Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

125

Published by วีรสิทธิ์ หารัญดา, 2019-04-18 01:52:01

Description: 125

Search

Read the Text Version

43 กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 3 ชวี ติ ชาวค่าย คาชีแ้ จง 3.1 ให้ผเู้ รยี นอธิบายความหมายของคาวา่ ชวี ติ ชาวค่าย ชวี ติ ชาวคา่ ย หมายถงึ ......................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... คาชแ้ี จง 3.2 ใหผ้ ู้เรียนระบเุ หตผุ ลของการเตรียมอุปกรณส์ ว่ นรวมของหมู่หรือของกองลกู เสอื ในการอยคู่ ่ายพกั แรม ทร่ี ะบใุ นตารางตอ่ ไปนี้ พร้อมท้ังใหเ้ หตุผลประกอบ อุปกรณส์ ่วนรวมที่ต้องเตรียม เหตุผลของการจัดเตรยี มอุปกรณส์ ว่ นรวม 1. มดี พร้า พล่วั สนาม จอบ เสียม ไมก้ วาดทางมะพรา้ ว .................................................................................... .................................................................................... 2. มดี ทาครัว หมอ้ ทพั พี กระทะ เขียง .................................................................................... จาน ชาม กะละมัง ถังน้า น้ายาล้างจาน .................................................................................... .................................................................................... 3. เคร่อื งปรงุ สาหรับการประกอบ .................................................................................... อาหาร นา้ มนั น้าปลา นา้ ตาล ฯลฯ .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... 4. เตน็ ท์ เชือก ลวด ยาง ถงุ ดา ตะเกียง .................................................................................... ไฟฉาย แผนท่ี เข็มทศิ .................................................................................... ....................................................................................

44 อุปกรณส์ ่วนรวมที่ตอ้ งเตรียม เหตุผลของการจัดเตรียมอปุ กรณส์ ว่ นรวม 5. อปุ กรณ์ประกอบจงั หวะชดุ การแสดง .................................................................................... .................................................................................... 6. กระเป๋ายา และอุปกรณ์ .................................................................................... การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... คาชแี้ จง 3.3 ให้ผู้เรยี นยกตัวอยา่ งอปุ กรณท์ ่ใี ช้ในชวี ิตชาวค่าย ตามประเดน็ ตอ่ ไปน้ี กจิ กรรมชวี ติ ชาวคา่ ย ยกตัวอย่างอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นชีวติ ชาวคา่ ย การสรา้ งคา่ ย ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... .............................................................................................. .............................................................................................. ..............................................................................................

45 กิจกรรมชวี ติ ชาวคา่ ย ยกตัวอยา่ งอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นชีวิตชาวค่าย การสรา้ งครวั ชาวคา่ ย ................................................................................................ การสร้างเตาประเภทต่าง ๆ ................................................................................................ ................................................................................................ ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... .............................................................................................. .............................................................................................. .............................................................................................. ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ...............................................................................................

46 กิจกรรมชวี ติ ชาวคา่ ย ยกตัวอย่างอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นชวี ติ ชาวคา่ ย การประกอบอาหาร แบบชาวคา่ ย ................................................................................................ ................................................................................................ การกางเต็นท์ ................................................................................................ และการเก็บเตน็ ท์ ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... .............................................................................................. .............................................................................................. .............................................................................................. ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................... ...............................................................................................

47 กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 4 วธิ กี ารจัดการคา่ ยพกั แรม คาชแ้ี จง ให้ผเู้ รยี นตอบคาถาม ดังตอ่ ไปน้ี 1. คา่ ยพักแรม หมายความว่าอย่างไร 2. อธิบายการสขุ าภิบาล (การทาหลุมเปียก) ในคา่ ยพกั แรมมาพอเขา้ ใจ 1. คา่ ยพกั แรม หมายความว่าอย่างไร ............................................................................................................................ ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2. อธิบายการสขุ าภบิ าล (การทาหลมุ เปียก) ในคา่ ยพักแรมมาพอเข้าใจ ............................................................................................................................ ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

48 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 13 การฝึกปฏิบตั กิ ารเดนิ ทางไกล อย่คู ่ายพกั แรม และชีวติ ชาวค่าย กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 การวางแผนและปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเดนิ ทางไกล อยู่ค่ายพักแรมและ ชีวติ ชาวค่าย คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้เรยี นวางแผนการแสดงในกิจกรรมนันทนาการและชมุ นมุ รอบกองไฟ ในประเด็น ต่อไปนี้ 1. ชอ่ื เรอ่ื งท่ีจะแสดง.................................................................................................... 2. ท่มี าของเรอ่ื งทีจ่ ะแสดง........................................................................................... 3. เนอื้ เรือ่ งย่อของเรื่องที่จะแสดง............................................................................... 4. จานวนผู้แสดง......................................................................................................... 5. บทบาทของผ้แู สดงแตล่ ะคน................................................................................... 6. ชุดการแตง่ กายของผแู้ สดงแต่ละคน........................................................................ 7. เครอื่ งประกอบจังหวะ/เพลง/ท่ีใชป้ ระกอบการแสดง............................................. 8. ขอ้ คิดหรือคติ ทพ่ี ึงไดร้ บั จาการแสดงชุดนี.้ .............................................................. กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 2 การใช้ชวี ติ ชาวคา่ ยรว่ มกับผู้อ่นื ในค่ายพกั แรม คาชีแ้ จง ให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมท่ีกาหนด พร้อมท้ังแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความรสู้ กึ ของการใช้ชีวิตชาวค่ายร่วมกับผู้อ่ืนในค่ายพักแรม ในช่ัวโมงสุดท้ายก่อนปิด การฝึกปฏบิ ัติ หัวขอ้ ทีจ่ ะตอ้ งแสดงความคิดเห็นและสะทอ้ นความรสู้ กึ มีดงั น้ี 1. กจิ กรรมเสรมิ สร้างคุณธรรมและอุดมการณ์ลกู เสือ 2. กจิ กรรมสรา้ งค่ายพักแรม 3. กจิ กรรมฝกึ ชวี ิตชาวค่าย 4. กจิ กรรมทกั ษะลูกเสือ 5. กจิ กรรมกลางแจง้ 6. กิจกรรมนันทนาการและชุมนุมรอบกองไฟ 7. กิจกรรมนาเสนอผลการดาเนินงานตามโครงการที่ดาเนินการมาก่อนการเข้าค่าย พักแรม

49 แบบทดสอบหลังเรียน คาช้ีแจง จงทาเครอ่ื งหมาย  หนา้ ขอ้ ทีถ่ ูกตอ้ งทสี่ ุด 1. การลกู เสือ หมายถึงข้อใด ก. ผู้ท่สี มคั รเป็นลกู เสือ ข. ผู้บังคบั บญั ชาลูกเสือ ค. การพฒั นาผู้ใหญ่ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี ง. กจิ การทีน่ าอดุ มการณ์ของการลูกเสอื มาพฒั นาเดก็ และเยาวชน 2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่คาปฏิญาณของลูกเสอื ก. ขา้ จะชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืนทุกเมื่อ ข. ขา้ จะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสอื ค. ขา้ จะประพฤตชิ อบด้วยกาย วาจา ใจ ง. ข้าจะจงรักภักดตี ่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ 3. ข้อใดไมใ่ ช่แนวทางการพัฒนาลกู เสือ ก. ฝกึ ให้มคี วามซ่ือสัตย์สจุ ริต ข. ฝกึ ให้รู้จักการบาเพญ็ ประโยชน์ ค. ฝึกให้มีความรอบคอบ ช่างสงั เกต ง. ฝึกให้พงึ่ ตนเอง โดยไมส่ นใจผู้อนื่ 4. ข้อบงั คับลกั ษณะปกครองลูกเสือฉบับแรกของไทยประกาศใช้เมื่อใด ก. 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ข. 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 ค. 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 ง. 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2455 5. กองลูกเสือกองแรกของโลกตงั้ ขนึ้ ทป่ี ระเทศใด ก. ประเทศองั กฤษ ข. ประเทศรัสเซีย ค. ประเทศฝร่งั เศส ง. ประเทศฮอลนั ดา

50 6. บรรดาลูกเสอื ท้ังปวง หมายถงึ ขอ้ ใด ก. ลกู เสือชาวบ้าน/ลกู เสือไซเบอร์ ข. ลกู เสือในโรงเรียน/ลกู เสอื สารอง/ลกู เสือจราจร ค. ลกู เสอื หลักสูตรพเิ ศษ/ลูกเสือป่าไม้/ลกู เสือสามญั ง. ลกู เสอื ในโรงเรยี น/ลกู เสือหลกั สตู รพเิ ศษ/ลูกเสือชาวบา้ น/ลกู เสอื นอกโรงเรยี น 7. ประมขุ ของคณะลกู เสือแห่งชาติ หมายถึงขอ้ ใด ก. พระมหากษัตริย์ ข. นายกรัฐมนตรี ค. ผู้วา่ ราชการจงั หวัด ง. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 8. กฎของลูกเสอื มีไว้เพ่ืออะไร ก. ปฏิบตั ิ ข. ทอ่ งจา ค. การเรียนรู้ ง. ประชาสมั พนั ธ์ 9. ขอ้ ใดคือกฎของลกู เสือ ก. ลกู เสอื บริการ ข. ลกู เสือมีจติ อาสา ค. ลูกเสือมีเกยี รตเิ ชอ่ื ถือได้ ง. ลกู เสือช่วยเหลือผ้อู ่นื ทกุ เมอื่ 10. ข้อใดเป็นการปฏิบตั ิตามกฎของลกู เสอื ไดถ้ ูกต้อง ก. อมั้ เกบ็ เงินได้จงึ นาไปซอื้ ขนม ข. จบ๊ิ ช่วยนาคุณยายข้ามถนนแล้วขอเงนิ ค. นอ้ งออกไปตลาดนดั และซอ้ื ขนม ง. แบ็งค์นาลกู แมวที่พลัดหลงจากแมแ่ มวไปเลี้ยง

51 11. ผทู้ ่มี วี นิ ัยต้องมคี ุณธรรมข้อใดเปน็ ส่วนสนบั สนุน ก. ความอดทน ข. ความเสยี สละ ค. ความรบั ผิดชอบ ง. ความเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ 12. ผปู้ ฏบิ ัติตนไมต่ รงตอ่ เวลา มีความเกี่ยวขอ้ งกบั เรือ่ งใด ก. ขาดวนิ ัย ข. ขาดความอดทน ค. ไม่ยอมเสียสละ ง. เห็นแก่ประโยชนส์ ว่ นตน 13. ผ้ทู ่ีเข้าแถวตอ่ ควิ ผู้อ่ืน หมายถงึ ข้อใด ก. ผมู้ ีวนิ ัย ข. ผมู้ จี ิตบรกิ าร ค. ผู้มีความประพฤตดิ ี ง. ผ้มู คี วามเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย 14. สิ่งใดจาเปน็ ท่สี ุดเม่อื เราหลงป่าอยกู่ ลางป่า คือขอ้ ใด ก. แผนที่ ข. เข็มทศิ ค. อาหาร ง. นา้ ด่ืม 15. ประเทศทีค่ น้ พบพลังแม่เหลก็ แลว้ พฒั นามาเป็นเข็มทิศในปจั จบุ นั คอื ขอ้ ใด ก. จนี ข. กรีก ค. โรมัน ง. อียปิ ตโ์ บราณ

52 16. สัญลักษณ์ “ ” หมายถงึ อะไรในแผนท่ี ก. เสน้ ชยั ข. ค่ายทหาร ค. ค่ายลกู เสือ ง. สถานศึกษา 17. เมือ่ กาหนดเป้าหมายปลายทางจากมมุ ท่เี ราตั้งไว้กับเข็มทิศแลว้ เราจะเดนิ โดย อาศยั เครื่องหมายอะไรบนเขม็ ทิศ ก. ลูกศรชที้ าง ข. เข็มทิศเหนือ ค. เขม็ กา้ งปลาท่ีชไี้ ป ง. ทิศทีเ่ ขม็ กา้ งปลาซ้อนกบั เขม็ ทิศ 18. ทกั ษะท่สี าคญั ของผู้ใช้เขม็ ทศิ คอื ข้อใด ก. การใชเ้ ขม็ ทศิ กาหนดเป้าหมาย ข. การค้นหาทิศเหนอื โดยไม่ใชเ้ ข็มทิศ ค. การจับเขม็ ทิศและการเคลื่อนท่พี รอ้ มเขม็ ทิศ ง. การอา่ นมุมจากเขม็ ทิศและการปรบั มุมท่ถี ูกตอ้ ง 19. สาหรับลูกเสอื แล้ว “เชอื ก” มปี ระโยชน์อะไร ก. เอาไว้ลา่ สตั ว์ ข. เอาไว้ใชป้ ฐมพยาบาล ค. เอาไวส้ ร้างฐานผจญภยั ง. เอาไว้ทากิจกรรมเง่อื นเชอื ก 20. เชือกท่ีใชใ้ นกจิ กรรมบุกเบกิ คือข้อใด ก. เชือกป่าน แน่นเหนียว ข. เชอื กมนลิ า แข็งแรงทนทาน ค. เชือกไหมญ่ีปุ่นสีขาว เหนียวคงทน ง. เชอื กไนลอน เหนียวรับน้าหนกั มาก

53 21. เงือ่ นเชือกทเ่ี ป็นสญั ลักษณ์ในเครอ่ื งหมายลกู เสือโลก คือขอ้ ใด ก. เงอ่ื นพิรอด ข. เงอ่ื นขัดสมาธิ ค. เงอ่ื นตะกรุดเบด็ ง. เง่ือนบ่วงสายธนู 22. หากเราจะผูกปากถุงขยะ ควรใชเ้ ง่ือนใด ก. เง่ือนพริ อด ข. เง่ือนขดั สมาธิ ค. เงอ่ื นตะกรดุ เบด็ ง. เง่อื นบ่วงสายธนู 23. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้กับผู้มีแผลบวมชา้ คอื ข้อใด ก. ใชส้ มนุ ไพรท่มี ีมาทา ข. ใช้ผา้ หอ่ ถุงน้าแข็งประคบ ค. ใชผ้ า้ หอ่ ถงุ น้าร้อนประคบ ง. ใชย้ านวดทาบริเวณทฟี่ กช้าและบวม 24. ความหมายของการปฐมพยาบาลคือข้อใด ก. การชว่ ยใหค้ นเจ็บมกี าลังใจดขี ้ึน ข. การช่วยให้ผ้บู าดเจ็บมสี ุขภาพแข็งแรง ค. การเตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลอื ผู้บาดเจ็บ ง. การชว่ ยบรรเทาเบ้ืองตน้ แก่ผู้ได้รับบาดเจ็บ 25. ในสภาวะปกติของคนทั่วไปจะมอี ัตราการเตน้ ของหัวใจนาทลี ะกี่คร้งั ก. ประมาณ 60 – 100 ครั้ง ข. ประมาณ 70 – 100 ครั้ง ค. ประมาณ 80 – 100 ครง้ั ง. ประมาณ 90 – 100 ครั้ง

54 26. อวัยวะข้อใดทมี่ คี วามสาคัญตอ่ การตรวจสญั ญาณชีพที่ถกู ตอ้ งมากท่สี ุด ก. ปอด ข. ศรี ษะ ค. หวั ใจ ง. สมอง 27. ในสภาวะปกติของคนทว่ั ไปจะหายใจนาทีละกีค่ รัง้ ก. 12 – 20 ครั้ง ข. 14 – 20 ครัง้ ค. 15 – 20 ครง้ั ง. 17 – 20 คร้งั 28. อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการสร้างฐานบุกเบิก คอื ข้อใด ก. เตา ข. จอบ ค. เตน็ ท์ ง. ราวตากผ้า 29. วตั ถปุ ระสงค์ของการอยูค่ ่ายพกั แรม คือขอ้ ใด ก. ลูกเสือได้ฝกึ ทกั ษะ ข. ลกู เสอื ได้ทากจิ กรรมรว่ มกัน ค. ลกู เสือทบทวนสิง่ ท่ไี ด้เรียนรจู้ ากทฤษฎี ง. ถูกทกุ ขอ้ 30. หลกั ของการเดินทางไกล คอื ขอ้ ใด ก. ฝึกความอดทน ข. ความมรี ะเบียบวนิ ยั ค. การช่วยแหลอื ซ่ึงกนั และกนั ง. ถกู ทุกข้อ

55 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ง 11. ก 21. ค 2. ง 12. ก 22. ก 3. ค 13. ก 23. ง 4. ก 14. ข 24. ข 5. ค 15. ง 25. ค 6. ง 16. ก 26. ก 7. ก 17. ง 27. ก 8. ค 18. ก 28. ง 9. ก 19. ข 29. ง 10. ง 20. ง 30. ข

56 เฉลย/แนวคาตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง

57 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ลูกเสือกับการพฒั นา กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 1 สาระสาคัญของการลกู เสอื คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรยี นอธบิ ายสาระสาคญั ของการลกู เสือ ดังต่อไปนี้ 1. วตั ถุประสงค์ของการพัฒนาลกู เสือ 2. หลกั การสาคัญของการลกู เสือ 1. วตั ถปุ ระสงค์ของการพฒั นาลูกเสอื ตอบ วัตถุประสงค์ของการลูกเสือ มุ่งพัฒนาศักยภาพของบุคคลทุกเพศ ทุกวัย และ ทุกฐานะ ให้ได้รับการพัฒนา ทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม เพื่อให้มีนิสัยในการช่างสังเกต จดจา เช่ือฟัง พึ่งตนเอง ซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย บาเพ็ญตนเพ่ือสาธารณประโยชน์ รู้จัก ทาการฝีมอื และฝกึ ฝนใหท้ ากิจกรรมต่าง ๆ 2. หลักการสาคญั ของการลูกเสือ ตอบ มีหน้าท่ีต่อศาสนาที่ตนเคารพนับถือ มีความจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมือง มีความ รับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง เสริมสร้างสันติภาพ เพ่ือความมั่นคงเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ท่วั โลก กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 ความสาคญั ของการลูกเสอื กับการพัฒนา คาชี้แจง ให้ผู้เรียนอธิบายความสาคญั ของการลูกเสือกับการพฒั นา ในประเดน็ ต่อไปน้ี 1. ลูกเสอื กับการพฒั นาตนเอง 2. ลูกเสือกบั การพฒั นาสมั พันธภาพระหว่างบคุ คล 3. ลกู เสอื กับการพฒั นาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม 1. ลูกเสือกบั การพฒั นาตนเอง มคี วามสาคญั ดังน้ี ตอบ สามารถพัฒนาตนเอง ทงั้ ทางกาย จติ ใจ อารมณ์ สตปิ ัญญา สังคม ความรู้ อาชีพ ส่งิ แวดลอ้ มให้ดีข้นึ

58 2. ลูกเสือกบั การพฒั นาสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล มคี วามสาคญั ดงั น้ี ตอบ รู้จักปรับตนเองให้มีอารมณ์หนักแน่น เข้ากับผู้อ่ืน และสถานการณ์ รู้จักสังเกต จดจา ประมาณตน และเป็นผู้มเี หตผุ ล อยรู่ ่วมกันและทางานร่วมกบั ผอู้ นื่ ได้ 3. ลูกเสอื กับการพัฒนาสมั พันธภาพภายในชมุ ชนและสังคม มีความสาคัญ ดังน้ี ตอบ เป็นการเปลีย่ นแปลงภายในสงั คม ท้ังด้านเศรษฐกจิ สังคม การเมือง การปกครอง และวฒั นธรรม เพอื่ ใหป้ ระชาชนมชี วี ิต ความเป็นอยูท่ ีด่ ีขน้ึ เช่น ท่ีอยู่อาศยั อาหาร เครื่องนุ่งห่ม สขุ ภาพอนามัย ฯลฯ กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 ความเปน็ พลเมอื งดีของลูกเสอื คาชแี้ จง ให้ผเู้ รยี นยกตวั อยา่ งความเป็นพลเมืองดใี นทัศนะของการลกู เสือ ในประเดน็ ต่อไปนี้ ท่ี ประเด็น ยกตัวอย่างของความเปน็ พลเมอื งดี 1. มีความจงรักภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา ปฏิบตั ิตนตามรอยพระยุคลบาท พระมหากษัตรยิ ์ ปฏบิ ัติตนตามกฎของลูกเสือ 2. มีเกยี รติเชอ่ื ถือได้ 3. มีระเบียบวนิ ยั สามารถบงั คบั ใจ ปฏิบตั ติ นอย่างมเี หตผุ ล มีความยบั ย้งั ช่ังใจ ตนเองได้ มีภูมคิ มุ้ กันทีด่ ใี นตน และเคารพกฎ กติกาของสังคม มีความอดทน อดกลั้น 4. สามารถพ่งึ ตนเองได้ เปน็ ผนู้ า มคี วามคดิ สร้างสรรค์ และสามารถ ปรบั เปล่ยี นเจตคติ พร้อมพัฒนาตนเองไดต้ าม การเปล่ียนแปลง 5. เตม็ ใจและสามารถช่วยเหลอื ชุมชน เปน็ จิตอาสา ด้วยความเต็มใจช่วยเหลอื และ และบาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ผู้อน่ื ได้ ให้บรกิ ารชุมชน สังคม โดยไมห่ วังผลตอบแทน ทุกเมื่อ

59 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การลูกเสือไทย กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 1 ประวตั ิลกู เสอื ไทย คาชแี้ จง ให้ผู้เรยี นอธบิ ายประวัตกิ ารลูกเสือไทย ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. พระราชประวัตขิ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 6 2. กาเนดิ การลกู เสือไทย 1. พระราชประวัตขิ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อย่หู ัว รชั กาลที่ 6 ตอบ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 เสด็จพระราชสมภพ เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2423 ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี (สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ) เสด็จครองราชย์ เม่ือวันที่ 23 ตุลาคม 2453 เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2468 มพี ระราชลญั จกรประจารัชกาลเปน็ สัญลักษณพ์ ระนามาภไิ ธย “วชริ าวธุ ” 2. กาเนดิ การลูกเสอื ไทย ตอบ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงศึกษา ณ ประเทศ อังกฤษ เม่ือปี พ.ศ. 2442 ขณะน้ันทรงทราบเร่ืองการสู้รบเพื่อรักษาเมืองมาฟิคิง (Mafeking) ของบี.พี. และเม่ือปี พ.ศ. 2454 หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงฝึกหัดข้าราชการ พลเรือนและต้ังกองพลอาสาสมัครใช้ช่ือว่า “กองเสือป่า” เม่ือ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 หลังจากตั้งกองเสือป่าได้ 2 เดือน พระองค์จึงมีพระราชปรารภต้ังกองลูกเสือข้ึนและทรงมี พระราชกาหนดข้อบังคับลักษณะปกครองลูกเสือประกาศใช้เมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยมี นายชพั น์ บุนนาค เป็นลกู เสอื คนแรก

60 กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 2 ความร้ทู ั่วไปเก่ยี วกบั คณะลูกเสือแหง่ ชาติ คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาแผนภมู ิการบริหารงานของคณะลูกเสือแห่งชาติ และตอบคาถาม ตามทก่ี าหนด คณะลกู เสือแหง่ ชาติ สภาลกู เสือไทย คณะกรรมการบรหิ าร คณะกรรมการลูกเสือ คณะกรรมการลกู เสอื ลูกเสอื แห่งชาติ จังหวัด เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา ใหผ้ ูเ้ รียนตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี 1. ใครเป็นประมขุ ของคณะลูกเสือแหง่ ชาติ ตอบ พระมหากษตั ริย์ 2. ใครเปน็ สภานายกสภาลูกเสอื ไทย ตอบ นายกรัฐมนตรี 3. ใครเป็นประธานกรรมการบริหารลูกเสอื แห่งชาติ ตอบ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร 4. ใครเป็นประธานกรรมการลกู เสอื จังหวัด ตอบ ผู้ว่าราชการจังหวดั 5. ใครเป็นประธานกรรมการลกู เสือเขตพื้นที่การศกึ ษา ตอบ ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา

61 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 การลกู เสอื โลก กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 ประวัติผู้ให้กาเนดิ ลูกเสือโลก คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรยี นตอบคาถาม ดงั ต่อไปนี้ 1. ใครเปน็ ผู้ให้กาเนิดการลูกเสอื โลก 2. การลูกเสอื โลก เกิดขน้ึ เม่อื ปี พ.ศ. ใด 1. ใครเป็นผูใ้ หก้ าเนดิ การลูกเสือโลก ตอบ พลโทโรเบิรต์ สตเี ฟนสนั สมทิ เบเดน โพเอลล์ (Robert Stephenson Smyth Baden Powell) โดยท่ัวไปจะเรียกท่านว่า บ.ี พี. เป็นชาวอังกฤษ 2. การลกู เสอื โลก เกิดขน้ึ เม่อื ปี พ.ศ. ใด ตอบ พ.ศ. 2450 กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 องค์การลูกเสอื โลก คาชีแ้ จง ให้ผเู้ รยี นอธิบายความสาคญั ขององค์การลูกเสอื โลก ตอบ ความสาคัญขององค์การลกู เสอื โลก เปน็ องคก์ รท่ีทาหน้าทีร่ ักษา และดารงไวซ้ ่งึ ความเป็นเอกภาพของขบวนการลูกเสอื แหง่ โลก และทาหนา้ ท่ีส่งเสริมกิจการลูกเสือทั่วโลก ให้มีการพัฒนา และก้าวหน้าอย่างต่อเน่ือง ตลอดไป โดยมีธรรมนญู ลกู เสอื โลกเป็นกฎหมายสาหรับยดึ ถือปฏบิ ตั ิ

62 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 คณุ ธรรม จริยธรรมของลกู เสอื กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 คาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จน์ของลกู เสอื คาช้แี จง 1.1 ให้ผู้เรียนอธบิ ายความหมายของคาปฏญิ าณของลกู เสอื ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ คาปฏิญาณของลูกเสอื ความหมายของคาปฏิญาณของลูกเสือ 1. ข้าจะจงรกั ภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา ลกู เสอื จะต้องศรัทธา มีความเชอ่ื มัน่ ในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ โดยประพฤตติ น พระมหากษตั รยิ ์ เป็นพลเมืองดี รักและหวงแหนป้องกันและเสยี สละ ปฏิบตั ิตามคาสอนศาสนา แสดงความเคารพต่อ 2. ข้าจะชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนทกุ เมื่อ สถาบนั พระมหากษัตริย์ 3. ขา้ จะปฏิบัตติ ามกฎของลกู เสือ ลูกเสือต้องบาเพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ชว่ ยเหลอื ดูแล มใี จเมตตา กรุณา เอ้ือเฟ้ือ ทุกครง้ั ที่มีโอกาส ลูกเสือต้องประพฤตแิ ละปฏบิ ัตติ นตามกฎของ ลกู เสือทงั้ 10 ขอ้ โดยอย่ใู นกฎ ระเบยี บ รกั ษา เกยี รติ สุภาพเรยี บร้อย มัธยัสถ์ ประพฤติชอบดว้ ย กาย วาจา ใจ เพ่ือให้เปน็ ผู้มีเกยี รตเิ ชือ่ ถอื ได้ 1.2 ให้ผู้เรียนเขียนคติพจน์ของลูกเสือ ดงั ต่อไปนี้ 1.2.1 คตพิ จน์ท่วั ไปของลูกเสือ คือ เสยี ชพี อย่าเสียสัตย์ 1.2.2 คติพจน์ของลูกเสอื แตล่ ะประเภท (1) คติพจนข์ องลูกเสือสารอง คือ ทาดที ีส่ ดุ (2) คตพิ จนข์ องลกู เสอื สามญั คือ จงเตรยี มพรอ้ ม (3) คตพิ จนข์ องลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่ คอื มองไกล (4) คตพิ จน์ของลูกเสือวิสามัญ คอื บรกิ าร

63 กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 2 คุณธรรม จริยธรรม จากคาปฏิญาณและกฎของลกู เสอื คาช้แี จง ใหผ้ ู้เรยี นจับคู่คาอธบิ ายความหมายของคุณธรรม จริยธรรมจากคาปฏญิ าณ และกฎของลกู เสือ ท่มี ีความหมายตรงกัน ข้อ คุณธรรม จริยธรรม ข้อ ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม 1. ความจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ก. ความรกั ใคร่ กลมเกลียวกันด้วย (ข้อ จ.) ความจรงิ ใจ 2. ความรับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี ข. ละเว้นพฤติกรรมชวั่ รา้ ย (ขอ้ ฉ.) ค. ปฏบิ ัตติ นทางกาย วาจา จิตใจ 3. ความมีระเบยี บ วนิ ัย ท่ตี รงไปตรงมา (ข้อ ง.) ง. เปน็ ผู้รู้และปฏิบัตติ ามแบบแผน 4. ความซ่อื สตั ย์ จ. ซ่อื สตั ยต์ ่อชาติ ทานบุ ารงุ ศาสนา (ข้อ ค.) เทิดทนู พระมหากษัตริย์ 5. ความเสียสละ ฉ. ปฏิบัติกิจการงานของตนเอง (ข้อ ช.) ดว้ ยความมานะพยายาม 6. ความอดทน ช. ปฏบิ ตั ติ นโดยการอทุ ศิ กาลังกาย (ข้อ ซ.) กาลังทรัพย์ กาลังปัญญา 7. การไมท่ าบาป ซ. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ทีม่ จี ิตใจเข้มแข็ง (ข้อ ข.) 8. ความสามคั คี (ข้อ ก.)

64 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 วนิ ยั และความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 1 วินยั และความเป็นระเบียบเรียบร้อย คาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรยี นตอบคาถาม ดังตอ่ ไปนี้ 1. วินัย หมายความวา่ อะไร 2. วนิ ัยมีความสาคญั อย่างไร 3. ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย หมายความวา่ อย่างไร 1. วินัย หมายความว่าอะไร ตอบ วินยั หมายถึง การอยใู่ นระเบยี บแบบแผนและข้อบงั คบั ข้อปฏบิ ัตทิ ่วี างไว้เพ่ือให้ บคุ คลปฏิบัตติ าม 2. วนิ ัยมีความสาคญั อยา่ งไร ตอบ ความสาคญั ของวนิ ยั คือ เมอื่ มกี ารกาหนดระเบียบ ข้อบังคับ ขอ้ ปฏิบตั แิ ลว้ และ ทุกคนมกี ารปฏิบัตติ าม ตนเอง และสังคมก็จะเกดิ ความสงบสขุ 3. ความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย หมายความวา่ อย่างไร ตอบ เปน็ ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณแ์ ละพฤตกิ รรมของตนเองให้อยู่ ในแบบแผนที่มุ่งหวัง เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ด้วยความสงบสุข อันเป็นคุณสมบัติที่สาคัญ ในการดาเนนิ ชวี ติ

65 กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ัย และการขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย คาชี้แจง ให้ผู้เรยี นอธบิ ายผลกระทบจากการขาดวนิ ัย และการขาดความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ ประเดน็ คาอธิบายผลกระทบ การขาดวนิ ยั และการขาดความเปน็ ระเบียบ จะส่งผลใหส้ ังคม เกดิ ความวุ่นวาย แก่งแยง่ เรียบรอ้ ย เอารดั เอาเปรยี บ นาไปสู่การขาดความสงบ เรียบรอ้ ย เช่น การเขา้ แถวรับสิ่งของ การเข้าแถวชาระสนิ ค้า กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 3 แนวทางการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั และความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย คาชีแ้ จง ใหผ้ ้เู รยี นยกตวั อยา่ งแนวทางการเสริมสร้างวนิ ยั และความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย ตารางต่อไปนี้ แนวทางการเสริมสร้างวินยั ยกตวั อยา่ งวธิ กี ารปฏบิ ัตติ น และความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย การสรา้ งวนิ ยั ในตนเอง 1. การทางานให้แล้วเสรจ็ ตามเวลาที่กาหนด 2. การรกั ษาความสะอาดทกุ ครัง้ เมื่อเขา้ หอ้ งน้า การสรา้ งวินยั โดยใชป้ ัจจัยอ่นื 1. เห็นคนอ่ืนทาความดี ก็ปฏิบัติตาม ชว่ ยเสริม 2. ทางานดว้ ยความขยนั อดทน จนประสบความสาเร็จ การสร้างวินัย โดยใช้กฎเกณฑ์ 1. ปฏบิ ตั ติ นตามกฎจราจร บงั คบั 2. การใช้อุปกรณท์ ถี่ ูกต้องตามกฎหมายในการจับสตั วน์ ้า

66 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 ลกู เสอื กศน. กับการพฒั นา กิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 1 ลกู เสอื กศน. คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้เรียนอธิบายความเปน็ มา และความสาคญั ของลูกเสือ กศน. ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความเป็นมาของลูกเสอื กศน. 2. ความสาคัญของลกู เสอื กศน. 1. ความเปน็ มาของลูกเสอื กศน. ตอบ ด้วยประเทศไทย เปน็ ประเทศเดยี วในโลกท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของ คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ทรงพระราชทาน กาเนิดลูกเสือไทย และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระบรม ราโชวาท ความว่า “กิจการลูกเสือ และเนตรนารีมีความสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาเยาวชนของ ชาติ” กิจการลูกเสือ ซึ่งเป็นเครื่องมือส่งเสริมให้บุคลเป็นคนดี มีความประพฤติดี มีความ รบั ผดิ ชอบ มีสติปญั ญาเฉลยี วฉลาด มีความซ่อื สตั ย์ มคี วามเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย 2. ความสาคัญของลกู เสือ กศน. ตอบ ลูกเสือ กศน. ยึดมั่นในอุดมการณ์ร่วมกัน มีวัตถุประสงค์ หลักการ วิธีการ ของ การลูกเสือ เป็นขบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มีการฝึกอบรมร่วมกัน การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การมคี วามพรอ้ มในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตน ตามคติพจน์ของลูกเสือวสิ ามญั คือ “บรกิ าร”

67 กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 2 ลูกเสอื กศน. กับการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและสังคม คาช้แี จง ให้ผ้เู รยี นยกตวั อย่างกิจกรรมของลูกเสอื กศน. กับการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม ลงในตารางต่อไปน้ี ลูกเสือ กศน. กบั การพัฒนา ยกตัวอย่างกจิ กรรมที่คาดว่าจะพัฒนา ตนเอง 1. การประหยดั อดออม 2. การมรี ะเบยี บวนิ ัย การตรงต่อเวลา สุภาพเรยี บร้อย ครอบครัว 1. การทาความสะอาดบ้านเรอื น 2. ดูแลบพุ การเี มอ่ื เกดิ อาการเจบ็ ปว่ ย ชมุ ชนและสงั คม 1. การเกบ็ ขยะมลู ฝอย 2. การอา่ นหนังสือใหผ้ ู้มปี ัญหาทางสายตาฟงั กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 3 บทบาทหน้าทข่ี องลกู เสือ กศน. ทีม่ ตี ่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม คาช้ีแจง ให้ผ้เู รียนยกตัวอย่างกจิ กรรมเกยี่ วกับบทบาทหน้าท่ีของลูกเสอื กศน. ทีม่ ตี ่อตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม ลงในตารางตอ่ ไปน้ี บทบาทหน้าทข่ี องลกู เสอื กศน. ยกตัวอย่างกิจกรรมทเ่ี กยี่ วข้อง ที่มตี ่อตนเอง เผยแพรค่ วามรู้ประชาธิปไตย ที่มีตอ่ ครอบครวั เช่ือฟงั คาสงั่ ของบิดา มารดา ด้วยความเคารพ และยอมรบั ไปปฏิบตั ิ ท่ีมตี อ่ ชุมชนและสังคม ชว่ ยดแู ล ป้องกนั อนรุ กั ษ์ป่าไม้

68 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 7 ลูกเสือ กศน. กบั จติ อาสา และการบรกิ าร กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 1 จติ อาสา และการบรกิ าร คาชแ้ี จง ให้ผ้เู รียนอธบิ ายความหมาย ความสาคัญของจิตอาสา และการบรกิ าร ดังตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของจิตอาสา 2. ความสาคัญของจิตอาสา 3. ความหมายของการบริการ 4. ความสาคัญของการบริการ 1. ความหมายของจติ อาสา ตอบ จิตอาสา หมายถึง จิตสานึกเพ่ือส่วนรวมของตนที่รู้จักความเสียสละ เอาใจใส่ เป็นธุระ ให้ความร่วมมือร่วมใจ การกระทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม เพ่ือช่วยกันพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและปรารถนาทจ่ี ะช่วยลดปญั หาทเ่ี กิดข้ึนในสงั คม 2. ความสาคญั ของจติ อาสา ตอบ จิตอาสามีความสาคัญ คือ เป็นการทาประโยชน์เพื่อสังคม โดยใช้คุณธรรมเป็นหลัก เรม่ิ จากตนเอง ครอบครวั และสงั คม 3. ความหมายของการบริการ ตอบ การบริการ หมายถึง การให้ความช่วยเหลือหรือการบาเพ็ญประโยชน์ต่อตนเอง ตอ่ ผู้อนื่ และต่อชมุ ชน มกี ารลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง 4. ความสาคัญของการบริการ ตอบ การบรกิ ารมคี วามสาคญั คอื เปน็ การพัฒนาจิตใจให้อย่ใู นศลี ธรรม ไม่เอารดั เอาเปรยี บ ผู้อ่ืน รู้จักการเสียสละ เพื่อบาเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อื่น โดยมุ่งให้สังคมสามารถดารงอยู่ได้

69 กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 2 หลกั การของจิตอาสา และการบริการ คาช้แี จง ให้ผู้เรยี นอธิบายหลักการของจติ อาสา และการบรกิ าร ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. หลกั การของจติ อาสา 2. หลักการของการบรกิ าร 1. หลักการของจติ อาสา ตอบ หลักการของจิตอาสา ประกอบด้วย 1. การกระทาของตนเองท่ีมีความรับผิดชอบต่อตนเอง โดยป้องกันไม่ให้เกิด ผลกระทบและความเสียหายต่อส่วนรวม ได้แก่ การมีวินัยในตนเอง การควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรม การเช่ือฟังคาสั่ง 2. การกระทาของตนเองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยรักษาประโยชน์ของ ส่วนรวมเพอ่ื แก้ปัญหา สรา้ งสรรค์สังคม ถือเป็นความรบั ผิดชอบต่อสังคม ได้แก่ การเคารพสิทธิ ผ้อู นื่ การรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้อื่น การช่วยเหลอื ผู้อืน่ 2. หลกั การของการบรกิ าร ตอบ หลกั การของการบริการ ประกอบด้วย 1. ให้บริการอย่างมปี ระสิทธภิ าพ หรือมีทักษะในการบรกิ าร เช่น การปฐมพยาบาล 2. ใหบ้ รกิ ารด้วยความสมคั รใจ เตม็ ใจทจ่ี ะให้บรกิ าร 3. ใหบ้ รกิ ารแกผ่ ทู้ ่ตี อ้ งการรบั บรกิ าร ผู้ถกู ทอดทิง้ คนปว่ ย คนชรา คนพกิ าร 4. ให้บริการด้วยความองอาจ ตงั้ ใจ มั่นใจ มีความรบั ผิดชอบ

70 กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 3 วธิ ีการปฏิบัตติ นในฐานะลูกเสอื กศน. เพ่อื เป็นจิตอาสา และการบรกิ าร คาชีแ้ จง ใหผ้ ู้เรียนอธบิ ายการปฏิบตั ิตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพ่ือเป็นจิตอาสา และการบรกิ าร ในประเด็นต่อไปน้ี ประเดน็ การปฏิบัตติ นในฐานะลูกเสอื กศน. 1. การเป็นจิตอาสา การปฏิบัตติ นเพื่อเป็นจติ อาสา มีดงั น้ี 2. การบรกิ าร 1. มีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง เชน่ ตงั้ ใจใฝ่หาความรู้ ออกกาลังกาย เพ่ือสขุ ภาพแข็งแรง ประพฤตติ วั ให้เหมาะสม ทางานที่รับมอบหมายใหส้ าเรจ็ มีความรับผิดชอบ ตรงเวลา 2. มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม เช่น 2.1 เชื่อฟังพ่อแม่ ไมท่ าให้พ่อแม่เสยี ใจ ช่วยเหลืองานบ้าน 2.2 หากเป็นผู้เรยี นจะตอ้ งตง้ั ใจเลา่ เรียน เช่ือฟังคาสั่งสอน ของครบู าอาจารย์ ปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบวินัยของสถานศึกษา 2.3 ช่วยเหลือใหค้ าแนะนา ไมเ่ อาเปรียบผูอ้ ่ืน เคารพสิทธิ ซึ่งกนั และกนั 2.4 ปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบของสงั คม ตามกฎหมาย 1. เตรียมตนเองใหพ้ รอ้ มท่ีจะใหบ้ รกิ ารแก่ผู้อน่ื 2. ให้บริการแกห่ มูค่ ณะ 3. ให้บรกิ ารแกช่ ุมชน สงั คม

71 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเขียนโครงการเพ่ือพฒั นาชุมชนและสังคม กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 โครงการเพ่อื พัฒนาชุมชนและสงั คม คาชแ้ี จง ให้ผูเ้ รยี นตอบคาถามต่อไปน้ี 1. โครงการคอื อะไร 2. โครงการมีความสาคญั อยา่ งไร 1. โครงการคืออะไร ตอบ โครงการ คือการดาเนินงานหรือกิจกรรมท่ีไม่เป็นงานประจา มีการดาเนินงาน ในเวลาใดเวลาหนง่ึ มกี ารกาหนดระยะเวลา งบประมาณ ทรัพยากร การบริหารงาน มีการออกแบบ แนวทางการดาเนินงานที่เฉพาะเจาะจง มุ่งตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มบุคคล ชุมชน และสังคม 2. โครงการมคี วามสาคญั อยา่ งไร ตอบ โครงการมคี วามสาคญั ดังนี้ 1. ชว่ ยให้การดาเนนิ งานสอดคล้องกบั งานที่จะทา 2. ช่วยใหก้ ารดาเนนิ งานมที ศิ ทางทีช่ ดั เจน มปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ชว่ ยชี้ให้เห็นถึงสภาพปัญหาการทางานท่ีผ่านมา 4. เสรมิ สร้างความเข้าใจอนั ดีและรบั ผดิ ชอบร่วมกัน 5. ชว่ ยให้งานดาเนนิ ไปสู่เปา้ หมายไดส้ มบูรณ์ กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 2 ลักษณะของโครงการ คาชแี้ จง ใหผ้ ู้เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี โครงการท่ีดีควรมีลกั ษณะอยา่ งไร ตอบ โครงการทดี่ คี วรมลี ักษณะ ดงั นี้ 1. ตอบโจทยห์ รอื ปัญหาได้ถกู ตอ้ งชดั เจน 2. ครอบคลุมงานที่จะดาเนินการ 3. มีผรู้ ับผิดชอบชัดเจน

72 4. มีวตั ถปุ ระสงค์ชัดเจน 5. มรี ะยะเวลา เริม่ โครงการและส้ินสดุ โครงการแน่นอน 6. สรปุ ผลไดต้ ามประเดน็ ปญั หา 7. นาไปใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ การทีค่ ล้ายกนั กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 องคป์ ระกอบของโครงการ คาช้แี จง ให้ผเู้ รยี นตอบคาถามต่อไปน้ี องคป์ ระกอบของโครงการมอี ะไรบ้าง ตอบ องค์ประกอบของโครงการ มีดงั น้ี 1. ชือ่ โครงการ 2. หลกั การและเหตผุ ล 3. วตั ถุประสงค์ 4. เป้าหมาย 5. วิธีดาเนนิ การ 6. ระยะเวลาดาเนนิ การ 7. สถานทดี่ าเนนิ งาน 8. งบประมาณ 9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 10. หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง 11. การประเมนิ ผลโครงการ 12. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 13. ผู้ประสานงานโครงการ

73 กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 4 ขนั้ ตอนการเขียนโครงการ คาช้แี จง ให้ผเู้ รยี นดาเนินการ ดังน้ี 1. ใหผ้ ้เู รียนโยงเส้นขน้ั ตอนการเขียนโครงการกับความหมายของขนั้ ตอนทกี่ าหนด 1.ช่ือโครงการ ก. แสดงยอดรวมคา่ ใชจ้ ่าย 2. หลักการและเหตผุ ล ข. ผ้ทู ี่ทาโครงการ 3. วตั ถุประสงค์ ค. เหมาะสม ชดั เจน ดงึ ดูดความสนใจ 4. วิธดี าเนนิ การ เฉพาะเจาะจง ง. ปัญหา ความจาเปน็ 5. ระยะเวลาและสถานที่ จ. การติดตามดแู ล หลังจากดาเนินโครงการแล้ว ดาเนินการ ฉ. ความต้องการทจ่ี ะกระทาสงิ่ ใดสิ่งหน่ึง 6. งบประมาณ 7. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ช. แสดงขั้นตอนของงานท่ีจะตอ้ งทา 8. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั ซ. ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ บั จากความสาเรจ็ 9. การประเมนิ ผลโครงการ เมือ่ สนิ้ สดุ โครงการ ฌ. การระบุเวลาทเ่ี ริม่ ตน้ และสนิ้ สดุ โครงการ กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 5 การดาเนินงานตามโครงการ คาชแ้ี จง ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัตเิ ขยี นโครงการ เพ่ือพฒั นาชมุ ชนและสังคม และนาสู่การปฏิบตั ิ ตามโครงการ (ใหผ้ ูเ้ รยี นเขยี นโครงการพรอ้ มตรวจสอบเนื้อหากับชุดวชิ าลูกเสอื กศน.) กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 6 การสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการเพ่ือการนาเสนอ คาชี้แจง ให้ผเู้ รียนสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการ (ให้ผู้เรียนสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการพรอ้ มตรวจสอบเนอื้ หากบั ชุดวชิ า ลูกเสือ กศน.)

74 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 ทกั ษะลกู เสอื กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 แผนท่ี - เขม็ ทศิ คาช้ีแจง ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความหมาย และความสาคัญของแผนที่ 2. ความหมาย และความสาคัญของเขม็ ทิศ 1. ความหมาย และความสาคัญของแผนท่ี ตอบ แผนที่ หมายถึง เครื่องมือที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดต่าง ๆ ของภูมิประเทศที่ อยู่บนผิวโลก โดยการจาลอง ยอ่ ส่วนลงบนแผ่นวตั ถุพื้นราบ รายละเอียดอาจแสดงด้วยลายเส้น สี หรอื สญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ความสาคัญของแผนท่ี มดี งั นี้ 1. ใช้เปน็ เครือ่ งมอื ประกอบกจิ กรรมการเดินทางไกลของลกู เสอื 2. ช่วยให้เข้าใจถงึ ขอ้ มูลพื้นฐานของสภาพลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเบือ้ งตน้ 3. เนอ่ื งจากแผนท่ีมีหลายชนิด ทาให้สามารถเลอื กใช้ประโยชนจ์ ากแผนทไ่ี ด้ อย่างถูกตอ้ ง 2. ความหมาย และความสาคญั ของเข็มทิศ ตอบ เข็มทิศ หมายถึง เคร่ืองมือสาหรับใช้หาทิศทางหรือบอกทิศทางในแผนที่ มีเข็ม แม่เหล็กท่ีแกว่งไกวได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ - ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็ก โลก และทห่ี นา้ ปดั มสี ว่ นแบง่ สาหรับหาทิศทางโดยรอบ เขม็ ทิศจงึ มปี ลายช้ไี ปทางทิศเหนือเสมอ ความสาคญั ของเข็มทิศ ใช้ประกอบแผนทแี่ ละหาทศิ ทางท่ถี กู ตอ้ ง

75 กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 2 วิธกี ารใช้แผนท่ี – เขม็ ทิศ คาชี้แจง ใหผ้ ้เู รียนตอบคาถาม ดงั ต่อไปน้ี 1. วิธกี ารใชแ้ ผนท่ี 2. วิธีการใช้เข็มทศิ 1. วิธีการใช้แผนที่ ตอบ การใช้แผนท่ี มีวธิ ีการ ดงั น้ี วางแผนทีใ่ นแนวระนาบบนพน้ื ใหไ้ ดร้ ะดบั ทิศเหนือ ของแผนท่ีชไี้ ปทางทิศเหนือ จัดใหแ้ นวต่าง ๆ บนแผนท่ีขนานกับแนวทเ่ี ปน็ จริงของภมู ปิ ระเทศ ทกุ แนว 2. วิธีการใช้เข็มทศิ ตอบ การใชเ้ ขม็ ทิศ มวี ิธีการ ดงั น้ี 1. ยกเข็มทศิ ให้ได้ระดับ 2. ปรับมุมอะซมิ ทุ ใหเ้ ท่ากับมมุ ที่กาหนดในแผนที่ 3. เล็งตามแนวลูกศรช้ที ศิ ทาง เป็นเสน้ ทางทีจ่ ะเดนิ ไป 4. เดินไปเท่ากับระยะทางท่กี าหนดในแผนที่ กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 3 เงือ่ นเชือก คาชี้แจง ให้ผเู้ รียนตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความหมายและความสาคัญของเงือ่ นเชือก 2. การผกู เงือ่ นเชือก 1. ความหมายและความสาคัญของเง่ือนเชอื ก ตอบ เง่ือนเชือก หมายถึง การนาปลายเชือกเส้นหน่ึง ผูกกับปลายเชือกอีกเส้นหน่ึง เพ่ือเป็นการตอ่ เชือก หรอื นาเชือกไปผกู กบั วตั ถุ หรือผูกเป็นบว่ งคลอ้ งวตั ถุ การผกู เงื่อนแตล่ ะชนิดมคี วามยากง่ายแตกต่างกนั ออกไป ความสาคัญของเง่ือนเชือก ใช้เพื่อการต่อเชือก หรือผูกวัตถุตามแต่ละชนิดของเชือก และเมอื่ ลากจงู สง่ิ ของและใชช้ ่วยชวี ิต

76 2. การผกู เง่ือนเชือก และประโยชนข์ องเง่อื นเชือก ชอ่ื เง่อื นเชอื ก ประโยชนข์ องเงอื่ นเชือก 1. เงอื่ นพริ อด 1. ใชต้ ่อเชือก 2 เส้น ท่มี ีขนาดเทา่ กัน 2. เงื่อนขดั สมาธิ 2. ใช้ผูกปลายเชอื กเสน้ เดียวกนั เพื่อผูกมัดส่งิ ของและวัตถตุ ่าง ๆ 3. เงื่อนตะกรุดเบ็ด 3. ใชผ้ ูกเชอื กรองเท้า (ผูกเงอ่ื นพิรอดกระตกุ ปลาย 2 ข้าง) 4 ใช้ผูกโบ ผูกชายผ้าพนั แผล ผกู ชายผ้าทาสลงิ คล้องคอ 1. ใช้ตอ่ เชือกที่มีขนาดเดยี วกนั หรือต่างกนั 2. ใชต้ อ่ เชอื กออ่ นกับเชือกแขง็ 3. ใชผ้ ูกกบั ขอ หรอื บ่วง 1. ใชผ้ กู เชือกกบั เสาหรอื สิ่งอืน่ ๆ ปมเชอื กจะไม่คลาย 2. ใชท้ าบนั ไดเชือก บันไดลิง 3. ใชใ้ นการผูกเงื่อนแนน่ ประกบ กากบาท 4. ใชผ้ ูกปากถุงขยะ

77 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 10 ความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสอื กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 ความความปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสอื คาชี้แจง ให้ผเู้ รียนตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ ความหมายและความสาคัญของความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือ ความหมายและความสาคัญของความปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลูกเสอื ตอบ ความปลอดภัย หมายถึง การที่ร่างกายปราศจากอุบัติภัย อยู่ในสภาวะท่ี ปราศจากอันตราย หรือสภาวะท่ีปราศจากการบาดเจ็บ เจ็บปวด เจ็บป่วย จะมากหรือน้อย ข้นึ อยูก่ ับการปฏิบตั ิหรอื การกระทาของตนเอง ความสาคัญของความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสอื เป็นความจาเป็น พื้นฐานสาหรับการป้องกันหรือช่วยเหลืออย่างทันท่วงที หรือการสร้างความปลอดภัย ในกิจกรรมต่าง ๆ ก่อนท่ีจะมีภัยเกิดขึ้นบางประการหรือเตรียมการรองรับในเบ้ืองต้น เพ่ือป้องกัน การสญู เสยี กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 2 การเฝ้าระวงั เบ้อื งต้นในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือ คาชีแ้ จง ใหผ้ ู้เรียนยกตวั อยา่ งการเฝา้ ระวังเบื้องตน้ ในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสอื กจิ กรรมลกู เสือ ยกตัวอย่างการเฝ้าระวงั เบือ้ งต้น กจิ กรรมบุกเบกิ ตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ สาหรับการ กจิ กรรมผจญภัย แผ้วถางทาง บุกเบิกเส้นทาง เพื่ออานวยความสะดวก และความปลอดภัยใหแ้ กผ่ ู้เดนิ ตามมาภายหลงั ตรวจสอบ คุณลกั ษณะและคณุ ภาพของวสั ดุ ไม้ เชอื ก หรือลวดท่ีนาไปใช้ในการสร้างฐานผจญภยั

78 กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 3 การช่วยเหลอื เมือ่ เกิดเหตุความไม่ปลอดภยั ในการเข้าร่วมกจิ กรรม ลกู เสือ คาชี้แจง ใหผ้ ู้เรียนอธบิ ายวธิ กี ารช่วยเหลอื เมอ่ื เกิดเหตุความไม่ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรม ลกู เสอื กรณีต่อไปนี้ กรณอี บุ ตั เิ หตุ การช่วยเหลือ อบุ ัตเิ หตทุ างน้า 1. จัดใหน้ อนตะแคงกึ่งควา่ อบุ ัตเิ หตทุ างรถยนตห์ รือทางถนน 2. ตรวจสอบการหายใจ ถ้าไม่มีการหายใจให้ช่วยกู้ชพี ทันที อุบัตเิ หตทุ ั่วไป 3. ใหค้ วามอบอนุ่ กับร่างกายผ้จู มนา้ โดยถอดเส้ือผา้ 1. ตกจากที่สงู เปยี กออกและใชผ้ า้ แหง้ คลุมตวั 2. หกลม้ 3. ไฟไหม้ 1. การใชเ้ ครือ่ งหมายบอกสญั ญาณ เพอ่ื สง่ สัญญาณ 4. น้าร้อนลวก เตือนในการเพิม่ ความระมัดระวงั โดยสัญญาณฉกุ เฉิน 2. ประเมินสถานการณ์จากสภาพแวดลอ้ มและสภาพ จราจร 3. โทรศัพทแ์ จ้งหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง เช่น หน่วย แพทยฉ์ กุ เฉิน มลู นธิ ิ โรงพยาบาล ควรเคลอื่ นย้ายดว้ ยความระมดั ระวัง

79 กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 4 การปฏิบตั ติ นตามหลกั ความปลอดภยั คาช้ีแจง ให้ผูเ้ รยี นยกตวั อย่างการปฏบิ ัตติ นตามหลักความปลอดภยั หลักความปลอดภัย ยกตัวอย่างการปฏบิ ตั ติ นตามหลัก ด้านร่างกาย ความปลอดภยั ดา้ นจติ ใจ ตอ้ งเตรยี มร่างกาย ด้วยการออกกาลงั กาย รกั ษาร่างกายไม่ให้เจ็บปว่ ย หาความรู้เกีย่ วกับกจิ กรรมลูกเสอื กศน. เปน็ การ เตรยี มพร้อมด้านจิตใจในการปฏิบัติตนเองและ ให้ความชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ตามความเหมาะสม

80 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 11 การปฐมพยาบาล กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 1 การปฐมพยาบาล คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้เรยี นตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความหมายของการปฐมพยาบาล 2. ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล 1. ความหมายของการปฐมพยาบาล ตอบ การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบ้ืองต้น โดยใช้ เคร่ืองมือหรอื อปุ กรณท์ หี่ าไดใ้ นบรเิ วณน้นั ๆ เพ่ือช่วยบรรเทาอาการและช่วยให้ผู้บาดเจ็บได้รับ อนั ตรายน้อยลงกอ่ นที่จะสง่ โรงพยาบาล เพ่ือใหแ้ พทยท์ าการรักษา 2. ความสาคัญของการปฐมพยาบาล ตอบ 1. เพอื่ ชว่ ยเหลือผู้บาดเจ็บ 2. เพื่อปอ้ งกนั และลดความพกิ ารท่อี าจเกิดขึ้น 3. เพ่อื บรรเทาความเจบ็ ปวดและป้องกนั อันตราย กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 2 วธิ กี ารปฐมพยาบาล คาช้แี จง ให้ผเู้ รียนอธบิ ายวธิ กี ารปฐมพยาบาล กรณตี อ่ ไปน้ี กรณผี ้ปู ่วย วิธกี ารปฐมพยาบาล เป็นลมวงิ เวยี นศรี ษะ 1. พาเขา้ ทรี่ ่มอากาศถ่ายเทสะดวก 2. นอนราบไม่หนนุ หมอน หรือยกปลายเทา้ ให้สูงเล็กนอ้ ย 3. คลายเสือ้ ผ้าใหห้ ลวม 4. พดั หรอื ใช้ผา้ ชบุ น้าเชด็ เหงื่อตามหนา้ มอื และเท้า 5. ใหด้ มแอมโมเนยี 6. ให้ดื่มนา้ 7. ถา้ รู้สกึ ตัวหรือมอี าการดีขนึ้ นาส่งแพทย์ต่อไป

81 กรณีผปู้ ว่ ย วธิ ีการปฐมพยาบาล เป็นลมแดด 1. นาผทู้ ่มี อี าการเข้าท่ีร่ม 2. นอนราบ ยกเท้าสูง เลอื ดกาเดาไหล 3. ใช้ผ้าชบุ นา้ ประคบบริเวณใบหนา้ ขอ้ พับ ขาหนีบ เชด็ ตัว เพอื่ ระบายความรอ้ น 4. ถา้ รู้สกึ ตัวหรอื มอี าการดขี ึ้น ให้จิบนา้ เยน็ รบี นาส่งแพทย์ 1. ให้ผปู้ ่วยนั่งนิง่ ๆ เอนตวั ไปข้างหน้าเลก็ นอ้ ย 2. ใช้มือบีบปลายจมูก ร่วมกับการประคบเย็น 3. ถ้ามีเลือดออกมาก ใหผ้ ู้ป่วยบว้ นเลอื ดหรือน้าลายลงในอ่าง 4. เม่ือเลอื ดหยุดแล้ว ใช้ผ้าสะอาดเชด็ บริเวณจมกู และปาก 5. หา้ มส่งั น้ามูกหรือล้วงแคะ ขย้ีจมูก กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 การวดั สญั ญาณชีพและการประเมินเบอื้ งต้น คาชแ้ี จง ใหผ้ เู้ รียนอธบิ ายวิธกี ารวดั สัญญาณชพี และการประเมินเบ้ืองต้น การวัดสญั ญาณชพี วธิ กี ารวัด การประเมนิ เบื้องต้น 1. การวัดสญั ญาณชพี ใช้น้วิ มือ 3 น้ิว (น้วิ ชี้ น้วิ กลาง นิว้ นาง) คนปกติ การบีบหัวใจ ประมาณ ดา้ นขวา แตะที่ขอ้ มือผู้ปว่ ยและสงั เกต 60 - 100 ครงั้ ต่อนาที การเตน้ ของชีพจร 2. การวดั อัตรา สงั เกตจากการหายใจนาเอาออกซิเจน การขยายตัวของชอ่ งอก การหายใจ เขา้ สรู่ า่ งกาย โดยดจู ากการขยายตวั คนปกติ 12 – 20 ครงั้ ตอ่ นาที ของชอ่ งอก 3. การวดั อุณหภูมิ เป็นการวัดความร้อนของร่างกายโดย คนปกติ อุณหภูมิ 37 องศา ร่างกาย ใชป้ รอท เซลเซยี ส +/- 0.5 องศาเซลเซยี ส 4. การวดั ความดัน ใช้เคร่ืองวัดความดนั วดั ทต่ี น้ แขน คนปกตมิ ีความดันโลหติ โลหิต แล้วบบี ประมาณ 90/60 120/80 มิลลิเมตรปรอท

82 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 12 การเดินทางไกล อยคู่ ่ายพกั แรม และชวี ติ ชาวคา่ ย กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 1 การเดนิ ทางไกล คาช้ีแจง 1.1 ใหผ้ เู้ รียนอธิบายความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ และหลกั การของการเดนิ ทางไกล ดังตอ่ ไปนี้ 1. ความหมายของการเดนิ ทางไกล 2. วัตถุประสงค์ของการเดินทางไกล 3. หลักการของการเดินทางไกล 1. ความหมายของการเดินทางไกล ตอบ การเดินทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือจากกอง หรือกลุ่มลูกเสือ เพื่อไปทากิจกรรมท่ีใดที่หน่ึง โดยมีผู้กากับและนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้กาหนดร่วมกัน เพื่อนาลูกเสือไปฝึกทักษะวิชาการลูกเสือเพ่ิมเติม ให้รู้จักการใช้ชีวิตกลางแจ้งและสัมผัสกับ ธรรมชาติอย่างใกล้ชิด โดยลูกเสือได้ใช้ความสามารถของตนเอง การเดินทางไกล การเดินทาง ด้วยเทา้ เรือ หรือจกั รยาน และรถยนต์ 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการเดินทางไกล ตอบ 1. เพ่อื ฝกึ ความอดทน ความมรี ะเบียบวนิ ัย และเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพอนามยั ใหแ้ กล่ กู เสือ 2. เพ่อื ให้ลูกเสือมีเจตนารมณ์ และเจตคตทิ ด่ี ี รู้จกั ดแู ลตนเอง และร้จู กั ทางานรว่ มกับผู้อนื่ 3. เพ่ือให้มีโอกาสปฏิบัติตามคติพจน์ของลูกเสือและมีโอกาสบริการต่อชุมชนท่ีไปอยู่ คา่ ยพกั แรม 4. เพ่อื เป็นการฝึกและปฏบิ ตั ิตามกฎของลูกเสอื 3. หลักการของการเดินทางไกล ตอบ การเดินทางไกล ใช้ระบบหมู่ เพ่ือฝึกความอดทน ความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย การชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกนั รจู้ กั การระมัดระวังตัวจากอุบัติเหตุขณะเดินทาง และการเตรียมตัว ในการเดินทางให้ได้ใช้ชีวิตกลางแจ้ง โดยมีการบรรจุเคร่ืองหลังสาหรับเดินทางไกล เตรียมอุปกรณ์ เฉพาะบุคคล เตรยี มอปุ กรณ์สาหรับหมู่กอง

83 การบรรจุเครอื่ งหลัง สาหรับการเดนิ ทางไกล คาช้แี จง 1.2 ให้ผ้เู รยี นระบุการเตรยี มอุปกรณ์ส่วนตัว สาหรับการบรรจุเครื่องหลงั ในการเดิน ทางไกล ลงในตารางตอ่ ไปนี้ ประเดน็ อุปกรณ์ทีต่ อ้ งเตรยี ม การเตรียมอุปกรณ์ประจาตัว 1. เคร่อื งแตง่ กาย ไดแ้ ก่ เคร่ืองแบบลูกเสอื และเครอื่ งหมาย สาหรบั การบรรจเุ ครื่องหลัง ประกอบเครอื่ งแบบ คือ หมวก ผา้ ผกู คอ เส้ือ กางเกงหรือ ในการเดินทางไกล กระโปรง เขม็ ขดั ถงุ เท้า รองเท้าหรอื ชุดลาลองหรอื ชุดสภุ าพ ชุดกีฬา ชดุ นอน 2. เครือ่ งใชป้ ระจาตัว ได้แก่ สบู่ แปรงสีฟนั ยาสีฟัน ผา้ เชด็ ตวั ผ้าขาวม้า ผ้าถุง ไฟฉาย ขันน้า รองเท้าแตะ จาน ชาม ช้อน ยากันยุง ยาขัดโลหะ เชือก หรือยาง สาหรับผูกหรือรัด อุปกรณเ์ ลก็ ๆ น้อย ๆ ถุงพลาสติก สาหรับใส่เสื้อผ้าที่ใช้แล้ว หรอื เปียกชน้ื 3. ยาประจาตัว หรอื อปุ กรณป์ ฐมพยาบาล 4. อปุ กรณป์ ระกอบการเรียนรู้ และการจดบนั ทึกกจิ กรรม เช่น สมุด ปากกา ดินสอ แผนที่ - เข็มทศิ 5. อปุ กรณท์ จ่ี าเป็นตามฤดกู าล เช่น เส้อื กันฝน เสือ้ กนั หนาว 6. อุปกรณ์เครอื่ งนอน เชน่ ผ้าหม่ ถุงนอน 7. อุปกรณ์ทปี่ ระจากายลูกเสือ เช่น ไม้งา่ ม กระตกิ น้า เชือกลกู เสือ

84 กิจกรรมท้ายเร่อื งท่ี 2 การอยู่คา่ ยพกั แรม คาช้แี จง ให้ผู้เรยี นอธบิ ายความหมาย วัตถปุ ระสงค์ และหลักการของการอยู่ค่ายพักแรม ขอ้ ประเด็นคาถาม คาอธบิ าย 1. ความหมายของการอย่คู ่ายพักแรม องค์รวมของการเรียนรู้ทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิ โดยมนี วัตกรรมและขบวนการถา่ ยทอด การทดสอบ การเสริมสร้างพัฒนาการให้แกล่ กู เสือ โดยการนาลูกเสอื ออกจากทตี่ ้ังปกตไิ ปพักแรมคนื ในสภาพที่เหมาะสม โดยจัดกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับการเรยี นรู้ 2. วตั ถุประสงค์ของการอยคู่ ่ายพกั แรม 1. เพ่อื ให้ลกู เสือทบทวนส่ิงที่ได้เรียนรู้จากทฤษฎี และ การฝึกปฏบิ ัติ 2. เพอื่ เปน็ การฝกึ ทกั ษะทางลูกเสอื ให้มรี ะเบียบวนิ ัย มีเจตคติ มคี ่านยิ มทดี่ งี าม 3. เพื่อใหล้ ูกเสือปฏบิ ตั ิตามคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื 3. หลักการของการอย่คู ่ายพักแรม 1. ยดึ หลกั การมสี ว่ นร่วม โดยให้ผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสอื และชมุ ชน มีสว่ นร่วม ในการจัดกจิ กรรม 2. ใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ใหล้ ูกเสือมที ักษะในการ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน 3. ใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ฝกึ ให้คิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรค์ ท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ละ สัมพนั ธก์ บั วถิ ีชวี ติ 4. มกี จิ กรรมวิชาการและกจิ กรรมนันทนาการที่ให้ ลูกเสือได้รบั ความรู้ และความสนุกสนาน ทางานร่วมกัน เปน็ กลมุ่ เพือ่ เสรมิ สรา้ ง ความสามัคคี มนุษยสมั พันธ์ ความเปน็ ผู้นา 5. ต้องคานงึ ถึงความปลอดภยั ในดา้ นต่าง ๆ ระหวา่ ง การทากิจกรรม

85 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 3 ชีวติ ชาวคา่ ย คาช้ีแจง 3.1 ให้ผเู้ รยี นอธิบายความหมายของคาวา่ ชวี ติ ชาวคา่ ย ชวี ติ ชาวค่าย หมายถงึ การทีบ่ ุคคลหลาย ๆ คน มาอยู่รวมกนั ทากจิ กรรมต่าง ๆ ด้วยกนั นอน กิน เรียนรู้ ฝกึ ทักษะ เดนิ ทางไกล ผจญภยั โดยพักค้างในคา่ ยด้วยกัน คาช้แี จง 3.2 ใหผ้ ู้เรยี นระบเุ หตผุ ลของการเตรียมอุปกรณ์สว่ นรวมของหมูห่ รือของกองลกู เสอื ในการอยู่คา่ ยพักแรม ทรี่ ะบใุ นตารางตอ่ ไปนี้ พรอ้ มท้งั ให้เหตุผลประกอบ อปุ กรณส์ ว่ นรวมที่ต้องเตรยี ม เหตุผลของการจัดเตรียมอุปกรณ์สว่ นรวม 1. มีดพร้า พลวั่ สนาม จอบ เสียม ไม้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการอยคู่ ่ายพกั แรม กวาดทางมะพร้าว เพื่อใช้เปน็ อุปกรณก์ ารจดั การคา่ ยและฐาน กจิ กรรมบุกเบกิ 2. มดี ทาครวั หม้อ ทพั พี กระทะ เขยี ง เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสาหรับการอยูค่ ่ายพกั แรม จาน ชาม กะละมัง ถังนา้ นา้ ยาล้างจาน ในกิจกรรมการทาครัว ชีวิตชาวคา่ ย 3. เครอ่ื งปรงุ สาหรับการประกอบอาหาร เพอ่ื เตรยี มสาหรับการปรุงอาหาร ในการอยูค่ ่าย น้ามนั น้าปลา น้าตาล ฯลฯ พักแรม 4. เตน็ ท์ เชือก ลวด ยาง ถงุ ดา ตะเกยี ง เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสาหรบั การอยคู่ ่ายพักแรม ไฟฉาย แผนท่ี เขม็ ทศิ และใช้ในกิจกรรมชีวติ ชาวค่าย 5. อุปกรณ์ประกอบจังหวะชดุ การแสดง เพอ่ื ใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมประกอบการแสดง ในการอยู่ค่ายพกั แรม 6. กระเป๋ายา และอุปกรณก์ ารปฐม เพือ่ เตรยี มความพร้อมและสาหรับปอ้ งกนั ในยาม พยาบาลเบ้อื งต้น ฉกุ เฉนิ การอย่คู า่ ยพักแรม และเดินทางไกล

86 คาชแ้ี จง 3.3 ใหผ้ ู้เรียนยกตวั อยา่ งอปุ กรณท์ ่ใี ช้ในชีวิตชาวค่าย ตามประเดน็ ต่อไปน้ี กิจกรรมชวี ิตชาวค่าย ยกตวั อย่างอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นชีวิตชาวค่าย การสรา้ งค่าย 1. มีด ไว้ตดั เฉือน สบั หัน่ ปาด 2. ขวาน ใชต้ ัดไม้ ฟนั ไม้ ผ่าไม้ ตอกไม้ การสรา้ งครัวชาวคา่ ย 3. เลอ่ื ย ใชส้ าหรบั งานทัว่ ไป การสรา้ งเตาประเภทตา่ ง ๆ 4. จอบ ใชส้ าหรบั ขดุ ดิน ทาหลมุ ถากหญา้ 5. เสยี ม ใชข้ ุดดิน ขุดลอก การประกอบอาหารแบบชาวค่าย 6. พลว่ั ใชต้ ักดิน ตักทราย 7. ค้อน ใช้ตอก ทบุ ทาลาย 1. ทที่ าครัว มีเขตทาครัวโดยเฉพาะ มีความเหมาะสม 2. เตาไฟ เลอื กแบบท่เี หมาะกบั พื้นท่ที าครวั 3. กองฟนื กองเป็นระเบียบ อยไู่ ม่หา่ งจากเตาไฟ 4. เครื่องใช้ตา่ ง ๆ หมอ้ กระทะ มีด เขียง พรอ้ มท่ีเก็บ 5. หลุมเปยี ก หลมุ แห้ง 1. เตาสามเส้า นากอ้ นหินสามกอ้ นมาวางบนพื้น จัดระยะห่างให้พอดีกับก้นหม้อเป็นสามมุมให้อากาศ ถ่ายเทสะดวก 2. เตาหลมุ ขุดหลมุ ให้มขี นาดกวา้ งพอเท่ากบั หมอ้ ลึก พอประมาณ แล้วเจาะรู เพื่อใส่ฟืนด้านหน้า แล้วรูระบาย อากาศ ดา้ นขา้ งเพ่อื ใหค้ วันออก 3. เตาลอย ขุดหลมุ สม่ี ุม แล้วนาทอ่ นไมแ้ ข็งแรงส่ีต้น ทาเป็นเสาส่มี มุ นามาวางพาดผกู เปน็ สี่เหล่ียมและวางคาน ให้เต็มพน้ื ที่ ใช้ใบไม้ปูให้ราบ เอาดินปูพื้นให้หนพอสมควร ใชก้ อ้ นหินทาเปน็ เตาสามเสา้ 1. การหุงข้าวดว้ ยหมอ้ หู แบบเชด็ นา้ และไมเ่ ชด็ น้า 2. การตม้ โดยใส่ของลงไปพร้อมน้าแลว้ ต้ม และใสข่ อง หลงั จากต้มนา้ เดือดแล้ว

87 กจิ กรรมชีวิตชาวค่าย ยกตัวอย่างอุปกรณท์ ใี่ ช้ในชวี ติ ชาวคา่ ย การกางเตน็ ท์ และการเก็บเต็นท์ 3. การผดั ใชน้ ้ามนั หรอื กะทิ ใส่ของทจ่ี ะผดั ลงไป ทาให้ สุกและปรุงรส 4. การทอด ใส่น้ามันในภาชนะให้ทว่ มของท่ที อด โดยให้ น้ามันรอ้ นจดั กอ่ น 1. เต็นท์สาเร็จรูป ประกอบเสาเต็นท์แล้วสอดเข้าตัวเตน็ ท์ ตามรูปโค้ง ให้ทะลุถึงกันเป็นสะพานไขว้ เสาเต็นท์จะโผล่ ท่ีมุมท้ัง 4 ด้าน ให้นาขอยึดห่วงท้ัง 4 ด้านตอกกับพื้น เพือ่ ยึดใหแ้ นน่ 2. การเก็บเต็นท์ กอ่ นพบั เก็บเตน็ ท์ ควรผึ่งแดดให้แหง้ และ ถอดขอที่ยึดทั้ง 4 มุม ถอดเสาเต็นท์และพับเก็บตามเดิม พับผา้ เตน็ ท์ โดยไล่ลมออก กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 4 วธิ กี ารจดั การคา่ ยพักแรม คาช้แี จง ให้ผู้เรียนตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ 1. ค่ายพักแรม หมายความว่าอยา่ งไร 2. อธิบายการสุขาภิบาล (การทาหลุมเปียก) ในคา่ ยพักแรมมาพอเขา้ ใจ 1. คา่ ยพกั แรม หมายความว่าอยา่ งไร ตอบ คา่ ยพกั แรม หมายถึง การท่ีกลุ่มบุคคลไปใช้ชีวิตร่วมกันในบริเวณแห่งใดแห่งหน่ึง อาจเปน็ ที่โล่งแจง้ หรือนอกเมือง หรือสถานที่ที่เหมาะสมอ่ืน ๆ ในระยะเวลาหนึ่ง เพ่ือกิจกรรม อยา่ งใดอย่างหน่งึ หรอื พกั ผอ่ นหย่อนใจ ภายใตค้ าแนะนาของผูน้ าค่ายทด่ี รี ับการฝึกมาแล้ว 2. อธิบายการสขุ าภบิ าล (การทาหลมุ เปียก) ในคา่ ยพกั แรมมาพอเข้าใจ ตอบ การทาหลุมเปียกในค่ายพักแรม มีดังน้ี ขุดหลุมขนาดใหญ่ และลึกพอสมควร ทปี่ ากหลุมใช้กงิ่ ไม้ ใบไม้ สานเปน็ แผงปิดไว้ แลว้ หาหญ้าโรยขา้ งบนแผงกิง่ ไม้อกี ชน้ั หลุมเปียกนี้ มไี วส้ าหรบั เทน้าท่ไี มใ่ ช้แลว้ ลงไปในหลุม เช่น น้าปนไขมัน น้าปนเศษอาหาร ซ่ึงเมื่อเทลงไปแล้ว ไขมันและเศษอาหารต่าง ๆ จะติดอยู่ที่หญ้า มีแต่น้าเท่านั้นท่ีไหลลงไปในหลุม ต้องเปลี่ยนแผง กิ่งไม้ ใบไม้ท่ปี ากหลุมทุกวัน และนาแผงทใี่ ชแ้ ล้วไปเผาทุกวันเชน่ กนั

88 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 13 การฝกึ ปฏิบัติการเดนิ ทางไกล อยคู่ า่ ยพักแรม และชวี ติ ชาวค่าย กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 การวางแผนและปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเดนิ ทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวคา่ ย คาชแ้ี จง ใหผ้ ู้เรยี นวางแผนการแสดงในกิจกรรมนันทนาการและชมุ นมุ รอบกองไฟ ในประเดน็ ต่อไปน้ี (ใหผ้ ู้เรียนวางแผนการแสดงในกจิ กรรมนันทนาการและชมุ นมุ รอบกองไฟตามประเดน็ ที่กาหนด) กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 การใชช้ วี ิตชาวค่ายรว่ มกบั ผู้อืน่ ในค่ายพกั แรม คาช้แี จง ใหผ้ ู้เรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมทกุ กจิ กรรมท่ีกาหนด พร้อมทัง้ แสดงความคิดเห็นและ สะทอ้ นความร้สู กึ ของการใช้ชวี ิตชาวคา่ ยร่วมกับผ้อู ่ืนในค่ายพกั แรม ในชั่วโมงสุดทา้ ย ก่อนปิดการฝกึ ปฏิบตั ิ (ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมและแสดงความคิดเห็น และสะท้อนความรู้สึกของการใช้ชีวิตชาวค่าย ร่วมกับผู้อ่ืนในค่ายพักแรม กอ่ นปิดการฝึกปฏิบัติ)

89 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1. ง 11. ก 21. ก 2. ค 12. ก 22. ค 3. ง 13. ก 23. ข 4. ค 14. ข 24. ง 5. ก 15. ก 25. ก 6. ง 16. ง 26. ค 7. ก 17. ก 27. ก 8. ก 18. ง 28. ข 9. ค 19. ง 29. ง 10. ง 20. ข 30. ง

90 รายชอ่ื ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารจดั ทาต้นฉบบั ชดุ วชิ า รายวชิ าเลือกบังคับ และสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวชิ าลูกเสอื กศน. ทั้ง 3 ระดบั การศึกษา ระหว่างวันท่ี 5 – 9 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จงั หวัดนนทบุรี 1. นายกฤตชยั อรุณรตั น์ เลขาธกิ าร กศน. 2. นางสาววิเลขา ลสี ุวรรณ์ รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นางสุรีวัลย์ ล้มิ พพิ ฒั นกุล ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นมาตรฐานการศึกษา 4. นางรุ่งอรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 5. นางสาววราภรณ์ ศริ วิ รรณ ขา้ ราชการบานาญ 6. นางสาวเนาวเรศ นอ้ ยพานิชย์ ขา้ ราชการบานาญ 7. นายไพฑรู ย์ ลิศนันท์ ขา้ ราชการบานาญ 8. นายเจรญิ ศักด์ิ ดแี สน ผอู้ านวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาลาปาง 9. นายอนนั ต์ คงชมุ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน. จงั หวดั สุโขทัย 10. นายวรวฒุ ิ หุนมาตรา ผู้อานวยการ กศน.เขตคลองสาน กทม. 11. นางสาววิมลรตั น์ ภรู ิคปุ ต์ ผู้อานวยการ กศน.เขตบางเขน กทม. 12. นางอบุ ลรัตน์ ชุนหพันธ์ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื ง จงั หวัดจันทบุรี 13. นายไพโรจน์ กันทพงศ์ ผูอ้ านวยการโรงเรียนลามหาเมฆ (ประชาราตรอี นุสรณ)์ จงั หวัดปทุมธานี 14. ว่าท่ีร้อยตรี สเุ มธ สุจริยวงศ์ รองผอู้ านวยการโรงเรยี นงามมานะ (แผน – ทบั อุทศิ ) 15. นายบวรวทิ ย์ เลศิ ไกร รองผ้อู านวยการโรงเรียนศุภกรณ์วิทยา 16. นายบนั เทิง จันทร์นิเวศน์ โรงเรยี นบางมดวิทยา“สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” 17. นางสาวสโรชา บุรศี รี เลขานกุ ารฯ สานักงาน ก.ค.ศ. 18. นายกฤตพฒั น์ นชิ ัยวรุตมะ สานกั การลกู เสอื ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียน 19. นางกนกวรรณ นิม่ เจรญิ สานกั การลูกเสอื ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น 20. นายเอกสทิ ธ์ิ สวัสดิว์ งค์ สานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ 21. นายเอกชัย ลาเหลอื สานกั งานลูกเสอื แห่งชาติ 22. นายศรัณยพงศ์ ขัตยิ ะนนท์ กศน.อาเภอเมอื ง จังหวัดจันทบรุ ี

23. นายขวญั ชัย เนียมหอม 91 24. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ 25. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาไพศรี กศน.อาเภอบา้ นนา จงั หวัดนครนายก 26. นางเยาวรตั น์ ป่ินมณีวงศ์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 27. นางสาวฐิติมา วงศ์บัณฑวรรณ ตามอัธยาศัย 28. นางกมลทิพย์ ช่วยแก้ว กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 29. นางสาวสุจริยา พุม่ ไสล ตามอัธยาศัย 30. นายจตุรงค์ ทองดารา กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 31. นางสกุ ญั ญา กุลเลิศพิทยา ตามอัธยาศัย 32. นายชัยวิชติ สารญั กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย

92 รายช่ือผู้เข้าร่วมประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธิการต้นฉบบั ชดุ วิชา รายวชิ าเลอื กบังคับ และสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวิชาลกู เสอื กศน. ท้ัง 3 ระดับการศกึ ษา ครั้งที่ 1 วันที่ 12 – 16 มนี าคม 2561 ณ หัองประชมุ อารยี ์ กุลตณั ฑ์ อาคาร กศน.ชนั้ 6 นางร่งุ อรุณ ไสยโสภณ ผูอ้ านวยการกลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางสาววราภรณ์ ศิรวิ รรณ ข้าราชการบานาญ นางสาวเนาวเรศ นอ้ ยพานิช ข้าราชการบานาญ นายเจรญิ ศักดิ์ ดีแสน ผ้อู านวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาลาปาง นายบนั เทงิ จันทรน์ ิเวศน์ โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดอปุ ถมั ภ์” นายขวัญชยั เนยี มหอม กศน.อาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก นายชัยวชิ ิต สารัญ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook