Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1คู่มือบริหารงบประมาณโรงเรียนบ้านโพง

1คู่มือบริหารงบประมาณโรงเรียนบ้านโพง

Published by Siriwattanar5, 2021-10-15 03:26:03

Description: 1คู่มือบริหารงบประมาณโรงเรียนบ้านโพง

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการบริหารงาน กลุ่มงานบรหิ ารงบประมาณ โรงเรียนบา้ นโพง ตำบลสะเดาใหญ่ อำเภอขุขนั ธ์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 3

ค่มู อื บรหิ ารงานงบประมาณ 1 การบรหิ ารงานงบประมาณ ---------------------------- การบริหารงานกลุ่มบริหารงบประมาณ โรงเรียนบ้านโนนใหม่(ประชาอุปถัมภ์) เป็นภารกิจสำคัญที่มุ่ง ส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองภารกิจของโรงเรียน มุ่งเน้นความเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการมี ความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยึดหลักการบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงาน ให้มีการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการมาใช้บริหาร จดั การเพ่ือประโยชน์ทางการศึกษา ส่งผลให้เกิดคุณภาพท่ีดีขนึ้ ต่อผู้เรียนดำเนินการด้านการบริหารงานบุคลากร ให้เกิดความคล่องตัว อิสระภายใต้กฎหมาย ระเบียบ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้รับการพัฒนา มีความรู้ ความสามารถ มีขวัญกำลังใจ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ มีความมั่นคง และก้าวหน้าในวิชาชีพ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนการประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและการอำนวยการ ความสะดวกต่าง ๆ ในการให้บริการการศึกษาทุกรูปแบบ มุ่งพัฒนา สถานศึกษาให้ ใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้สถานศึกษาบริหารงานด้านงบประมาณมีความเป็นอิสระ คล่องตัว โปร่งใสตรวจสอบได้เป็นไป ด้วยความถูกต้อง รวดเร็วเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล 2. เพอ่ื ให้ได้ผลผลติ ผลลัพธเ์ ป็นไปตามขอ้ ตกลงการให้บรกิ าร 3. เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรทไี่ ด้อย่างเพยี งพอและมีประสิทธิภาพ 4.เพ่อื สง่ เสรมิ ใหค้ รูและบคุ ลากรปฏบิ ตั ิงานเตม็ ตามศักยภาพ โดยยดึ มั่นในระเบยี บวินยั จรรยาบรรณ ตาม มาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานวิทยฐานะแห่งวิชาชีพชั้นสูงจนได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ มีความมั่นคงและก้าว หน้าทสี่ ง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ 5. เพอ่ื ให้บริการ สนบั สนุน ส่งเสรมิ ประสานงานและอำนวยการ ให้การปฏิบัติงานของสถานศกึ ษาเป็นไป ด้วยความเรยี บร้อย มปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล 6. เพื่อประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานของสถานศึกษาต่อสาธารณชนซึ่งจะก่อให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ เจตคตทิ ีด่ ี เลือ่ มใส ศรัทธาและให้การสนบั สนนุ การจดั การศึกษา ขอบข่ายภารกิจของกลุ่มบริหารงบประมาณ ขอบข่ายภารกจิ 1. การจดั ทำและเสนอของบประมาณ 1.1 การวิเคราะห์และพฒั นานโยบายทางการศึกษา 1.2 การจดั ทำแผนกลยุทธ์หรอื แผนพฒั นาการศึกษา 1.3 การวิเคราะห์ความเหมาะสมการเสนอของบประมาณ 2. การจัดสรรงบประมาณ 2.1 การจัดสรรงบประมาณในสถานศึกษา 2.2 การเบิกจา่ ยและการอนมุ ัตงิ บประมาณ 2.3 การโอนเงนิ งบประมาณ

คูม่ อื บริหารงานงบประมาณ 2 3. การตรวจสอบ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการใชเ้ งนิ และผลการดำเนินงาน 3.1 การตรวจสอบตดิ ตามการใช้เงินและผลการดำเนนิ งาน 3.2 การประเมนิ ผลการใช้เงินและผลการดำเนนิ งาน 4. การบรหิ ารการเงนิ 4.1 การเบิกเงนิ จากคลัง 4.2 การรับเงนิ 4.3 การเก็บรกั ษาเงิน 4.4 การจา่ ยเงิน 4.5 การนำส่งเงิน 4.6 การกันเงินไว้เบิกเหลอ่ื มปี 5. การบริหารบัญชี 5.1 การจดั ทำบญั ชีการเงนิ 5.2 การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงิน 5.3 การจดั ทำและจดั หาแบบพิมพบ์ ญั ชี ทะเบียน และรายงาน 6. การบรหิ ารพัสดแุ ละสินทรัพย์ 6.1 การจดั ทำระบบฐานข้อมูลสนิ ทรพั ยข์ องสถานศึกษา 6.2 การจัดหาพัสดุ 6.3 การกำหนดแบบรูปรายการหรอื คณุ ลักษณะเฉพาะและจดั ซื้อจดั จ้าง 6.4 การควบคุมดูแล บำรุงรักษา และจำหนา่ ยพัสดุ 7. การประกันคณุ ภาพการศึกษา 8. การดำเนินงานธรุ การ 9. การจดั ระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร 10. งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 11. กองทุนสวสั ดิการ 12. การจัดระบบการควบคุมภายในหนว่ ยงาน

ค่มู ือบริหารงานงบประมาณ 3 งบประมาณทส่ี ถานศกึ ษานำมาใช้จา่ ย รายจา่ ยตามงบประมาณ จำแนกออกเปน็ 2 ลักษณะ 1. รายจา่ ยของส่วนราชการและรฐั วิสาหกิจ - งบบุคลากร - งบดำเนนิ งาน - งบลงทนุ - งบเงินอดุ หนนุ - งบร่ายจ่ายอืน่ งบบุคลากร หมายถงึ รายจ่ายท่ีกำหนดใหจ้ ่ายเพื่อการบริหารงานบคุ คลภาครัฐ ได้แก่รายจา่ ยที่จา่ ยใน ลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว และคา่ ตอบแทนพนักงานราชการ รวมถงึ รายจ่ายท่ีกำหนดให้ จ่ายจากงบรายจา่ ยอ่นื ใดในลักษณะรายจ่ายดังกลา่ ว งบดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายทก่ี ำหนดให้จา่ ยเพ่ือการบริหารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายท่ีจ่ายใน ลักษณะค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ วสั ดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถงึ ราจา่ ยทกี่ ำหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอน่ื ใดในลกั ษณะรายจ่ายดงั กล่าว งบลงทุน หมายถึง รายจา่ ยท่กี ำหนดใหจ้ ่ายเพ่ือการลงทุน ไดแ้ ก่ รายจา่ ยที่จา่ ยในลักษณะคา่ ครุภัณฑ์ คา่ ท่ดี ินและสง่ิ ก่อสร้าง รวมถงึ รายจ่ายที่กำหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอ่ืนใดในลกั ษณะรายจา่ ยดังกลา่ ว งบดำเนนิ งาน หมายถึง รายจ่ายท่กี ำหนดให้จา่ ยเพื่อการบริหารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายทจ่ี า่ ยใน ลกั ษณะคา่ ตอบแทน ค่าใช้สอย คา่ วัสดุ และคา่ สาธารณูปโภค รวมถึงรายจา่ ยท่กี ำหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจา่ ย อ่ืนใดในลักษณะรายจา่ ยดงั กลา่ ว งบลงทนุ หมายถึง รายจา่ ยที่กำหนให้จา่ ยเพอื่ การลงทนุ ได้แก่ รายจ่ายทีจ่ ่ายในลักษณะค่าครภุ ัณฑ์ ค่าทีด่ ินและส่ิงก่อนสรา้ ง รวมถงึ รายจ่ายที่กำหนดใหจ้ า่ ยจากงบรายจ่ายอ่ืนใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว งบเงนิ อดุ หนุน หมายถึง รายจ่ายท่ีกำหนดให้จ่ายเป็นคา่ บำรงุ หรือเพ่ือชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ งานของ หนว่ ยงานอิสระตามรัฐธรรมนญู หรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมิใชส่ ว่ นกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบบรหิ ารราชการ แผ่นดิน หนว่ ยงานในกำกับของรฐั องค์การมหาชน รฐั วสิ าหกิจ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น รวมถงึ เงิน อดุ หนนุ งบพระมหากษัตรยิ ์ เงนิ อุดหนุนศาสนา งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจา่ ยทีไ่ ม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหน่ึง หรือรายจ่ายที่ สำนกั งานงบประมาณกำหนดให้ใชจ้ ่ายในงบรายจ่ายนี้ เชน่ เงนิ ราชการลบั เงินคา่ ปรับ ที่จา่ ยคืนใหแ้ กผ่ ู้ขาย หรอื ผู้รบั จ้าง ฯลฯ อัตราเงินอุดหนุนรายหวั นักเรียนต่อปกี ารศกึ ษา ระดับก่อนประถมศึกษา 1,700 บาท ระดับประถมศึกษา 1,900 บาท ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 3,500 บาท ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท การจดั สรรเงินอุดหนุนรายหวั นักเรยี น แบง่ การใชต้ ามสดั ส่วน ดา้ นวิชาการ : ดา้ นบริหารทั่วไป : สำรองจ่ายท้งั 2 ดา้ นคือ 1. ดา้ นวิชาการ ใหส้ ดั สว่ นไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 นำไปใชไ้ ดใ้ นเรอ่ื ง 1.1 จัดหาวสั ดุและครภุ ัณฑ์ท่ีจำเป็นตอ่ การเรยี นการสอน 1.2 ซ่อมแซมวัสดอุ ปุ กรณ์

คู่มอื บริหารงานงบประมาณ 4 1.3 การพฒั นาบุคลาการด้านการสอน เช่น สง่ ครเู ขา้ อบรมสมั มนา ค่าจ้างชว่ั คราวของครู ปฏิบัติการสอน คา่ สอนพเิ ศษ 2. ดา้ นบริหารทว่ั ไป ใหส้ ัดสว่ นไมเ่ กนิ ร้อยละ 30 นำไปใชไ้ ด้ในเรือ่ ง 2.1 คา่ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์และคา่ ทีด่ นิ สง่ิ กอ่ สรา้ ง คา่ จา้ งช่วั คราวที่ไม่ใชป่ ฏิบัติการสอนค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย 2.2 สำรองจ่ายนอกเหนือด้านวชิ าการและดา้ นบรหิ ารทวั่ ไป ให้สดั สว่ นไม่เกนิ ร้อยละ 20 นำไปใช้ ในเรื่องงานตามนโยบาย เงินอดุ หนนุ ปจั จัยพน้ื ฐานสำหรับนกั เรยี นยากจน 1. เปน็ เงินทจ่ี ดั สรรให้แก่สถานศึกษาที่มนี กั เรยี นยากจน เพื่อจดั หาปัจจัยพ้ืนฐานทจี่ ำเป็นต่อการดำรงชีวิต และเพิ่มโอกาสทางการศกึ ษา เปน็ การชว่ ยเหลอื นกั เรียนท่ียากจน ช้นั ป.1 ถงึ ม.3 ให้มีโอกาสได้รับ การศกึ ษาในระดบั ท่ีสูงขึน้ (ยกเวน้ สถานศกึ ษาสงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ) 2. นกั เรียนยากจน หมายถึง นกั เรียนท่ีผปู้ กครองมีรายได้ตอ่ ครัวเรือน ไมเ่ กนิ 40,000 บาท 3. แนวการใช้ ใหใ้ ชใ้ นลักษณะ ถวั จ่าย ในรายการตอ่ ไปนี้ 3.1 คา่ หนังสอื และอปุ กรณ์การเรียน(ยืมใช้) 3.2 ค่าเส้ือผ้าและวัสดุเคร่อื งแตง่ กายนักเรียน(แจกจา่ ย) 3.3 คา่ อาหารกลางวนั (วัตถุดบิ จา้ งเหมา เงินสด) 3.4 คา่ พาหนะในการเดินทาง (เงินสด จ้างเหมา) 3.5 กรณีจา่ ยเป็นเงนิ สด โรงเรยี นแตง่ ตงั้ กรรมการ 3 คน รว่ มกันจา่ ยเงินโดยใชใ้ บสำคัญรับเงิน เปน็ หลกั ฐาน 3.6 ระดบั ประถมศึกษา คนละ 1,000 บาท/ปี 3.7 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น คนละ 3,000 บาท/ปี 1.1 รายจ่ายงบกลาง 1. เงินสวัสดกิ ารคา่ รักษาพยาบาล/การศึกษาบตุ ร/เงินช่วยเหลือบตุ ร 2. เงินเบย้ี หวัดบำเหนจ็ บำนาญ 3. เงินสำรอง เงนิ สมทบ และเงินชดเชยข้าราชการ 4. เงินสมทบของลูกจา้ งประจำ 2. รายจา่ ยงบกลาง หมายถึง รายจ่ายทีต่ ้งั ไวเ้ พ่อื จดั สรรใหส้ ่วนราชการและรฐั วิสาหกจิ โดยทั่วไปใช้ จา่ ยตามรายการดังต่อไปน้ี 1. “เงนิ เบ้ยี หวัดบำเหน็จบำนาญ” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตงั้ ไวเ้ พื่อจา่ ยเป็นเงินบำนาญ ข้าราชการ เงินบำเหนจ็ ลูกจ้างประจำ เงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง เงินทดแทนข้าราชการวสิ ามญั เงนิ คา่ ทดแทนสำหรับผู้ได้รบั อนั ตรายในการรักษาความมน่ั คงของประเทศ เงนิ ชว่ ยพิเศษข้าราชการบำนาญเสียชีวิต เงินสงเคราะห์ผ้ปู ระสบภัยเนอื่ งจากการชว่ ยเหลอื ข้าราชการ การปฏิบัตงิ านของชาติหรอื การปฏิบัตติ ามหน้าทม่ี นษุ ยธรรม และเงินชว่ ยคา่ ครองชีพผู้รบั เบ้ยี หวัด บำนาญ 2. “เงินชว่ ยเหลือขา้ ราชการ ลูกจา้ ง และพนักงานของรฐั ” หมายความวา่ รายจ่ายทต่ี ้งั ไวเ้ พอื่ จา่ ยเป็นเงนิ สวัสดิการชว่ ยเหลือในด้านต่างๆ ให้แก่ขา้ ราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรฐั ไดแ้ ก่ เงินชว่ ยเหลอื การศกึ ษาของบตุ ร เงนิ ช่วยเหลือบุตร และเงนิ พิเศษในกรณตี ายในระหวา่ งรบั ราชการ

คูม่ อื บรหิ ารงานงบประมาณ 5 3. “เงนิ เลอ่ื นขัน้ เลอ่ื นอนั ดับเงินเดอื นและเงินปรบั วุฒขิ ้าราชการ หมายความว่ารายจา่ ยทีต่ ้ังไว้ เพอ่ื จา่ ยเปน็ เงนิ เลอ่ื นขั้นเลือ่ นอนั ดับเงนิ เดือนขา้ ราชการประจำปี เงินเล่ือนข้ันเล่ือนอนั ดับเงนิ เดือนข้าราชการท่ี ไดร้ ับเลื่อนระดบั และหรือแตง่ ตง้ั ให้ดำรงตำแหน่งระหว่างปแี ละเงนิ ปรบั วุฒขิ า้ ราชการ 4. “เงินสำรอง เงนิ สมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ” หมายความวา่ รายจ่ายท่ีตัง้ ไวเ้ พอ่ื จา่ ยเป็นเงนิ สำรอง เงนิ สมทบ และเงนิ ชดเชยท่รี ัฐบาลนำส่งเข้ากองทนุ บำเหน็จบำนาญขา้ ราชการ 5. “เงนิ สมทบของลูกจ้างประจำ” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตัง้ ไวเ้ พื่อจ่ายเปน็ เงนิ สมทบที่ รฐั บาลนำส่งเข้ากองทนุ สำรอง เล้ยี งชีพลกู จา้ งประจำ 6. “ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกับการเสดจ็ พระราชดำเนินและต้อนรบั ประมุขต่างประเทศ หมายความวา่ รายจา่ ยทตี่ ัง้ ไวเ้ พือ่ เป็นคา่ ใช้จ่ายสนับสนนุ พระราชภารกจิ ในการเสดจ็ พระราชดำเนนิ ภายในประเทศ และหรือ ตา่ งประเทศ และค่าใชจ้ า่ ยในการต้อนรบั ประมุขต่างประเทศท่มี ายาเยอื นประเทศไทย 7. “เงนิ สำรองจา่ ยเพ่ือกรณีฉกุ เฉินหรือจำเป็น” หมายความวา่ รายจ่ายท่ีตัง้ สำรองไว้เพือ่ จัดสรรเป็นค่าใชจ้ ่ายในกรณฉี ุกเฉินหรือจำเป็น 8. “คา่ ใชจ้ ่ายในการดำเนินการรักษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความว่า รายจา่ ยท่ีตง้ั ไว้ เพ่อื เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำเนินงานรักษาความมัน่ คงของประเทศ 9. “เงนิ ราชการลบั ในการรักษาความม่ันคงของประเทศ” หมายความวา่ รายจา่ ยที่ต้ังไวเ้ พ่อื เบกิ จ่ายเป็นเงินราชการลบั ในการดำเนนิ งานเพ่ือรักษาความม่ันคงของประเทศ 10. “ค่าใช้จา่ ยตามโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำร”ิ หมายความวา่ รายจ่ายท่ีตง้ั ไว้เพ่ือ เป็นค่าใชจ้ า่ ในการดำเนนิ งานตามโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ 11. “ค่าใช้จา่ ยในการรกั ษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจา้ ง และพนกั งานของรัฐ” หมายความว่า รายจา่ ยท่ตี ง้ั ไวเ้ ป็นคา่ ใช้จ่ายในการชว่ ยเหลอื ค่ารักษาพยาบาลขา้ ราชการ ลูกจา้ งประจำ และพนักงานของรัฐ เงินนอกงบประมาณ 1. เงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา 2. เงินภาษีหกั ณ ทจ่ี า่ ย 3. เงนิ ลูกเสือ เนตรนารี 4. เงินประกนั สญั ญา 5. เงินบริจาคที่มวี ัตถุประสงค์ เงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา หมายถึง เงนิ รายไดต้ ามมาตรา 59 แหง่ พ.ร.บ. การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงเกดิ จาก 1. ผลประโยชน์จากทรพั ยส์ นิ ที่เป็นราชพสั ดุ 2. คา่ บริการและค่าธรรมเนยี ม ทีไ่ ม่ขัดหรือแย้งนโยบาย วัตถปุ ระสงค์และภารกิจหลักของสถานศึกษา 3. เบ้ียปรบั จากการผิดสัญญาลาศกึ ษาต่อและเบ้ยี ปรับการผิดสญั ญาซื้อทรัพย์สนิ หรอื จ้างทำของจากเงนิ งบประมาณ 4. คา่ ขายแบบรูปรายการ เงินอุดหนนุ อปท. รวมเงินอาหารกลางวนั 5. คา่ ขายทรัพย์สนิ ที่ได้มาจากเงินงบประมาณ

คู่มือบรหิ ารงานงบประมาณ 6 ขอบข่ายภาระงาน/การดำเนนิ งาน ของกลุ่มบริหารงบประมาณ 1. การจดั ทำและเสนอของบประมาณ 1.1 การวเิ คราะห์ และพัฒนานโยบายทางการศกึ ษา แนวทางการปฏิบัตงิ าน 1) วิเคราะห์ทิศทางและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานเหนือสถานศึกษา ได้แก่ เปา้ หมายเชิง ยทุ ธศาสตรร์ ะดบั ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ แผนการศกึ ษาแห่งชาตแิ ผนปฏิบตั ิราชการของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และแผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 2) ศึกษาข้อตกลงผลการปฏิบตั งิ านและเป้าหมายการให้บริการสาธารณะทุกระดับได้แก่ เปา้ หมายการใหบ้ ริการสาธารณะ (Public Service Agreement : PSA) ข้อตกลงการจัดทำผลผลิต (Service Delivery Agreement : SDA) ข้อตกลงผลการปฏบิ ัตงิ านของเขตพน้ื ทแี่ ละผลการดำเนินงานของสถานศึกษาที่ ต้องดำเนินการ เพื่อให้บรรลุข้อตกลงที่สถานศึกษาทำกบั เขตพ้ืนที่การศึกษา 3) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั การจัดและพฒั นาการศึกษาของสถานศกึ ษาตามกรอบทศิ ทางของเขต พื้นทก่ี ารศกึ ษา และตามความตอ้ งการของสถานศึกษา 4) วเิ คราะห์ผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษาตามข้อตกลงทที่ ำกับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาด้าน ปริมาณ คุณภาพ เวลา ตลอดจนต้นทนุ ซึง่ ตอ้ งคำนวณต้นทุนผลผลติ ขององค์กร และผลผลิต งาน / โครงการ 5) จดั ทำข้อมูลสารสนเทศผลการศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพอื่ ใช้ในการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทีม่ ี ผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 6) เผยแพร่ข้อมลู สารสนเทศใหเ้ ขตพ้ืนที่การศึกษา และสาธารณะรับทราบกฎหมาย ระเบียบ และเอกสารที่เกีย่ วข้อง 1) พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 2) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการประทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 3) หลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544 1.2 การจดั ทำแผนกลยุทธ์ หรอื แผนพัฒนาการศกึ ษา แนวทางการปฏบิ ตั ิ ครู บุคลากรทางการศกึ ษา นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา และชมุ ชนมสี ่วนรว่ มดำเนินการ ดังนี้ 1) ทบทวนภารกิจการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และศึกษารายงานข้อมูลสารสนเทศท่ี เกีย่ วขอ้ ง 2) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาที่มีผลกระทบต่อการจัดการศึกษา(SWOT) และ ประเมินสถานภาพของสถานศกึ ษา 3) กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และเป้าประสงค์(Corporate Objective) ของ สถานศกึ ษา 4) กำหนดกลยุทธ์ของสถานศึกษา 5) กำหนดผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) และตัวชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicators : KPIs) โดยจัดทำเป็นขอ้ มลู สารสนเทศ 6) กำหนดเป้าหมายระยะปานกลางของผลผลิตในเชิงปริมาณ คุณภาพ และผลลัพธ์ที่สอดคล้อง กับผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาท่ีจะทำรา่ งข้อตกลงกับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

คู่มอื บรหิ ารงานงบประมาณ 7 7) จัดทำรายละเอียดโครงสร้าง แผนงาน งาน/โครงการ และกจิ กรรมหลกั 8) จัดให้รับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุงและนำเสนอขอความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศกึ ษา 9) เผยแพรป่ ระกาศตอ่ สาธารณชน และผ้ทู เี่ ก่ียวขอ้ งกฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 1) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข 2) พระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 1.3 การวเิ คราะหค์ วามเหมาะสมการเสนอของบประมาณ แนวทางการปฏบิ ัติ 1) จัดทำรายละเอียดแผนงบประมาณ แผนงาน งาน/โครงการ ให้มีความเชือ่ มโยงกับผลผลติ และ ผลลัพธ์ ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของสถานศึกษา พร้อมกับวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของแผนงาน งาน/ โครงการ เมื่อเขตพื้นที่การศึกษาแจ้งนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐานการศึกษาข้ัพื้นฐาน หลักเกณฑ์ ขั้นตอนและ วธิ ีการจัดตั้งงบประมาณใหส้ ถานศึกษาดำเนินการ 2) จัดทำ กรอบประมาณ การรายจ่ายระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework : MTEF) โดยวิเคราะห์นโยบายหน่วยเหนือที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม วิเคราะห์ผลการ ดำเนินงานปีงบประมาณท่ีผ่านมาของสถานศึกษา เพื่อปรับเป้าหมายผลผลิตที่ต้องการดำเนินการใน 3 ปีข้างหนา้ พร้อมกับปรับแผนงาน งาน/โครงการ และกิจกรรมหลัก ให้สอดคล้องกับประมาณรายได้ของสถานศึกษาทั้งจาก เงนิ งบประมาณ และเงนิ นอกงบประมาณ 3) จัดทำคำขอรับงบประมาณของสถานศึกษา และกรอบประมาณการรายจ่ายระยะปานกลาง (MTEF) เสนอตอ่ เขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือพิจารณาความเหมาะสมสอดคล้องเชิงนโยบาย 4) จัดทำร่างขอ้ ตกลงบรกิ ารผลผลิต (รา่ งข้อตกลงผลการปฏิบัตงิ าน) ของสถานศึกษาทจี่ ะต้องทำ กับเขตพ้ืนที่การศึกษาเม่ือได้รับงบประมาณ โดยมีเปา้ หมายการให้บรกิ ารทสี่ อดคลอ้ งกับแผนกลยทุ ธข์ อง สถานศึกษา โดยผา่ นความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทีเ่ กยี่ วข้อง 1) ระเบยี บวา่ ด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2545 2) ชดุ ปฏิบตั กิ ารจัดทำแผนกลยทุ ธ์และกรอบประมาณการรายจา่ ยลว่ งหนา้ ระยะปาน กลาง : กองแผนงาน กรมสามัญศึกษา 2. การจัดสรรงบประมาณ 2.1 การจัดสรรงบประมาณภายในสถานศึกษา แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จดั ทำขอ้ ตกลงบรกิ ารผลผลติ ของสถานศกึ ษากบั เขตพื้นท่ีการศึกษา เม่อื ไดร้ บั งบประมาณ 2) ศึกษาข้อมูลการจัดสรรงบประมาณที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแจ้งผ่าน เขตพื้นที่การศึกษา แจ้งให้สถานศึกษาทราบในเรื่องนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลกั เกณฑ์ ขน้ั ตอน และวิธีการจดั สรรงบประมาณ 3) ตรวจสอบกรอบวงเงินงบประมาณที่ได้รับจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรที่เขตพื้นท่ี การศกึ ษาแจ้ง ตลอดจนตรวจสอบวงเงินนอกงบประมาณที่ได้จากแผนการระดมทรัพยากร 4) วิเคราะห์กิจกรรมตามภารกิจงานที่จะต้องดำเนินการตามมาตรฐานโครงสร้างสายงาน และ ตามแผนงาน งาน/โครงการของสถานศึกษา เพ่ือจดั ลำดบั ความสำคัญ และกำหนด งบประมาณ ทรพั ยากรของแต่ ละสายงาน งาน/โครงการ ให้เปน็ ไปตามกรอบวงเงินงบประมาณทไ่ี ด้รับ และวงเงินนอกงบประมาณตามแผนระดม ทรพั ยากร

คมู่ ือบรหิ ารงานงบประมาณ 8 5) ปรับปรุงกรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง (MTEF) ให้สอดคล้องกับกรอบวงเงินที่ ไดร้ บั 6) จัดทำรายละเอียดแผนปฏิบัติการประปีงบประมาณ ซึ่งระบุแผนงาน งาน/โครงการที่ สอดคลอ้ งวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ด้รบั และวงเงนิ นอกงบประมาณท่ีไดต้ ามแผนระดมทรพั ยากร 7) จัดทำข้อร่างตกลงผลผลิตของหนว่ ยงานภายในสถานศึกษา และกำหนดผรู้ บั ผิดชอบ 8) นำเสนอแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ และร่างข้อตกลงผลผลิตขอความเห็นชอบ คณะกรรมการสถานศกึ ษา 9) แจ้งจัดสรรวงเงนิ และจัดทำข้อตกลงผลผลิตให้หน่วยงานภายในสถานศึกษา รับไปดำเนินการ ตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารที่เกยี่ วข้อง ระเบยี บว่าดว้ ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2545 2.2 การเบกิ จ่ายและการอนุมัตงิ บประมาณ แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จดั ทำแผนการใช้งบประมาณรายไตรมาสโดยกำหนดปฏิทินปฏบิ ัตงิ านรายเดือนให้เป็นไปตาม แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณแล้วสรุปแยกเป็นรายไตรมาสเป็น งบบุคลากรงบอุดหนุน งบลงทุน (แยกเป็น คา่ ครภุ ณั ฑ์ และคา่ กอ่ สรา้ ง) และงบดำเนนิ การ (ตามนโยบายพเิ ศษ) 2) เสนอแผนการใช้งบประมาณวงเงินรวมเพื่อขออนุมัติเงินประจำงวดเป็นรายไตรมาสผ่านเขต พน้ื ทก่ี ารศึกษาไปยังคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานรวบรวมเสนอต่อสำนกั งบประมาณ 3) เบิกจ่ายงบประมาณประเภทต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจำปีและอนุมัติการใช้ งบประมาณของสถานศึกษาตามประเภทและรายการตามที่ไดร้ บั งบประมาณ กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ระเบยี บว่าด้วยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545 2.3 การโอนเงินงบประมาณ แนวทางการปฏบิ ตั ิ การโอนเงิน ใหเ้ ปน็ ไปตามขนั้ ตอนและวิธีการทก่ี ระทรวงการคลังกำหนด 3. การตรวจสอบ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลการใชเ้ งนิ และผลการดำเนินงาน 3.1 การตรวจสอบติดตามการใช้เงนิ และผลการดำเนินงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จัดทำแผนการตรวจสอบ ติดตามการใช้เงินทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณของ สถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ และแผนการใช้งบประมาณรายไตรมาส 2) จัดทำแผนการตรวจสอบ ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อตกลงการให้บริการผลผลิตของ สถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ และแผนการใชง้ บประมาณรายไตรมาส 3) จดั ทำแผนการกำกบั ตรวจสอบติดตามและปอ้ งกันความเส่ียงสำหรบั โครงการท่มี ีความเส่ยี งสูง 4) ประสานแผนและดำเนินการตรวจสอบ ติดตาม และนิเทศให้เป็นไปตามแผนการตรวจสอบ ตดิ ตามของสถานศกึ ษา โดยเฉพาะโครงการทม่ี คี วามเส่ียงสูง 5) จัดทำข้อสรุปผลการตรวจสอบ ติดตาม และนิเทศ พร้อมทั้งเสนอข้อปัญหาที่อาจทำให้การ ดำเนินงานไม่ประสบผลสำเรจ็ เพ่อื ให้สถานศกึ ษาเรง่ แกป้ ัญหาได้ทนั สถานการณ์ 6) รายงานผลการดำเนนิ การตรวจสอบตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

คูม่ ือบริหารงานงบประมาณ 9 7) สรุปข้อมูลสารสนเทศที่ได้และจัดรายงานข้อมูลการใช้งบประมาณผลการดำเนินงานของ สถานศึกษาเปน็ รายไตรมาสตอ่ เขตพน้ื ท่ีการศึกษา 3.2 การประเมินผลการใชเ้ งินและผลการดำเนินงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) กำหนดปัจจัยหลักความสำเร็จ และตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPIs) ของ สถานศกึ ษา 2) จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของผลผลิตที่กำหนดตามข้อตกลงการให้บริการผลผลิตของ สถานศกึ ษา 3) สร้างเครื่องมือเพื่อการประเมินผล ผลผลิตตามตัวชี้วัดความสำเร็จที่กำหนดไว้ตามข้อตกลง การใหบ้ ริการผลผลิตของสถานศกึ ษา 4) ประเมนิ แผนกลยุทธ์ และแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีของสถานศึกษา และจดั ทำรายงานประจำปี 5) รายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา 4. การบริหารการเงิน การเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การจ่ายเงิน การนำส่งเงิน การโอนเงิน การกันเงินไว้ เบิกเหลือ่ มปี ให้เปน็ ไปตามขัน้ ตอนและวิธกี ารที่กระทรวงการคลังกำหนด 5. การบรหิ ารการบัญชี 5.1 การจัดทำบัญชกี ารเงิน แนวทางการปฏิบัติ 1) ตั้งยอดบัญชีระหว่างปีงบประมาณท้ังการตั้งยอดภายหลังการปดิ บัญชีงบประมาณปีก่อน และ การตง้ั ยอดกอ่ นปดิ บญั ชปี ีงบประมาณปกี ่อน 2) จัดทำกระดาษทำการโดยปรับปรุงบัญชีเงินงบประมาณ โอนปดิ บัญชเี งนิ นอก งบประมาณเข้า บญั ชที ุน และบัญชีเงินรบั ฝากและเงนิ ประกัน ตั้งยอดบัญชีสนิ ทรัพยท์ เ่ี ป็นบญั ชวี สั ดุหรอื (บัญชีสินคา้ คงเหลอื ) และ บัญชีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน พร้อมทั้งจัดทำใบสำคัญการลงบัญชีทั่วไปโดยใช้จำนวนเงินตามรายการหลังการ ปรับปรุง 3) บันทึกเปิดบัญชีคงค้าง (พึงรับพึงจ่าย : Accrual Basis) โดยบันทึกรายการด้านเดบิตในบัญชี แยกประเภท (สินทรพั ยแ์ ละค่าใช้จา่ ย) และบันทึกรายการดา้ นเครดิตในบญั ชแี ยกประเภท (หนีส้ นิ ทุน รายได)้ 4) บันทึกบัญชีประจำวัน ให้ครอบคลุมการรับเงินงบประมาณ การรับรายได้จากการขายสินค้า หรือการให้บริการ การรับเงินรายได้ การจ่ายเงินงบประมาณ การจ่ายเงินงบประมาณให้ยืม การจ่ายเงินนอก งบประมาณให้ยืม การซื้อวัสดุหรือสินค้าคงเหลือ เงินทดลองจ่ายเงินมัดจำและค่าปรับ รายได้จากเงินกู้ของรัฐ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน การรับเงินบริจาค การรับเงินรายได้แผ่นดิน การถอนเงินรายได้แผ่นดิน การเบิกเงิน งบประมาณแทนกนั การจ่ายเงนิ ให้หนว่ ยงานท่ปี ฏบิ ตั ิตามระบบควบคมุ การเงิน การรับเงินความรับผดิ ทางละเมิด 5) สรุปรายการบันทึกบัญชีทุกวันทำการสรุปรายการรับหรือจ่ายเงินผ่านไปบัญชีแยกประเภท เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินฝากคลัง สำหรับรายการอื่นและรายการในสมุดรายวัน ทั่วไปให้ผ่านรายการเข้า บญั ชแี ยกประเภท ณ วนั ทำการสุดทา้ ยของเดอื น 6) ปรับปรุงบัญชี เมื่อสิ้นปีงบประมาณ โดยปรับรายการบัญชีรายได้จากงบประมาณค้างรับ คา่ ใชจ้ ่ายค้างจา่ ย/รบั ที่ได้รับล่วงหนา้ ค่าใช้จา่ ยลว่ งหน้า/รายได้คา้ งรับ วัสดหุ รือสินคา้ ท่ีใช้ไประหว่างงวดบัญชี ค่า เส่ือมราคา/ค่าตัดจำหนา่ ย คา่ เผื่อหน้สี งสัยจะสญู และหนีส้ ูญ

คมู่ ือบริหารงานงบประมาณ 10 7) ปดิ บญั ชรี ายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ยเพื่อบนั ทึกบัญชีรายไดส้ ูงกว่า(ตำ่ กว่า) ค่าใชจ้ า่ ยในงวดบัญชี และ ปิดรายการรายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายงวดบัญชี เข้าบัญชีรายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใชจ้ า่ ยสะสม แล้วให้โอนบัญชีรายได้ แผ่นดินนำส่งคลัง เขา้ บัญชีรายได้แผน่ ดนิ หากมียอดคงเหลือให้โอนเข้าบญั ชรี ายไดแ้ ผน่ ดินรอนำส่งคลงั 8) ตรวจสอบความถูกต้องของตัวเงินสดและเงินฝากธนาคารตามรายงานคงเหลือประจำวัน และ งบพิสูจน์ยอดฝากธนาคาร ตลอดจนตรวจสอบความถูกต้องของบัญชีแยกประเภททั่วไปและการตรวจสอบความ ถูกตอ้ งของบญั ชีย่อยและทะเบยี น 9) แก้ไขขอ้ ผิดพลาดจากการบันทึกรายการผิดบญั ชี จากการเขียนข้อความผิดหรือตัวเลขผิด จาก การบันทึกตัวเลขผิดช่องบัญชีย่อยแต่ยอดรวมถูก โดยการขีดฆ่าข้อความหรือตัวเลขผิด ลงลายมือชื่อย่อกำกับ พรอ้ มวนั เดอื นปีแลว้ เขยี นขอ้ ความหรอื ตัวเลขทถี่ ูกตอ้ ง กฎหมาย ระเบียบและเอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง 1) หลกั การนโยบายบญั ชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 2) คมู่ ือแนวทางการปรับเปลี่ยนระบบบญั ชสี ่วนราชการจากเกณฑเ์ งินสดเข้าสเู่ กณฑ์คงค้าง 5.2 การจัดทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงนิ แนวทางการปฏิบัติ 1) จัดทำรายงานประจำเดือนส่งหน่วยงานต้นสังกัดสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน และ กรมบัญชีกลางภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยจัดทำรายงานรายได้แผ่นดิน รายงานรายได้และค่าใช้จ่าย รายงานเงินประจำงวด 2) จัดทำรายงานประจำปี โดยจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน จัดทำงบแสดงผลการดำเนินงานทาง การเงิน งบกระแสเงินสดจัดทำโดยวิธีตรง จัดทำหมายเหตุประกอบงบการเงินและจัดส่งรายงานประจำปีให้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานผ่านเขตพื้นที่การศึกษาและจัดส่งสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินและ กรมบัญชีกลางตามกำหนดระยะเวลาทก่ี ำหนด กฎหมาย ระเบียบและเอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง หลักการนโยบายบัญชีสำหรับหนว่ ยงานภาครฐั ฉบบั ที่ 2 5.3 การจดั ทำและจดั หาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน และรายงาน แนวทางการปฏบิ ัติ จัดทำและจัดหาแบบพิมพข์ ึ้นใช้เองเว้นแต่เปน็ แบบพมิ พ์กลางที่เขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือหน่วยงาน ตน้ สังกดั หรือส่วนราชการทีเ่ กย่ี วข้องจัดทำขึน้ เพ่ือจำหน่ายจ่ายแจก กฎหมาย ระเบียบและเอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง หลกั การนโยบายบัญชสี ำหรบั หน่วยงานภาครฐั ฉบับที่ 2 6. การบรหิ ารพสั ดแุ ละสินทรัพย์ 6.1 การจัดทำระบบฐานข้อมลู สนิ ทรัพย์ของสถานศึกษา แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) ตั้งคณะกรรมการหรือบุคลากรขึ้นสำรวจวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน อาคาร และสิ่งก่อสร้างทั้งหมด เพอื่ ทราบสภาพการใช้งาน 2) จำหน่าย บริจาค หรือขายทอดตลาดให้เป็นไปตามระเบียบในกรณีที่หมดสภาพหรือไม่ได้ใช้ ประโยชน์

คูม่ ือบรหิ ารงานงบประมาณ 11 3) จัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สินที่เป็นวัสดุ ครุภัณฑ์ให้เป็นปัจจุบัน ทั้งที่ซื้อหรือจัดหาจากเงิน งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ ตลอดจนที่ได้จากการบริจาคที่ยังไม่ได้บันทึกคุมไว้ โดยบันทึกทะเบียนคุม ราคา วันเวลาท่ไี ด้รับสนิ ทรัพย์ 4) จดทะเบียนเปน็ ที่ราชพัสดุสำหรับทีด่ นิ อาคาร และสิ่งก่อสร้างในกรณีท่ียังไมด่ ำเนินการ และ ที่ยังไม่สมบูรณ์ให้ประสานกับกรมธนารักษ์ หรือสำนักงานธนารักษ์จังหวัดเพื่อดำเนินการให้เป็นปัจจุบัน และให้ จัดทำทะเบยี นคุมในส่วนของโรงเรียนใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน 5) จัดทำระบบฐานข้อมูลทรัพย์สินของสถานศึกษา ซึ่งอาจใช้โปรแกรมระบบทะเบียนคุม สินทรัพยก์ ไ็ ด้ ถา้ สถานศึกษามคี วามพรอ้ ม 6) จัดทำระเบียบการใช้ทรัพย์สินที่เกิดจากการจัดหาของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กฎหมาย ระเบียบและเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม 6.2 การจัดหาพสั ดุ แนวทางการปฏิบัติ 1) วิเคราะห์แผนงาน งาน/โครงการ ที่จัดทำกรอบรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางเพื่อตรวจดู กิจกรรมที่ต้องใช้พัสดุที่ยังไม่มีตามทะเบียนคุมทรัพย์สิน และเป็นไปตามเกณฑ์ความขาดที่กำหนดตามมาตรฐาน กลาง 2) จัดทำแผนระยะปานกลางและจัดหาพัสดุทั้งในส่วนที่สถานศึกษาจัดหาเองและที่ร่วมมือกับ สถานศกึ ษาหรือหน่วยงานอนื่ จดั หา กฎหมาย ระเบียบและเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม 6.3 การกำหนดแบบรปู รายการหรอื คณุ ลกั ษณะเฉพาะและจดั ซื้อจัดจา้ ง แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จัดทำเอกสารแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้างในกรณีที่เป็น แบบมาตรฐาน 2) ตั้งคณะกรรมการขึ้นกำหนดคุณลักษณะเฉพาะหรือแบบรูปรายการในกรณีที่ไม่เป็นแบบ มาตรฐานโดยดำเนินการใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บ 3) จัดซอ้ื จัดจา้ ง โดยตรวจสอบงบประมาณ รายละเอยี ด เกณฑ์ คณุ ลกั ษณะเฉพาะประกาศ จา่ ย/ ขายแบบรปู รายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ พจิ ารณาซองโดยคณะกรรมการ จัดทำสญั ญา และเมอ่ื ตรวจรับงานให้ มอบเรื่องแกเ่ จา้ หน้าทก่ี ารเงนิ วางฎีกาเบกิ เงนิ เพือ่ จา่ ยแกผ่ ูข้ าย/ผู้จา้ ง กฎหมาย ระเบียบและเอกสารที่เก่ยี วข้อง ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพิม่ เตมิ 6.4 การควบคุม บำรุงรักษา และจำหนา่ ยพสั ดุ แนวทางการปฏบิ ัติ 1) จัดทำทะเบียนคมุ ทรพั ยส์ นิ ให้เปน็ ปจั จุบนั 2) กำหนดระเบยี บและแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การใชท้ รัพย์สิน 3) กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บควบคุม และเบิกจ่ายให้เป็นไปตามระบบและแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจำปีอย่างสม่ำเสมอทุกปี 4) ตรวจสอบสภาพและบำรุงรักษาและซ่อมแซมทั้งก่อนและหลังการใช้งานสำหรับทรัพย์สินที่มี สภาพไม่สามารถใช้งานได้ใหต้ ั้งคณะกรรมการขนึ้ พิจารณาและทำจำหน่ายหรอื ขอรื้อถอนกรณเี ป็นสง่ิ ปลูกสรา้ ง

คมู่ ือบริหารงานงบประมาณ 12 กฎหมาย ระเบียบและเอกสารท่ีเกีย่ วข้อง 1) ระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม 2) พระราชบญั ญัตทิ รี่ าชพัสดุ พ.ศ. 2518 7. การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 1) รบั นโยบายจากฝา่ ยบรหิ าร เพอ่ื นำมาวิเคราะห์ และประสานงานกบั ทุกหน่วยงานในโรงเรยี น เพอ่ื วาง แผนการประกนั คุณภาพใหเ้ กิดประสิทธภิ าพมากท่สี ดุ 2) ประสานงานกบั ทุกกลุ่มบริหารทกุ กลมุ่ เพ่อื แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในและ ภายนอกโรงเรยี นนครสวรรค์ 3) ประชุมคณะกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษา เพ่ือวางแผน กำหนดหน้าท่รี บั ผิดชอบปฏิบตั ิหน้าที่ งานดงั น้ี - รับนโยบายจากฝา่ ยบรหิ ารรว่ มปรึกษาหารือคณะทำงานแผน เพอ่ื วเิ คราะหส์ ภาพปจั จุบนั และ ปญั หา พรอ้ มทงั้ กำหนดกิจกรรมงานโครงการท่สี อดคลอ้ งกับแผนและกลยุทธ์ มาตรฐานคณุ ภาพการศึกษา นโยบาย วสิ ัยทศั น์ และสอดคล้องกบั สภาพปจั จบุ ันและปัญหาของโรงเรียน - เสนองานกิจกรรมโครงการ เพ่ือขออนมุ ตั แิ ผนและงบประมาณ - จดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปี - ประสานกำกบั ตดิ ตาม ใหข้ ้อเสนอแนะแก่ทุกงานในเรื่องการประกนั คณุ ภาพ - กำหนดแบบประเมนิ ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา - จดั ทำแบบรายงานการการประเมนิ ตนเองสว่ นบคุ คล (Self Assessment Report : SAR ส่วน บุคคล)เพอ่ื จัดแสดงผลงานประจำปีของโรงเรยี น 4) ตรวจสอบความถูกต้องในการจัดทำเอกสารเก่ียวกบั การประกันคุณภาพการศึกษา 5) จดั ระบบการบรหิ ารจดั การและสารสนเทศของโรงเรียน ให้มีข้อมลู ท่ีเพียงพอในการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา 6) พัฒนามาตรฐานการศึกษา 7) จดั แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 8) ดำเนินงานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 9) การตรวจสอบ ทบทวนการประเมนิ คุณภาพการศึกษา 10) คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา 11) รายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี การประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) 12) จัดระบบผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 13) ประสานเพื่อทำปฏิทินโรงเรยี น 14) รวบรวมและจดั ทำรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ตามแผนการปฏบิ ตั ิงานประจำปี 15) ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีอืน่ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย 8. การดำเนินงานธุรการ แนวทางการปฏิบตั ิ 1) ศกึ ษาวิเคราะห์สภาพงานธุรการของสถานศึกษาและระเบยี บ กฎหมาย แนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี กยี่ วข้อง 2) วางแผนออกแบบระบบงานธุรการ ลดขั้นตอนการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพโดยอาจนำระบบ เทคโนโลยมี าใชใ้ นการดำเนินงานให้เหมะสม

คูม่ ือบรหิ ารงานงบประมาณ 13 3) จัดบุคลากรรับผิดชอบและพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถ ในการปฏิบัติงานธุรการตามระบบท่ี กำหนดไว้ 4) จัดหา Hardware และ Software ให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานด้านธุรการได้ตามระบบท่ีกำหนด ไว้ 5) ดำเนินการงานธรุ การตามระบบทก่ี ำหนดไว้ โดยยดึ หลักความถกู ตอ้ ง รวดเรว็ ประหยดั และคมุ้ คา่ 6) ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และปรับปรงุ งานธุรการใหม้ ีประสิทธภิ าพ ระเบียบกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 1) ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 2) ระเบียบวา่ ดว้ ยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 9. การจดั ระบบการบริหารและพฒั นาองคก์ ร 9.1 การจดั ระบบการบรหิ าร แนวทางการปฏิบัติ 1) ศึกษาวิเคราะหโ์ ครงสรา้ ง ภารกจิ การดำเนินงาน ปริมาณ คุณภาพและสภาพของสถานศึกษา 2) วางแผนออกแบบการจดั ระบบโครงสร้างการแบ่งสว่ นราชการภายในระบบการทำงานและการ บริหารงานของสถานศกึ ษา 3) นำเสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา พิจารณาให้ความเห็นชอบในการแบ่งส่วนราชการ ในสถานศกึ ษา 4) ประกาศและประชาสัมพันธ์ใหส้ ว่ นราชการตลอดจนประชาชนท่วั ไปทราบ 5) ดำเนินการบรหิ ารจัดการให้เปน็ ไปตามโครงสร้างการแบง่ สว่ นราชการทกี่ ำหนด 6) ติดตามประเมินผลและปรบั ปรุงการจัดระบบบริหารให้ประสทิ ธภิ าพ ระเบยี บกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง พระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 9.2 การพฒั นาองคก์ ร แนวทางการปฏิบัติ 1) ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูล สภาพปัจจบุ ันปญั หาและความตอ้ งการจำเปน็ ในการพฒั นาองค์กรของ สถานศกึ ษา 2) กำหนดแนวทางการพัฒนาองค์กรให้ครอบคลุมโครงสร้าง ภารกจิ บุคลากรเทคโนโลยี และกล ยทุ ธ์ให้สอดคลอ้ งกับสภาพปจั จุบัน ปญั หาและความตอ้ งการจำเปน็ ของสถานศึกษา 3) ดำเนินการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ ความสามารถที่เหมาะสมกับโครงสร้าง ภารกจิ เทคโนโลยแี ละกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา 4) กำหนดเปา้ หมาย ผลผลติ ผลลัพธ์ ตวั ช้วี ัด ในการปฏบิ ัติงานของบุคลากร 5) ตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามแนวทางการพฒั นาองค์กรเป็นระยะ ๆอย่างต่อเนอื่ งและ สม่ำเสมอ 6) นำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรและกระบวนการปฏบิ ัติงานให้เหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ ระเบียบกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ ง พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546

คูม่ ือบรหิ ารงานงบประมาณ 14 10. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) สำรวจระบบเครือขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศ 2) จัดทำทะเบียนเครือข่ายข้อมลู สารสนเทศ 3) จัดระบบฐานข้อมูลของสถานศึกษา เพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ ระบบฐานข้อมูลของเขตพื้นทก่ี ารศึกษา 4) พัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะใน การปฏบิ ัติภารกจิ 5) จัดระบบเครือข่ายข้อมลู สารสนเทศเชอ่ื มโยงกับสถานศึกษาอนื่ เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและสว่ นกลาง 6) นำเสนอและเผยแพรข่ ้อมูลสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ าร การบริการและการประชาสมั พนั ธ์ 7) ประเมนิ และประสานงานระบบเครือขา่ ยข้อมูลสารสนเทศ และปรบั ปรงุ พัฒนาเปน็ ระยะ ๆ ระเบียบกฎหมายที่เกย่ี วข้อง พระราชบญั ญตั ิข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 11. กองทนุ สวัสดิการ แนวทางการปฏิบัติ 1) จัดระบบสวัสดิการเพื่อการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามกฎหมายทั้งการจัดหา และการใช้สวสั ดิการเพือ่ การศึกษา 2) วางระเบยี บการใชเ้ งนิ สวสั ดกิ าร 3) ดำเนนิ การจัดสวสั ดกิ ารให้เปน็ ไปตามระเบียบ 4) กำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบ 12. การจดั ระบบการควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน แนวทางการปฏบิ ัติ 1) วิเคราะหส์ ภาพปจั จบุ ัน ปัญหาตามโครงสรา้ งและภารกิจสถานศกึ ษา 2) วเิ คราะห์ความเสย่ี งของการดำเนินงาน กำหนดปัจจยั เสยี่ ง และจดั ลำดบั ความเสย่ี ง 3) กำหนดมาตรการในการป้องกันความเสย่ี งในการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 4) วางแผนการจัดระบบการควบคมุ ภายในสถานศกึ ษา 5) ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายนำมาตรการป้องกันความเสี่ยงไปใช้ในการควบคุมการดำเนินงานตาม ภารกิจ 6) ดำเนนิ การควบคมุ ตามหลักเกณฑม์ าตรการและวิธีการทีส่ ำนักงานตรวจเงินแผ่นดินกำหนด 7) ประเมนิ ผลการดำเนนิ การควบคุมภายใน ตามมาตรการทกี่ ำหนดและปรับปรุงใหเ้ หมาะสม 8) รายงานผลการประเมนิ การควบคุมภายใน ระเบียบกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง 1) พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 2) ระเบยี บคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคมุ ภายใน พ.ศ. 2544

คูม่ อื บริหารงานงบประมาณ 15 ขอบข่ายการดำเนนิ การตามภารงานและอำนาจหน้าที่ งานธรุ การและสารบรรณ 1. ดำเนนิ งานสารบรรณให้เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย รวดเรว็ ถูกต้อง ตามระเบียบงานสารบรรณ 2. รา่ ง โต้ตอบหนงั สือราชการ ทำบนั ทกึ คำส่งั ตรวจสอบความถกู ต้องของเอกสาร ตรวจสอบเรื่องท่ีเสนอ ความเห็นตอ่ ผู้บงั คบั บัญชา 3. เก็บรวบรวม รักษาหนงั สอื และหลกั ฐานทางราชการ 4. อำนวยความสะดวกแก่บุคลากรในโรงเรยี นในเรอื่ งทีเ่ กย่ี วข้อง 5. ดำเนนิ การทำลายหนงั สือ ตามระเบยี บของทางราชการ 6. ประสานงานกับประชาสมั พันธ์ในการออกข่าวสาร ระเบียบ แกบ่ คุ ลากรในโรงเรียนทราบ 7. จัดพมิ พ์รายงานการประชุม 8. ตดิ ตามเรือ่ งรายงานทโี่ รงเรยี นตอ้ งรายงานให้ถกู ต้องเรียบร้อย ทันเวลา 9. ปฏิบัตหิ น้าที่อนื่ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ขอบข่ายการดำเนนิ การตามภารงานและอำนาจหน้าที่ งานเสริมสรา้ งประสิทธภิ าพบคุ ลากร 1. ตรวจสอบความถูกต้องในการจดั ทำเอกสารเกย่ี วกบั การประกันคุณภาพการศึกษา 2. จัดระบบการบรหิ ารจัดการและสารสนเทศของโรงเรียน ใหม้ ขี ้อมลู ทีเ่ พยี งพอในการพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษา 3. พฒั นามาตรฐานการศึกษา 4. จัดแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 5. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 6. การตรวจสอบ ทบทวนการประเมินคุณภาพการศึกษา 7. คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา 8. รายงานคณุ ภาพการศึกษาประจำปี การประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) 9. จดั ระบบผดุงระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา 10. ประสานเพ่ือทำปฏิทนิ โรงเรียน 11. รวบรวมและจดั ทำรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน ตามแผนการปฏบิ ัติงานประจำปี 12. ปฏิบตั ิหน้าท่อี ื่นตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย ขอบขา่ ยการดำเนนิ การตามภารงานและอำนาจหน้าท่ี งานสวสั ดกิ ารโรงเรียน 1. ดำเนินงานตามระเบยี บสวสั ดิการโรงเรียนบา้ นศาลาหนองขอนใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบและวิธีการ ปฏบิ ตั กิ ารดำเนินงานสวัสดกิ ารโรงเรยี นศาลาหนองขอน 2. ใหค้ ำปรึกษาสนับสนุนการดำเนินงานเกยี่ วกับสวสั ดิการโรงเรียนอันเป็นการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ แก่สมาชิก 3. ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอื่นๆตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

คู่มอื บรหิ ารงานงบประมาณ 16 ขอบข่ายการดำเนนิ การตามภารงานและอำนาจหนา้ ที่ งานสำนักงานผอู้ ำนวยการ 1. ดำเนนิ งานตามนโยบายและแผนงานสำนักงานผอู้ ำนวยการโรงเรียน 2. ประสานงานกบั หน่วยงานตา่ งๆ เพ่ือประสานประโยชนแ์ ละความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างหน่วยงานและ ชมุ ชน 3. ดแู ลการนำเสนอหนังสือ เอกสารราชการเพื่อให้ผู้อำนวยการโรงเรียนลงนาม 4. ดแู ลการลงนามในสมดุ เซน็ เยย่ี ม สมุดเซ็นตรวจราชการ 5. จดั ทำทะเบยี นภารกิจผู้อำนวยการ และนำเสนอภารกจิ ผู้อำนวยการตอ่ ผู้อำนวยการทกุ วัน 6. ดูแลใหก้ ารต้อนรบั ผู้ท่ีมาติดต่อราชการกับผอู้ ำนวยการ 7. ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอี่ ืน่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ขอบขา่ ยการดำเนินการตามภารงานและอำนาจหน้าที่ งานนโยบายและแผน 1. รับนโยบายจากฝ่ายบริหาร เพื่อนำมาวิเคราะห์ และประสานงานกบั ทุกหนว่ ยงานในโรงเรียน เพอ่ื วาง แผนการจัดทำแผนพัฒนา และแผนปฏบิ ัติการของโรงเรียนใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพมากทีส่ ุด 2. ประสานงานกบั ทุกกลุ่มบริหารทุกกลุม่ เพื่อจัดหาคณะทำงานแผนของงบประมาณ 3. ประชุมคณะทำงานแผน เพอ่ื วางแผน กำหนดหนา้ ท่รี ับผิดชอบปฏิบัติหน้าที่งานดังนี้ - รบั นโยบายจากฝ่ายบริหารร่วมปรึกษาหารือคณะทำงานแผน เพอ่ื วเิ คราะห์สภาพปจั จบุ ันและ ปญั หา พร้อมทั้งกำหนดกจิ กรรมงานโครงการท่ีสอดคลอ้ งกับแผนและกลยทุ ธ์ มาตรฐานคุณภาพการศึกษา นโยบาย วิสัยทศั น์ และสอดคลอ้ งกับสภาพปจั จบุ ันและปญั หาของโรงเรยี น -เสนองานกจิ กรรมโครงการ เพ่อื ขออนมุ ัติแผนและงบประมาณ -จัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี -ประสานกำกบั ติดตาม ให้ขอ้ เสนอแนะแกท่ ุกงานในเรือ่ งแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี -กำหนดแบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านตามกิจกรรมงานโครงการทปี่ รากฎในแผนปฏิบตั ิการ ประจำปี และโครงการพิเศษ 4. ตรวจสอบความถกู ต้องในการจดั ทำเอกสารเกย่ี วกับแผนงาน แผนปฏิบัตกิ ารทุกประเภท 5. บันทึกข้อมลู และสารสนเทศของสำนกั งาน 6. ประสานงานกับเจ้าหน้าท่ีพสั ดุ เพื่อกำหนดหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี -จดั ทำเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการใช้งบประมาณตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี -ประชุมเจ้าหน้าท่ีพสั ดทุ กุ กลุ่มสาระฯ หรอื งาน เพ่ือรบั ทราบแนวทางการจดั ซื้อ หาวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ ตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี -ดแู ลกำกับตรวจสอบการใช้งบประมาณ ทีป่ รากฏในแผนปฏิบตั ิการประจำปี 7. ประสานเพ่ือทำปฏทิ นิ โรงเรยี น 8. รวบรวมและจัดทำรายงานผลการปฏบิ ัติงาน ตามแผนการปฏบิ ตั ิงานประจำปี 9. ปฏิบตั หิ นา้ ทีอ่ ืน่ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

ค่มู อื บรหิ ารงานงบประมาณ 17 ขอบขา่ ยการดำเนนิ การตามภารงานและอำนาจหน้าท่ี งานสารสนเทศ 1.ประสานงานกับทุกกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ งาน เพื่อจัดตงั้ คณะกรรมการศูนยข์ ้อมูลและ สารสนเทศ 2.ตั้งคณะทำงานร่วม วางแผนพัฒนางาน ในการใชเ้ ทคโนโลยี เพื่อจัดเก็บรวบรวม ประเมินผลขอ้ มูลของ ทุกกลมุ่ บริหาร กลมุ่ สาระการเรยี นร้แู ละงาน 3,ประสานกบั ทุกกลุ่มบรหิ าร กล่มุ สาระเรยี นร้แู ละงาน ในการจัดระบบเกบ็ รวบรวมข้อมูลทีใ่ ช้ในการ ตดั สนิ ใจบรหิ ารงาน หรือวางแผนดำเนินงานตา่ งๆในโรงเรยี น 4.ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลทุกประเภท 5.จัดทำฐานขอ้ มลู สารสนเทศสำหรบั การบรหิ ารและจัดระบบรวบรวมฐานข้อมูลทีส่ ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 กำหนด 6.ใหบ้ ริการดา้ นข้อมูลสารสนเทศในการบรหิ ารงานโรงเรียน 7.จัดเกบ็ ข้อมูลและรักษาขอ้ มูลให้ถูกต้อง เหมาะสมเป็นปัจจุบัน 8.เกบ็ รวบรวมผลงานของโรงเรยี น ของครู และของนกั เรียน 9.สรุปผลงานของโรงเรยี น ของครู และของนักเรยี น แตล่ ะปีเปน็ รปู เลม่ ทุกส้ินปีการศึกษา 10.ปฏบิ ัติหน้าทีอ่ ่ืนท่ีได้รบั มอบหมาย ขอบข่ายการดำเนินการตามภารงานและอำนาจหนา้ ท่ี งานการเงนิ และบญั ชี 1.วางแผนกำกับดูแลการดำเนินงานด้านการเงนิ การบัญชี การระดมทรัพยากร และการลงทุนเพื่อ การศกึ ษา 2.เบกิ จ่าย เงนิ เดอื น เงินสวสั ดกิ าร คา่ รกั ษาพยาบาล การศกึ ษาบุตร ค่าเช่าบา้ นของข้าราชการและลกู จา้ ง 3.จัดทำหนงั สอื รับรองการใช้สิทธิรับเงินคา่ รกั ษาพยาบาลตน้ สงั กดั หนังสอื รับรองเงนิ เดือนของข้าราชการ และลูกจ้าง 4.เบิกจ่ายใบเสร็จรบั เงนิ และจดั ทำทะเบยี นใบเสร็จรบั เงนิ 5.รายงานการใช้ใบเสรจ็ รับเงิน เม่อื สิ้นปีงบประมาณ 6.เกบ็ รกั ษาเงนิ ดำเนินการรบั จ่ายเงนิ ถอนเงิน ฝากเงินและนำส่งเงินทุกประเภท ทงั้ เงินงบประมาณ เงิน รายได้สถานศึกษา เงินรายได้แผ่นดนิ และเงินอดุ หนนุ การศึกษา 7.จดั ทำรายงานคงเหลอื ประจำวนั และลงบญั ชปี ระเภทตา่ งๆ สมดุ เงินสด ทะเบยี นคุมเงินแยกประเภททั้ง เงินงบประมาณ เงนิ อดุ หนุนการศึกษาและเงินรายไดส้ ถานศกึ ษาทุกประเภท 8.จัดทำรายงานงบเทียบยอดเงนิ ฝากธนาคาร สำหรับบัญชเี งนิ ฝากกระแสรายวัน บญั ชเี งินอุดหนนุ การศกึ ษา บัญชีเงินรายไดส้ ถานศกึ ษา และเงินงบประมาณ 9.จดั ทำรายงานการเงิน ไดแ้ ก่ รายงานการรบั จา่ ย เงนิ รายได้สถานศึกษา เงนิ อดุ หนนุ การศึกษา ส่ง สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42 10.เกบ็ รกั ษาสัญญาการยืมเงินและเอกสารแทนตวั เงินทุกประเภท 11.วเิ คราะหว์ างแผน ติดต่อประสานงาน ใหค้ ำปรึกษาเก่ียวกับระเบยี บการเบิกจ่ายเงินให้แก่บคุ ลากรใน โรงเรียน 12.จัดทำแบบกรอกข้อมลู ประกอบการบริจาคทรัพย์สนิ หนังสอื ตอบขอบคุณและใบประกาศเกยี รติคุณ

คู่มือบริหารงานงบประมาณ 18 13.จดั ทำงบเดือน เงินอุดหนุนการศึกษา เงินรายได้สถานศึกษา 14.จัดทำรายละเอยี ด และรวบรวมใบสำคญั ประกอบงบเดือนและจัดเก็บงบเดือน 15.ตรวจสอบและดแู ลการสมัครเป็นสมาชกิ และการกู้เงนิ สหกรณ์ออกทรัพย์ครนู ครสวรรค์ และสหกรณ์ ออมทรัพยส์ ามญั ศึกษานครสวรรค์ 16.จัดทำข้อมลู ลูกจ้างช่ัวคราว ทตี่ ้องการประกนั ตนกับสำนักงานประกันสงั คมจังหวดั นครสวรรค์ 17.ประสานงานกับสำนกั งานประกันสงั คมจังหวดั นครสวรรค์ เก่ยี วกับการใช้สทิ ธิประกันตนเองของ ลูกจ้าง 18.จดั ทำรายละเอยี ดการสง่ เงนิ ประกันสงั คมรายเดือนของลูกจา้ ง และนำสง่ เงนิ ตอ่ สำนักงาน ประกันสงั คมจังหวดั นครสวรรค์ 19.ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนท่ีไดร้ ับมอบหมาย ขอบข่ายการดำเนนิ การตามภารงานและอำนาจหนา้ ท่ี งานพสั ดุและสินทรัพย์ 1.ควบคุมดแู ลการจดั ซ้อื -จัดจ้าง พัสดใุ หเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเติม 2.จดั ทำทะเบยี นควบคุมการจัดซอ้ื - จดั จ้างของกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และงาน ให้เป็นไปตาม แผนการปฏิบตั กิ ารประจำปี 3.ประสานงานใหบ้ รกิ ารกับเจ้าหน้าทพี่ สั ดุ กลุ่มบรหิ าร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และงาน ในการจัดซื้อ-จัด จ้าง และเบิกจา่ ยพสั ดุ 4.ตรวจสอบเอกสารการจัดซ้ือ-จัดจ้าง ของกลุ่มบรหิ ารกลุ่มสาระการเรียนรู้และงาน ให้เป็นไปตาม ระเบยี บ 5.จัดทำเอกสารตา่ ง ๆ ของงานพสั ดุ เพื่อใหบ้ ริการแกเ่ จ้าหนา้ ทพี่ ัสดุ กล่มุ บรหิ าร กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และงาน 6.จัดทำบญั ชีพัสดุ และทะเทบบี นคมุ ทรัพย์สิน ให้ถูกต้องครบถว้ น 7.กำกับติดตามการจดั ทำบัญชีวดั สุ และทะเบียนคุมทรพั ย์สินของพสั ดกุ ลุ่มบรหิ าร กลุ่มสาระการเรียนรู้ และงาน 8.รบั ผดิ ชอบดแู ลการตรวจสอบ การจำหนา่ ยวัสดุถาวร และพสั ดุประจำปี 9.จดั ทำประมาณการค่าเส่ือมสภาพ วัสดแุ ละสินทรัพย์ 10.จดั รวบรวมฐานขอ้ มลู โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่ Obec 49, B-obec และ M-obec 11.จัดเกบ็ ข้อมูลและรักษาข้อมูลใหถ้ กู ต้องเหมาะสม 12.ปฏบิ ัติหน้าทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ขอบขา่ ยการดำเนินการตามภารงานและอำนาจหน้าท่ี งานจดั ระบบควบคุมภายใน 1.ควบคมุ ตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่ายรับเงนิ ทุกประเภท 2.ตดิ ตามการบรหิ าร การเงนิ การจัดทำบัญชี ทะเบยี นคุมประเภทต่างๆ ท้ังการเงินและพัสดใุ ห้เปน็ ปัจจบุ ัน 3.ควบคุมการเบิกจา่ ยพัสดุ ครุภณั ฑ์ ให้เป็นไปตามระเบยี บของทางราชการ 4.ตรวจสอบและรายงานการใช้เงิน และผลการดำเนินงานเกย่ี วกับการเงนิ และพัสดุ 5.ดูแลการรบั เงินงบประมาณ เงินอดุ หนนุ การศึกษา และเงินรายได้สถานศึกษา 6.ตรวจสอบการจัดทำบญั ชีการเงนิ ทกุ ประเภท

คมู่ อื บริหารงานงบประมาณ 19 7.วิเคราะหค์ วามเส่ียงของการดำเนินงาน กำหนดปัจจยั เสี่ยง และจัดลำดบั ความเสีย่ ง 8.กำหนดมาตรการป้องกันความเสยี่ ง ในการป้องกนั ความเส่ียง ในการดำเนนิ งานนของโรงเรยี น 9.ให้บคุ คลทเ่ี กีย่ วข้องทุกกล่มุ นำมาตรการป้องกนั ความเส่ียงไปใช้ในการควบคมุ การดำเนินงานตาม ภารกิจ 10.ดำเนนิ การควบคุมภายในตามหลกั เกณฑ์ มาตรการและวธิ กี ารท่ีสำนกั งานตรวจเงนิ แผน่ ดินกำหนด 11.ประเมนิ ผลการดำเนินการควบคมุ ภายใน ตามมาตรการที่กำหนดและปรบั ปรงุ ให้เหมาะสม 12.ปฏบิ ตั ิหน้าที่อนื่ ตามที่ได้รับมอบหมาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook