Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อีบุ๊คเรื่อง... หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 20219-20229

อีบุ๊คเรื่อง... หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 20219-20229

Published by film zaza, 2022-11-17 04:31:35

Description: E-book เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาวืทยาการคำณวณเเละวิชามัลติมีเดีย เสนอครู สุนทรเเละครูเอกศักดิ์

Search

Read the Text Version

อีบคุ เรอื่ ง… หลกั การทาํ งานของคอมพิวเตอร โดย.. เดก็ ชายววิ รรธน ทรัพยจรัสเเสง 20219 เดก็ ชายพอเพียง ศรีเมตตา 20229

หลักการทาํ งานของคอมพิวเตอร์ การทํางานของคอมพิวเตอรจะเร่ิมจากผูใชป อนขอมูลผา นทางอปุ กรณข องหนว ยรับเขา (Input device) เชน คยี บ อรด เมาส ขอมูลจะถูกเปล่ียนใหเ ปน สญั ญาณดจิ ิทลั ประกอบดวยเลข 0 และ 1 แลวสง ตอไปยงั หนวยประมวลผลกลาง เพอื่ ประมวลผลตามคาํ ส่ัง ในระหวา งการประมวลผลขอ มูลจะถูกเก็บไวท่ี (Random Access Memory: RAM) ทํา หนา ที่เกบ็ ขอ มูลจากการประมวลผลเปน การชั่วคราว ขณะเดียวกัน อาจมีคาํ สงั่ ใหนําผลลพั ธจ ากการประมวลผลดงั กลาวไปแสดงผลผานทางอปุ กรณผา นทางอปุ กรณของหนว ยสงออก เชน จอภาพ หรือ เครอื่ งพมิ พ นอกจากนี้เรา สามารถบันทึกขอมลู ที่อยใู นอนาคต โดยการอา นขอ มลู ทบี่ ันทกึ ในส่อื ดงั กลา วผานทางเครื่องขับหรอื ไดรฟ (drive) การสง ผานขอมูลไปยงั หนว ยตางๆ ภายในระบบคอมพิวเตอรจะผานทางระบบบสั (bus) อุปกรณของหนวยรบั เขาและ สงออก จะเชอ่ื มตอ กับตัวเครื่องทเ่ี รียกวา ซสิ เต็มยนู ิต (System unit) มี เคส (case) เปนโครงยดื ใหอ ปุ กรณต างๆ ประกอบกัน ภายในเคสจะมีเมนบอรด (Mainboard) เปนแผนวงจรหลกั โดยซพี ยี ู หนวยความจาํ การด รวมถึง อปุ กรณตา งๆ จะถกู ตอกบั เมนบอรดนี้ทงั้ สิน้

ระบบการทาํ งานของคอมพิวเตอร์ มีหน่วยพ้นื ฐาน 5 หน่วย 1. หนวยรับขอมลู (Input Unit) ทําหนาท่ีในการรับขอมลู หรอื คําส่ังจากภายนอกเขา ไปเก็บไวในหนวยความจาํ เพื่อเตรยี มประมวลผล ขอ มูลที่ตอ งการ ซ่งึ อปุ กรณท่ใี ชใ นการนําขอมูลทใ่ี ชก นั อยูตั้งแตอดตี จนถงึ ปจ จบุ ันนน้ั มอี ยูหลายประเภทดว ย กันสําหรับอปุ กรณท น่ี ิยมใชในปจจบุ นั มีดังตอ ไปนี้ - คียบอรด (Keyboard) - เมาส (Mouse) - สแกนเนอร (Scanner)

2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทําหนา ทใี่ นการคํานวณและประมวลผล แบง ออกเปน 2 หนวยยอย คือ - หนว ยควบคุม ทําหนา ท่ีในการดูแล ควบคุมลําดับขน้ั ตอนของการประมวลผล และการ ทาํ งานของอปุ กรณต างๆ ภายในหนว ยประมวลผลกลาง และชว ยประสานงานระหวา งหนว ยประมวล ผลกลาง กับอปุ กรณนาํ เขาขอ มลู อปุ กรณในการแสดงผล และหนวยความจาํ สาํ รอง - หนวยคํานวณและตรรก ทําหนาที่ในการคาํ นวณและเปรียบเทียบขอมูลตา งๆ ที่สง มาจากหนว ย ควบคุม และหนวยความจํา

3. หน่วยความจําหลัก (Main Memory) ทําหนา ทใี่ นการเกบ็ ขอมลู หรอื คําสั่งตา งๆ ท่ีรบั จากภายนอกเขามาเก็บไว เพอื่ ประมวลผลและยังเก็บผลท่ีได จากการประมวลผลไวเพื่อแสดงผลอกี ดวย ซึง่ แบง ออกเปน หนว ยความจํา เปนหนวยความจําทม่ี อี ยู ในตัวเครอื่ งคอมพิวเตอร ทําหนาท่ีในการเกบ็ คําส่งั หรอื ขอ มลู แบง ออกเปน - รอม (ROM) หนว ยความจําแบบถาวร - แรม (RAM) หนวยความจําแบบชั่วคราว

3.1 หน่วยความจํารอม (ROM : Read-only Memory) ROM ยอมาจาก Read-only Memory คือหนว ยความจําถาวร ทเี่ ราสามารถเขียนหรือลบโปรแกรม ตางๆได แตก ม็ ี ROM บางชนิดไมสามารถทจี่ ะลบขอ มลู ในรอมไดเหมือนกัน ซึ่งROM เปนหนว ย ความจําท่ไี มตอ งการไฟเล้ยี ง แมไมมไี ฟเลยี้ งขอ มูลที่อยูในรอมกจ็ ะไมหายหรือถกู ลบออกจากหนว ย ความจําถาวร

3.2. แรม (RAM : Random Access Memory -ทาํ หนา ท่ีเกบ็ ขอมูลทรี่ ับเขามาจากหนวยรับขอ มลู เพอ่ื นําไปประมวลผล -ทาํ หนา ที่เกบ็ ผลลัพธทไ่ี ดข ณะทาํ การประมวลผลซงึ่ ยงั ไมใ ชผลลพั ธส ดุ ทา ย -ทําหนา ทเ่ี กบ็ ผลลัพธทีไ่ ดจ ากการประมวลผลซึง่ เปน ผลลพั ธส ุดทาย -ทาํ หนาท่เี ก็บชดุ คาํ ส่งั ตางๆ ขณะทีเ่ รากาํ ลังทํางานอยูก บั เครอ่ื ง เพื่อใชใ นการประมวลผล -เปนหนวยความจาํ ทีเ่ ก็บขอ มลู หรอื โปรแกรมไวชั่วคราว สรางข้ึนเพ่ือผูใชโดยตรง -สามารถอานหรือเขยี นทบั ขอมลู ลงไปไดต ามตองการ ถา ไฟดบั ขอ มลู จะสญู หาย -การเขา ถงึ ขอ มลู เปน แบบสุม

4. หน่วยความจํารอง (Secondedata Storage) ทําหนาทจ่ี ดั เกบ็ ขอมลู และโปรแกรมตางๆ เพือ่ นํามาใชอีกคร้ังภายหลงั แมจะปดเครื่องคอมพิวเตอรขอ มลู และ โปรแกรมทจี่ ดั เก็บไวจะไมสญู หาย - Disk Drive - Hard Drive - CD-Rom - Magnetic Tape - Card Reader

4.1 อุปกรณ์ทเี่ ป็นหน่วยความจําสํารอง ไดแก จานแมเ หลก็ สามารถเขา ถงึ ขอ มลู ไดโดยตรง (Direct Access) ไดแก ฮารด ดิสก และฟลอ็ ปปด สิ ก เทปแมเ หล็ก (Magnetic Tape) สามารถบันทกึ และเขาถงึ ขอ มลู แบบเรยี งลําดับ (Sequential Access) การ บันทึกทาํ โดยสรางสนามแมเ หลก็ ลงบนเนื้อเทป จานแสง (Optical Disk) เปนสอื่ ทใี่ ชบนั ทกึ ขอ มูลไดป ริมาณมากสามารถอา นและบันทกึ ขอ มูลดว ยแสงเลเซอร เชน CD-ROM (Compact Disc Read-Only Memory) มคี วามจขุ อมูลสูงมาก ตง้ั แต 650 เมกะไบท (MB) สามารถอานขอ มลู ไดอ ยางเดยี ว แกไ ขเปลย่ี นแปลงไมไ ด

4.2 จานเเมเ่ หล็ก ครอ่ื งจานแมเ หล็ก (disk drive) เปน เคร่อื งทีใ่ ชอา นและบันทกึ ขอมลู บนจานแมเ หล็ก มี หลักการทํางานคลา ยเคร่ืองเลน จานเสียงธรรมดาท่วั ๆ ไป แตแทนทจี่ ะมเี ขม็ กลับมีหวั อานและ หรือหัวบันทึก (read-write head) คลายเคร่ืองแถบแมเ หล็กทีเ่ คลื่อนท่เี ขาออกได เคร่อื งจาน แมเ หลก็ มสี องแบบ คือ แบบจานตดิ อยกู บั เคร่ือง (fixed disk) และแบบยกจานออกเปลีย่ นได (removable disk)

4.3 เทปเเม่เหล็ก เทปแมเหลก็ เปน อุปกรณส าํ หรับบนั ทึกรหัสขอ มลู ในเครื่องคอมพวิ เตอร และเปนที่รจู กั กนั ดใี นการ ใชบ ันทึกเสยี งหรือรายการตาง ๆ ลงในเครอ่ื งบนั ทึก เสยี งแบบเทปคาสเซทท (cassette recorder) lo อาศัยระบบแมเ หล็กในการบันทกึ และการอานขอ มูล หรือเสียงท่ีบนั ที่บนั ทึกออกมา

4.4 จานเเสง จานแสง (optical disk) ซึง่ มจี ุดเดนทส่ี าํ คญั คอื การอา นหรือบนั ทกึ ขอ มูลทไ่ี มต อ งใหหวั อา นกดลง หรือสมั ผสั กบั จาน การอานจะใชลําแสงสองและสะทอนกลบั จานก็มขี นาดเล็กกะทดั รัด ไมอ อน ไม ตองกลบั หัวอา น และคงทนมีอายกุ ารใชงานไดย าวนาน

5. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทําหนา ทใี่ นการแสดงผลลทั ธทไ่ี ดห ลงั จากการคํานวณและประมวลผล สาํ หรับอปุ กรณท่ี ทาํ หนาท่ใี นการแสดงผลขอ มูลท่ไี ดน้ันมตี อไปนี้ - Monitor จอภาพ - Printer เครอื่ งพมิ พ. - Plotter เครอ่ื งพมิ พทใ่ี ชป ากกาในการเขียนขอมูลตา งๆ ที่ตองการลงกระดาษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook