Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

187

Published by วีรสิทธิ์ หารัญดา, 2019-05-12 03:37:48

Description: 187

Search

Read the Text Version

ความแตกตา่ งระหวา่ งชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ ม นักกีฬาที่มีช่ัวโมงการฝึกซ้อมน้อยกว่า เช่น กฬี าพบวา่ การฝกึ ซอ้ มกฬี า 2 – 12 ชว่ั โมง เดยี วกบั การศกึ ษาของ Belem (2014) พบวา่ ต่อสัปดาห์ มีคะแนนทักษะการจัดการ นักกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด มีจ�ำนวน ความเครยี ดทางการกฬี าในดา้ นความเชอื่ มน่ั ชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ มเฉลยี่ 2 – 4 ชวั่ โมงตอ่ วนั และแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ ดา้ นการตงั้ เปา้ หมาย และจำ� นวนชัว่ โมงการฝกึ ซ้อมเฉลย่ี 9 - 26 และเตรียมความพร้อม ด้านจิตใจ และ ช่ัวโมงต่อสัปดาห์สามารถจัดการกับปัญหา ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ ของตนเองในดา้ นการตง้ั เปา้ หมาย การสรา้ ง ความกดดนั นอ้ ยกวา่ การฝกึ ซอ้ มกฬี า 13 – 24 แรงจูงใจ และการมีสมาธิในระหว่างการ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และ 25 – 52 ชั่วโมง แข่งขันได้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ ตอ่ สปั ดาห์ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ทั้งน้ีชั่วโมงการฝกึ ซอ้ มตอ่ สปั ดาหท์ มี่ าก .05 สอดคล้องกับ John (2011) และ พอจะชว่ ยสรา้ งความมนั่ ใจในรปู แบบการเลน่ Polatidou et al. (2013) ท่ีพบว่านักกีฬา ลดความวติ กกงั วล รวมถงึ ชว่ ยสรา้ งเปา้ หมาย ที่มีช่ัวโมงการฝึกซ้อมมากกว่าจะมีทักษะ ในการฝึกซ้อมให้มีความชัดเจนมากยิ่งข้ึน การจัดการความเครียดทางการกีฬาสูงกว่า คะแนนทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬา ในด้านความเชื่อมั่น และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านการตั้งเป้าหมาย และเตรียมความพร้อม ด้านจิตใจ และด้านการแสดง ความสามารถสูงสุด ภายใต้ความกดดัน <การฝึกซ้อมกีฬา 2 – 12 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ การฝึกซ้อมกีฬา 13 – 24 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ การฝึกซ้อมกีฬา 25 – 52 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ 100

ตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ มีความสัมพันธ์กับทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬา นอกจากผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนแล้ว ในการศึกษาคร้ังน้ีท�ำการวิเคราะห์ ถดถอยพหคุ ณู ของตวั แปรเพศ ชนดิ กฬี า และชวั่ โมงการฝกึ ซอ้ มตอ่ สปั ดาหท์ มี่ คี วามสมั พนั ธ์ กับทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา จะพบว่าเพศชายมีทักษะในการจัดการ ความเครียดทางการกีฬาด้านสมาธิ ด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ด้านการ ตงั้ เปา้ หมายและการเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ ดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใต้ ความกดดัน และรวมทุกด้านสูงกว่าเพศหญิง นอกจากน้ียังพบว่าช่ัวโมงการฝึกซ้อม ต่อสัปดาห์มากจะส่งผลต่อทักษะการจัดการความเครียดด้านการตั้งเป้าหมายและการ เตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจสงู ขน้ึ จากขอ้ มลู ดงั กลา่ วเป็นส่งิ ท่ีผฝู้ กึ สอนตอ้ งใหค้ วามส�ำคญั กับนักกีฬาในความต่างด้านเพศ รวมถึงการจัดช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ให้เพียงพอ เพราะจะมผี ลตอ่ การพฒั นาทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ซงึ่ เปน็ องคป์ ระกอบหนง่ึ ที่จะท�ำให้นักกีฬาประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายท่ีวางไว้ได้ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 101

เอกสารอ้างอิง 102

ฉัตรกมล สิงห์น้อย. 2554. ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยท่ีส่งผลต่อการหมดไฟ ในนักกีฬาเยาวชนภาคตะวันออก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา, 11(2), 288-305. ประคอง กรรณสูต. (2542). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ด่านสุธาการพิมพ์. ศิลปชัย สุวรรณธาดา. (2533). การเรียนรู้ทักษะการเคล่ือนไหว: ทฤษฎีและปฏิบัติการ. ภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. (อัดส�ำเนา) สุเทพ เมยไธสง, ยาใจ พงษ์บริบูรณ์, สําเร็จ ยุรชัย และอนันท์ ศรีอําไพ. (2554). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุเพ่ือการบริหารความเป็นเลิศทางการกีฬาของนักเรียน โรงเรียนกีฬา. The 12th Khon kaen University 2011 Graduate research conference. สุพัชรินทร์ ปานอุทัย. 2557. รายงานการวจิ ยั เรอ่ื งการพฒั นาและตรวจสอบความตรงเชงิ โครงสรา้ งของแบบสอบถามทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ฉบบั ภาษาไทย. สหมิตรการพิมพ์. กทม. Anshel M.H., Sutarsot. & Jubenville, C. (2009). Racial and gender differences on sources of acute stress and coping style among competitive athletes. The Journal of Social Psychology, 149(2), 159–177. Belem I.C., Caruzzo N.M., Junior J.R.A.N., Vieira J.L.L., & Vieira L.F. (2014). Impact of coping strategies on resilience of elite beach volleyball athletes. Revista Brasileira de Cineantropometria e Desempenho Humano, 16(4), 447-455. Bocarro, J., Kanters, MA., Casper, J., & Forrester, S. (2008). School physical education, extracurricular sports, and lifelong active living. Journal of Teaching in Physical Education, 27, 155-166. Caruso, C. M., Gill, D.L., Dzewaltowski D.A. & McElroy, M.A. (1990). Psychological and physiological change in competitive success and failure. Journal of Sport and Exercise Psychology, 12, 6-20. คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 103

Challis, D.G. (2013). Talent identification in judo. Unpublished data. Anglia Ruskin University Judo Research Group on behalf of the International Judo Federation. Cox. R.H. (2012). Sport psychology: Concepts and applications. 7th edition. McGrew-Hill. USA. Dachen J. (2012). Test of performance strategies among college going athletes: Difference across type of sports and gender. International Journal of Behavioral: Social Movement Sciences, 1(4), 139-147. Dias C., Cruz J.F, & Fonseca A.M. (2010). Coping strategies, multidimensional competitive anxiety and cognitive appraisal: Differences across sex, age, and type of sport. Serbian Journal of Sports Sciences, 4(1), 23-31. Du Plessis E.S. (2014). Sport psychological skills profile of 14-year old and 15-year old sport participants in Tlokwe Municipality : the PAHL-Study. Master of art in sport science. North-West University. Estanol E., Shepherd C., & MacDonald T. (2013). Mental skills as protective attributes against eating disorder risk in dancers. Journal of Applied Sport Psychology, 25(2), 209-222. Fauzee O., Don Y., Susterna N., Saputra Y.M., Hanif S., Abdullah N.M, Shahril M.I. (2014). Examine the Indonesia and Malaysia student athletes coping strategies in sports. European Scientific Journal, (2), 331–337. Gabor, G. (2009). Success and talent development as indicated by motor tests and psychometric variables of U18 ice hockey players. Doctoral dissertation. Sport Science doctoral School. Budapest. Gaspar P., Ferreira J.P., & Miranda N. (no years). Mental skills and trait anxiety in Portuguese roller hockey players: an exploratory study with first division athletes. Faculty of Sports Science and Physical Education, University of Coimbra. 104

Garifallia D. (2011). Coping Skills and Self-efficacy as Predictors of Gymnastic Performance. The Sport Journal, 14. Geczi, G, Toth, L, Sipos, K, Fugedi, B, Dances, H, & Bognar, J. (2009). Psychological profile of Hungarian national young ice hockey players. Kinesiology, 41(1), 88–96. Gould D. & Dieffenbach K. (2002). Psychological characteristics and their development in Olympic champions. Journal of Applied Sport Psychology. 14, 172–204. Johnson U. & Ivarsson A. (2011). Psychological predictors of sport injuries among junior soccer players. Scandinavian Journal of Medicine and Science in Sports, 21(1), 129–136. Johns, J. 2011. Mental toughness and coping skills in competitive runners and triathletes. Research Summary Article. Mar 22, 2011. http:// www.coolrunning.com.au/forums/index.php?app=ccs&module=pages& section=pages&id=2&record=14 Kajbafnezhad H., Ahadi H, Heidarie A.R., Askari P, Enayati M. (2011). Difference between team and individual sports with respect to psychological skills, overall emotional intelligence and athletic success motivation in Shiraz city athletes. Journal of Basic and Applied Scientific Research, 1(11), 1904-1909. Katsikas, C., Agreotaki, P., & Amirniotou, A. (2009). Performance strategies of Greek track and field athletes: Gender and level difference. Biology of Exercise, 5(1), 29-38. Kentta, G., Hassmen, P., & Raglin, J.S. (2001). Training practices and overtraining syndrome in Swedish age group athletes. International Journal of Sport Medicine, 22, 1-6. คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 105

Khodayaria B., Saiiari A., Dehghani Y. (2011). Comparison relation between mental skills with sport anxiety in sprint and endurance runners. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 30, 2280–2284. Kimbrough, S, DeBolt, L & Balkin, R.S. (2008). Use of the Athletic Coping Skills Inventory for Prediction of Performance in Collegiate Baseball. The Sport Journal, March 14. Kruger A., Pienaar A.E., Plessis E.D., & Rensburg L.J.V. (2012). The important of psychological characteristics in potentially talented adolescent long distant runner. African Journal for Physical Health Education, Recreation and Dance, 18(2), 413–422. Milavic B., Grgantov Z., & Milic M. (2013). Relationship between coping skills and situational efficacy in young female volleyball players. Physical Education and Sport, 11(2), 165–175. Oiness K. (2012). Factors related to susceptibility to sport – related injury. Department of psychology. Doctor of Philosophy. Colorado State University. Omar-Fauzee M.S. See L.H., Geok K., & Abd.Latif R. (2008). The relationship between the task and ego orientations and coping strategies among universities athletes. Journal of Research, 3 (2), 107–111. Polatidou G., Sofia B., & Panagiotis A. (2013). Psychological Skills Evaluation of Greek Swimmers with Physical Disabilities. Indian Journal of Applied research, 3(12), 483-487. Sharma R. & Kumar A. (2011). Psychological characteristics of male university athletes. Journal of Physical Education and Sport, 11(1), 5-17. Shin J.T., Park S.R., & Kim H.D. (2012).The Psychological intervention program for the disabled shooting athletes in Korea. International Journal of Business and Social Science, 3(18), 8–15. 106

Smith, R. E., Schutz, R. W., Smoll, F. L., & Ptacek, J. T. (1995). Development and validation of a multidimensional measure of sport-specific psychological skills: The Athletic Coping Skills Inventory-28. Journal of Sport and Exercise Psychology, 17, 379-398. Tuna M.A. (2003). Cross – cultural difference in coping strategies as predictors of University adjustment of Turkish and U.S. Student. Doctoral of Philosophy in Department of education science. Middle technical University. Yadav S. K., Shukla U.N., & Yadav A. (2012). Assessment of specific psychological skills of basketball players of different levels of achievement. International Journal of Physical Education, Sports and Yogic Sciences, 2(1), 38–40. Waples, S.B. (2003). Psychological characteristics of elite and non – elite level of gymnasts. Dissertation of physical education. Texas A & M University. Weinberg, R.S. & Gould, D. (2007). Foundations of sport and exercise psychology. 4th edition. Human Kinetics book, Illinois. Weiner, B. (1985). An attribution theory of achievement motivation and emotion. Psychological review, 92, 548–573. Williams, A.M. & Reilly, T. (2000). Talent identification and development in soccer. Journal of Sports Sciences, 18, 657-667. คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 107

ภาคผนวก 108

ภาคผนวก ก แบบสอบถามทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬา คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 109

ชื่อแบบสอบถาม แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา (Athletic Coping Skills Inventory Questionnaire) ชื่อผู้สร้างแบบสอบถาม Smith, Schutz, Smoll and Ptacek (1995) ช่ือผู้พัฒนาเป็นภาษาไทย สุพัชรินทร์ ปานอุทัย (2557) วัตถุประสงค์ ประเมินทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ลักษณะเครื่องมือ มาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับคะแนน ระดับคะแนน 0 หมายถึง เกือบไม่เคย ถึงระดับ คะแนน 3 หมายถึง เกือบทุกคร้ัง มีจ�ำนวน 28 ข้อ แบ่งออกเป็น 7 ด้านๆ ละ 4 ข้อ ดังนี้ • ด้านการจัดการกับปัญหา ข้อ 5, 17, 21, 24 • ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ ข้อ 3, 10, 15, 27 • ด้านสมาธิ ข้อ 4, 11, 16, 25 • ด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ข้อ 2, 9, 14, 26 • ด้านการตง้ั เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ ขอ้ 1, 8, 13, 20 • ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน ข้อ 6, 18, 22, 28 • ด้านอิสระจากความกังวล ข้อ 7, 12, 19, 23 ตัวแปรที่วัด • การจัดการกับปัญหา แสดงถึงการเรียนรู้ของบุคคลที่จะเอาชนะ อุปสรรคปัญหาหรือความยุ่งยากต่างๆ ด้วยความกระตือรือร้น เมื่อต้องเผชิญความเครียดสามารถควบคุมตนเองให้สงบและกลับสู่ สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว ถ้าได้คะแนนต่�ำเสนอแนะให้ฝึกเพ่ิม ความเชื่อม่ันในตนเองและการควบคุมส่ิงกระตุ้น เช่น การควบคุม การหายใจ การผ่อนคลาย และการท�ำพรีช๊อตรูทีน • ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ แสดงถึงการเปิดใจยอมรับค�ำแนะน�ำหรือ ค�ำวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ จากผู้ฝึกสอนหรือผู้เกี่ยวข้องอ่ืนๆ โดย ปราศจากความหงุดหงิดหรือคับข้องใจ ถ้าได้คะแนนต�่ำเสนอแนะให้ ฝึกเพ่ิมความเช่ือม่ันในตนเองและสร้างจินตภาพ • ด้านสมาธิ แสดงถึงการจดจ่อในส่ิงที่ท�ำ แม้ต้องอยู่ในสถานการณ์ ที่ไม่คาดหวังหรือสถานการณ์ท่ีมีความยุ่งยาก ถ้าได้คะแนนต�่ำเสนอแนะ ให้ฝึกสมาธิภายใต้สถานการณ์ที่ถูกกระตุ้นจากส่ิงเร้า 110

ตัวแปรที่วัด • ด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แสดงถึงความเชื่อมั่น ในตนเองที่จะท�ำส่ิงใดและการมีแรงจูงที่จะไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ ค่าความเท่ียงตรง ถ้าได้คะแนนต่�ำเสนอแนะให้เพ่ิมความเช่ือมั่นในตนเองด้วยการต้ังเป้าหมาย การคิดคะแนน • ด้านการต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ แสดงถึงการ มีเป้าหมายในการแสดงความสามารถอย่างเฉพาะเจาะจง และการเตรียม จิตใจให้พร้อมส�ำหรับสถานการณ์แข่งขัน ถ้าได้คะแนนต่�ำเสนอแนะให้ ตั้งเป้าหมาย สร้างจินตภาพ และการท�ำพรีชีอตรูทีน • ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความความกดดัน แสดงถึงการเรียนรู้ว่าแม้ต้องอยู่ในสถานการณ์ท่ีมีความกดดันแต่เป็น ความท้าทายมากกว่าความรู้สึกว่าถูกคุกคาม ถ้าได้คะแนนต�่ำเสนอแนะให้ เพ่ิมความเช่ือมั่นในตนเองด้วยการจินตภาพภายใต้สถานการณ์กดดัน • ด้านอิสระจากความกังวล แสดงถึงการไม่กังวลอย่างมากมายเกินไป กบั ความผดิ พลาดทเ่ี กดิ ขน้ึ ถา้ ไดค้ ะแนนตำ�่ เสนอแนะใหฝ้ กึ ควบคมุ การหายใจ การจินตภาพ และฝึกสมาธิภายใต้สถานการณ์ท่ีถูกกระตุ้นจากสิ่งเรา้ 0.75 น�ำคะแนนของแต่ละข้อในแต่ละด้านบวกกัน แล้วน�ำผลท่ีได้มาหารด้วย จ�ำนวนข้อท้ังหมดในแต่ละด้าน โดยให้คะแนนดังน้ี ข้อ 1, 2, 4, 5, 6, 8, 9, 11, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 20, 21, 22, 24, 25, 26, 27, 28 เกือบไม่เคย เท่ากับ 0 คะแนน บางคร้ัง เท่ากับ 1 คะแนน บ่อย เท่ากับ 2 คะแนน เกือบทุกครั้ง เท่ากับ 3 คะแนน ข้อ 3, 7, 10, 12, 19, 23 ให้คะแนนดังน้ี เกือบไม่เคย เท่ากับ 3 คะแนน บางคร้ัง เท่ากับ 2 คะแนน บ่อย เท่ากับ 1 คะแนน เกือบทุกคร้ัง เท่ากับ 0 คะแนน คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 111

เพื่อความสะดวกในการคิดคะแนน สามารถกรอกคะแนนตามแบบฟอร์มดังนี้ ด้านการจัดการกับปัญหา : 5 + 17 + 21 + 24 = ผลรวม ข้อที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ : 3* + 10* + 15 + 27 = ผลรวม ข้อที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ด้านสมาธิ : 4 + 11 + 16 + 25 = ผลรวม ข้อที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ดา้ นความเชอ่ื มน่ั และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ : 2+ 9 + 14 + 26 = ผลรวม ข้อที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 112

ดา้ นการตงั้ เปา้ หมาย 1 + 8 + 13 + 20 = ผลรวม และเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ ข้อที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ดา้ นการแสดงความสามารถ 6 + 18 + 22 + 28 = ผลรวม สงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั 5 6 7 8 9 10 11 12 ข้อที่ 0 1 2 3 4 ด้านอิสระจากความกังวล : 7* + 12* + 19* + 23* = ผลรวม ข้อที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ตัวอย่างการคิดคะแนน 3 + 1 + 1 + 0 = 5 15 27 ผลรวม ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 3* 10* ข้อที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 113

ภาคผนวก ข แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัย เร่ืองคุณลักษณะทางจิตใจของ นักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬา 114

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ค�ำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย √ หน้าข้อความท่ีตรงกับลักษณะปัจจุบันของท่านหรือ เติมข้อความในช่องว่างตามความเป็นจริง 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ................ปี 3. ชนิดกีฬา โปรดระบุ............................................................................... 4. จังหวัดที่สังกัด โปรดระบุ.............................................................................. 5. ท่านใช้ระยะเวลาในการฝึกซ้อมอย่างเป็นระบบเพ่ือเข้าร่วมการแข่งขันครั้งน้ี <1 เดอื น 1 เดอื น 2 เดอื น 3 เดอื น >3 เดอื น โปรดระบ.ุ ......เดอื น 6. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ท่านใช้ระยะเวลาเฉล่ียในการฝึกซ้อมกีฬาก่ีชั่วโมง / วัน 1 ชั่วโมง 2 ช่ัวโมง 3 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง 5 ช่ัวโมง 6 ช่ัวโมง 7 ชั่วโมง 8 ช่ัวโมง >8 ช่ัวโมง โปรดระบ.ุ .......ชวั่ โมง 7. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ท่านใช้ระยะเวลาเฉลี่ยในการฝึกซ้อมกีฬาก่ีวัน / สัปดาห์ 1 วัน 2 วัน 3 วัน 4 วัน 5 วัน 6 วัน 7 วัน 8. ท่านมีประสบการณ์ในการแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ คร้ังแรก 1 ครั้ง 2 ครั้ง 3 ครั้ง >3 คร้ัง โปรดระบ.ุ .......ครง้ั 9. ท่านมีประสบการณ์ในการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ ไม่มี 1 ครั้ง 2 ครั้ง 3 ครั้ง >3 ครั้ง โปรดระบ.ุ .......ครงั้ 10. ท่านมีประสบการณ์ในการฝึกจิตใจ ไม่มี มี โปรดระบุผู้ท�ำหน้าท่ีฝึกจิตใจให้กับท่าน คือ ผู้ฝึกสอน นักจิตวิทยาการกีฬา อนื่ ๆ คอื ............................ ตัวอย่างการฝึกจิตใจเช่น โปรดระบุ.............................................................. คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 115

ตอนที่ 2 แบบประเมินตนเอง ค�ำช้ีแจง ประโยคต่อไปนี้เป็นประโยคที่นักกีฬาใช้ในการอธิบายประสบการณ์ที่เกิดขึ้น โปรดอ่านแต่ละข้อความอย่างตั้งใจ ไม่มีค�ำตอบที่ถูกหรือผิด อย่าใช้เวลามากเกินไป กับข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยใส่เครื่องหมาย √ ตามความรู้สึกท่ีท่านมีประสบการณ์ เมื่อเล่นกีฬา ข้อ คำ�ถาม เกือบ บาง บ่อย เกือบ ไม่เคย ครั้ง ทุกครั้ง 1 ในชีวิตประจ�ำวันหรือรายสัปดาห์ ฉันต้ังเป้าหมาย ท่ีเฉพาะเจาะจงมากส�ำหรับตัวเอง เพื่อเป็น แนวทางในส่ิงท่ีฉันท�ำ 2 ฉันได้รับประโยชน์สูงสุดจากความสามารถพิเศษ และทักษะของฉัน 3 เม่ือโค้ชหรือผู้จัดการบอกฉันถึงวิธีการแก้ไข ข้อผิดพลาดที่ฉันเคยท�ำ ฉันมีแนวโน้มที่จะรับมัน และรู้สึกอารมณ์เสีย 4 เมื่อฉันเล่นกีฬาฉันสามารถมุ่งเน้นความสนใจ ของฉันและป้องกันการรบกวน 5 ฉันยังคงคิดเชิงบวกและมีความกระตือรือร้น ในระหว่างการแข่งขันไม่ว่าสิ่งไม่ดีก�ำลังจะเกิดขึ้น 6 ฉันมักจะเล่นได้ดีข้ึนภายใต้ความกดดันเพราะ ฉันคิดชัดเจนมากข้ึน 7 ฉันกังวลเล็กน้อยเก่ียวกับส่ิงท่ีคนอื่นจะคิด เกี่ยวกับการแสดงความสามารถของฉัน 8 ฉันมักจะท�ำการวางแผนเยอะมากเกี่ยวกับวิธีการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของฉัน 116

ข้อ คำ�ถาม เกือบ บาง บ่อย เกือบ ไม่เคย ครั้ง ทุกครั้ง 9 ฉันรู้สึกม่ันใจว่าฉันจะเล่นได้ดี 10 เม่ือโค้ชหรือผู้จัดการวิจารณ์ฉัน ฉันจะรู้สึก อารมณ์เสียมากกว่ารู้สึกว่าช่วยให้ดีขึ้น 11 มันเป็นเร่ืองง่ายส�ำหรับฉันท่ีจะเก็บความคิด วอกแวกจากการถูกรบกวนจากบางส่ิงที่ฉันเห็น หรือได้ยิน 12 ฉันเก็บความกดดันจ�ำนวนมากไว้ในตัวเอง โดยยังกังวลว่าฉันจะแสดงออกมาอย่างไร 13 ฉันตั้งเป้าหมายการแสดงความสามารถของฉัน ในแต่ละการฝึกซ้อม 14 ฉันไม่ถูกกดดันในการฝึกปฏิบัติหรือเล่นหนัก ฉันท�ำ (ให้) 100% 15 ถ้าโค้ชวิจารณ์หรือตะโกนใส่ฉัน ฉันแก้ไข ข้อผิดพลาดโดยปราศจากการเสียอารมณ์ 16 ฉันจัดการกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด ในการเล่นกีฬาของฉันได้เป็นอย่างดี 17 เม่ือสิ่งไม่ดีเกิดขึ้นฉันบอกกับตัวเองให้สงบ และส่ิงท่ีเกิดขึ้นเป็นสิ่งดีส�ำหรับฉัน 18 ความกดดันท่ีมากขึ้นในระหว่างเกมมันท�ำให้ฉัน สนุกกับมันมากข้ึน 19 ขณะแข่งขันฉันกังวลเก่ียวกับการท�ำผิดพลาด หรือไม่สามารถท�ำผ่านได้ 20 ฉันมีแผนการเล่นของเกมไว้ในสมองของฉัน นานแล้วก่อนท่ีเกมจะเริ่ม คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 117

ข้อ คำ�ถาม เกือบ บาง บ่อย เกือบ ไม่เคย ครั้ง ทุกครั้ง 21 เม่ือฉันรู้สึกว่าตัวเองเครียดมากเกินไป ฉันสามารถผ่อนคลายร่างกายของฉัน ได้อย่างรวดเร็วและสงบสติอารมณ์ตัวเองได้ 22 ส�ำหรับฉันสถานการณ์กดดันเป็นความท้าทาย ที่ฉันพร้อมรับมือเสมอ 23 ฉันคิดและจินตนาการว่าจะเกิดข้ึนอะไรขึ้น ถ้าฉันล้มเหลวหรือผิดพลาด 24 ฉันสามารถควบคุมอารมณ์ได้ถึงแม้ว่า จะมีส่ิงใดเกิดข้ึนกับฉัน 25 มันเป็นเร่ืองง่ายส�ำหรับฉันที่จะมุ่งความสนใจ และจดจ่อกับสิ่งใดหรือบุคคลใด 26 เม่ือฉันล้มเหลวในการจะไปถึงเป้าหมายของฉัน มันท�ำให้ฉันมีความพยายามแม้ว่ามันยากก็ตาม 27 ฉันปรับปรุงทักษะของฉันด้วยการฟังค�ำแนะน�ำ และการสอนจากโค้ชและผู้จัดการอย่างตั้งใจ 28 ในสถานการณ์กดดันฉันท�ำผิดพลาดน้อยลง เพราะฉันมีสมาธิดีขึ้น 118

คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 119

คณะผู้วิจัย เรื่อง คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา Psychological characteristics of Thai youth athletes: The coping skills ที่ปรึกษาและคณะผู้วิจัย อธิบดีกรมพลศึกษา รองอธิบดีกรมพลศึกษา นายนเร เหล่าวิชยา ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ดร.ปัญญา หาญล�ำยวง รกั ษาราชการแทนผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า นายวินิตย์ จันทร์มนตรี คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มวิจัยและพัฒนา ผศ.ดร.สุพัชริน เขมรัตน์ ดร.อมรทัตต์ อัคคะพู 120


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook