข้างมาก หมายถงึ การลงมตโิ ดยยอมรบั เสยี งสว่ นใหญ่ในสังคมประชาธิปไตย 6. หลกั ประนปี ระนอม หมายถงึ การลดความขัดแย้งโดยการผอ่ นหนกั ผ่อนเบาให้กัน ร่วมมอื กนั เพื่อ เห็น แกป่ ระโยชนข์ องสว่ นรวมเป็นสำคญั แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย พลเมอื งดตี ามวิถีประชาธปิ ไตยควรมแี นวทางการปฏิบัตติ น ดังน้ี 1) ดา้ นสังคม ได้แก่ 1. การแสดงความคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล 2. การยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อนื่ 3. การยอมรับเม่ือผอู้ ่นื มีเหตผุ ลทด่ี กี ว่า 4. การตัดสินใจโดยใช้เหตผุ ลมากกวา่ อารมณ์ 5. การเคารพระเบียบของสงั คม 6. การมีจติ สาธารณะ คอื การบ าเพ็ญประโยชน์เพ่อื ส่วนรวม และรักษาสาธารณสมบตั ิ

79 2) ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ 1. การประหยัดและอดออมในครอบครัว 2. การซ่อื สัตย์สุจริตตอ่ อาชพี ที่ท า 3. การพฒั นางานอาชีพใหก้ า้ วหนา้ 4. การใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม 5. การสรา้ งงานและสร้างสรรคส์ งิ่ ประดษิ ฐใ์ หม่ ๆ เพ่ือใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ สงั คมไทยและสังคม โลก 6. การเปน็ ผ้ผู ลติ และผูบ้ รโิ ภคทดี่ ี มคี วามซื่อสตั ย์ ยดึ มน่ั ในอดุ มการณท์ ี่ดีต่อชาตเิ ป็นสำคัญ 3) ดา้ นการเมืองการปกครอง ได้แก่ 1. การเคารพกฎหมาย 2. การยอมรับฟังความคิดเห็นของทุกคน 3. การยอมรับในเหตผุ ลที่ดีกวา่ 4. การซ่ือสัตยต์ อ่ หนา้ ท่โี ดยไม่เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนตน 5. การกล้าเสนอความคดิ เหน็ ต่อส่วนรวม กลา้ เสนอตนในการท าหนา้ ทีส่ มาชกิ สภาผ้แู ทน ราษฎร หรือสมาชิกวฒุ สิ ภา 6. การทำงานท่รี ับผดิ ชอบอย่างเต็มความสามารถเตม็ เวลา จรยิ ธรรมของการเปน็ พลเมืองดี คณุ ธรรม จริยธรรม หมายถงึ ความดงี ามหรือกิริยาท่คี วรประพฤติ คุณธรรม จริยธรรมที่สง่ เสรมิ ความ เปน็ พลเมืองดี ได้แก่ 1. ความจงรักภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ หมายถึง การตระหนักในความสำสัญของความเป็น ชาตไิ ทย การยึดมั่นในหลกั ศลี ธรรมของศาสนา และการจงรักภกั ดีต่อพระมหากษตั ริย์ 2. ความมรี ะเบยี บวินยั หมายถงึ การยึดม่นั ในการอย่รู ว่ มกันโดยยดึ ระเบยี บวนิ ยั เพ่ือความเปน็ ระเบยี บ เรียบรอ้ ยในสังคม 3. ความกล้าหาญทางจรยิ ธรรม หมายถงึ ความกลา้ หาญในทางทถ่ี กู ที่ควร 4. ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบตั ิหน้าทีข่ องตนอย่างเต็มก าลังสตปิ ัญญา และก าลัง ความสามารถ 5. การเสยี สละ หมายถงึ การยอมเสยี ผลประโยชน์สว่ นตนเพื่อผอู้ ื่น หรอื แกส่ ังคม โดยรวม 6. การตรงต่อเวลา หมายถึง การท างานตรงตามเวลาที่ได้รับมอบหมาย 7. การสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้อ่ืนปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดี เม่ือบุคคลปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมืองดใี นวิถีประชาธิปไตยแลว้ กค็ วรสนบั สนุนให้บคุ คลอนื่ ปฏิบตั ติ นเป็น พลเมือง ดีดว้ ย โดยมีแนวทางการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. การยดึ มน่ั ในคุณธรรม จริยธรรมของศาสนา และหลกั การของประชาธิปไตยมาใชใ้ นวถิ ีการ ดำรง ชวี ติ ประจำวนั เพอ่ื เปน็ แบบอย่างทดี่ แี กค่ นรอบขา้ ง

80 2. เผยแพร่ อบรม หรือสง่ั สอนบุคคลในครอบครัว เพ่ือนบ้าน คนในสังคม ให้ใชห้ ลักการทาง ประชาธิปไตยเป็นพืน้ ฐานในการด ารงชวี ติ ประจ าวัน 3. สนับสนนุ ชมุ ชนในเรื่องทเี่ ก่ียวกับการปฏบิ ตั ิตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยการ บอกเลา่ หรอื เผยแพร่บทความผา่ นสื่อแขนงต่าง ๆ 4. ชกั ชวนหรือสนับสนนุ คนดีมีความสามารถใหม้ ีสว่ นร่วมกับกิจกรรมทางการเมืองหรือกิจกรรม สาธารณประโยชน์ต่าง ๆ 5. เป็นหูเปน็ ตาให้กบั รฐั หรือหน่วยงานของรฐั ในการสนบั สนนุ คนดีและกำจดั คนทเี่ ป็นภัยกับ สังคม การสนับสนนุ ให้ผ้อู ื่นปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดีในวถิ ปี ระชาธปิ ไตยตามแนวทางการปฏิบัติดังกล่าว ถอื เปน็ จิตสำนึกที่บคุ คลพงึ ปฏบิ ตั ิเพ่ือใหเ้ กดิ ประชาธปิ ไตยอย่างแท้จริง

81 ใบงานท่ี 1 เร่อื ง หนา้ ท่ขี องชาวไทย รายวชิ า ศาสนาและหน้าท่ีพลเมอื ง รหสั วิชา สค31002 จุดประสงค์การเรยี นรู้ ข้อ 2 ยกตัวอย่างสทิ ธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญได้ ขอ้ 3 บอกวธิ กี ารปฏบิ ัตติ นตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ และหนา้ ที่การเป็นพลเมืองดีของ ประเทศ และโลกได้ คำชแี้ จง 1. ให้ผ้เู รียนยกตัวอย่างประกอบหัวข้อที่กาหนดใหม้ าหัวขอ้ ละ 1 ตัวอยา่ ง ยกตวั อยา่ ง สริ ปิ ระภาเดนิ ทางไปเที่ยวประเทศอังกฤษเป็นประจาทกุ เดอื น เสรีภาพ …………………………………………………………………………………….. สถานภาพ …………………………………………………………………………………….. บทบาท …………………………………………………………………………………….. สทิ ธิ …………………………………………………………………………………….. เสรภี าพ …………………………………………………………………………………….. หน้าท่ี 2. ให้ผเู้ รียนวิเคราะห์ผลดจี ากการปฏบิ ตั ติ นตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนา้ ทีข่ องประชาชนชาว ไทยลงในชอ่ งว่างตอ่ ไปนี้ ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชือ่ ........................................................................รหัสนกั ศึกษา...................................ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย

82 เฉลยใบงานที่ 1 เร่อื ง หน้าที่ของชาวไทย รายวิชา ศาสนาและหน้าท่ีพลเมอื ง รหัสวิชา สค31002 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขอ้ 2 ยกตวั อย่างสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชนชาวไทยตามรฐั ธรรมนูญได้ ข้อ 3 บอกวิธีการปฏบิ ตั ิตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ และหน้าท่ีการเป็นพลเมอื งดีของประเทศ และโลกได้ คำชแ้ี จง 1. ใหผ้ ้เู รียนยกตัวอย่างประกอบหัวข้อท่ีกำหนดใหม้ าหัวข้อละ 1 ตวั อย่าง ยกตัวอย่าง เสรีภาพ สริ ิประภา เดินทางไปเทย่ี วประเทศอังกฤษเป็นประจาทกุ เดอื น สถานภาพ อรปรยี า จบการศึกษาใน ระดับปริญญาโท สาขาวิชากฎหมาย บทบาท ศักดา ตงั้ ใจสอนนกั เรยี นให้สมกบั อาชีพครู สิทธิ อวยชยั เขา้ แจ้งความกับตำรวจเมอื่ ถูกคนรา้ ยขโมยโทรศัพท์มอื ถอื เสรภี าพ เพญ็ ศิริ เปิดโทรทัศน์เพอ่ื ฟังข่าวสารบ้านเมืองภายในบา้ น หนา้ ท่ี อนนั ต์ ไปทำบัตรประชาชนทอี่ ำเภอเม่ือมีอายุครบ 15 ปบี ริบูรณ์ (พจิ ารณาจากคำตอบใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน) 2. ให้ผู้เรยี นวเิ คราะหผ์ ลดจี ากการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ และหนา้ ท่ขี องประชาชนชาว ไทยลงในชอ่ งวา่ งต่อไปนี้ เม่ือทุกคนในสังคมรับรเู้ ก่ียวกับสถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ และหน้าท่ขี องตนเอง และ ประพฤตติ นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กจ็ ะทำให้สมาชกิ ในสงั คมอาศัยอยรู่ ่วมกันได้อยา่ งสงบสุข บ้านเมืองมคี วามเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย แต่ที่สำคญั ท่สี ดุ คอื ประโยชน์ทจ่ี ะเกดิ กับตวั เอง นั่นคือ การประสบความสำเร็จในการดำเนิน ชวี ิต และเม่ือเราปฏิบตั ิตนตามหนา้ ทแ่ี ลว้ กค็ วรสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้อน่ื ปฏบิ ตั ิตามด้วยเพ่ือให้สังคมและประเทศชาติพฒั นา ยิ่งขึน้ ต่อไป (พิจารณาจากคำตอบให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของครูผ้สู อน)

83 ใบงานที่ 2 เรื่อง การปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดใี นวิถีประชาธิปไตย รายวิชา ศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง รหสั วชิ า สค31002 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขอ้ 1 บอกแนวทางการปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีได้ ขอ้ 2 ระบุคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมของพลเมอื งดไี ด้ ขอ้ 3 บอกผลดีจากการปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดตี ่อประเทศชาตไิ ด้ คำชี้แจง ใหผ้ เู้ รยี นแสดงความคิดเหน็ ในประเด็นคำถามตอ่ ไปนี้ 1. พลเมอื งดีในวถิ ีประชาธปิ ไตยมีคณุ ลกั ษณะเชน่ ไรบ้าง ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. แนวทางการปฏิบัติตนเปน็ พลเมอื งดตี ้องทำอย่างไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดีต้องอาศยั หลกั คณุ ธรรมใดบา้ ง ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดกี ่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติอยา่ งไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ช่อื ........................................................................รหัสนักศึกษา...................................ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

84 เฉลยใบงานที่ 2 เรือ่ ง การปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมอื งดีในวถิ ีประชาธิปไตย รายวิชา ศาสนาและหนา้ ที่พลเมอื ง รหัสวชิ า สค31002 จุดประสงค์การเรียนรู้ ขอ้ 1 บอกแนวทางการปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีได้ ขอ้ 2 ระบุคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มของพลเมืองดีได้ ข้อ 3 บอกผลดีจากการปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองดีต่อประเทศชาติได้ คำชี้แจง ใหผ้ ู้เรียนแสดงความคิดเหน็ ในประเดน็ คาถามต่อไปน้ี 1. พลเมอื งดีในวถิ ีประชาธิปไตยมคี ณุ ลักษณะเชน่ ไรบา้ ง 1. ปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมาย 2. เคารพเสยี งข้างมากเปน็ ใหญ่ 3. บำเพญ็ ตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม 4. รักษาไว้ซึ่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 5. ยดึ ม่นั ในหลักคณุ ธรรม จริยธรรมของศาสนา 2. แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมอื งดีตอ้ งทำอยา่ งไร 1. หมั่นทำความดีอยู่เสมอ 2. หลกี เลยี่ งการทำความชวั่ ต่าง ๆ 3. ศึกษาบุคคลที่ทำความดีไวเ้ ปน็ แบบอย่างและปฏบิ ัตติ าม 3. การปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมืองดีต้องอาศัยหลกั คุณธรรมใดบ้าง 1. ความจงรกั ภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 2. ความรับผดิ ชอบ 3. ความมรี ะเบยี บวินัย 4. ความเสยี สละ 5. ความซ่ือสัตย์สุจริต 4. การปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดีก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติอยา่ งไร ทำใหท้ ุกคนอาศยั อยู่ในสงั คมเดียวกันได้อยา่ งมีความสุข มีความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย ไม่มีคน ไดร้ ับความ เดือดรอ้ น ซึ่งจะช่วยใหส้ งั คมและประเทศชาติเกดิ การพฒั นาและเจรญิ ก้าวหน้ามากยิง่ ข้ึน (พิจารณาจากคำตอบใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

85 ใบงานท่ี 3 เรอื่ ง พลเมอื งดีในใจฉัน รายวิชา ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมอื ง รหสั วิชา สค31002 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ข้อ 1 บอกแนวทางการปฏบิ ัติตนเป็นพลเมืองดีได้ ขอ้ 2 บอกผลดจี ากการปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองดีต่อประเทศชาตไิ ด้ คำชแ้ี จง 1. ให้ผู้เรียนวิเคราะหค์ ณุ ลักษณะของพลเมืองดีตามความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นลงในแผนผงั ความคิด พร้อมทง้ั ตอบคำถามท่กี าหนด 2. การปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดกี ่อใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ประเทศชาตอิ ย่างไร ตอบ……………………………………………………………………………………………………………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชอื่ ........................................................................รหัสนักศึกษา...................................ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

86 เฉลยใบงาน 3 เร่อื ง พลเมอื งดีในใจฉนั รายวชิ า ศาสนาและหน้าทีพ่ ลเมือง รหสั วชิ า สค31002 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขอ้ 1 บอกแนวทางการปฏบิ ัติตนเป็นพลเมืองดีได้ ข้อ 2 บอกผลดีจากการปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองดตี ่อประเทศชาตไิ ด้ คำชีแ้ จง 1. ให้ผเู้ รียนวเิ คราะห์คณุ ลักษณะของพลเมืองดีตามความคิดเหน็ ของนกั เรียนลงในแผนผงั ความคดิ พรอ้ มทัง้ ตอบคำถามทก่ี ำหนด 2. การปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดีกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อประเทศชาตอิ ยา่ งไร ตอบ การปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดยี ่อมส่งผลดีทงั้ ต่อตนเองและประเทศชาติ ต่อตนเอง เช่น เป็นการฝกึ หดั การทำความดี ซง่ึ จะสง่ ผลให้ชวี ิตมคี วามสขุ และประสบความสำเร็จในหน้าท่ีการงาน ได้รับการยกย่อง สรรเสริญ ส่วนตอ่ ประเทศชาติ เช่น ประเทศชาติเกิดความมั่นคง ประชาชนไม่มีเรื่องเดือดเนอื้ ร้อนใจ ซงึ่ จะ ช่วยใหป้ ระเทศเจริญก้าวหนา้ ต่อไป เปน็ ตน้ ( พจิ ารณาจากคำตอบให้อยู่ในดุลยพินจิ ของครผู สู้ อน )

87 แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) รายวิชา ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมอื ง รหสั วชิ า สค31002 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คำชแี้ จง จงเลือกคำตอบทีถ่ ูกต้องท่ีสดุ เพียงขอ้ เดียว 1. ลกั ษณะสำคญั ทีส่ ดุ ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยตรงกบั ข้อใด ก. การปฏิบัติตามผู้นำ ข. ผูน้ ำมาจากการเลือกต้ัง ค. ประชาชนทำอะไรตามใจชอบ ง. ประชาชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการปกครอง 2. บุคคลใดต่อไปน้แี สดงบทบาทได้ไมเ่ หมาะสมกบั สถานภาพ ก. นายกกุ๊ ไกเ่ ป็นนักเรียนได้ขาดเรียนเพ่ือไปทำงานพเิ ศษ ข. นายโอค๊ เปน็ อาจารยไ์ ด้เข้ามาสอนก่อนเวลาและเลิกสอนเมอ่ื เลยเวลาทก่ี ำหนด ค. นายแจค็ เปน็ นักมายากลมืออาชีพ ยอมแสดงมายากลเสี่ยงตายเพื่อใหค้ นดูพอใจ ง. นายเตย้ เปน็ แพทย์ยอมเสียค่าใชจ้ ่ายสว่ นตวั เพ่ือไปสัมมนาเรื่องเทคนิคการแพทย์สมัยใหม่ 3. ขอ้ ใดต่อไปน้เี ป็นสถานภาพทีไ่ ด้รับมาภายหลัง ก. เพศ ข. สญั ชาติ ค. การสมรส ง. เชื้อชาติ 4. บคุ คลใดท่ปี ฏิบัติตนไมเ่ หมาะสมเกย่ี วกับสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชนชาวไทย ก. เปไ้ ม่ยอมเปิดประตใู หค้ นแปลกหน้าเข้าบา้ น ข. ก้อยเดินทางไปมาระหว่างประเทศไทยกับจีนอยู่เสมอ ค. แจนได้เปลี่ยนไปนับถอื คริสต์ศาสนาเพราะมีสามเี ป็นชาวองั กฤษ ง. กำนนั เขยี วชวนลกู บา้ นประท้วงการทำงานของรฐั ท่ีไมเ่ อื้อตอ่ ผลประโยชนข์ องตน 5. ข้อใดจดั เปน็ หน้าทที่ ปี่ ระชาชนชาวไทยพึงปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนูญ ก. การประกอบอาชพี ข. การนบั ถือศาสนา ค. การเสียภาษอี ากร ง. การชมุ นมุ อยา่ งสงบ 6. เมอ่ื รตั นามีอายุครบสิบห้าปบี ริบูรณ์ เธอจงึ ไปทำบัตรประชาชนที่อำเภอ แสดงวา่ รตั นาปฏบิ ัติตนใน เรือ่ งใด ก. สทิ ธิ ข. บทบาท ค. หนา้ ที่ ง. สถานภาพ