Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

187

Published by วีรสิทธิ์ หารัญดา, 2019-05-12 03:37:48

Description: 187

Search

Read the Text Version

วิธีดำ�เนินการวิจัย 50

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงส�ำรวจเพ่ือหาความแตกต่างของทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬาจ�ำแนกตามเพศ ชนิดกีฬา และจ�ำนวนชั่วโมงการฝึกซ้อมกีฬา ของนกั กฬี าเยาวชนไทย และหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า เพศ ชนิดกีฬาและจ�ำนวนช่ัวโมงการฝึกซ้อมกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย ตัวอย่าง ตัวอย่าง คือ นักกีฬาเยาวชนไทยท่ีเข้าร่วมการแข่งขันกีฬานักเรียน นักศึกษาแห่งชาติ คร้ังที่ 37 ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 จ�ำนวน 355 คน ได้มาโดย วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสมัครใจ (volunteer sampling) ส�ำหรับการก�ำหนดขนาด ตัวอย่างใช้สูตรที่ทราบจ�ำนวนประชากรแน่นอน (บุญชม, 2535) ดังน้ี n = P(1-P) e2 P(1-P) z2 + N เม่ือ n = จ�ำนวนตัวอย่าง (คน) N = จ�ำนวนประชากร (คน) P = สัดส่วนของประชากรที่ผู้วิจัยก�ำหนดสุ่ม e = สัดส่วนของความคลาดเคล่ือนท่ียอมให้เกิดข้ึน คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 51

กำ� หนดขนาดตวั อยา่ งใหม้ คี วามคลาดเคลอ่ื นเทา่ กบั .05 สดั สว่ นของประชากร เท่ากับ .4 ความเชื่อมั่นเท่ากับ 95% และจ�ำนวนประชากรเท่ากับ 7,716 คน น�ำไปแทนค่าในสูตร n = (.4) (1-.4) = 351.87 คน .052 (.4) (1-.4) 1.962 + 7,716 การพิทักษ์สิทธ์ิของตัวอย่าง การศึกษาวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยได้พิทักษ์สิทธ์ิของ ตัวอย่าง โดยมีการช้ีแจงสิทธิการเข้าร่วมวิจัยหรือปฏิเสธในการเข้าร่วมวิจัย ซ่ึงการปฏิเสธเข้าร่วมการวิจัยจะไม่มีผลกระทบใดๆ สามารถยกเลิกได้โดยไม่ต้อง แจง้ เหตผุ ล และขอ้ มลู ตา่ งๆ จะถกู เกบ็ เปน็ ความลบั และจะถกู ทำ� ลายภายหลงั เสรจ็ สนิ้ กระบวนการวิจัย และจะน�ำเสนอข้อมูลการวิจัยในภาพรวมเท่าน้ัน 52

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามขอ้ มลู ทว่ั ไป คอื เพศ อายุ ชนดิ กฬี า จ�ำนวนชั่วโมงการฝึกซ้อมกีฬา จังหวัดท่ีสังกัด ประสบการณใ์ นการเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั กฬี านกั เรยี น นักศึกษาแห่งชาติ ประสบการณ์ในการเข้าร่วม การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ และประสบการณ์ ในการฝึกจิตใจ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬา (The Athletics Coping Skills Inventory: ACSI) ของ Smith, Schutz, Smoll and Ptacek (1995) (ภาคผนวก ก) พัฒนาเป็น ฉบบั ภาษาไทย โดย สพุ ชั รนิ (2557) มลี กั ษณะเปน็ แบบประเมินค่า 4 ระดับ แสดงความหมายต้ังแต่ เกือบไม่เคยถึงเกือบทุกครั้ง จ�ำนวน 28 ข้อค�ำถาม แบ่งเป็น 7 ด้านๆ ละ 4 ข้อค�ำถาม คือ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 53

ด้านการจัดการกับปัญหา (Coping with adversity) ข้อ 5, 17, 21, 24 แสดงถึงการเรียนรู้ ของบคุ คลทจ่ี ะเอาชนะอปุ สรรคปญั หาหรอื ความยงุ่ ยาก ตา่ งๆ ดว้ ยความกระตอื รอื รน้ เมอื่ ตอ้ งเผชญิ ความเครยี ด สามารถควบคุมตนเองให้สงบและกลับสู่สภาวะปกติ ได้อย่างรวดเร็ว ถ้าได้คะแนนต่�ำ เสนอแนะให้ฝึกเพิ่ม ความเชื่อมั่นในตนเองและการควบคุมส่ิงกระตุ้น เช่น การควบคุมการหายใจ การผ่อนคลาย และการท�ำ พรีช๊อตรูทีน (Pre-shot routine) ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ (Coachability) ข้อ 3, 10, 15, 27 แสดงถงึ การเปดิ ใจยอมรบั คำ� แนะนำ� หรือค�ำวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ จาก ผู้ฝึกสอนหรือผู้เก่ียวข้องอ่ืนๆ โดย ปราศจากความหงดุ หงดิ หรอื คบั ขอ้ งใจ ถ้าได้คะแนนต�่ำเสนอแนะให้ฝึกเพิ่ม ความเชื่อมั่นในตนเองและสร้าง จินตภาพตนเองทางบวก ดา้ นสมาธิ (Concentration) ข้อ 4, 11, 16, 25 แสดงถงึ การจดจอ่ ในสงิ่ ทท่ี ำ� แมต้ อ้ งอยใู่ น สถานการณท์ ไ่ี มค่ าดหวงั หรอื สถานการณท์ ม่ี คี วาม ยงุ่ ยาก ถา้ ไดค้ ะแนนตำ่� เสนอแนะใหฝ้ กึ สมาธภิ ายใต้ สถานการณ์ท่ีถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้า 54

ด้านความเชือ่ ม่ันและแรงจงู ใจใฝส่ ัมฤทธิ์ (Confidence and achievement motivation) ข้อ 2, 9, 14, 26 แสดงถึงความเชื่อม่ันในตนเองท่ีจะท�ำ สง่ิ ใดและการมแี รงจงู ทจี่ ะไปสเู่ ปา้ หมายทต่ี อ้ งการ ถา้ ได้ คะแนนตำ�่ เสนอแนะใหเ้ พมิ่ ความเชอื่ มน่ั ในตนเองดว้ ย การต้ังเป้าหมาย ด้านการต้ังเป้าหมายและ เตรียมความพร้อมด้านจิตใจ (Goal – Setting and mental preparation: GM) ขอ้ 1, 8, 13, 20 แสดงถึงการมีเป้าหมายในการแสดง ความสามารถอย่างเฉพาะเจาะจง และการเตรียมจิตใจให้พร้อมส�ำหรับ สถานการณ์แข่งขัน ถ้าได้คะแนนต่�ำ เสนอแนะใหต้ ง้ั เปา้ หมาย การจนิ ตภาพ การท�ำพรีชีอตรูทีน คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 55

ด้านการแสดงความสามารถสูงสุด ภายใต้ความกดดัน (Peaking under pressure: PP) ข้อ 6, 18, 22, 28 แสดงถึง การเรยี นรวู้ า่ แมต้ อ้ งอยใู่ นสถานการณท์ มี่ คี วาม กดดันแต่เป็นความท้าทายมากกว่าความรู้สึก วา่ ถกู คกุ คาม ถา้ ไดค้ ะแนนตำ�่ เสนอแนะใหเ้ พม่ิ ความเชอ่ื มน่ั ในตนเองดว้ ยการจนิ ตภาพภายใต้ สถานการณ์กดดัน ดา้ นอสิ ระจากความกงั วล (Freedom from worry: FW) ขอ้ 7, 12, 19, 23 แสดงถงึ การไมก่ งั วลอยา่ งมากมายเกนิ ไปกบั ความผดิ พลาด ท่ีเกิดขึ้น ถ้าได้คะแนนต่�ำ เสนอแนะให้ฝึก ควบคุมการหายใจ การจินตภาพ และฝึกสมาธิ ภายใต้สถานการณ์ที่ถูกกระตุ้นจากส่ิงเร้า 56

การคิดคะแนน นำ� คะแนนของแต่ละข้อในแต่ละด้านบวกกัน แล้วน�ำผลท่ีได้ มาหารดว้ ยจำ� นวนขอ้ ทงั้ หมดในแตล่ ะดา้ น โดยใหค้ ะแนนดงั น้ี ขอ้ 1, 2, 4, 5, 6, 8, 9, 11, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 20, 21, 22, 24, 25, 26, 27, 28 เกือบไม่เคย เท่ากับ 0 คะแนน บางคร้ัง เท่ากับ 1 คะแนน บ่อย เท่ากับ 2 คะแนน เกือบทุกครั้ง เท่ากับ 3 คะแนน ข้อ 3, 7, 10, 12, 19, 23 ให้คะแนนดังน้ี เกือบไม่เคย เท่ากับ 3 คะแนน บางคร้ัง เท่ากับ 2 คะแนน บ่อย เท่ากับ 1 คะแนน เกือบทุกครั้ง เท่ากับ 0 คะแนน ตัวอย่างเช่น ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 3 + 110*+ 115*+ 207*= 5 3* ผลรวม ข้อท่ี 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 57

1 การเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษารายละเอียดเก่ียวกับวิธีการ 2 และเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยจากงาน วิจัย ต�ำรา และ เอกสารทางวิชาการ ป ร ะ ชุ ม เ พ่ื อ อ ธิ บ า ย แ ล ะ ช้ี แ จ ง วัตถุประสงค์ของการวิจัย ล�ำดับ 3 ขั้นตอนการวิจัยและวิธีการวิจัยกับ ผู้ช่วยวิจัย ท�ำหนังสือขอความร่วมมือผู้ฝึกสอน กีฬาที่ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน 4 กฬี านกั เรยี นนกั ศกึ ษาแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 37 ประจ�ำปี พ.ศ.2559 เพ่ือขอเก็บ ติดต่อประสานกับผู้ฝึกสอนกีฬา ข้อมูลกับตัวอย่าง และตัวอย่างเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล โดยชี้แจงและอธิบายข้ันตอนการ 5 เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างละเอียดกับ ผู้ฝึกสอนและผู้ช่วยวิจัยเพื่อความ น�ำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ผลทางสถิติ เข้าใจท่ีตรงกัน โดยให้นักกีฬาตอบ ต่อไป แ บ บ ส อ บ ถ า ม ทั ก ษ ะ ก า ร จั ด ก า ร ความเครียดทางการกีฬา ซึ่งใช้ ระยะเวลาในการตอบประมาณ 10 นาที จากน้ันเก็บแบบสอบถามฯ คืน หลังจากที่นักกีฬาท�ำเสร็จสิ้นแล้ว 58

⨱ การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด�ำเนินการโดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลส�ำเร็จรูป ดังต่อไปนี้ 1 วิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้น เพ่ือให้ทราบลักษณะของตัวอย่างและ ลักษณะการกระจายของตัวแปรโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉล่ีย เลขคณิต ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ในกรณีตัวแปร ต่อเน่ือง ส่วนกรณีตัวแปรไม่ต่อเน่ือง ได้แก่ ร้อยละ และความถี่ ในแต่ละค่าของตัวแปร 2 วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง (2-way ANOVA) เพ่ือหา ความผันแปรของทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา เนอื่ งจากเพศตา่ งกนั ชนดิ กฬี าตา่ งกนั และชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ มตา่ งกนั รวมถงึ หาความผนั แปรของทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า เนื่องจากอิทธิผลร่วมของเพศและชนิดกีฬา เพศและช่ัวโมงการ ฝกึ ซอ้ ม ชนิดกฬี าและชัว่ โมงการฝึกซอ้ ม กำ� หนดความมนี ัยส�ำคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 3 เปรียบเทียบภายหลังเม่ือพบว่าชั่วโมงการฝึกซ้อมมีผลต่อทักษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬาต่างกันโดยใช้วิธีของ LSD ก�ำหนดความมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 4 วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (multiple regression analysis) ของ ตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ท่ีมีความ สัมพันธ์กับทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ก�ำหนด ความมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 59

ประโยชน์ที่ได้รับ 1 ผู้ฝึกสอนได้ทราบคุณลักษณะทางจิตใจท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะการ จัดการความเครียดทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทยจ�ำแนก ตามเพศ ชนดิ กฬี า และจำ� นวนชวั่ โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี า ซง่ึ จะนำ� ไปสู่ การจัดโปรแกรมการฝึกจิตใจที่มีความเหมาะสมกับนักกีฬาแต่ละ บุคคล 2 การจดั ทำ� คมู่ อื เผยแพรแ่ บบสอบถามทกั ษะการจดั การความเครยี ด ทางการกีฬาให้กับผู้ฝึกสอน นักกีฬา และผู้เกี่ยวข้องได้น�ำไปใช้ ประโยชน์ แหล่งทุนสนับสนุน กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 กรมพลศกึ ษา 60

คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 61

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 62

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์ ค่าสถิติพ้ืนฐาน และทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาของนักกีฬา เยาวชนไทย ประกอบด้วย 4 ตอน ได้แก่ 1ตอนที่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 2ตอนท่ี ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพ้ืนฐานในแต่ละข้อค�ำถาม ของแบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬา 3ตอนที่ วิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬา จ�ำแนกตามเพศ ชนิดกีฬา และ ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 4ตอนท่ี การเปรียบเทียบหลังการวิเคราะห์ความแปรปรวน คะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาของ ตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 5ตอนที่ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณของตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ที่มีความสัมพันธ์กับทักษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬา คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 63

ตอนที่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของ ผู้ตอบแบบสอบถามทักษะการจัดการ 1 ความเครียดทางการกีฬา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของ ร้อยละ 5.63) ได้แก่ นักกีฬาฟุตบอล ผู้ตอบแบบสอบถามทักษะการจัดการ นกั กฬี าวอลเลยบ์ อล และนกั กฬี าแฮนดบ์ อล ความเครียดทางการกีฬาของนักกีฬา เยาวชนไทย จ�ำนวน 355 คน จาก 32 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น ชนดิ กฬี า ประกอบดว้ ย ยมิ นาสตกิ ฟตุ บอล นกั กฬี าสงั กดั จงั หวดั นครศรธี รรมราช (48 คน วอลเลยบ์ อล แฮนดบ์ อล ตะกรอ้ ปนั จกั สรี ตั หรือร้อยละ 13.52) รองลงมาคือเป็น เปตอง เทนนิส แบดมินตัน มวยปล�้ำ นักกีฬาสังกัดจังหวัดกรุงเทพมหานคร สนุกเกอร์ กรีฑา เทควันโด เนตบอล (34 คน หรือร้อยละ 9.58) และสังกัด บาสเกตบอล ฟุตซอล ยิงปืน ยูโด รักบ้ี จังหวัดขอนแก่น (25 คน หรือร้อยละ ฟุตบอล ลีลาศ ว่ายน้�ำ วู้ดบอล หมากล้อม 7.04) สว่ นใหญเ่ คยเขา้ แขง่ ขนั กฬี านกั เรยี น ฮอกก้ี คาราเต้-โด จักรยาน เทเบิลเทนนิส นักศึกษาแห่งชาติ จ�ำนวนมากสุด คือ ยกน�้ำหนัก วูซู กอล์ฟ มวยสากลสมัครเล่น 3 ครั้ง (78 คน หรือ ร้อยละ 21.97) และมวยไทยสมัครเล่น แสดงในตารางท่ี 1 รองลงมาคือ 2 คร้ัง (65 คน หรือร้อยละ ซ่ึงสรุปได้ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ 18.31) และ 1 ครั้ง (56 คน หรือร้อยละ เป็นเพศชาย (190 คน คิดเป็นร้อยละ 15.77) ตามลำ� ดบั สว่ นใหญไ่ มเ่ คยเขา้ รว่ ม 53.52) มีอายุ 16 ปี มากท่ีสุด (80 คน แขง่ ขันกีฬาระดับนานาชาติ (244 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 22.54) รองลงมาคือมีอายุ ร้อยละ 68.73) รองลงมาคือเคยเข้าร่วม 18 ปี และ 17 ปี ตามล�ำดับ ซึ่งมีจ�ำนวน แข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ 1 คร้ัง และ 77 คน หรือร้อยละ 21.69 และจ�ำนวน 2 คร้ัง ซึ่งมีจ�ำนวน 41 คน หรือร้อยละ 71 คน หรือร้อยละ 20.00 ตามล�ำดับ 11.50 และ 29 คน หรือร้อยละ 8.17 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักกีฬา ตามล�ำดับ ส่วนใหญ่เคยได้รับการฝึกด้าน ยิมนาสติก (21 คน หรือร้อยละ 5.92) จติ ใจมากอ่ น (204 คน หรอื รอ้ ยละ 57.46) รองลงมามีจ�ำนวนเท่ากัน (20 คน หรือ โดยระบุว่าผู้ฝึกสอนเป็นผู้ฝึกให้ 194 คน และนักจิตวิทยาการกีฬาเป็นผู้ฝึกให้ 3 คน 64

จ�ำนวนช่ัวโมงการฝึกซ้อมกีฬาต่อวัน ในช่วง 3 เดือนก่อนการแข่ง ส่วนใหญ่จะมีจ�ำนวน ชวั่ โมงการฝกึ ซอ้ มเทา่ กบั 3 และ 2 ชวั่ โมงตอ่ วนั ซง่ึ มจี ำ� นวน 106 คน หรอื รอ้ ยละ 29.86 และ 80 คน หรือร้อยละ 22.54 ตามล�ำดับ จ�ำนวนวันในการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ในช่วง 3 เดอื นกอ่ นแขง่ สว่ นใหญม่ จี ำ� นวนวนั ฝกึ ซอ้ ม เทา่ กบั 5 และ 6 วนั ตอ่ สปั ดาห์ ซงึ่ มจี ำ� นวน 125 คน หรือร้อยละ 35.21 และ 103 คน หรือร้อยละ 29.01 ตามล�ำดับ 190 คน 165 คน 53.52 % 46.48 % เพศชาย เพศหญิง อายุ 15 ปี 43 คน (12.11%) 355 คน อายุ 14 ปี อายุ 16 ปี 41 คน (11.55%) 80 คน (22.54%) อายุ 17 ปี 71 คน (20.00%) อายุ 13 ปี 28 คน (7.89%) อายุ 12 ปี อายุ 9 ปี อายุ 18 ปี 3 คน (0.85%) 1 คน (0.28%) 77 คน (21.69%) อายุ 11 ปี อายุ 10 ปี 7 คน (1.97%) 4 คน (1.13%) คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 65

ยิมนาสติก ประเภทกีฬาและจ�ำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 5.92% ฟุตบอล 5.63% 3.66% 5.63% วอลเลย์บอล 3.66% 5.63% แฮนด์บอล 3.66% ตะกร้อ 3.10% ปันจักสีรัต 3.10% เปตอง 3.10% เทนนิส 3.10% แบดมินตัน 2.82% มวยปล้�ำ 2.82% สนุกเกอร์ 2.82% กรีฑา 2.82% เทควันโด 2.82% เนตบอล 2.82% 2.82% บาสเกตบอล 2.82% ฟุตซอล 2.82% ยิงปืน 2.82% ยูโด 2.82% 2.82% รักบี้ฟุตบอล 2.82% ลีลาศ 2.54% ว่ายน้�ำ 2.54% 2.54% วู้ดบอล 2.54% หมากล้อม 2.54% 1.97% ฮอกกี้ 1.41% คาราเต้-โด 1.13% จักรยาน เทเบิลเทนนิส ยกน้�ำหนัก วูซู กอล์ฟ มวยสากลสมัครเล่น มวยไทยสมัครเล่น 66

ตารางท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย ข้อมูลส่วนตัว จ�ำนวน (ร้อยละ) เพศ 190 (53.52) ชาย 165 (46.48) หญิง 1 (0.28) อายุ (ปี) 4 (1.13) 9 7 (1.97) 10 3 (0.85) 11 28 (7.89) 12 41 (11.55) 13 43 (12.11) 14 80 (22.54) 15 71 (20.00) 16 77 (21.69) 17 18 21 (5.92) 20 (5.63) ประเภทกีฬา 20 (5.63) ยิมนาสติก 20 (5.63) ฟุตบอล 13 (3.66) วอลเลย์บอล 13 (3.66) แฮนด์บอล 13 (3.66) ตะกร้อ 11 (3.10) ปันจักสีรัต 11 (3.10) เปตอง 11 (3.10) เทนนิส 11 (3.10) แบดมินตัน 10 (2.82) มวยปล้�ำ 10 (2.82) สนุกเกอร์ กรีฑา เทควันโด คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 67

ข้อมูลส่วนตัว จ�ำนวน (ร้อยละ) ประเภทกีฬา 10 (2.82) เนตบอล 10 (2.82) บาสเกตบอล 10 (2.82) ฟุตซอล 10 (2.82) ยิงปืน 10 (2.82) ยูโด 10 (2.82) รักบ้ีฟุตบอล 10 (2.82) ลีลาศ 10 (2.82) ว่ายน�้ำ 10 (2.82) วู้ดบอล 10 (2.82) หมากล้อม 10 (2.82) ฮอกกี้ 9 (2.54) คาราเต้-โด 9 (2.54) จักรยาน 9 (2.54) เทเบิลเทนนิส 9 (2.54) ยกน�้ำหนัก 9 (2.54) วูซู 7 (1.97) กอล์ฟ 5 (1.41) มวยสากลสมัครเล่น 4 (1.13) มวยไทยสมัครเล่น 48 (13.52) จังหวัด 34 (9.58) นครศรีธรรมราช 25 (7.04) กรุงเทพฯ 17 (4.79) ขอนแก่น 15 (4.23) เพชรบูรณ์ 14 (3.94) พัทลุง 11 (3.10) นครสวรรค์ 10 (2.82) สุพรรณบุรี 10 (2.82) นครปฐม นนทบุรี 68

ข้อมูลส่วนตัว จ�ำนวน (ร้อยละ) จังหวัด 10 (2.82) สมุทรปราการ 10 (2.82) สระบุรี 9 (2.54) ราชบุรี 8 (2.25) พิษณุโลก 8 (2.25) ศรีสะเกษ 7 (1.97) กระบ่ี 7 (1.97) ก�ำแพงเพชร 7 (1.97) นครราชสีมา 7 (1.97) เพชรบุรี 7 (1.97) ระนอง 7 (1.97) อุบลราชธานี 6 (1.69) กาญจนบุรี 6 (1.69) ปทุมธานี 6 (1.69) สงขลา 6 (1.69) อ�ำนาจเจริญ 5 (1.41) เชียงใหม่ 5 (1.41) นครนายก 5 (1.41) ลพบุรี 5 (1.41) อยุธยา 3 (0.85) ตราด 3 (0.85) ล�ำปาง 3 (0.85) สุโขทัย 3 (0.85) สุราษฎร์ธานี 2 (0.56) กาฬสินธุ์ 2 (0.56) ชัยนาท 2 (0.56) ชัยภูมิ 2 (0.56) ตาก 2 (0.56) น่าน 2 (0.56) บุรีรัมย์ คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 69

ข้อมูลส่วนตัว จ�ำนวน (ร้อยละ) จังหวัด ภูเก็ต 2 (0.56) ยะลา 2 (0.56) ระยอง 2 (0.56) หนองบัวล�ำภู 2 (0.56) ชลบุรี 1 (0.28) ชุมพร 1 (0.28) นครพนม 1 (0.28) พิจิตร 1 (0.28) สตูล 1 (0.28) สมุทรสงคราม 1 (0.28) สิงห์บุรี 1 (0.28) สุรินทร์ 1 (0.28) ประสบการณ์การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ ไม่เคยเข้าร่วม 131 (36.90) 1 ครั้ง 56 (15.77) 2 คร้ัง 65 (18.31) 3 ครั้ง 78 (21.97) 4 คร้ัง 23 (6.48) 5 ครั้ง 1 (0.28) 6 ครั้ง 1 (0.28) ประสบการณ์การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ ไม่เคยเข้าร่วม 244 (68.73) 1 ครั้ง 41 (11.55) 2 ครั้ง 29 (8.17) 3 ครั้ง 22 (6.20) 4 คร้ัง 16 (4.51) 70

ข้อมูลส่วนตัว จ�ำนวน (ร้อยละ) ประสบการณ์การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ 5 ครั้ง 2 (0.56) 6 คร้ัง 1 (0.28) การฝึกด้านจิตใจ ไม่เคย 151 (42.54) เคย 204 (57.46) ผู้ฝึกสอน 194 นักจิตวิทยาการกีฬา 3 อื่นๆ 7 จ�ำนวนชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อวัน ในช่วง 3 เดือนก่อนแข่งขันคร้ังน้ี 1 ช่ัวโมง/วัน 7 (1.97) 2 ช่ัวโมง/วัน 80 (22.54) 3 ช่ัวโมง/วัน 106 (29.86) 4 ชั่วโมง/วัน 67 (18.87) 5 ชั่วโมง/วัน 56 (15.77) 6 ช่ัวโมง/วัน 21 (5.92) 7 ช่ัวโมง/วัน 4 (1.13) 8 ชั่วโมง/วัน 12 (3.38) 9 ชั่วโมง/วัน 2 (0.56) จ�ำนวนวันฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ในช่วง 3 เดือนก่อนแข่งขันคร้ังน้ี 1 วัน/สัปดาห์ 16 (4.51) 2 วัน/สัปดาห์ 15 (4.23) 3 วัน/สัปดาห์ 21 (5.92) 4 วัน/สัปดาห์ 75 (21.13) 5 วัน/สัปดาห์ 125 (35.21) 6 วัน/สัปดาห์ 103 (29.01) 7 วัน/สัปดาห์ 16 (4.51) คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 71

ตอนที่ ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ในแต่ละข้อคำ�ถามของแบบสอบถาม 2 ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานใน กับสิ่งใดหรือบุคคลใด ได้รับประโยชน์สูงสุด แต่ละข้อค�ำถามของแบบสอบถามทักษะ จากความสามารถพิเศษและทักษะ ไม่ถูก การจัดการความเครียดทางการกีฬา กดดันในการฝึกปฏิบัติหรือเล่นหนัก ถึงแม้ ของเยาวชนไทย ซึ่งประกอบด้วยการ จะล้มเหลวในการไปถึงเป้าหมายแต่ก็มี แจกแจงความถ่ี การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและ ความพยายามโดยไมก่ ลวั ความยาก กำ� หนด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนในแต่ละ เป้าหมายท่ีเฉพาะเจาะจงเพ่ือเป็นแนวทาง ขอ้ ค�ำถาม แสดงในตารางท่ี 2 ซงึ่ สรปุ ไดว้ ่า ในส่ิงที่ท�ำ ต้ังเป้าหมายการแสดงความ เม่ือพิจารณาจากค�ำตอบที่มีผู้ตอบจ�ำนวน สามารถแต่ละการฝึกซ้อม มีความสนุก มากทสี่ ดุ (ฐานนยิ ม) ในแตล่ ะขอ้ คำ� ถาม พบวา่ กับความกดดันที่มากข้ึนในระหว่างเกม ค�ำตอบที่ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ สถานการณ์กดดันเป็นความท้าทายท่ีพร้อม ตอบมากที่สุดมี 2 ค�ำตอบ คือ บ่อยและ รับมือเสมอ ท�ำผิดผลาดน้อยในสถานการณ์ บางครั้ง โดยข้อค�ำถามท่ีผู้ตอบส่วนใหญ่ กดดันเพราะมีสมาธิดี ข้อค�ำถามที่ผู้ตอบ ปฏิบัติบ่อยมี 15 ข้อ ประกอบด้วย สว่ นใหญป่ ฏบิ ตั บิ างครงั้ มี 13 ขอ้ ประกอบดว้ ย การคิดบวกและมีความกระตือรือร้นใน ยอมรับในค�ำแนะน�ำจากโค้ชถึงวิธีการแก้ไข ระหว่างแข่งขัน สงบนิ่งเมื่อมีส่ิงไม่ดีเกิดขึ้น ข้อผิดพลาดท่ีเคยท�ำแต่รู้สึกอารมณ์เสีย เม่ือรู้สึกเครียดสามารถผ่อนคลายได้ รสู้ กึ อารมณเ์ สยี มากกวา่ รสู้ กึ ชว่ ยใหด้ ขี นึ้ เมอ่ื อย่างรวดเร็ว สามารถควบคุมอารมณ์ได้ โค้ชวิจารณ์ แก้ไขข้อผิดผลาดโดยปราศจาก การปรับปรุงทักษะด้วยการฟังค�ำแนะน�ำ อารมณ์เสียเม่ือโค้ชวิจารณ์หรือตะโกนใส่ จากโค้ชและผู้จัดการอย่างต้ังใจ สามารถ เป็นเร่ืองง่ายท่ีจะเก็บความคิดวอกแวกเม่ือ มุ่งเน้นความสนใจและป้องกันการรบกวนได้ ถกู รบกวนจากบางสง่ิ ทเ่ี หน็ หรอื ไดย้ นิ จดั การ เป็นเร่ืองง่ายที่จะมุ่งความสนใจและจดจ่อ กับสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิดในการเล่นกีฬา 72

ได้เป็นอย่างดี รู้สึกม่ันใจว่าฉันจะเล่นได้ดี เมื่อพิจารณาจากค่าเฉล่ียของคะแนน มีการวางแผนเยอะมากเกี่ยวกับวิธีการเพ่ือ การตอบในแตล่ ะขอ้ คำ� ถาม พบวา่ ขอ้ คำ� ถาม ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย มีแผนการเล่นไว้ในสมอง ท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ นานแลว้ กอ่ นทเี่ กมจะเรมิ่ เลน่ ไดด้ ขี น้ึ ภายใต้ การปรับปรุงทักษะด้วยการฟังค�ำแนะน�ำ ความกดดันเพราะมีความคิดชัดเจน กังวล และการสอนจากโค้ชอย่างตั้งใจ (2.14) เล็กน้อยเก่ียวกับสิ่งที่คนอื่นคิดเกี่ยวกับ รู้สึกอารมณ์เสียมากกว่ารู้สึกว่าช่วยให้ ความสามารถที่แสดงออก เก็บความกดดัน ดีขึ้นเม่ือถูกวิจารณ์ (2.13) ยอมรับใน ไว้ในตัวเองและกังวลว่าจะแสดงออกมา ค� ำ แ น ะ น� ำ จ า ก โ ค ้ ช ถึ ง วิ ธี ก า ร แ ก ้ ไ ข ข ้ อ อย่างไร ขณะแข่งขันมีความกังวลเก่ียวกับ ผิ ด พ ล า ด ที่ เ ค ย ท� ำ แ ต ่ รู ้ สึ ก อ า ร ม ณ ์ เ สี ย การท�ำผิดพลาดหรือไม่สามารถท�ำผ่านได้ (1.99) ได้รับประโยชน์สูงสุดจากความ มีความคิดและจินตนาการว่าจะเกิดอะไรข้ึน สามารถพิเศษและทักษะ (1.98) และ ถ้าท�ำล้มเหลวหรือผิดพลาด คิดเชิงบวกและมีความกระตือรือร้นใน ระหว่างการแข่งขัน (1.94) ค�ำถามที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับแรก การปรับปรุงทักษะด้วยการฟังค�ำแนะน�ำ และการสอนจากโค้ชอย่างต้ังใจ รู้สึกอารมณ์เสียมากกว่ารู้สึกว่าช่วยให้ดีข้ึน เม่ือถูกวิจารณ์ ยอมรับในค�ำแนะน�ำจากโค้ชถึงวิธีการแก้ไข ข้อผิดพลาดที่เคยท�ำแต่รู้สึกอารมณ์เสีย ได้รับประโยชน์สูงสุดจากความสามารถ พิเศษและทักษะ คิดเชิงบวกและมีความกระตือรือร้นในระหว่าง การแข่งขัน คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 73

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานในแต่ละข้อค�ำถามของแบบสอบถาม ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย N = 355 ข้อคำ�ถาม เกือบ บาง บ่อย เกือบ ค่า ส่วน ไม่เคย ครั้ง ทุกครั้ง เฉลี่ย เบี่ยงเบน มาตรฐาน ด้านการจัดการกับปัญหา 5. ฉันยังคงคิดเชิงบวกและมีความ 7 91 175 82 1.94 0.75 กระตือรือร้นในระหว่างการแข่งขัน (1.97) (25.63) (49.30) (23.10) ไม่ว่าสิ่งไม่ดีก�ำลังจะเกิดขึ้น 17. เมื่อสิ่งไม่ดีเกิดข้ึนฉันบอกกับ 17 130 151 57 1.70 0.79 ตัวเองให้สงบและสิ่งท่ีเกิดข้ึนเป็น (4.79) (36.62) (42.54) (16.06) ส่ิงดีส�ำหรับฉัน 21. เม่ือฉันรู้สึกว่าตัวเองเครียด 20 138 143 54 1.65 0.80 มากเกินไป ฉันสามารถผ่อนคลาย (5.63) (38.87) (40.28) (15.21) ร่างกายของฉันได้อย่างรวดเร็ว และสงบสติอารมณ์ตัวเองได้ 24. ฉันสามารถควบคุมอารมณ์ได้ 17 131 155 52 1.68 0.779 ถึงแม้ว่าจะมีส่ิงใดเกิดขึ้นกับฉัน (4.79) (36.9) (43.66) (14.65) ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 3. เมื่อโค้ชหรือผู้จัดการบอกฉันถึง 96 180 58 21 1.99 0.82 วิธีการแก้ไขข้อผิดพลาดที่ฉันเคยท�ำ (27.04) (50.7) (16.34) (5.92) ฉันมีแนวโน้มท่ีจะรับมันและรู้สึก อารมณ์เสีย 10. เม่ือโค้ชหรือผู้จัดการวิจารณ์ฉัน 123 166 55 11 2.13 0.78 ฉันจะรู้สึกอารมณ์เสียมากกว่า (34.65) (46.76) (15.49) (3.10) รู้สึกว่าช่วยให้ดีขึ้น 15. ถ้าโค้ชวิจารณ์หรือตะโกนใส่ฉัน 56 130 108 61 1.49 0.96 ฉันแก้ไขข้อผิดพลาดโดยปราศจาก (15.77) (36.62) (30.42) (17.18) การเสียอารมณ์ 74

ข้อคำ�ถาม เกือบ บาง บ่อย เกือบ ค่า ส่วน ไม่เคย ครั้ง ทุกครั้ง เฉลี่ย เบี่ยงเบน มาตรฐาน 27. ฉันปรับปรุงทักษะของฉันด้วยการ 9 67 146 133 2.14 0.81 ฟังค�ำแนะน�ำและการสอนจากโค้ช (2.54) (18.87) (41.13) (37.46) และผู้จัดการอย่างตั้งใจ ด้านสมาธิ 4. เม่ือฉันเล่นกีฬาฉันสามารถมุ่งเน้น 9 121 169 56 1.77 0.74 ความสนใจของฉันและป้องกัน (2.54) (34.08) (47.61) (15.77) การรบกวน 11. มันเป็นเร่ืองง่ายส�ำหรับฉันท่ีจะ 23 202 104 26 1.37 0.72 เก็บความคิดวอกแวกจากการ (6.48) (56.9) (29.3) (7.32) ถูกรบกวนจากบางสิ่งท่ีฉันเห็น หรือได้ยิน 16. ฉันจัดการกับสถานการณ์ที่ไม่ 15 173 137 30 1.51 0.71 คาดคิดในการเล่นกีฬาของฉัน (4.23) (48.73) (38.59) (8.45) ได้เป็นอย่างดี 25. มันเป็นเร่ืองง่ายส�ำหรับฉันท่ีจะ 21 127 160 47 1.66 0.78 มุ่งความสนใจและจดจอ่ กบั สง่ิ ใด (5.92) (35.77) (45.07) (13.24) หรอื บคุ คลใด ด้านความเช่ือม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 2. ฉันได้รับประโยชน์สูงสุดจาก 6 80 184 85 1.98 0.73 ความสามารถพิเศษ (1.69) (22.54) (51.83) (23.94) และทักษะของฉัน 9. ฉันรู้สึกม่ันใจว่าฉันจะเล่นได้ดี 18 159 125 53 1.60 0.80 (5.07) (44.79) (35.21) (14.93) 14. ฉันไม่ถูกกดดันในการฝึกปฏิบัติ 35 132 128 60 1.60 0.88 หรือเล่นหนัก ฉันท�ำ (ให้) 100% (9.86) (37.18) (36.06) (16.9) 26. เมื่อฉันล้มเหลวในการจะไปถึง 6 113 162 74 1.86 0.76 เป้าหมายของฉันมันท�ำให้ฉันมี (1.69) (31.83) (45.63) (20.85) ความพยายามแม้ว่ามันยากก็ตาม คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 75

ข้อคำ�ถาม เกือบ บาง บ่อย เกือบ ค่า ส่วน ไม่เคย ครั้ง ทุกครั้ง เฉลี่ย เบี่ยงเบน มาตรฐาน ด้านการต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ 1. ในชีวิตประจ�ำวันหรือรายสัปดาห์ 12 126 160 57 1.74 0.76 ฉันก�ำหนดเป้าหมายท่ีเฉพาะเจาะจง (3.38) (35.49) (45.07) (16.06) มากส�ำหรับตัวเองเพื่อเป็นแนวทาง ในส่ิงท่ีฉันท�ำ 8. ฉันมักจะท�ำการวางแผนเยอะมาก 13 161 133 48 1.61 0.76 เก่ียวกับวธิ กี ารเพอ่ื ใหบ้ รรลเุปา้ หมาย (3.66) (45.35) (37.46) (13.52) ของฉนั 13. ฉันตั้งเป้าหมายการแสดง 9 98 173 75 1.88 0.76 ความสามารถของฉันในแต่ละ (2.54) (27.61) (48.73) (21.13) การฝึกซ้อม 20. ฉันมีแผนการเล่นของเกมไว้ใน 21 153 124 57 1.61 0.82 สมองของฉันนานแล้วก่อนที่เกม (5.92) (43.1) (34.93) (16.06) จะเริ่ม ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน 6. ฉันมักจะเล่นได้ดีข้ึนภายใต้ 23 191 109 32 1.42 0.75 ความกดดันเพราะฉันคิดชัดเจน (6.48) (53.8) (30.7) (9.01) มากขึ้น 18. ความกดดันท่ีมากขึ้นในระหว่างเกม 29 103 158 65 1.73 0.85 มันท�ำให้ฉันสนุกกับมันมากขึ้น (8.17) (29.01) (44.51) (18.31) 22. ส�ำหรับฉันสถานการณ์กดดัน 24 135 146 50 1.63 0.81 เป็นความท้าทายท่ีฉันพร้อม (6.76) (38.03) (41.13) (14.08) รับมือเสมอ 28. ในสถานการณ์กดดันฉันท�ำ 15 128 144 68 1.75 0.81 ผิดพลาดน้อยลงเพราะฉันมีสมาธิ (4.23) (36.06) (40.56) (19.15) ดีขึ้น 76

ข้อคำ�ถาม เกือบ บาง บ่อย เกือบ ค่า ส่วน ไม่เคย ครั้ง ทุกครั้ง เฉลี่ย เบี่ยงเบน มาตรฐาน ด้านอิสระจากความกังวล 7. ฉันกังวลเล็กน้อยเกี่ยวกับสิ่งที่ 40 201 96 18 1.74 0.72 คนอื่นจะคิดเก่ียวกับการแสดง (11.27) (56.62) (27.04) (5.07) ความสามารถของฉัน 12. ฉันเก็บความกดดันจ�ำนวนมากไว้ 55 175 104 21 1.74 0.79 ในตัวเอง โดยยังกังวลว่าฉันจะ (15.49) (49.3) (29.3) (5.92) แสดงออกมาอย่างไร 19. ขณะแข่งขันฉันกังวลเกี่ยวกับการ 46 160 109 40 1.60 0.85 ท�ำผิดพลาดหรือไม่สามารถท�ำ (12.96) (45.07) (30.7) (11.27) ผ่านได้ 23. ฉันคิดและจินตนาการว่าจะ 24 168 122 41 1.49 0.79 เกิดอะไรขึ้นถ้าฉันล้มเหลวหรือ (6.76) (47.32) (34.37) (11.55) ผิดพลาด หมายเหตุ การค�ำนวณค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานใช้การแทนค่าด้วยตัวเลข ดังนี้ เกือบไม่เคย = 0 บางครั้ง = 1 บ่อย = 2 และเกือบทุกครั้ง = 3 ยกเว้น ข้อค�ำถามข้อที่ 3 7 10 12 19 23 ใช้การแทนค่าด้วยตัวเลขในทางกลับกัน ดังนี้ เกือบไม่เคย = 3 บางคร้ัง = 2 บ่อย = 1 และเกือบทุกครั้ง = 0 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 77

ตอนที่ วิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬา 3 จำ�แนกตามเพศ ชนิดกีฬา และชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ การวิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนน และหญงิ ไมข่ นึ้ อยกู่ บั คา่ ของตวั แปรชวั่ โมงการ ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ฝกึ ซอ้ มกฬี าตอ่ สปั ดาห์ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามพบวา่ ประกอบดว้ ย 7 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นการจดั การกบั ชนดิ กฬี ากบั ชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี าตอ่ ปญั หา ดา้ นการยอมรบั คำ� แนะนำ� ดา้ นสมาธิ สปั ดาห์ มอี ทิ ธผิ ลรว่ มกนั ตอ่ คะแนนทกั ษะ ด้านความเช่ือมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ การจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ในดา้ น ดา้ นการตง้ั เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ ม การยอมรบั คำ� แนะนำ� (p < .05) หมายถงึ ดา้ นจติ ใจ ดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ คะแนนทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการ ภายใตค้ วามกดดนั ดา้ นอสิ ระจากความกงั วล กีฬาด้านการยอมรบั คำ� แนะนำ� ทีแ่ ตกตา่ งกัน และคะแนนรวมทุกด้าน โดยท�ำการจ�ำแนก ระหวา่ งกฬี าบคุ คลและทีม ข้นึ อยกู่ บั คา่ ของ ตามเพศและชนิดกีฬา เพศและชั่วโมงการ ตวั แปรชวั่ โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี าตอ่ สปั ดาห์ ฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ชนิดกีฬาและช่ัวโมงการ เพศชายและหญิง มีคะแนนทักษะ ฝกึ ซอ้ มตอ่ สปั ดาห์ แสดงในตารางที่ 3 4 และ 5 การจัดการความเครียดทางการกีฬาต่างกัน สรปุ ไดว้ า่ เพศกบั ชนดิ กฬี า และเพศกบั (p < .05) ในดา้ นสมาธิ ดา้ นความเชอื่ มนั่ ชวั่ โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี าตอ่ สปั ดาห์ ไมม่ ี และแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ ดา้ นการตง้ั เปา้ หมาย อิทธิผลร่วมกันต่อคะแนนทักษะการจัดการ และเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ ด้านการ ความเครียดทางการกีฬา ท้ัง 7 ด้าน และ แสดงความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั คะแนนรวมทุกด้าน (p > .05) หมายถึง และคะแนนรวมทกุ ดา้ น คะแนนทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการ กีฬาบุคคลและทีม มีคะแนนทักษะ กีฬาท่ีแตกต่างกันระหว่างเพศชายและหญิง การจดั การความเครยี ดทางการกฬี าทง้ั 7 ดา้ น ไมข่ นึ้ อยกู่ บั คา่ ของตวั แปรกฬี าบคุ คลและทมี และคะแนนรวมทกุ ดา้ น ไมต่ า่ งกนั (p > .05) รวมถงึ คะแนนทกั ษะการจดั การความเครยี ด ทางการกีฬาท่ีแตกต่างกันระหว่างเพศชาย 78

ชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี า 2 – 12 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ 13 – 24 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ และ 25 – 52 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาหต์ า่ งกนั (p < .05) ในดา้ นความเชอ่ื มน่ั และแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ ดา้ นการตงั้ เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ และดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาจ�ำแนกตามเพศและชนิดกีฬา แหล่งของความแปรปรวน SS df MS F P 1. ด้านการจัดการกับปัญหา 2.198 1 2.198 0.516 0.473 เพศ 12.393 1 12.393 2.911 0.089 ชนิดกีฬา 6.126 1 6.126 1.439 0.231 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา 1494.389 351 4.258 ภายในกลุ่ม 1515.594 354 รวม 2.619 1 2.619 0.698 0.404 2. ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 2.292 1 2.292 0.611 0.435 เพศ 0.405 1 0.405 0.108 0.743 ชนิดกีฬา 1316.999 351 3.752 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา 1321.673 354 ภายในกลุ่ม 22.662 1 22.662 6.999* 0.009 รวม 7.284 1 7.284 2.25 0.135 3. ด้านสมาธิ 0.668 1 0.668 0.206 0.65 เพศ 1136.453 351 3.238 ชนิดกีฬา 1167.915 354 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา ภายในกลุ่ม รวม * มีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 79

ตารางที่ 3 (ต่อ) แหล่งของความแปรปรวน SS df MS F P 4. ด้านความเชื่อม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 4.994* 0.026 0.168 0.682 เพศ 23.319 1 23.319 0.956 0.329 ชนิดกีฬา 0.783 1 0.783 5.564* 0.019 0.235 0.628 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา 4.465 1 4.465 0.008 0.929 ภายในกลุ่ม 1638.891 351 4.669 7.103* 0.008 1.018 0.314 รวม 1664.524 354 0.005 0.943 5. ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ เพศ 24.477 1 24.477 ชนิดกีฬา 1.033 1 1.033 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา 0.035 1 0.035 ภายในกลุ่ม 1543.997 351 4.399 รวม 1571.166 354 6. ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน เพศ 34.526 1 34.526 ชนิดกีฬา 4.95 1 4.95 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา 0.025 1 0.025 ภายในกลุ่ม 1706.097 351 4.861 รวม 1748.546 354 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 80

ตารางที่ 3 (ต่อ) SS df MS F P แหล่งของความแปรปรวน 0.549 0.988 7. ด้านอิสระจากความกังวล 0.200 เพศ 1.346 1 1.346 0.361 0.012 1 0.001 0.000 0.319 ชนิดกีฬา 0.001 1 6.168 1.652 0.659 351 3.733 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา 6.168 354 ภายในกลุ่ม 1310.238 รวม 1316.772 รวมทุกด้าน เพศ 10.197 1 10.197 6.412* 1 1.581 0.994 ชนิดกีฬา 1.581 1 0.311 0.195 351 1.59 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชนิดกีฬา 0.311 354 ภายในกลุ่ม 558.196 รวม 570.469 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 81

ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาจ�ำแนกตามเพศและช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ แหล่งของความแปรปรวน SS df MS F P 1. ด้านการจัดการกับปัญหา 4 1 0.914 0.213 0.645 เพศ 0.914 2 3.848 0.895 0.409 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 7.695 2 3.336 0.776 0.461 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและช่ัวโมง 6.671 การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 349 4.297 ภายในกลุ่ม 1499.743 354 1515.594 รวม 1 0.395 0.106 0.745 2. ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 0.395 2 7.317 1.961 0.142 เพศ 14.634 2 2.043 0.548 0.579 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 4.087 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชั่วโมง 349 3.731 การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 1302.125 354 ภายในกลุ่ม 1321.673 1 27.821 8.544* 0.004 รวม 27.821 2 2.228 0.684 0.505 3. ด้านสมาธิ 4.455 2 2.723 0.836 0.434 เพศ 5.445 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 349 3.256 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและช่ัวโมง 1136.38 354 การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 1167.915 ภายในกลุ่ม รวม * มีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 82

ตารางที่ 4 (ต่อ) แหล่งของความแปรปรวน SS df MS F P 4. ด้านความเชื่อม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 20.739 4.542* 0.034 19.079 4.179* 0.016 เพศ 20.739 1 2.618 0.573 0.564 4.566 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 38.158 2 8.181* 0.004 34.998 4.289* 0.014 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชั่วโมง 5.236 2 18.348 1.743 0.177 การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 7.456 4.278 10.906* 0.001 ภายในกลุ่ม 1593.512 349 5.166* 0.006 51.397 2.094 0.125 รวม 1664.524 354 24.345 9.868 5. ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ 4.713 เพศ 34.998 1 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 36.697 2 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชั่วโมง 14.912 2 การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 1493.002 349 รวม 1571.166 354 6. ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน เพศ 51.397 1 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 48.69 2 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและชั่วโมง 19.736 2 การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 1644.787 349 รวม 1748.546 354 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 83

ตารางที่ 4 (ต่อ) SS df MS F P แหล่งของความแปรปรวน 1.528 1 1.528 0.412 0.521 19.415 2 9.707 2.619 0.074 7. ด้านอิสระจากความกังวล 4.161 2 2.081 0.561 0.571 เพศ ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 1293.402 349 3.706 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและช่ัวโมง 1316.772 354 การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 11.043 1 11.043 6.975* 0.009 4.348 2 2.174 1.373 0.255 รวม 2.999 2 1.499 0.947 0.389 รวมทุกด้าน เพศ 552.514 349 1.583 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 570.469 354 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและช่ัวโมง การฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม รวม * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 84

ตารางท่ี 5 การวิเคราะห์ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาจ�ำแนกตามชนิดกีฬาและช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ แหล่งของความแปรปรวน SS df MS F P 1. ด้านการจัดการกับปัญหา ชนิดกีฬา 14.44 1 14.44 3.382 0.067 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 3.256 2 1.628 0.381 0.683 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ 5.357 2 2.679 0.627 0.535 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 1490.074 349 4.27 รวม 1515.594 354 2. ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ ชนิดกีฬา 1.292 1 1.292 0.354 0.552 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 30.8 2 15.4 4.219* 0.015 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ 30.411 2 15.205 4.165* 0.016 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 1274.053 349 3.651 รวม 1321.673 354 3. ด้านสมาธิ ชนิดกีฬา 10.085 1 10.085 3.086 0.080 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 3.3 2 1.65 0.505 0.604 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ 17.404 2 8.702 2.663 0.071 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 1140.618 349 3.268 รวม 1167.915 354 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 85

ตารางที่ 5 (ต่อ) แหล่งของความแปรปรวน SS df MS F P 0.455 0.501 4. ด้านความเช่ือมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ 2.105 3.113* 0.046 14.408 0.955 0.386 ชนิดกีฬา 2.105 1 4.421 0.531 0.467 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 28.815 2 4.628 1.57 0.21 2.264 0.105 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ 8.842 2 2.314 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 6.842 0.825 0.364 9.867 4.290* 0.014 ภายในกลุ่ม 1615.007 349 0.636 0.53 4.358 รวม 1664.524 354 4.019 5. ด้านการต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ 20.899 ชนิดกีฬา 2.314 1 3.1 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 13.685 2 4.872 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ 19.733 2 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 1520.99 349 รวม 1571.166 354 6. ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน ชนิดกีฬา 4.019 1 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 41.798 2 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ 6.199 2 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม 1700.28 349 รวม 1748.546 354 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 86

ตารางที่ 5 (ต่อ) SS df MS FP แหล่งของความแปรปรวน 0.000 1 0.000 0.000 0.999 23.523 2 11.761 3.181 0.043 7. ด้านอิสระจากความกังวล 8.388 2 4.194 1.135 0.323 ชนิดกีฬา ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 1290.213 349 3.697 1.481 0.224 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ 1316.772 354 0.601 0.549 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 0.822 0.440 ภายในกลุ่ม 2.387 1 2.387 1.936 2 0.968 รวม 2.651 2 1.326 รวมทุกด้าน ชนิดกีฬา 562.529 349 1.612 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 570.469 354 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดกีฬาและ ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ภายในกลุ่ม รวม * มีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 87

ตอนที่ การเปรียบเทียบหลังการวิเคราะห์ ความแปรปรวนคะแนนทักษะการจัดการ 4 ความเครียดทางการกีฬา ของตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ การเปรยี บเทยี บหลงั การวเิ คราะหค์ วามแปรปรวน แสดงในตารางท่ี 6 7 และ 8 สรปุ ไดว้ า่ เพศชายมคี ะแนนทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ในดา้ นสมาธิ ดา้ นความเชอ่ื มน่ั และแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ ดา้ นการตงั้ เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ ดา้ นการแสดง ความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั และคะแนนรวมทกุ ดา้ น สงู กวา่ เพศหญงิ (p < .05) กีฬาบุคคลและทีมมีคะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาทั้ง 7 ด้าน และ คะแนนรวมทกุ ดา้ น ไมต่ า่ งกนั (p > .05) การฝกึ ซอ้ มกฬี า 2 – 12 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ มคี ะแนนทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า ในดา้ นความเชอ่ื มน่ั และแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ ดา้ นการตง้ั เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ และดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั นอ้ ยกวา่ การฝกึ ซอ้ มกฬี า 13 – 24 และ 25 – 52 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ (p < .05) ตารางท่ี 6 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย จ�ำแนกตามเพศ N = 355 ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา เพศชาย เพศหญิง (n = 190 ) (n = 165 ) 1. ด้านการจัดการกับปัญหา 7.02 (2.16) 6.91 (1.96) 2. ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 7.82 (1.83) 7.66 (2.04) 3. ด้านสมาธิ 6.55 (1.75)* 6.04 (1.86) 4. ด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 7.26 (2.17)* 6.78 (2.15) 5. ด้านการต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ 7.09 (2.19)* 6.55 (1.97) 6. ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน 6.83 (2.18)* 6.18 (2.23) 7. ด้านอิสระจากความกังวล 6.55 (1.96) 6.61 (1.90) รวมทุกด้าน 7.02 (1.26)* 6.67 (1.27) * แตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 88

ตารางที่ 7 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย จ�ำแนกตามชนิดกีฬา N = 355 ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา บุคคล ทีม (n = 222 ) (n = 133 ) 1. ด้านการจัดการกับปัญหา 6.81 (2.05) 7.23 (2.08) 2. ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 7.80 (1.91) 7.65 (1.97) 3. ด้านสมาธิ 6.19 (1.88) 6.51 (1.69) 4. ด้านความเชื่อม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 6.99 (2.28) 7.12 (1.98) 5. ด้านการต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ 6.79 (2.12) 6.92 (2.09) 6. ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน 6.42 (2.38) 6.69 (1.93) 7. ด้านอิสระจากความกังวล 6.59 (2.03) 6.56 (1.75) รวมทุกด้าน 6.80 (1.34) 6.95 (1.15) ตารางท่ี 8 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ทักษะการจัดการความเครียด ทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย จ�ำแนกตามช่ัวโมงการฝึกซ้อม ต่อสัปดาห์ N = 355 ทักษะการจัดการความเครียด 2 – 12 13 – 24 25 – 52 ทางการกีฬา ชม./สัปดาห์ ชม./สัปดาห์ ชม./สัปดาห์ (n = 92 ) (n = 147 ) (n = 116 ) 1. ด้านการจัดการกับปัญหา 6.90 (2.19) 7.14 (1.97) 6.79 (2.10) 2. ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ 8.02 (1.85) 7.77 (2.02) 7.49 (1.87) 3. ด้านสมาธิ 6.21 (1.95) 6.39 (1.76) 6.29 (1.79) 4. ด้านความเชื่อม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 6.49 (2.17) 7.32 (2.26)* 7.11 (1.98)* 5. ดา้ นการตงั้ เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ ม 6.37 (2.30) 6.95 (2.04)* 7.09 (1.98)* ดา้ นจติ ใจ 6. ดา้ นการแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใต้ 5.98 (2.11) 6.72 (2.20)* 6.71 (2.28)* ความกดดนั 7. ด้านอิสระจากความกังวล 6.96 (2.05) 6.43 (1.89) 6.46 (1.86) รวมทุกด้าน 6.70 (1.31) 6.96 (1.29) 6.85 (1.21) * แตกต่างกับ 2 – 12 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 89

ตอนที่ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณของตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 5 ที่มีความสัมพันธ์กับทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬา จากการวเิ คราะหถ์ ดถอยพหคุ ณู ของตวั แปรเพศ ชนดิ กฬี า และชวั่ โมง การฝกึ ซอ้ มตอ่ สปั ดาห์ เพอื่ อธบิ ายความผนั แปร และอธบิ ายความสมั พนั ธ์ ของทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี าในแตล่ ะดา้ น และรวมทกุ ดา้ น แสดงในตารางท่ี 9 สรปุ ไดว้ า่ ตวั แปรเพศ ชนดิ กฬี า และชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ ม ต่อสัปดาห์ ร่วมกันสามารถอธิบายความผันแปรของทักษะการจัดการ ความเครียดในแต่ละดา้ น และรวมทกุ ด้าน ไดน้ ้อยมากโดยมีค่าอย่รู ะหวา่ ง รอ้ ยละ 0.3 ถงึ 2.3 เมอ่ื พจิ ารณาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรแตล่ ะตวั กบั ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาแต่ละด้าน พบว่า เพศมีความ สมั พนั ธอ์ ยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ใิ นทางตรงกนั ขา้ มกบั สมาธิ ความเชอ่ื มนั่ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ การต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ การแสดงความสามารถสงู สดุ ภายใตค้ วามกดดนั และรวมทกุ ดา้ น โดยมคี า่ สัมประสิทธ์ิความถดถอยมาตรฐาน เท่ากับ -0.140, -0.116, -0.137, -0.151 และ -0.134 ตามล�ำดับ เนื่องจากก�ำหนดให้เพศชายเท่ากับ 1 เพศหญิงเท่ากับ 2 จึงอธิบายได้ว่า เพศชายจะมีคะแนนทักษะการจัดการ ความเครียดในด้านดังกล่าวสูงกว่าเพศหญิง ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อ สัปดาห์ พบว่า มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับด้านการ ตั้งเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิความ ถดถอยมาตรฐาน เทา่ กบั 0.119 กลา่ วคอื หากชวั่ โมงการฝกึ ซอ้ มมากขนึ้ คะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาด้านการต้ังเป้าหมาย และการเตรียมพร้อมด้านจิตใจจะเพ่ิมขึ้น ส�ำหรับตัวแปรชนิดกีฬา ไม่มี ความสัมพันธ์กับทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาในแต่ละด้าน และรวมทุกด้าน 90

ตารางท่ี 9 ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณของตัวแปรเพศ ชนิดกีฬา และช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ท่ีมีต่อความสัมพันธ์ และพยากรณ์ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 1. ด้านการจัดการกับปัญหา B Std. Error Beta t p ตัวพยากรณ์ -0.082 0.221 -0.020 -0.373 0.710 เพศ 0.418 0.227 0.098 1.844 0.066 ชนิดกีฬา -0.007 0.009 -0.037 -0.701 0.484 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ค่าคงที่ = 6.654 R2 ท่ีปรับแล้ว = 0.003 p 2. ด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำ B Std. Error Beta t 0.518 ตัวพยากรณ์ -0.133 0.206 -0.034 -0.647 0.495 เพศ -0.145 0.212 -0.036 -0.683 0.075 ชนิดกีฬา -0.016 0.009 -0.095 -1.783 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ค่าคงที่ = 8.475 p R2 ท่ีปรับแล้ว = 0.012 0.008* 3. ด้านสมาธิ B Std. Error Beta t 0.129 ตัวพยากรณ์ -0.509 0.192 -0.140 -2.651 0.579 เพศ 0.300 0.198 0.080 1.521 ชนิดกีฬา 0.005 0.008 0.029 0.555 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ ค่าคงท่ี = 6.545 R2 ท่ีปรับแล้ว = 0.027 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 91

ตารางที่ 9 (ต่อ) 4. ด้านความเชื่อม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ตัวพยากรณ์ B Std. Error Beta t p -0.116 -2.181 0.030* เพศ -0.502 0.230 0.022 0.425 0.671 0.092 1.736 0.083 ชนิดกีฬา 0.100 0.237 Beta t p ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 0.017 0.010 -0.137 -2.594 0.010* 0.021 0.402 0.688 R2 ที่ปรับแล้ว = 0.013 ค่าคงที่ = 7.266 0.119 2.265 0.024* 5. ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ Beta t p -0.151 -2.860 0.004* ตัวพยากรณ์ B Std. Error 0.050 0.954 0.341 0.086 1.623 0.106 เพศ -0.577 0.222 Beta t p ชนิดกีฬา 0.092 0.229 0.021 0.401 0.688 -0.003 -0.059 0.953 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 0.021 0.009 -0.088 -1.641 0.102 R2 ที่ปรับแล้ว = 0.023 ค่าคงที่ = 7.097 6. ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน ตัวพยากรณ์ B Std. Error เพศ -0.671 0.234 ชนิดกีฬา 0.230 0.241 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ 0.016 0.010 R2 ท่ีปรับแล้ว = 0.023 ค่าคงที่ = 6.840 7. ด้านอิสระจากความกังวล ตัวพยากรณ์ B Std. Error เพศ 0.083 0.206 ชนิดกีฬา -0.013 0.212 ช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ -0.014 0.009 R2 ท่ีปรับแล้ว = 0.001 ค่าคงที่ = 6.782 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 92

ตารางที่ 9 (ต่อ) B Std. Error Beta t p รวมทุกด้าน -0.342 0.135 -0.134 -2.537 0.012* ตัวพยากรณ์ 0.141 0.138 0.054 1.015 0.311 เพศ 0.003 0.006 0.030 0.563 0.574 ชนิดกีฬา ค่าคงท่ี = 7.097 ชั่วโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์ R2 ที่ปรับแล้ว = 0.013 * มีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 93

ความแตกต่างระหว่างเพศพบว่า เพศชายมีคะแนน ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ในด้าน สมาธิ ด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียมความพร้อม ด้าน จิตใจ ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ ความกดดัน และคะแนนรวมทุกด้านสูงกว่าเพศ หญิงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ สอดคล้องกับ Du Plessis (2014) ท่ีพบว่าเพศชายมีทักษะการ จัดการความเครียดทางการกีฬาด้านการจัดการ กับปัญหา ด้านการยอรับค�ำแนะน�ำ ด้านสมาธิ ด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ด้านการ ต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ การอภิปรายผล 94

งานวจิ ยั ครง้ั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เปรยี บเทยี บคณุ ลกั ษณะทางจติ ใจของ นักกีฬาเยาวชนไทยในมิติของทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ซ่ึงประกอบด้วย 7 ด้าน คือ ด้านการจัดการกับปัญหา ด้านการ ยอมรับค�ำแนะน�ำ ด้านสมาธิ ด้านความเช่ือม่ันและแรงจูงใจ ใฝส่ มั ฤทธิ์ ดา้ นการตง้ั เปา้ หมายและเตรยี มความพรอ้ มดา้ นจติ ใจ ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน และ ดา้ นอสิ ระจากความกงั วล ระหว่างเพศชายและหญิง ชนิดกีฬาบุคคล และกีฬาทีม และจ�ำนวนชั่วโมงการฝึกซ้อม 2 – 12 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 13 – 24 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ และ 25 – 52 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ รวมถึง ทำ� การศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี า เพศ ชนิดกีฬาและจ�ำนวนช่ัวโมงการฝึกซ้อมกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (2-way ANOVA) พบว่า เพศกบั ชนดิ กฬี า และเพศกบั ชว่ั โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี าตอ่ สปั ดาหไ์ มม่ อี ทิ ธพิ ล ร่วมกันต่อคะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬาท้ัง 7 ด้าน และคะแนนรวมทกุ ดา้ น สว่ นชนดิ กฬี ากบั ชวั่ โมงการฝกึ ซอ้ มกฬี าตอ่ สปั ดาห์ มีอิทธิพลร่วมกันต่อคะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ในด้านการยอมรับค�ำแนะน�ำอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ เม่ือท�ำการ เปรยี บเทยี บคะแนนทกั ษะการจดั การความเครยี ดทางการกฬี าในแตล่ ะดา้ น ระหว่างเพศ ชนิดกีฬา และช่ัวโมงการฝึกซ้อมต่อสัปดาห์อภิปรายผลดังน้ี คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 95

ความแตกต่างระหว่างเพศพบว่า เพศชายมีคะแนนทักษะ การจัดการความเครียดทางการกีฬา ในด้านสมาธิ ด้านความเชื่อมั่น และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านการตั้งเป้าหมายและเตรียมความพร้อม ด้านจิตใจ ด้านการแสดงความสามารถสูงสุดภายใต้ความกดดัน และ คะแนนรวมทกุ ด้านสูงกว่าเพศหญิงอยา่ งมนี ัยสำ� คญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05 สอดคล้องกับ Du Plessis (2014) ท่ีพบว่าเพศชายมีทักษะการจัดการ ความเครียดทางการกีฬาด้านการจัดการกับปัญหา ด้านการยอมรับ ค�ำแนะน�ำ ด้านสมาธิ ด้านความเชื่อมั่นและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ด้านการ ต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ ด้านการแสดงความ สามารถสูงสุดภายใต้ความกดดันสูงกว่าเพศหญิง ยกเว้นด้านอิสระจาก ความกงั วลทเ่ี พศหญงิ จะมคี ะแนนสงู กวา่ เพศชาย นอกจากน้ี Yadav et al. (2012) พบว่านักกีฬาบาสเกตบอลเพศชายความสามารถระดับจูเนียร์ ทีมชาติอายุไม่เกิน 19 ปี มีทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ด้านการต้ังเป้าหมายและเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ สมาธิ อิสระจาก ความกังวล ความเช่ือม่ันและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิดีกว่าระดับเยาวชน ทีมชาติอายุไม่เกิน 17 ปี อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เช่นเดียวกับ Danchen (2012) พบว่านักกีฬาระดับวิทยาลัยเพศชาย มีความสามารถในด้านการตั้งเป้าหมาย การพูดกับตนเอง การจินตภาพ การควบคุมความสนใจ และการกระตุ้นตนเองในช่วงการฝึกซ้อมและ การแข่งขันดีกว่าเพศหญิงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จาก ผลการวจิ ยั ในครงั้ นแี้ ละการวจิ ยั ทผี่ า่ นมาแสดงใหเ้ หน็ วา่ ผชู้ ายจะมแี นวโนม้ ของคะแนนทักษะการจัดการความเครียดด้านการตั้งเป้าหมายท่ีดีกว่า เพศหญิง ซ่ึงสอดคล้องกับข้อมูลการศึกษาของ Omar - Fauzee et al. (2008) ท่ีพบว่านักกีฬาเพศชายจะใช้กลยุทธ์จัดการความเครียดโดย มุ่งแก้ที่ปัญหา (problem-focused coping) ได้แก่ การตั้งเป้าหมาย ทักษะการจัดการเวลา และการแก้ปัญหา ส่วนนักกีฬาเพศหญิงจัดการ ความเครียดโดยมุ่งการแก้ท่ีอารมณ์ (emotion-focused coping) เช่น การท�ำสมาธิ การผ่อนคลาย และการปรับความคิด จึงส่งผลให้นักกีฬา เพศหญิงสามารถควบคุมอารมณ์ได้ดีกว่าเพศชาย อย่างไรก็ตามการ เปรียบเทียบทักษะการจัดการความเครียดระหว่างนักกีฬาเพศชายและ หญงิ ยงั มปี จั จยั อนื่ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ อายุ ประสบการณฝ์ กึ ซอ้ มและแขง่ ขนั เป็นต้น จึงท�ำให้ข้อมูลที่พบจากหลายงานวิจัยมีความต่างกัน 96

คะแนนทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา ด้านสมาธิ เพศชาย > เพศหญิง ด้านความเชื่อมั่น เพศชาย > เพศหญิง และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านการต้ังเป้าหมาย เพศชาย > เพศหญิง และเตรียมความพร้อม เพศชาย > เพศหญิง เพศชาย > เพศหญิง ด้านจิตใจ เพศชาย < เพศหญิง ด้านการแสดงความสามารถสูงสุด ภายใต้ความกดดัน ด้านอิสระจากความกังวล เปรียบเทียบกลยุทธ์จัดการความเครียด ระหว่างนักกีฬาเพศชาย และนักกีฬาเพศหญิง มุ่งแก้ที่ปัญหา มุ่งการแก้ท่ีอารมณ์ (problem-focused coping) (emotion-focused coping) การตั้งเป้าหมาย การผ่อนคลาย ทักษะการจัดการเวลา การปรับความคิด การแก้ปัญหา คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 97

ความแตกต่างระหว่างชนิดกีฬาพบว่า แต่นักกีฬาประเภทบุคคลและประเภททีม ชนดิ กฬี าบคุ คลและชนดิ กฬี าทมี มผี ลคะแนน มีความฉลาดทางอารมณ์ไม่แตกต่างกัน การจดั การความเครยี ดทางการกฬี าทง้ั 7 ดา้ น อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เช่น และคะแนนรวมทกุ ดา้ นไมแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งมี เดียวกับการศึกษาของ Danchen (2012) นยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 สอดคลอ้ งกบั พบว่า กีฬาบุคคลจะควบคุมอารมณ์ดีกว่า Du Plessis (2014) ท่ีศึกษาในตัวอย่าง ชนิดกีฬาทีมท้ังในช่วงการฝึกซ้อมและ ที่มีอายุใกล้เคียงกับการศึกษาในคร้ังน้ี คือ การแข่งขัน ขณะที่ชนิดกีฬาทีมจะมีความ นักกีฬาทีมและนักกีฬาบุคคลอายุ 14 และ สามารถในการผ่อนคลายได้ดีกว่าชนิด 15 ปี พบวา่ มที กั ษะการจดั การความเครยี ด กีฬาบุคคลในช่วงการฝึกซ้อม โดยผลของ ทางการกีฬาไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ งานวิจัยครั้งน้ีและงานวิจัยก่อนหน้ามีทั้ง ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ซง่ึ ผลการวจิ ยั ดงั กลา่ ว สอดคลอ้ งกนั และตรงขา้ มกนั อาจเนอ่ื งจาก มคี วามตา่ งจากการศกึ ษาของ Kajbafnezhad กีฬาแต่ละชนิดมีรูปแบบการเคล่ือนไหว et al. (2011) ศกึ ษาความแตกตา่ งระหวา่ ง ระยะเวลา ความหนัก และกติกาการเล่นที่ นักกีฬาประเภทบุคคลและประเภททีมที่มี ต่างกัน ส่งผลให้แหล่งที่มาของความเครยี ด ตอ่ ทกั ษะจติ ใจ ความฉลาดทางอารมณ์ และ และการจดั การตอ่ ความเครยี ดตา่ งกนั รวมถงึ แรงจูงใจสู่ความส�ำเร็จในการเป็นนักกีฬา ปัจจัยด้านอายุ ความเชื่อถือ สถานะทาง พบว่านักกีฬาประเภททีมมีคะแนนทักษะ สังคมและความสัมพันธ์ของสมาชิกในทีม จิตใจและคะแนนแรงจูงใจสู่ความส�ำเร็จ ท่ีมีผลต่อการพัฒนาทักษะทางจิตใจของ ในการเป็นนักกีฬาสูงกว่านักกีฬาประเภท นักกีฬา บคุ คลอย่างมนี ยั ส�ำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05 98

กีฬาประเภทบุคคล กีฬาบุคคลและกีฬาทีม กีฬาประเภททีม มีผลคะแนนการจัดการ ความเครยี ดทางการกฬี าทง้ั 7 ดา้ น และคะแนนรวมทุกด้าน ไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 คุณลักษณะทางจิตใจของนักกีฬาเยาวชนไทย: ทักษะการจัดการความเครียดทางการกีฬา 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook