Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

202

Published by วีรสิทธิ์ หารัญดา, 2019-05-14 23:18:54

Description: 202

Search

Read the Text Version

ทควางามกาเครรกียฬี ดา (Stress in Sports)

Stress Performance Connection ความเครียดทางการกีฬา 51

ในสถานการณ์ทางกีฬามักมีเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อ ความรู้สึกนึกคิดของนักกีฬาจนท�ำให้การแสดงความสามารถทางการกีฬา ที่เคยท�ำได้ดีกลับมีประสิทธิภาพลดลง สาเหตุดังกล่าวเกิดจากการที่ นักกีฬาปล่อยให้เหตุการณ์ต่างๆ มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางความคิดและ ไ ม ่ ส า มา ร ถ จั ด กา ร ให ้ อ ยู ่ ใ นร ะ ดั บ ท่ี เห มา ะ ส ม ไ ด ้ จึ ง ท� ำ ให ้ เ กิ ด ค วา มรู ้ สึ ก ไม่สบายใจ รู้สึกหวาดกลัว กระวนกระวายใจต่อส่ิงที่เกิดขึ้นหรือกลัว ความผิดหวัง ลักษณะความคิดท่ีเป็นการคาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าที่ยัง ไม่เกิดข้ึนเรียกว่า “ความวิตกกังวล” และหากนักกีฬาไม่สามารถปรับตัวต่อ ความวิตกกังวลท่ีเกิดขึ้นได้จะส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกาย ท่ีเรียกวา่ “ความเครียด” ซงึ่ จะนำ� ไปสกู่ ารตอบสนองภายในรา่ งกายและทำ� ให้ เกดิ การเปลยี่ นแปลงทางสรีรวิทยา เชน่ กลา้ มเนอ้ื เกรง็ ตวั ทอ้ งผกู นอนไมห่ ลบั ความดันโลหิตสูงข้ึน หรือระดับน�้ำตาลในเลือดสูงข้ึน หากสภาวะดังกล่าว ไม่ได้รับการบรรเทาให้ลดลงหรือได้รับการจัดการที่ดีแล้วย่อมก่อให้เกิดปัญหา เรื้อรังและมีแนวโน้มท่ีจะน�ำไปสู่การเจ็บป่วยและการเลิกเล่นกีฬา นักกีฬา ต้องทราบระดับการกระตุ้นของตนเองเพื่อเพ่ิมหรือลดระดับของความรู้สึกหรือ ความคิดให้อยู่ในระดับเหมาะสมกับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น ความเครียดระดับต�่ำและความเครียดท่ีเกิดข้ึนมีระยะเวลาไม่นาน จนเกินไปจะเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลท�ำส่ิงต่างๆ ด้วยความกระตือรือร้น มีประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหา มีความรู้สึกเช่ือมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง มากข้ึนและไม่มีผลให้เกิดการหลั่งของฮอร์โมนต่างๆ ในร่างกายเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol hormone) ท่ี ไปกดการท�ำงานของ ต่อมใต้สมอง และโดยเฉพาะนักกีฬาสตรจี ะมีผลต่อการรบกวนการหลั่งของ ฮอร์โมนท่ีกระตุ้นการท�ำงานของรังไข่ ซ่ึงท�ำให้เกิดภาวะการมีประจ�ำเดือน ผิดปกติได้ ดังน้ันนักกีฬาควรต้องเรียนรู้ตนเองและท�ำความเข้าใจกับสิ่งต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการเกิดความเครียดทางการกีฬา ดังรายละเอียดต่อไปน้ี 52 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

การตระหนักรู้ตนเองจากการกระตุ้น การตระหนักรู้ตนเองจากการกระตุ้น หมายถึง การรับรู้เกี่ยวกับ เหตุการณ์และระดับการควบคุมตนเอง ซ่ึงนักกีฬาต้องทราบเกี่ยวกับ การควบคุมตนเองและรู้จักสภาพอารมณ์ของตนเอง เพราะส่ิงเหล่าน้ีมีผลต่อ ความสามารถในทางท่ีดีข้ึนและความสามารถในทางท่ีแย่ลง ส�ำหรับ วิธีการเรียนรู้การตระหนักรู้ตนเองจากการกระตุ้น มีแนวทางดังนี้ การคิดย้อนกลับไปถึงการแสดงความสามารถที่ดี เช่น “ก�ำลัง เล่นอยู่ในสนามแข่งขันจริง” โดยพยายามจินตนาการถึงการแข่งขันจริงอย่าง ชัดเจนและเป็นไปได้ มุ่งจุดสนใจที่ความรู้สึกและความคิดในช่วงเวลานั้น เพียงปฏิบัติอย่างน้อย 5 นาที จะรับรู้ถึงความรู้สึกขณะนั้น ต้องฝึก จนกระท่ังเกิดความช�ำนาญ เม่ือสามารถปฏิบัติได้แล้วให้ท�ำแบบประเมิน โดย ระดับความรู้สึก 1 หมายถึง มากที่สุด และระดับความรู้สึก 6 หมายถึง น้อยท่ีสุด ตัวอย่างเช่น ถ้ารู้สึกว่า “เล่นได้ดีมากท่ีสุด” ให้วงกลมหมายเลข 1 หรือถ้ารู้สึกว่า “กังวลใจระดับมากที่สุด” ให้วงกลมหมายเลข 6 ความเครียดทางการกีฬา 53

แบบประเมินขอคงวนาักมกพีฬร้อามด้านจิตใจ ค�ำชี้แจง กรณุ าบอกความรสู้ กึ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในขณะแขง่ ขนั กฬี า โดยทำ� เครอื่ งหมาย รอบตัวเลขที่ตรงกับความรู้สึกของคุณมากท่ีสุด ไม่มีค�ำตอบที่ถูกหรือผิด เป็นเพียงการประเมินภาวะจิตใจและความสามารถ ทางการกีฬาในขณะเวลาน้ัน ภาวะทางจิตใจ ระดับความรู้สึก ภาวะทางจิตใจ เล่นได้ดีมาก 1 23 456 เล่นได้แย่มาก รู้สึกผ่อนคลายมาก 1 23 456 รู้สึกกังวลใจมาก รู้สึกม่ันใจมาก 1 23 456 รู้สึกขาดความมั่นใจมาก รู้สึกว่าสามารถควบคุม รู้สึกว่าไม่สามารถควบคุม สิ่งต่างๆ ได้ 1 23 456 ส่ิงต่างๆ ได้ กล้ามเน้ือผ่อนคลายมาก กล้ามเน้ือตึงตัวมาก รสู้ กึ ถงึ พลงั ที่มอี ยอู่ ยา่ งมาก 1 23 456 รู้สึกอ่อนล้าอย่างมาก 1 23 456 พูดกับตัวเองทางบวก 1 23 456 พูดกับตัวเองทางลบ รู้สึกถึงความมุ่งมั่น รู้สึกขาดความมุ่งม่ัน ในตนเองอย่างมาก 1 23 456 ในตนเองอย่างมาก รู้สึกถึงความง่ายไม่ต้องใช้ รู้สึกถึงความยากต้องใช้ ความพยายาม 1 23 456 ความพยายามมาก พลังที่มีอยู่ในตัวเองสูง พลังท่ีมีอยู่ในตัวเองต่�ำ 1 23 456 (Weinberg & Gould, 2003) 54 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

แบบประเมินความพร้อมด้านจิตใจของนักกีฬาไม่มีค�ำตอบที่ถูก หรือผิดเป็นเพียงการประเมินความสัมพันธ์ของภาวะทางจิตใจและ ความสามารถทางการกีฬาท่ีมีอยู่ในขณะนั้น หลังจากการประเมิน เสร็จส้ิน นักกีฬาจะพบว่ามีทั้งความสามารถที่ดีและความสามารถ ที่ ไมด่ ีเกดิ ขน้ึ โดยหากประเมนิ แลว้ พบวา่ ในสว่ นใดที่เปน็ ความสามารถ ไมด่ ี ใหก้ ลบั ไปดำ� เนนิ การตามกระบวนการฝกึ จิตใจเพอ่ื ลดความไมพ่ รอ้ ม ด้านจิตใจของนักกีฬา แล้วจึงกลับมาตอบแบบประเมินความพร้อม ด้านจิตใจอีกครั้ง ความเครียดทางการกีฬา เป็นสภาวะท่ีนักกีฬาไม่สามารถ จัดการกับส่ิงเร้าที่มากระทบจิตใจและส่งผลต่อการปรับตัว อันมีผลให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายและพฤติกรรม จนท�ำให้ การแสดงความสามารถทางการกีฬาลดลง ส�ำหรับกระบวนการเกิด ความเครียด สาเหตุท่ีก่อให้เกิดความเครียด และวิธีการจัดการกับ ความเครียดต่างๆ มีดังต่อไปนี้ ความเครียดทางการกีฬา 55

สาเหตุของความเครียดทางการกีฬา สาเหตุของความเครียดทางการกีฬาอาจมาจากโปรแกรมการฝึกซ้อม ที่หนักและต่อเนื่อง การแข่งขันท่ีมีอยู่ตลอดเวลา การเดินทางที่ยาวไกล การด�ำเนินชีวิตที่ต้องท�ำแต่สิ่งเดิมๆ การขาดเวลาส่วนตัว เวลาพักผ่อน ไม่เพียงพอ ปฏิสัมพันธ์ภายในทีมไม่เกิดขึ้น เป็นต้น สามารถสรุปแหล่งของ ความเครียดทางการกีฬาได้ 3 ประการ คือ สาเหตุจากตัวเอง เป็นความเครียดท่ีเกิดข้ึนซึ่งเป็นผลมาจาก ความคิดความรู้สึกท่ีมีต่อตนเอง เช่น การรับรู้ว่าตนเองไม่มี ความสามารถ สู้คนอ่ืนไม่ได้ ขาดความม่ันใจ สาเหตุจากสถานการณ์ สาเหตุจากบุคคลอื่น เป็นความเครียด เปน็ ความเครียดท่ีเกดิ ขน้ึ ท่ี เ กิ ด ขึ้ นซึ่ ง เป ็ น ผ ล มา จ า ก ก า ร ให ้ ซ่ึ ง เ ป ็ น ผ ล ม า จ า ก ก า ร ค ว า ม ส� ำ คั ญ กั บ บุ ค ค ล อ่ื น มา ก ก ว ่ า ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ก า ร ณ ์ การให้ความส�ำคัญกับตนเอง มักอยู่ใน แวดล้อม เช่น การรับรู้ว่า สภาวะยนิ ยอมใหบ้ คุ คลอ่ืนมามอี ทิ ธพิ ล ตนเองไม่มีความส�ำคัญ ต่อตนเองเป็นส�ำคัญ เพราะฉะน้ันหาก ต ่ อ ที ม เพ ร า ะ ไ ม ่ ไ ด ้ รั บ นักกีฬาเกิดความเครียดท่ีมีสาเหตุ การดูแลจากผู้ฝึกสอน มาจากบคุ คลอื่น จงึ มกั ขจัดความเครยี ด เหมอื นเพอ่ื นรว่ มทมี คนอนื่ ออกจากตนเองไม่ได้หมดอย่างแท้จริง เพราะเม่ือนักกีฬาต้องกลับมาพบเจอ บุคคลเดิมความเครียดจะเกิดข้ึนอีก 56 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ประเภทของความเครียดทางการกีฬา ความเครี ยดเป็นแนวคิดพ้ืนฐานจากความสัมพั นธ์ระหว่างร่างกาย กับจิ ตใจที่ เชื่ อว่าความรู้สึกหรื ออารมณ์มีผลต่อสุขภาพหรื อความเจ็บ ป่วย ทางร่างกายได้ โดยแบ่งความเครียดออกเป็น 2 ประเภท คือ 1 ความเครียดทางบวก เป ็ น ค วา ม เ ค รี ย ด ใ นท า ง ดี ซ่ึ ง เป ็ น สิ่ ง ท่ี มนุษย์พยายามแสวงหา เมื่อมีความตั้งใจ จะท�ำดีมากๆ เช่น ดี ใจ ตื่นเต้น หรือเม่ือมี ความสขุ มากๆ เมอื่ ตอ้ งขน้ึ รับเหรียญรางวลั เพราะเป็นความกดดันจึงพยายามจะท�ำให้ ดีท่ีสุด ความเครียดทางบวกถ้ามีระดับ ไม่สูงมากเกินไปจะช่วยให้นักกีฬาแสดง ความสามารถทางการกีฬาดีข้ึน 2 ความเครียดทางลบ เป็นความเครียดในทางไม่ดีซึ่งเป็นสิ่งที่ มนษุ ยพ์ ยายามหลกี เลย่ี ง เปน็ การตอบสนอง ของรา่ งกายที่ไมเ่ ฉพาะเจาะจงตอ่ ขอ้ เรยี กรอ้ ง ต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัว เป็นความรู้สึกต่อ ความกดดันท่ีมีความคับข้องใจ สับสน ความกลัว ความกังวลใจที่จะท�ำผิดพลาด หรือท�ำไม่ได้ ความเครียดทางการกีฬา 57

ร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียด โดยจะส่งผลต่อ การท�ำงานของระบบภายในร่างกาย 5 ระบบ ดังต่อไปนี้ 1 การตอบสนองของกลา้ มเนอื้ คอื การเคลอื่ นไหวของกล้ามเนอ้ื ซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ การแสดงออกทางรา่ งกาย ไมว่ า่ จะเปน็ การเคลอื่ นไหว ด้วยความสนุกสนานหรือหลีกหนอี ันตราย โดยการเคล่ือนไหว ของกล้ามเนื้อมี 2 ลักษณะ คือ 1.1 การหดตัวของกล้ามเนื้อ ในภาวะท่ีร่างกายเกิดความเครียดจะส่งผลให้ กล้ามเน้ือเกิดความตึงตัวมากกว่าปกติ ซ่ึงเมื่อร่างกายได้รับการกระตุ้น จะส่งผลให้ระบบประสาทอัตโนมัติมีการสั่งการไปยังต่อมหมวกไต (Adrenal gland) ให้มีการหลั่งฮอร์โมนอะดรีนาลีน (Adrenaline hormone) ออกมา ซ่ึงฮอร์ โมนอะดรีนาลีนมีผลต่อการไหลเวียนโลหิตและการเคลื่อนไหวของ กลา้ มเนอ้ื ทำ� ใหห้ ลอดเลอื ดมกี ารขยายตวั และเลอื ดถกู สง่ ไปยงั กลา้ มเนอื้ สว่ นตา่ งๆ มากขึ้นจึงเกิดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ 1.2 การคลายตัวของกล้ามเนื้อ ในภาวะที่ร่างกายผ่อนคลายจะส่งผล ให้กล้ามเน้ือต่างๆ ท�ำงานเป็นปกติไม่มีความตึงเครียดเกิดขึ้น แต่ในบาง สถานการณ์หากกล้ามเน้ือของนักกีฬาผ่อนคลายมากเกินพอดีอาจส่งผลให้ ไม่สามารถควบคุมการท�ำงานของกล้ามเน้ือมัดนั้นๆ ได้ดีเท่าที่ควร (บริเวณท่ีมี การตอบสนองตอ่ การผอ่ นคลายกลา้ มเนอื้ อยา่ งชดั เจน ไดแ้ ก่ นวิ้ ขา และลำ� คอ) 58 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

2 การตอบสนองของระบบยอ่ ยอาหาร เปน็ การเคลอื่ นไหวของ กระเพาะอาหารและล�ำไส้ เพ่ือท�ำหน้าที่ย่อยอาหารและดูดซึม สารอาหารเขา้ สกู่ ระแสเลอื ด ซง่ึ การตอบสนองของระบบยอ่ ยอาหาร มี 2 ลักษณะ คือ 2.1 ท้องร่วง เกิดขึ้นจากการเคล่ือนไหวของ ล�ำไส้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้ไม่สามารถดูดซึมน้�ำได้ทัน ซ่ึงพบเห็นได้ในกรณีท่ีนักกีฬามีความเครียดสูงก่อน การแข่งขันอาจมีอาการปวดท้องและท้องเสียตามมา 2.2 ท้องผูก เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหว ของล�ำไส้อย่างช้าๆ ท�ำให้เกิดการอุดตันใน ล�ำไส้ มักเกิดข้ึนกับนักกีฬาที่มีความเครียด เรื้อรัง โดยไมไ่ ดร้ ับการบำ� บดั หรือชว่ ยเหลอื ใดๆ เพอื่ ใหค้ วามเครยี ดนนั้ หายไป จนกระท่ังสง่ ผลตอ่ ระบบการท�ำงานของระบบย่อยอาหารและ มีอาการท้องผูกตามมา อาการท้องผูกมักพบ ในช่วงการฝึกซ้อมหรือการเก็บตัวยาวนาน โดยปราศจากการผ่อนคลายร่างกายและ จิตใจท่ีเหมาะสม ความเครียดทางการกีฬา 59

3 การตอบสนองของสมอง เป็นการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ในส่วนของสมอง ซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากการบันทึก การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง โดยวัดออกมาเป็น ค่าความถี่มีหน่วยเป็นจ�ำนวนรอบต่อวินาที นอกจากนี้ยัง สามารถบอกถึงขนาดของคลื่นด้วยคลื่นไฟฟ้าสมองที่ปรากฏขึ้น โด ยสามารถอธิบายตามลักษณะของคลื่ นไฟฟ้าโด ยเช่ื อมโยง ไปสู่ความคิดและพฤติกรรมของบุคคล ดังนค้ี ือ 3.1 คลื่นเบต้า คลื่นลักษณะนจ้ี ะเป็นคล่ืนที่มีความเร็วมาก ความถ่ีสูง มากกว่า 13 รอบ/วินาที บางครั้งอาจมีความถี่สูงถึง 40 รอบ/วินาที คล่ืนชนดิ นมี้ ีขนาดต�่ำโดยจะพบคล่ืนชนดิ นมี้ ากในภาวะที่บุคคลตื่นเต้นมาก (Alert) กระฉับกระเฉง มีความต้ังใจจดจ่อ ถ้าสูงมากเกินไปจะปิด การเรียนรู้ หลงลืม 3.2 คลื่นอัลฟา เป็นคลื่นที่มีระเบียบมีความถี่ระหว่าง 7 - 13 รอบ/ วินาที โดยจะพบมากในชว่ งท่ีบคุ คลมคี วามสงบผอ่ นคลาย (Relax) ขณะตื่น 3.3 คลื่นทีต้า เป็นคลื่นที่มีขนาดสูง คลื่นช้า มีความถ่ีระหว่าง 4 – 7 รอบ/วินาที จะพบมากในช่วงท่ีบุคคลหลับ อยู่ ในภาวะภวังค์ หรือ มีความเครียดและผิดหวัง 3.4 คลื่นเดลต้า เป็นคล่ืนที่มีความถ่ีน้อยกว่า 4 รอบ/วินาที บางคร้ัง อาจช้าถึง 1 รอบ/2 – 3 วินาที จะพบในช่วงที่บุคคลอยู่ในภาวะหลับสนทิ ไม่รู้สึกตัว 60 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ภาพลักษณะของคลื่นไฟฟ้าสมอง BมาEกTกAว่า 13 รอบ/วินาที ALPHA 7-13 รอบ/วินาที 4T-H7ETรAอบ/วินาที DนE้อLยTกAว่า 4 รอบ/วินาที ความเครียดทางการกีฬา 61

4 การตอบสนองของระบบหลอดเลือดและหัวใจ เมื่อร่างกาย เกิดการเปลี่ยนแปลงจะมีการกระตุ้นการท�ำงานของระบบ หลอดเลือดและหัวใจ 3 ลักษณะคือ 4.1 กลไกการเอาตัวรอด โดยหัวใจจะ ท�ำงานมากขึ้นเพ่ือท�ำให้ความสามารถใน การกระท�ำส่ิงต่างๆ เพ่ิมขึ้นก่อนท่ีจะเกิด เหตุการณ์จริง เม่ืออยู่ในภาวะตึงเครียด รา่ งกายจะเตรยี มความพรอ้ มในการจะ “ส”ู้ หรอื “หน”ี ร่างกายจะเกิดการเปล่ียนแปลงต่างๆ เช่น หัวใจเต้นแรงและเร็วข้ึน การหายใจถ่ีข้ึน แต่เป็นการหายใจตื้นๆ มีการขับฮอร์โมน อะดรนี าลนี และฮอร์โมนอื่นๆ เขา้ สกู่ ระแสเลอื ด ม่านตาขยาย กล้ามเนื้อหดเกร็ง เหง่ือออก 4.2 ความดันโลหิตสูงข้ึน เน่ืองจาก การคั่งของน้�ำและเกลือโซเดียม ปริมาณของ เลอื ดเพมิ่ ขน้ึ หวั ใจทำ� งานหนกั ขนึ้ ชีพจรเตน้ แรง อาจมอี าการใจส่ันได้ 4.3 เกิดการเผาผลาญไขมันสะสม เช่น คอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ เม่ือร่างกายเกิดความเครียดจะมีการกระตุ้นต่อมหมวกไตให้มีการหล่ัง ฮอร์โมนคอร์ติซอลออกมามาก ซ่ึงฮอร์โมนคอร์ติซอลจะท�ำหน้าท่ีเปล่ียน ไขมันให้เป็นกลูโคสมากข้ึนจึงมีผลท�ำให้ระดับน้�ำตาลในเลือดสูงขึ้น 5 การตอบสนองของผิวหนัง เช่น อุณหภูมิภายใต้ผิวหนัง ลดลงผิวหนงั แหง้ ซงึ่ เกดิ จากการมเี ลอื ดไปหลอ่ เลยี้ งนอ้ ยเกนิ ไป 62 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

แนวทางการจัดการกับความเครียดทางการกีฬา การจัดการความเครียดทางการกีฬา หมายถึง กระบวนการที่ท�ำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทางความคิดหรือจิตใจและพฤติกรรมของนักกีฬา โดย พยายามจัดการกับสิ่งที่เข้ามารบกวนทั้งจากภายในตัวนักกีฬาและภายนอก ตัวนักกีฬา สามารถแบ่งประเภทของการจัดการความเครียดทางการกีฬาได้ 2 ประการคือ 1. การจัดการความเครียด 2. การจัดการความเครียด ท่ีมุ่งปัญหา เป็นความพยายาม ทมี่ งุ่ อารมณ์ เปน็ ความพยายาม ที่ จ ะ เป ล่ี ย น แป ล ง ห รื อ จั ด การ ที่จะจัดการกับการตอบสนอง กับ ปัญหาที่ เป็นสา เหตุ ให้เกิด ท า ง อา ร ม ณ ์ ท่ี เป ็ น ผ ล มา จ า ก ความเครียด ประกอบด้วย ปัญหาท่ีท�ำให้เกิดความเครียด การสงั เกตพฤตกิ รรมทต่ี อบสนอง ในแต่ละบุคคล ประกอบด้วย ตอ่ ปญั หาที่เกดิ ขน้ึ การตรวจสอบ การตง้ั สมาธิ และการผอ่ นคลาย การต้ังเป้าหมายของนักกีฬา โดยพยายามใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลง เป็นต้น เพ่ือทราบว่านักกีฬามี เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ แนวคิดต่อปัญหาที่ถูกหยิบยก สถานการณ์ (ตอ้ งไมใ่ ชป่ ญั หาหรอื มาเป็นประเด็นอย่างไร สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริง) การจัดการความเครียดท่ีมุ่งปัญหาจะน�ำไปใช้กันมากเม่ือต้องอยู่ใน สถานการณ์ท่ียอมให้เกิดการเปล่ียนแปลงได้ (ปัญหาน้ันแก้ไขได้) การจัดการ ความเครียดท่ีมุ่งอารมณ์จะมีประโยชน์อย่างมากเมื่อน�ำไปใช้กับสถานการณ์ท่ี ไม่ยอมให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (ปัญหานั้นแก้ไขไม่ได้) ความเครียดทางการกีฬา 63

วิธีจัดการกับความเครียดทางการกีฬา 1 การควบคุมความคิด 4การมงุ่ จุดสนใจไปในทาง 2 การมุ่งจุดสนใจไปยังส่ิงที่ ท่ีดีและการปรับตวั ให้ ก�ำลังปฏิบัติอยู่ เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มให้ได้ 3 การใช้เหตุผลใน 5การสนบั สนนุ จากสงั คม การคิดและพูดกับ ตนเอง หรอื สภาพแวดลอ้ ม รอบตวั 6การเตรียมสภาพจิตใจ ก่อนการแข่งขันและ การจัดการกับ ความวิตกกงั วลท่ีเกดิ ขึ้น 7ฝึกจัดการกับ ความเครียด อย่างสม่�ำเสมอ Stress management 64 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

พรรณพิไล และสุจิตรา (2549ก) อ้างถึงข้อมูลต่างๆ ท่ีน่าสนใจเก่ียวกับ ความเครียด ดังนี้ Fogal & Woods (1995) และ Warren & Shanta (2000) กลา่ ววา่ ความเครียดนอกจากสง่ ผลกระทบตอ่ สมั ฤทธท์ิ างการกฬี า ของนักกีฬาสตรีแล้วยังส่งกระทบทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และ พฤติกรรมของนักกีฬา ส�ำหรับด้านร่างกายความเครียด ทางจิตใจเป็นปัจจัยหน่ึงที่มีส่วนท�ำให้เกิดความผิดปกติของ ประจ�ำเดือนในนักกีฬาสตรี ซึ่งความผิดปกติของประจ�ำเดือนใน นกั กฬี าสตรมี อี บุ ตั กิ ารณต์ งั้ แตร่ อ้ ยละ 1 ถงึ รอ้ ยละ 66 ในนกั กฬี าสตรี ชาวตะวันตก (Loucks, 1990; Patterson, 1995) ส�ำหรับ ประเทศไทยจากการศึกษาในนักกีฬาสตรีประเภทบาสเกตบอล และวอลเลย์บอลมีอัตราความปิดปกติของประจ�ำเดือนถึงร้อยละ 44.4 (Sriareporn, 2003) ความเครียดทางการกีฬา 65

นอกจากนั้นการท่ีนักกีฬาสตรีมีไขมันในร่างกายลดน้อยลงเนื่องมาจาก การควบคุมอาหารและการฝึกซ้อมอย่างหนักจะมีผลต่อความผิดปกติของ ประจำ� เดอื นดว้ ย นอกจากนน้ั ความเครยี ดทางรา่ งกายท่ีมาจากการออกกำ� ลงั กาย อย่างหนักและเป็นระยะเวลานานยังมีผลให้การหล่ังของฮอร์ โมนต่างๆ ในร่างกายเพิ่มข้ึนโดยเฉพาะฮอร์โมนคอร์ติซอล มีการกดการท�ำงานของ ต่อมใต้ส มองและรบกวนการหลั่งของฮอร์ โมนท่ี กระตุ้นการท�ำงานของ รังไข่ ส่วนความเครียดทางจิตใจที่มาจากความกดดันในการฝึกซ้อมและ การแข่งขันหรือเรื่องอื่นๆ ล้วนมีผลต่อการหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอลเช่นเดียวกัน (Gidwani, 1999) ความเครียดทางร่างกายและจิตใจจากการฝึกซ้อมและการแข่งขันกีฬา จะไปกระตุ้น Paraventricular nucleus ให้หล่ัง Corticotropin Releasing Hormone (CRH) และ Vasopressin ซง่ึ ฮอร์โมนทั้งสองชนดิ นจี้ ะไปกระตนุ้ ให้ Adrenocorticotropin Hormone (ACTH) หล่ังท�ำให้ Adrenal cortex หลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอลซึ่งมีผลรบกวนการหล่ัง Gonadotropin Releasing Hormone (GnRH) จากฮัยโปทาลามัสท�ำให้ การหล่ัง Follicle Stimulating Hormone (FSH) และ Luteinizing Hormone (LH) ท่ีควบคุมการท�ำงานของรังไข่ลดน้อยลงหรือ ไม่มีการหลั่ง (Lucks, 1990) การท�ำงาน ของรังไข่จึงถูกกดจนกระทั่งไม่มีการตกไข่ มีผลให้เกิดความผิดปกติของประจ�ำเดือน ไดแ้ ก่ประจำ� เดอื นมาไมส่ มำ่� เสมอประจำ� เดอื น ขาดจนถึงประจ�ำเดือนไม่มา เป็นต้น (Bartz, 1999; Shangold & Levine, 1982) 66 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

จากการศึกษาความเครียดและการมีประจ�ำเดือนในนักกีฬาสตรีระดับ อุดมศึกษา (พรรณพิไล และสุจิตรา, 2549ข) พบว่าร้อยละ 46.3 มีระดับ ความเครียดอยู่ในระดับน้อย และร้อยละ 10.3 อยู่ในระดับมาก นอกจากน้ัน ยังพบว่าร้อยละ 32.6 มีประจ�ำเดือนผิดปกติ ซึ่งกลุ่มที่มีประจ�ำเดือนผิดปกติ พบว่ามีประจ�ำเดือนกระปริบกะปรอยมากถึงร้อยละ 66.7 ความเครียดระดับน้อย ความเครียดระดับมาก มีประจ�ำเดือนผิดปกติ มีประจ�ำเดือน กระปริบกระปรอย ความเครียดทางการกีฬา 67

จากที่กล่าวมาข้างต้นเก่ียวกับความเครียดทางการกีฬาจะเห็นได้ว่าควรให้ ค วา ม ส� ำคั ญ กั บ การ ป ้ อง กั น การ เ กิ ด ภา ว ะ ค วา มเ ค รี ย ด ด ้ ว ย การ หา วิ ธี การ บ�ำบัดหรือบรรเทาความเครียดนั้น ไม่ควรปล่อยให้นักกีฬาต้องประสบกับ ความเครียดเป็นระยะเวลานานๆ ถึงแม้จะเป็นความเครียดระดับต่�ำก็ตาม เพราะสามารถยกระดับเปน็ ความเครียดเร้ือรัง ซง่ึ ยากตอ่ การใหค้ วามช่วยเหลือ และกลับคืนสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว ซึ่งแน่นอนว่าย่อมส่งผลเสียต่อ ความสามารถทางการกีฬา ส�ำหรับนักกีฬาสตรีสามารถประเมินความเครียด ของตนเองได้จากแบบวัดความเครียดในนักกีฬาสตรี แบ่งออกเป็น 6 ด้าน คือ สภาพอารมณ์จิตใจ สภาพร่างกาย ท่ีอยู่อาศัย ความเป็นส่วนบุคคลและ สังคม ความสัมพันธ์ในทีมและเพื่อนนักกีฬา และความคาดหวังทางการศึกษา นอกจากนั้นยังมีแบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ส�ำหรับนักกีฬาท่ัวไป แบ่งออกเป็น 7 ด้าน คือ ด้านการจัดการกับปัญหา ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ ด้านสมาธิ ด้านความเชื่อม่ันและแรงจูงใจ ใฝส่ มั ฤทธิ์ ดา้ นการตงั้ เปา้ หมายและเตรียมความพรอ้ มดา้ นจิตใจ ดา้ นการแสดง ความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน และด้านอิสระจากความกังวล 68 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

แบบวัดความเครียดในนักกีฬาสตรี (Female Athletes Stress Inventory: FASI) ช่ือผู้สร้างแบบสอบถาม พรรณพไิ ล ศรอี าภรณ์ และสจุ ิตรา เทียนสวสั ด์ิ (2549) แหล่งที่มา พยาบาลสาร, 33(2) : 63-73. ลักษณะเครื่องมือ มาตราส่วนประมาณค่า มี 6 ระดับคะแนน ระดับคะแนน 0 หมายถึง เหตุการณ์น้ันไม่ได้ เกิดข้ึนเลย ถึงระดับคะแนน 6 หมายถึง เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นและก่อให้เกิดความเครียด มากที่สดุ มจี ำ� นวน 47 ขอ้ แบง่ ออกเปน็ 6 ดา้ น คอื •• สภาพอารมณ์ จิตใจ (ข้อ 1, 2, 3, 4) •• สภาพรา่ งกาย (ข้อ 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16) •• ที่อยู่อาศัย (ข้อ 17, 18, 19) •• ความเป็นส่วนบุคคลและสังคม (ข้อ 20, 21, 22, 23, 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30, 31) •• ความสมั พนั ธ์ในทมี และเพอื่ นนกั กฬี า (ข้อ 32, 33, 34, 35, 36, 37, 38, 39, 40) •• ความคาดหวังทางการศึกษา (ข้อ 41, 42, 43, 44, 45, 46, 47, 48) การคิดคะแนน น�ำคะแนนของทุกข้อบวกกัน แล้วน�ำผลท่ี ได้มา เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ดังน้ี •• ไมเ่ กดิ ความเครียด (0-47 คะแนน) •• มคี วามเครียดเลก็ นอ้ ย (48-94 คะแนน) •• มคี วามเครียดปานกลาง (95-141 คะแนน) •• มคี วามเครียดมาก (142-188 คะแนน) •• มคี วามเครียดมากทส่ี ดุ (189-235 คะแนน) วัตถุประสงค์ ประเมินความเครียดในนักกีฬาสตรี ค่าความเช่ือถือได้ ท้ังฉบับ เท่ากับ 0.59 (รายด้านอยู่ระหว่าง 0.72-0.88) ความเครียดทางการกีฬา 69

แบบวัดความเครียดในนักกีฬาสตรี ค�ำชี้แจง โปรดอ่านข้อความและท�ำเครื่องหมาย ลงในช่องว่าง โดย พิจารณาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับท่านในระยะเวลา 6 เดือนท่ีผ่านมาที่แสดง ถึงระดับความเครียดในช่วงคะแนน 1 - 5 หากเหตุการณ์เหล่านั้นไม่เกิดขึ้นให้ ท�ำเครื่องหมาย ลงในช่องไม่เกิดขึ้น ในระยะ 6 เดือนที่ผ่านมา ไม่ เกิดข้ึน เหตกุ ารณเ์ หลา่ นท้ี ำ� ใหท้ า่ นเกดิ ความเครียดเพยี งใด เกิด 12345 ข้ึน 1 ความรู้สึกยุ่งยากใจ 2 ความรู้สึกซึมเศร้า 3 ความรู้สึกโกรธ 4 ความรู้สึกวิตกกังวล 5 ความยืดหยุ่น คล่องแคล่วของร่างกาย 6 ความสามารถในการฟื้นคืนสู่สภาพเดิม หลังการเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บ 7 ความรู้สึกว่าร่างกายแข็งแรง 8 การฝึกซ้อมคร้ังหลังสุด 9 ความรู้สึกว่าร่างกายสมบูรณ์ 10 ระดับพละก�ำลังของท่าน 11 โปรแกรมการฝึกกีฬา 12 เวลาในการพักผ่อนและนอนหลับของ ท่าน 13 น�้ำหนักของท่าน 70 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ในระยะ 6 เดือนท่ีผ่านมา ไม่ เกิดขึ้น เหตกุ ารณเ์ หลา่ นท้ี ำ� ใหท้ า่ นเกดิ ความเครียดเพยี งใด เกิด 12345 ข้ึน 14 อาหารท่ีรับประทาน 15 ปัญหาเก่ียวกับประจ�ำเดือน 16 การย้ายท่ีอยู่ไปต่างเมือง/จังหวัด 17 การเปล่ียนแปลงสถานที่พักอาศัย 18 การเปลี่ยนแปลงสถานที่ฝึกซ้อมกีฬา 19 การขาดความเป็นส่วนตัว 20 ปัญหากับเพื่อนร่วมห้อง 21 ปัญหาเก่ียวกับการเงิน 22 การเปล่ียนแปลงการด�ำเนนิ ชีวิต (วิถีชีวิตปกติ งานอดิเรก) การเปล่ียนแปลงกิจกรรมทางสังคม 23 (การเท่ียวเตร่ ดูภาพยนตร์ เย่ียมเยียนเพื่อน/ญาติ) 24 การเปลี่ยนแปลงโปรแกรมการฝึกกีฬา 25 การสร้างสัมพันธภาพกับเพ่ือนใหม่ 26 การแตกแยกกับเพื่อนเน่ืองจาก ความขัดแย้ง 27 ปัญหากับคนรัก 28 ปัญหากับเพื่อนสนทิ 30 ปัญหากับพ่ีน้อง ความเครียดทางการกีฬา 71

ในระยะ 6 เดือนที่ผ่านมา ไม่ เกิดข้ึน เหตกุ ารณเ์ หลา่ นท้ี ำ� ใหท้ า่ นเกดิ ความเครียดเพยี งใด เกิด 12345 ข้ึน 31 ทีม/เพอ่ื นนกั กฬี ามคี วามรสู้ กึ ไมเ่ ปน็ มติ ร กับท่าน 32 ทีม เพื่อนนักกีฬาไม่ยอมรับท่าน 33 ความคาดหวงั ของทมี /เพอื่ นนกั กฬี าตอ่ ทา่ น 34 ครูฝึกวิพากษ์วิจารณ์ท่าน 35 ความล�ำบากในการสร้างสัมพันธภาพ กับครูฝึก 36 ความคาดหวังของครูฝึกต่อท่าน 37 ท่านมีความรู้สึกไม่เป็นมิตรต่อทีม/ เพื่อนนักกีฬา 38 การไมย่ อมรับทีม/เพอื่ นนกั กฬี าของทา่ น 39 การวิพากษ์วิจารณ์ทีม/เพื่อนนักกีฬา ของท่าน 40 ความยุ่งยากในตารางเรียน 41 การเรียนไม่ทันเพ่ือน 42 ไม่เข้าใจในเนื้อหาวิชาเรียน 43 ขาดความช่วยเหลือจากครูผู้สอน 44 ขาดการสอนทดแทนจากครูผู้สอน 45 ปัญหาในการแบ่งเวลาส�ำหรับ การทบทวนบทเรียนและการทำ� การบา้ น 46 จ�ำนวนการบ้านท่ีต้องส่งครู 47 ความคาดหวงั ในความสำ� เรจ็ ทางการศกึ ษา 72 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

แบบสอบถามทกั ษะการจดั การความเครียดทางการกฬี า-28 (Athletic Coping Skills Inventory Questionnaire-28: ACSI-28) ชื่อผู้สร้างแบบสอบถาม Smith, Schutz, Smoll and Ptacek (1995) ชื่อผพู้ ัฒนาเปน็ ภาษาไทย สุพัชริน เขมรัตน์ (2557) แหล่งท่ีมา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ลักษณะเคร่ืองมือ มาตราส่วนประมาณค่า มี 4 ระดับคะแนน ระดับคะแนน 1 หมายถึง เกือบไม่เคย ถึง ระดับคะแนน 4 หมายถึง เกือบทุกคร้ัง มจี �ำนวน 28 ข้อ แบ่งออกเป็น 7 ด้าน คือ •• การจัดการกับปัญหา (ข้อ 5, 17, 21, 24) •• การยอมรบั คำ� แนะนำ� (ข้อ 3, 10, 15, 27) •• สมาธิ (ข้อ 4, 11, 16, 25) •• ความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ (ข้อ 2, 9, 14, 26) •• การตงั้ เปา้ หมายและเตรียมความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ (ข้อ 1, 8, 13, 20) •• การแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั (ข้อ 6, 18, 22, 28) •• อิสระจากความกังวล (ข้อ 7, 12, 19, 23) ความเครียดทางการกีฬา 73

การคิดคะแนน น�ำคะแนนของแต่ละข้อที่ ได้ในแต่ละด้านบวกกัน แลว้ นำ� ผลท่ี ไดม้ าหารดว้ ยจำ� นวนขอ้ ท้ังหมดในแตล่ ะดา้ น โดยให้คะแนนดังน้ี ข้อ 1, 2, 4, 5, 6, 8, 9, 11, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 20, 21, 22, 24, 25, 26, 27, 28 •• เกือบไม่เคย เท่ากับ 0 คะแนน •• บางคร้ัง เท่ากับ 1 คะแนน •• บ่อย เท่ากับ 2 คะแนน •• เกือบทุกครั้ง เท่ากับ 3 คะแนน ข้อ 3, 7, 10, 12, 19, 23 ให้คะแนนดังน้ี •• เกือบไม่เคย เท่ากับ 3 คะแนน •• บางคร้ัง เท่ากับ 2 คะแนน •• บ่อย เท่ากับ 1 คะแนน •• เกือบทุกครั้ง เท่ากับ 0 คะแนน วัตถุประสงค์ ประเมินทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ค่าความเชื่อถือได้ ท้ังฉบับ เท่ากับ 0.75 74 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

แบคบวสาอมบเคถรามี ยทดัทกษางะกกาารรกจีฬัดกา าร ค�ำช้ีแจง ประโยคตอ่ ไปนเี้ ปน็ ประโยคที่นกั กฬี าใชอ้ ธบิ ายประสบการณท์ ่ีเกดิ ขนึ้ โปรดอา่ นแตล่ ะขอ้ ความอยา่ งตง้ั ใจ ไมม่ คี ำ� ตอบท่ีถกู หรือผิด อยา่ ใชเ้ วลามากเกนิ ไป กับข้อความใดข้อความหน่ึง กรณุ าใส่เคร่ืองหมาย ตามความรู้สึกท่ีท่านมีประสบการณ์เมื่อเล่นกีฬา ข้อ รายการ ไเมก่เือคบย คบราง้ัง บ่อย ทเกกุ คือรบง้ั ในชีวิตประจ�ำวันหรือรายสัปดาห์ ฉนั กำ� หนดเปา้ หมายท่ีเฉพาะเจาะจงมาก 1 ส�ำหรับตัวเองเพื่อเป็นแนวทางในสิ่งที่ ฉันท�ำ 2 ฉันได้รับประโยชน์สูงสุดจาก ความสามารถพเิ ศษ และทักษะของฉนั เม่ือโค้ชหรือผู้จัดการบอกฉันถึงวิธีการ 3 แก้ไขข้อผิดพลาดท่ีฉันเคยท�ำฉันมี แนวโนม้ ที่จะรับมนั และรสู้ กึ อารมณเ์ สยี 4 เม่ือฉันเล่นกีฬาฉันสามารถมุ่งเน้น ความสนใจของฉนั และปอ้ งกนั การรบกวน ฉันยังคงคิดเชิงบวกและ 5 มีความกระตือรือร้นในระหว่าง การแข่งขันไม่ว่าส่ิงไม่ดีก�ำลังจะเกิดข้ึน 6 ฉันมักจะเล่นได้ดีขึ้นภายใต้ ความกดดันเพราะฉันคิดชัดเจนมากข้ึน ฉันกังวลเล็กน้อยเกี่ยวกับส่ิงท่ีคนอื่น 7 จะคิดเกี่ยวกับการแสดงความสามารถ ของฉัน ความเครียดทางการกีฬา 75

ข้อ รายการ ไเมก่เือคบย บาง บ่อย ทเกกุ คือรบง้ั ครั้ง ฉันมักจะท�ำการวางแผนเยอะมาก 8 เก่ียวกับวิธีการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ของฉัน 9 ฉันรู้สึกมั่นใจว่าฉันจะเล่นได้ดี เมื่อโค้ชหรือผู้จัดการวิจารณ์ฉัน 10 ฉันจะรู้สึกอารมณ์เสียมากกว่ารู้สึกว่า ช่วยให้ดีขึ้น มันเป็นเร่ืองง่ายส�ำหรับฉันท่ีจะเก็บ 11 ความคิดวอกแวกจากการถูกรบกวน จากบางส่ิงท่ีฉันเห็นหรือได้ยิน ฉันเก็บความกดดันจ�ำนวนมาก 12 ไว้ในตัวเอง โดยยังกังวลว่าฉันจะ แสดงออกมาอย่างไร 13 ฉันตั้งเป้าหมายการแสดง ความสามารถของฉนั ในแตล่ ะการฝกึ ซอ้ ม 14 ฉันไม่ถูกกดดันในการฝึกปฏิบัติหรือ เล่นหนัก ฉันท�ำ ( ให้) 100% ถ้าโค้ชวิจารณ์หรือตะโกนใส่ฉัน 15 ฉันแก้ไขข้อผิดพลาดโดยปราศจาก การเสียอารมณ์ 16 ฉันจัดการกับสถานการณ์ท่ี ไม่คาดคิด ในการเล่นกีฬาของฉันได้เป็นอย่างดี 17 เมอื่ สงิ่ ไมด่ ีเกดิ ขนึ้ ฉนั บอกกบั ตวั เอง ใหส้ งบและสง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เปน็ สงิ่ ดีสำ� หรบั ฉนั 18 ความกดดันท่ีมากขึ้นในระหว่างเกมมัน ท�ำให้ฉันสนกุ กับมันมากข้ึน 76 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ข้อ รายการ เกือบ บาง บ่อย เกือบ ไม่เคย คร้ัง ทกุ ครง้ั 19 ขณะแข่งขันฉันกังวลเก่ียวกับการท�ำ ผิดพลาดหรือไม่สามารถท�ำผ่านได้ 20 ฉันมีแผนการเล่นของเกมไว้ในสมอง ของฉันนานแล้วก่อนที่เกมจะเร่ิม เมื่อฉันรู้สึกว่าตัวเองเครียดมากเกินไป ฉันสามารถผ่อนคลายร่างกายของฉัน 21 ได้อย่างรวดเร็วและสงบสติอารมณ์ ตัวเองได้ 22 ส�ำหรับฉันสถานการณ์กดดันเป็น ความท้าทายที่ฉันพร้อมรับมือเสมอ 23 ฉันคิดและจินตนาการว่าจะเกิดขึ้น อะไรข้ึนถ้าฉันล้มเหลวหรือผิดพลาด 24 ฉันสามารถควบคุมอารมณ์ได้ถึงแม้ว่า จะมีสิ่งใดเกิดข้ึนกับฉัน มันเป็นเร่ืองง่ายส�ำหรับฉันที่จะมุ่ง 25 ความสนใจและจดจ่อกับส่ิงใดหรือ บุคคลใด เมอ่ื ฉนั ลม้ เหลวในการจะไปถงึ เปา้ หมาย 26 ของฉันมันท�ำให้ฉันมีความพยายาม แม้ว่ามันยากก็ตาม ฉันปรับปรุงทักษะของฉันด้วยการฟัง 27 ค�ำแนะน�ำและการสอนจากโค้ชและ ผู้จัดการอย่างตั้งใจ 28 ในสถานการณ์กดดันฉันท�ำผิดพลาด น้อยลงเพราะฉันมีสมาธิดีข้ึน ความเครียดทางการกีฬา 77

(SpoทคrาวtงาCกมoาเnชรfอื่กidมฬี eนั่ าnce)

นักจิตวิทยาการกีฬาและนักกีฬาต่างยอมรับว่าความเช่ือมั่นทางการกีฬา เป็นส่ิงส�ำคัญในการท�ำให้นักกีฬาประสบความส�ำเร็จสูงสุด หากนักกีฬา มคี วามเชื่อม่ันในตนเองอยา่ งเหมาะสมจะสามารถแสดงความสามารถทางการกฬี า ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ความเช่ื อมั่ นทางการกีฬา เป็นลักษณะของความมั่ นใจในตนเองเป็น ความเชื่อท่ีมีอยู่ในตนเอง และเป็นความแน่ใจในตนเองโดยปราศจาก ความคับข้องใจต่างๆ Vealey (1986) ให้ความหมายของความเชื่อมั่น ทางการกีฬาว่า เป็นลักษณะของความเช่ื อใน ความสามารถของตนเองท่ี จะ ประสบความสำ� เรจ็ ทางการกฬี า โดยแบง่ ความเช่ือมนั่ ทางการกฬี าเปน็ 2 ประเภท คอื 1 ความเช่ือม่ันทางการกีฬาตามลักษณะนสิ ัย เป็นความเชื่อม่ันลักษณะประจ�ำตัวของบุคคลในการควบคุม จัดการและน�ำไปสู่ความสามารถทางการกีฬา 2 ความเชื่อม่ันทางการกีฬา ตามสถานการณ์ เปน็ ความเช่ือม่ันในการบรรลถุ งึ ความสามารถทางการกีฬา จะเกิดขึ้นในบางช ่วงเวลา เท่าน้ัน นอกจากนค้ี วามเช่ือม่ัน ในตนเองยงั รวมถงึ การที่นกั กฬี า มี ค วา มเช่ื อ มั่ นว ่ าจ ะ ส า มาร ถ ปฏิบัติกิจกรรมนั้นๆ ได้จน ประสบความส�ำเร็จ ความเชื่อม่ันทางการกีฬา 79

ประโยชน์ของความเช่ือมั่นในตนเอง กระตุ้นให้เกิดอารมณ์ทางบวก ท�ำให้เกิดสมาธิ มผี ลกระทบโดยตรงตอ่ การตง้ั เปา้ หมาย มีผลต่อการเพ่ิมความพยายาม มีผลต่อกลยุทธ์ในการแข่งขัน มีผลต่อโมเมนตัมในการแข่งขัน YES...s..s.s.s.s believe in yourself นักกีฬาสามารถค้นหาแหล่งความเชื่ อม่ั น ทางการกฬี าของตนเองเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารเตรยี มพรอ้ ม ด้านการเสริมสร้างความเช่ื อมั่นในตนเอง ให้ถูกต้องเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด โดยใช้ แบบสอบถามแหล่งความเชื่ อมั่ นทางการกีฬา ประกอบดว้ ย ความเชี่ยวชาญ การแสดงความสามารถ การเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ การน�ำเสนอตนเองทางร่างกาย การสนับสนุน จากสังคม ความเป็นผู้น�ำของผู้ฝึกสอน การมี ประสบการณ์ผ่านผู้อื่น ความสะดวกสบายจาก สภาพแวดล้อม และความพึงพอใจต่อสถานการณ์ 80 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

แบบสอบถามแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬา (Sources of Sports Confidence Questionnaire: SSCQ) ช่ือผู้สร้างแบบสอบถาม Vealey, Hayashi, Garner, & Giacobbi (1998) ช่ือผพู้ ัฒนาเปน็ ภาษาไทย สพุ ัชรนิ ทร์ ปานอทุ ัย และนฤพนธ์ วงศจ์ ตรุ ภทั ร (2551) แหล่งอ้างอิง วารสารวิทยาศาสตร์การออกก�ำลังกายและกีฬา, 6(1) : 82-97. ลักษณะเครื่องมือ มาตราส่วนประมาณค่า มี 7 ระดับคะแนน ระดับ คะแนน 7 หมายถึง ส�ำคัญที่สุด ถึงระดับคะแนน 1 หมายถึง ไม่ส�ำคัญเลย มจี �ำนวน 41 ข้อค�ำถาม แบ่ง ออกเป็น 3 ด้าน จ�ำนวน 9 องค์ประกอบ คือ •• ความส�ำเร็จในงานที่กระท�ำ ประกอบด้วย ความเชี่ยวชาญ (ข้อ 4, 13, 21, 30, 40) การแสดงความสามารถ (ขอ้ 10, 18, 27,34, 38) •• การกำ� กบั ตนเอง ประกอบดว้ ย การเตรียมความพรอ้ มดา้ นรา่ งกายและจิตใจ (ขอ้ 2, 3, 12, 20, 29, 36) การนำ� เสนอตนเองทางรา่ งกาย (ขอ้ 7, 15, 24) •• วัฒนธรรมสังคม ประกอบด้วย การสนบั สนนุ จากสงั คม (ขอ้ 1, 9, 17, 26, 33, 37) ความเปน็ ผนู้ ำ� ของผฝู้ กึ สอน (ขอ้ 8, 16, 25, 32, 41) การมปี ระสบการณผ์ า่ นผอู้ นื่ (ขอ้ 11, 19, 28, 35,39) การได้รับความสะดวกสบายจากสภาพแวดล้อม (ข้อ 6, 22, 31) ความพึงพอใจต่อสถานการณ์ (ข้อ 5, 14, 23) การคิดคะแนน นำ� คะแนนท่ีไดใ้ นแตล่ ะขอ้ ของแตล่ ะองคป์ ระกอบมารวมกนั และหารดว้ ยจำ� นวนขอ้ คำ� ถามในแตล่ ะองคป์ ระกอบ วัตถุประสงค์ ตรวจสอบแหล่งความเช่ือม่ันทางการกีฬา ค่าความเช่ือมั่น อยู่ระหว่าง 0.79 - 0.91 ของแต่ละองค์ประกอบ ความเช่ือมั่นทางการกีฬา 81

แบบสอบถามแหล่งความเช่ือมั่นทางกีฬา ค�ำช้ีแจง ใหท้ า่ นคดิ กลบั ไปถงึ เหตกุ ารณเ์ มอื่ ทา่ นรสู้ กึ วา่ มคี วามมั่นใจอยา่ งมาก ขณะท่ีเล่นกีฬา และอะไรท่ีท�ำให้มีความม่ันใจ อะไรท่ีท�ำให้เช่ือในความสามารถ และมั่นใจว่าจะประสบความส�ำเร็จ ขอให้ท่าน รอบตัวเลขที่แสดงถึงระดับ ความส�ำคัญของสิ่งที่ท�ำให้ท่านรู้สึกม่ันใจในการเล่นกีฬา ข้อ ค�ำถาม ไม่ส�ำคัญ ส�ำคัญท่ีสุด 1 ได้รับการตอบรับที่ดจี ากเพ่ือน 1 23 4567 และ/หรือ เพื่อนร่วมทีม 2 รักษาจุดสนใจของฉันให้อยู่กับสิ่งน้ัน 1 2 3 4 5 6 7 3 กระตุ้นจิตใจของตัวเอง 1 23 4567 4 เชี่ยวชาญทักษะใหมใ่ นกฬี าของฉนั 1 23 4567 5 ถูกพักโดยผู้ตัดสินหรือกรรมการตัดสิน 1 2 3 4 5 6 7 6 เลน่ ในสภาพแวดลอ้ ม (โรงยมิ สระวา่ ยนำ้� 1 2 3 4 5 6 7 สนามกฬี า ฯลฯ) ท่ีชอบและรสู้ กึ สบายใจ 7 รู้สึกดีกับน�้ำหนักของตัวเอง 1 23 4567 8 เช่ือในความสามารถของโค้ช 1 23 4567 9 รู้ว่ามีคนท่ีมีความส�ำคัญกับฉัน 1 23 4567 สนับสนนุ อยู่ 10 ได้แสดงให้เห็นว่าฉันดีกว่าคนอ่ืน 1 23 4567 11 เห็นการเล่นที่ประสบความส�ำเร็จของ 1 23 4567 นักกีฬาคนอื่น 12 รวู้ า่ ฉนั เตรียมใจมาเพอ่ื เหตกุ ารณน์ นั้ แลว้ 1 2 3 4 5 6 7 82 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ข้อ ค�ำถาม ไม่ส�ำคัญ ส�ำคัญท่ีสุด 13 พัฒนาความสามารถในการเลน่ ทักษะนน้ั 1 234567 มากข้ึน 14 เหน็ การหยดุ พักนนั้ ชว่ ยใหเ้ ขา้ ทางของฉนั 1 2 3 4 5 6 7 15 รู้สึกว่าฉันดูดี 1 23 4567 16 รู้ว่าโค้ชจะตัดสินใจได้ดี 1 23 4567 17 ได้รับการบอกว่าผู้อื่นเชื่อมั่นในตัวฉัน 1 23 4567 และความสามารถของฉัน 18 แสดงความสามารถโดยดูจากการชนะ 1 23 4567 หรือได้ต�ำแหน่ง 19 ดนู กั กฬี าที่ฉนั ชื่นชอบประสบความสำ� เรจ็ 1 234567 ในการเล่น 20 ยังคงมุ่งจุดสนใจอยู่ที่เป้าหมายของฉัน 1 2 3 4 5 6 7 21 พัฒนาทักษะกีฬานั้น 1 23 4567 22 รสู้ กึ สบายใจในสภาพแวดลอ้ มรอบๆ ตวั 1 23 4567 ( โรงยิม สระว่ายน้�ำ สนามกีฬา ฯลฯ) 23 รู้สึกว่าทุกอย่างเป็นไปด้วยดีส�ำหรับฉัน 1 2 3 4567 ในขณะน้ี 24 รู้สึกว่ารูปร่างฉันดูดี 1 23 4567 25 รู้ว่าโค้ชเป็นผู้น�ำท่ีดี 1 23 4567 26 ได้รับขวัญและก�ำลังใจจากโค้ช 1 23 4567 และ/หรือ ผู้ปกครอง 27 รู้ว่าสามารถเอาชนะคู่แข่งขันได้ 1 23 4567 28 ดูเพื่อนร่วมทีมเล่นได้ดี 1 23 4567 ความเช่ือมั่นทางการกีฬา 83

ข้อ ค�ำถาม ไม่ส�ำคัญ ส�ำคัญท่ีสุด 29 เตรียมตัวเองทั้งด้านร่างกายและจิตใจ 1 234567 ส�ำหรับสถานการณ์นั้น 30 เพิ่มจ�ำนวนของทักษะที่ฉันท�ำได้ 1 23 4567 31 ชอบสิ่งแวดล้อมท่ีฉันก�ำลังเล่นอยู่ 1 23 4567 32 มีความเช่ือในการตัดสินใจของโค้ช 1 23 4567 33 ได้รับการตอบรับที่ดจี ากโค้ช และ/หรือ 1 2 3 4 5 6 7 ผู้ปกครอง 34 ได้พิสูจน์ให้เห็นว่ามีความสามารถ 1 23 4567 มากกว่าคู่แข่งขัน 35 เหน็ เพอ่ื นประสบความสำ� เรจ็ จากการเลน่ 1 2 3 4 5 6 7 36 เชื่อในความสามารถในความพยายาม 1 23 4567 เพ่ือความส�ำเร็จ 37 ไดร้ บั การสนบั สนนุ และกำ� ลงั ใจจากคนอื่น 1 2 3 4 5 6 7 38 ได้แสดงให้เห็นว่าฉันเก่งที่สุดในกีฬานี้ 1 2 3 4 5 6 7 39 ดูเพื่อนร่วมทีมที่มีความสามารถ 1 23 4567 ระดับเดียวกันเล่นได้ดี 40 พัฒนาทักษะใหม่หลายๆ ทักษะและ 1 23 4567 ท�ำให้ดีขึ้น 41 รู้สึกว่าโค้ชของฉันเป็นผู้น�ำท่ีมี 1 23 4567 ประสิทธิภาพ 84 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

คทวาางมกกาาร้ วกรฬี า้ าว (Aggressive in sport)

ความก้าวร้าวทางการกีฬา เป็นสิ่งท่ีต้องท�ำความเข้าใจให้ถูกต้องเก่ียวกับ ลกั ษณะและการใหค้ วามหมายของความกา้ วรา้ วทางการกฬี า เพราะหากกลา่ วถงึ ค วา ม ก ้ า ว ร ้ า ว เพี ย ง อ ย ่ า ง เ ดี ย ว ย ่ อ ม ห มา ย ถึ ง พ ฤ ติ ก รร ม ท่ี แส ด ง อ อ ก ถึ ง ความรุนแรงเป็นพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์เท่าน้ัน แต่ในทางการกีฬา มลี กั ษณะการแสดงออกบางประการจัดอยใู่ นกลมุ่ ลกั ษณะความกา้ วรา้ วเพียงแต่ ไมม่ เี จตนาที่ตงั้ ใจใหเ้ กดิ อนั ตรายหรือการบาดเจบ็ อยา่ งสาหสั การทำ� ความเขา้ ใจ กบั ความหมายของความกา้ วรา้ วชว่ ยลดปญั หาความเขา้ ใจผิดตา่ งๆ ได้อย่างมาก คนสว่ นใหญเ่ ขา้ ใจวา่ การท่ีคนอื่นมคี วามคดิ เหน็ แตกตา่ งกบั เรา การมคี วามคดิ ลบ หรือความปรารถนาให้คนอ่ืนได้รับบาดเจ็บคือความหมายของความก้าวร้าว ซง่ึ ความกา้ วรา้ วไมใ่ ชล่ กั ษณะของความรสู้ กึ เชน่ ความโกรธหรือสภาวะทางอารมณ์ อ่ืนๆ แต่ความก้าวร้าวเป็นลักษณะของพฤติกรรม ความก้าวร้าว ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า การแขวะ รุกราน รุนแรง เป็นมารยาททางกายและวาจา ที่ ไม่เรียบร้อย ซึ่ง Cox (2002) ให้ความหมาย ของความก้าวร้าวว่าหมายถึง ความต้ังใจที่จะ ท�ำร้ายต่อส่ิงมีชีวิตและคาดหวังว่าจะท�ำให้ได้ รบั บาดเจบ็ จงึ สรปุ ไดว้ า่ ความกา้ วรา้ วทางการกฬี า หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลใช้ในการกีฬา โดยมีเจตนาและไม่มีเจตนาที่จะท�ำร้ายร่างกาย มีการใช้ก�ำลังหรือความพยายามที่จะให้บรรลุ วัตถุประสงค์ 86 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ลักษณะของความก้าวร้าว ในทางการกีฬาแบ่งลักษณะของความก้าวร้าวที่เกิดขึ้นเป็น 3 ลักษณะคือ 1. พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบโกรธแค้นหรือตั้งใจท�ำร้าย เป็น ความก้าวร้าวที่มีวัตถุประสงค์เพื่อท�ำร้ายผู้อื่นให้ได้รับความทุกข์ทรมานและ เจ็บปวด ความก้าวร้าวลักษณะนเี้ ป็นการแสดงความก้าวร้าวแบบโต้ตอบ และ แบบโกรธเป็นความต้องการและความต้ังใจที่จะท�ำให้ผู้อ่ืนได้รับการบาดเจ็บ โดยมีพฤติกรรมท่ีต้องการท�ำร้ายร่างกายและจิตใจของผู้อื่น 2. พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบเป็นเครื่องมือ เป็นความก้าวร้าว ท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการแข่งขันโดยมีแรงเสริม คือ ชัยชนะ ชื่อเสียง เป็นต้น พฤติกรรมความก้าวร้าวลักษณะนเ้ี ป็นความตั้งใจให้ ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บแต่ไม่มีความเก่ียวข้องกับความรู้สึกโกรธ 3. พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบฮึกเหิม เป็นความก้าวร้าวที่เป็น ลักษณะพฤติกรรมแสดงออกจากการใช้ร่างกายในทางที่ถูกต้องเป็นไปตาม กฎกติกา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการแข่งขันแต่ไม่ต้องการ ท�ำร้ายหรือท�ำให้ผู้อ่ืนได้รับบาดเจ็บ นักกีฬาเท่าน้ันที่จะรับรู้ได้ว่าพฤติกรรม ท่ีแสดงออกเกิดข้ึนจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจจะท�ำร้ายผู้อื่น พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบโกรธแค้น หรือการต้ังใจท�ำร้าย และพฤติกรรม ความก้าวร้าวแบบเคร่ืองมือมีผลสุดท้ายคือ พฤติกรรมท่ีแสดงออกอาจมีความเหมือน หรือใกล้เคียงกัน บางครั้งไม่สามารถ แยกออกได้ว่าเป็นความก้าวร้าวที่ มี ความโกรธปะปน ความก้าวร้าวทางการกีฬา 87

การเสริมแรงทำ� ใหเ้ กดิ ความคงอยขู่ องความกา้ วรา้ ว แบง่ การเสริมแรง เป็น 3 ประเภท คือ การเสริมแรงจากภายนอก ห มา ย ถึ ง กา ร ที่ บุ ค ค ล แส ด ง พฤติกรรมก้าวร้าวแล้วได้รับ การเสริ มแรงท่ี ดีจะท�ำให้ พฤติกรรมก้าวร้าวนั้นคงอยู่ การเสริมแรงท่ีไดร้ บั 123 จากการสังเกต การเสริมแรงทเี่ กดิ จาก ตัวเอง เช่น การท�ำให้ บุคคลจะสังเกตและ ผู้อ่ืนเกิดความรู้สึกไม่มี เลียนแบบพฤติกรรม คุณค่าในตนเองและรู้สึก ความกา้ วรา้ วของตวั แบบ พึงพอใจกับการกระท�ำนั้น ท่ี ได้รับรางวัลมากกว่า ตวั แบบที่ ไมไ่ ดร้ บั รางวลั จากท่ีกล่าวมาข้างต้นพอสรุปได้ว่าความก้าวร้าวที่เกิดขึ้นในระดับ เร่ิมต้นจะเป็นลักษณะของสัญชาตญาณและความคับข้องใจ ในทางตรงข้ามหาก ความก้าวร้าวน้ันยังคงอยู่และทวีความรุนแรงมากข้ึนมักเกิดจากการเรียนรู้ ทางสังคม 88 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ส�ำหรับบางชนิดกีฬา เช่น กฬี ากอลฟ์ อาจเหน็ ภาพพฤตกิ รรม ความก้าวร้าวในลักษณะมุ่งท�ำร้าย ผู้อื่นในสถานการณ์การแข่งขันได้ ไม่ชัดเจนนักเม่ือเปรี ยบ เที ยบกับ กีฬาท่ีต้องต่อสู้ด้วยการปะทะ เช่น มวย ยโู ด เทควนั โด ที่มกี ารสมั ผสั กบั รา่ งกายของคแู่ ขง่ ขนั ตลอดเวลา หรอื แมแ้ ตใ่ นกฬี าฟตุ บอล วอลเลยบ์ อล เทนนิส แบดมินตัน ซ่ึงมีลักษณะ ของเกมการเล่นท่ีอาศัยอุปกรณ์ เป็นส่ือกลาง คือ ลูกบอลในการ เข้าปะทะซึ่งกันและกัน บางคร้ัง มี ก า ร ส ่ ง บ อ ล กั น อ ย ่ า ง รุ น แร ง เกนิ ขอบเขตของกฎกตกิ าการแข่งขัน อาจเกดิ จากพฤตกิ รรมความกา้ วรา้ ว ที่มีสาเหตุมาจากความตั้งใจหรือไม่ ต้ังใจก็ได้ ส�ำหรับในกีฬากอล์ฟซ่ึงเป็นกีฬาประเภทบุคคลและมีรูปแบบการเล่น ที่เฉพาะบคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ เทา่ นน้ั จะไมม่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกนั ในชว่ งของการแขง่ ขนั ต่างคนต่างเล่นลูกของตนเองให้ครบจ�ำนวน 18 หลุม และน�ำผลคะแนน มาเปรียบเทียบกัน เม่ือการแข่งขันเสร็จสิ้น จึงไม่ค่อยเกิดปัญหาในเรื่อง ความก้าวร้าวทางการกีฬาให้เห็นได้มากนัก แต่ส่ิงท่ีนักกีฬากอล์ฟมัก แสดงพฤติกรรมออกมา เช่น ทุบไม้ โยนไม้ ตะโกนเสียงดัง ก็นับได้ว่าเป็น ส่วนหนึ่งของพฤติกรรมก้าวร้าวเช่นกัน เพราะเกิดจากความคับข้องใจที่มาจาก ความรู้สึกภายใน อาจเป็นความโกรธ โมโห ที่ ไม่สามารถท�ำได้ตามความต้ังใจ หรือบางครั้งเกิดข้ึนจากการมีสิ่งรบกวนจากภายนอก เช่น ในจังหวะท่ีก�ำลัง ตีลูกออกไปแล้วมี ใครส่งเสียงดังรบกวนท�ำให้เสียสมาธิและผลงานออกมาไม่ดี จงึ แสดงพฤตกิ รรมท่ี ไมเ่ หมาะสมหรือกลา่ ววาจาไมส่ ภุ าพทำ� ใหผ้ อู้ ่ืนรสู้ กึ ผิดและ ขาดความม่ันใจในตนเอง พฤตกิ รรมเชน่ นถี้ อื วา่ เปน็ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วไดเ้ ชน่ กนั ความก้าวร้าวทางการกีฬา 89

อธินันท์ และคณะ (2551) ศึกษาพฤติกรรมความก้าวร้าวทางการกีฬา ของนักกีฬาปะทะระหว่างนักกีฬาชายและนักกีฬาหญิงพบว่านักกีฬาชาย และนักกีฬาหญิงมีพฤติกรรมความก้าวร้าวทางการกีฬาแตกต่างกันอย่างมี นยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั 0.05 ซง่ึ สาเหตทุ ี่ทำ� ใหน้ กั กฬี าชายและนกั กฬี าหญงิ มี พ ฤ ติ ก ร ร ม ค วา ม ก ้ า ว ร ้ า ว ท า ง กา ร กี ฬ า ท่ี แ ต ก ต ่ า ง กั น อาจ เนื่ อ ง มาจ า ก หลายปัจจัย เช่น อายุ เพศ ประเภทกีฬา ระดับความสามารถ ประสบการณ์ ในการแข่งขัน ความส�ำคัญของการแข่งขัน เป้าหมายการแข่งขัน บรรยากาศ การจัดการแข่งขัน อิทธิพลของผู้ชม ความวิตกกังวล การฝึกอบรมแบบใช้ อ�ำนาจควบคุม การการฝึกอบรมแบบเข้มงวดกวดขัน การฝึกอบรมแบบ ลงโทษทางกาย การฝึกอบรมแบบประชาธิปไตย การแสดงแบบของผู้ฝึกสอน การให้แรงเสริมของผู้ฝึกสอน การแสดงแบบของคู่แข่งขัน การให้แรงเสริมของ คู่แข่งขัน และการให้แรงเสริมของเพ่ือน การป้องกันไม่ให้นักกีฬาเกิดพฤติกรรม ก้าวร้าว สามารถท�ำได้โดยให้นักกีฬามุ่งจุดสนใจ ของตนเองไปท่ีกิจกรรมที่ก�ำลังท�ำอยู่และปฏิเสธ สิ่งท่ีเป็นปัจจัยแวดล้อมที่จะกระตุ้นพฤติกรรม ก้าวร้าวของตนเอง รวมทั้งการหล่อหลอมให้มี น�้ำใจนักกีฬาอยู่เสมอ 90 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

นักกีฬาประเภทกีฬาปะทะสามารถตรวจสอบตนเองในด้านการแสดง ความก้าวร้าวได้จากการตอบแบบสอบถามความก้าวร้าวทางการกีฬาของ นักกีฬาปะทะเพื่อตรวจสอบว่าตนเองมีการแสดงพฤติกรรมความก้าวร้าว ในลักษณะใดและความก้าวร้าวนั้นส่งผลเสียต่อการเป็นนักกีฬาอย่างไรบ้าง ซ่ึงหากนักกีฬามีลักษณะของความก้าวร้าวท่ีอาจส่งผลเสียต่อการเป็น นักกีฬาจะได้หาวิธีการเพ่ือจัดการตนเองให้กลับมามีพฤติกรรมก้าวร้าวที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเองหรือการเป็นนักกีฬาที่ประสบความส�ำเร็จต่อไป ส�ำหรับ แบบสอบถามความก้าวร้าวทางการกีฬาของนักกีฬาปะทะ ประกอบด้วย พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบโกรธแค้นหรือต้ังใจท�ำร้ายร่างกาย พฤติกรรม ความก้าวร้าวแบบที่เป็นเคร่ืองมือ และพฤติกรรมความก้าวร้าวแบบฮึกเหิม ความก้าวร้าวทางการกีฬา 91

แบบสอบถามความกา้ วรา้ วทางการกฬี าของนกั กฬี าปะทะ ช่ือผู้สร้างแบบสอบถาม อธินันท์ เพียรดี สุพิตร สมาหิโต และ บรรจบ ภิรมย์ค�ำ แหล่งที่มา วิทยานพิ นธ์ระดับปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2551) ลักษณะเคร่ืองมือ มาตราส่วนประมาณค่า มี 4 ระดับคะแนน ระดับ คะแนน 4 หมายถึง ท�ำเป็นประจ�ำ ถึงระดับ คะแนน 1 หมายถึง ไม่เคยท�ำเลย มจี �ำนวน 33 ข้อ ค�ำถาม แบ่งออกเป็น 3 ด้าน •• พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบโกรธแค้นหรือ ต้ังใจท�ำร้ายร่างกาย (ข้อ 3, 4, 9, 12, 13, 20, 24, 25, 26, 27, 31) •• พฤตกิ รรมความกา้ วรา้ วแบบทเ่ี ปน็ เครื่องมอื (ขอ้ 2, 5, 7, 11, 14, 15, 18, 21, 29, 30, 33) •• พฤติกรรมความก้าวร้าวแบบฮึกเหิม (ขอ้ 1, 6, 8, 10, 16, 17, 19, 22, 23, 28, 32) การคิดคะแนน นำ� คะแนนท่ี ได้ในแตล่ ะขอ้ ของแตล่ ะดา้ นมาบวกกนั ความกา้ วรา้ วสงู มาก (35–44 คะแนน) ความกา้ วรา้ วสงู (27–34 คะแนน) ความกา้ วรา้ วปานกลาง (19–26 คะแนน) ความกา้ วรา้ วตำ�่ (11–18 คะแนน) วัตถุประสงค์ ประเมนิ ความกา้ วรา้ วทางการกฬี าของนกั กฬี าปะทะ ค่าความเช่ือถือได้ ทั้งฉบับ เท่ากับ 0.83 92 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

แบบสอบถาขมอคงนวาักมกกีฬ้าาวประ้าทวทะางการกีฬา ค�ำช้ีแจง ขอ้ คำ� ถามดา้ นลา่ งเกย่ี วกบั ระดบั พฤตกิ รรมความกา้ วรา้ วทางการกฬี า ของตัวนักกีฬา โปรดท�ำเคร่ืองหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับพฤติกรรม ความก้าวร้าวทางการกีฬาที่นักกีฬาแสดงออกมากที่สุด ข้อ ค�ำถาม ทเกำ� เือปบน็ บทา�ำง นบคา่อรนยั้งๆ ไเมก่เือคบย ไปมร่เะคจยำ� บค่อรย้ังๆ ทกุ�ำคเลรยง้ั 1 ฉันจะพูดกระตุ้นเพื่อนร่วมทีมก่อนลง ท�ำการแข่งขัน 2 เมื่อลงสนามฉันจะเล่นตามกฎและ กติกาอย่างเคร่งครัด 3 ทุกคร้ังที่มีการเข้าปะทะฉันต้องการให้ คู่แข่งขันได้รับบาดเจ็บ ถ้าคู่แข่งขันเล่นรุนแรงไม่ว่าเจตนา 4 หรือไม่ ฉันจะตอบโต้ด้วยการเล่น รุนแรงเช่นกัน ฉันคิดเสมอว่าจุดมุ่งหมาย 5 ของการแข่งขันคือชัยชนะหรือ ถ้วยรางวัลหรือเหรียญรางวัล เม่ือฉันดูการแข่งขันกีฬาจากส่ือต่างๆ 6 ที่ ได้รับชัยชนะ ฉันจะน�ำมาปฏิบัติตาม เม่ือลงท�ำการแข่งขัน 7 ฉนั คดิ วา่ การเลน่ ที่รนุ แรงหรอื ผิดกตกิ า ไม่เหมาะสมกับการเป็นนักกีฬา 8 เมื่ออยู่ในสนามการแข่งขันฉันจะเล่น อย่างเต็มความสามารถทุกคร้ัง ความก้าวร้าวทางการกีฬา 93

ข้อ ค�ำถาม ทเกำ� เือปบน็ บทา�ำง นบคา่อรนยั้งๆ ไเมก่เือคบย ไปมร่เะคจยำ� บค่อรยั้งๆ ทกุ�ำคเลรยงั้ ถ้าฉันมโี อกาสในการสกัดกั้นหรือ 9 กระแทกใหฝ้ า่ ยตรงขา้ มลม้ หรอื เสยี หลกั ฉันจะท�ำทันทีแม้ผิดกติกาก็ตาม 10 ทุกคร้ังท่ีมีการเข้าปะทะฉันจะไม่กลัว การได้รับบาดเจ็บ 11 ฉันจะเข้าไปขอโทษผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม ทันทีเม่ือเล่นรุนแรงผิดกติกา 12 ฉันรู้สึกมีความมั่นใจในการเล่นเม่ือเข้า ปะทะหรือคู่แข่งขันได้รับบาดเจ็บ 13 ฉันจะใช้ทุกวิธีการในการเล่นเพื่อชัยชนะ ไม่ว่าถูกหรือผิดกติกา 14 ฉันจะหยุดการเล่นเมื่อคู่แข่งขันได้รับ บาดเจ็บ 15 ฉันจะยอมรับค�ำตัดสินของผู้ตัดสิน ในทุกๆ กรณี 16 ฉันจะเล่นอย่างเต็มท่ีถึงแม้จะพบกับ คู่แข่งขันที่มีฝีมือเก่งกว่า ฉันจะเข้าปะทะรุนแรงกับคู่แข่งขัน 17 แต่ฉันไม่มีเจตนาให้คู่แข่งขันได้รับ บาดเจ็บ 18 ฉันไม่ชอบเข้าปะทะรุนแรงเพราะ อาจจะท�ำให้ได้รับบาดเจ็บทั้ง 2 ฝ่าย 94 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ข้อ ค�ำถาม ทเกำ� เือปบน็ บทา�ำง นบคา่อรนย้ังๆ ไเมก่เือคบย ไปมร่เะคจยำ� บค่อรย้ังๆ ทกุ�ำคเลรยงั้ 19 ฉันจะพูดหรือแสดงท่าทางกระตุ้น กองเชียร์ให้ส่งเสียงเชียร์มากย่ิงข้ึน 20 ฉันจะพูดเยาะเย้ยคู่แข่งขันเพื่อให้ เสียสมาธิ ในการเล่น 21 ฉนั จะพดู กระตนุ้ ตวั เองและเพอื่ นรว่ มทีม เพ่ือให้เล่นดีข้ึนหรือประสบความส�ำเร็จ ฉันชอบให้ผู้ฝึกสอนพูดกระตุ้น 22 ขณะท�ำการแข่งขันเพราะจะท�ำให้ฉัน เล่นดีข้ึน ฉันจะแสดงอาการดี ใจอย่างเต็มที่ 23 เม่ือทีมได้รับชัยชนะหรือ ประสบความส�ำเร็จ 24 ฉันชอบเข้าปะทะรุนแรงเพื่อ ความฮึกเหิมหรือสะใจในการเล่น 25 ฉันคิดเสมอว่าการเล่นหรือปะทะ ที่รุนแรงเป็นเร่ืองธรรมดา 26 ถ้ามโี อกาสเล่นรุนแรงฉันจะเล่นทันที เพ่ือความได้เปรียบในการเล่น 27 ฉันมักไม่พูดขอโทษคู่แข่งขันเมื่อฉัน เล่นผิดกติกาหรือเข้าปะทะรุนแรง 28 ฉันคิดเสมอว่าจะท�ำการแข่งขันต่อ ถึงแม้ได้รับบาดเจ็บจากการเข้าปะทะ ความก้าวร้าวทางการกีฬา 95

ข้อ ค�ำถาม ทเกำ� เือปบน็ บทา�ำง นบคา่อรนยั้งๆ ไเมก่เือคบย ไปมร่เะคจยำ� บค่อรยั้งๆ ทกุ�ำคเลรยงั้ 29 ฉันคิดว่าการให้อภัยกับคู่แข่งขัน หลังเสร็จส้ินการแข่งขันเป็นสิ่งส�ำคัญ 30 ฉันจะให้อภัยกับคู่แข่งขันที่เล่นรุนแรง หรือผิดกติกา ฉันมักไม่ยอมรับค�ำตัดสินหรือ 31 ค้านค�ำตัดสินของผู้ตัดสินเสมอ เพ่ือความได้เปรียบของทีม ถึงแม้รู้ว่าก�ำลังจะแพ้ฉันก็ยังคงเล่น 32 เต็มความสามารถเพื่อแสดงความเป็น นักกีฬาอย่างแท้จริง 33 ฉันจะเข้าไปห้ามผู้เล่นทั้ง 2 ฝ่าย เม่ือมีการทะเลาะกัน 96 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

(Burทกnาาoงรuกหtามรinดกไฬีsฟpาort)

นักกีฬาท่ีผ่านกระบวนการฝึกซ้อมมาอย่างหนัก มีความคาดหวัง ผลการแข่งขันสูงติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ มโี อกาสเกิดความเครียดและ นำ� ไปสกู่ ารหมดไฟได้ จากความเชื่อที่วา่ “การฝกึ ซอ้ มทมี่ ากกวา่ เปน็ สง่ิ ทด่ี กี วา่ (More training is better)” จงึ ทำ� ใหน้ กั กฬี าที่ตอ้ งการพัฒนาความสามารถ ในการเล่นกีฬาระดับสูงต้องเข้าสู่กระบวนการฝึกซ้อมอย่างรวดเร็ว อีกทั้ง ยังต้องฝึกหนักต่อเนื่องตลอดท้ังปีจนขาดความสนุกและท้าทาย หรือแม้แต่ นักกีฬาอาชีพหากฝึกซ้อมหนักมากจนขาดการผ่อนคลายร่างกายและจิตใจ ที่เพียงพอมักมีแนวโน้มเกิดการหมดไฟได้ 98 แนวคิดและการประเมินตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา

ประเภทของการหมดไฟ 1 ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย ความคาดหวังผลส�ำเร็จสูง ขาดความ สนุกสนาน รับรู้ว่าตนเองมีความสามารถ ไมเ่ พียงพอ มกี ระบวนการจัดการความเครยี ดไมเ่ หมาะสม และขาดการฝึกควบคุมตนเอง 2 สถานการณห์ รือสง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย ปจั จยั ดา้ นรา่ งกายเชน่ การไดร้ บั บาดเจบ็ การฝกึ หนกั เกนิ พฤติกรรมของผู้ฝึกสอน และปัจจัยท่ีเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคม เช่น มีปัญหากับเพ่ือนร่วมทีม ซึ่งสาเหตุจากส่ิงแวดล้อมนับว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอก ท่ีเข้ามามีบทบาทต่อนักกีฬา เช่น ไม่ได้รับการสนับสนุนทางจิตใจ หรือไม่ได้รับรางวัลตอบแทนความส�ำเร็จ มีความเครียด มากเกินไป การฝึกซ้อมขาดความหลากหลายท�ำให้เกิด ความรสู้ กึ ซำ�้ ซากจำ� เจ การเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั มากเกนิ ไป การหมดไฟทางการกีฬา 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook