Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5-9-13-15-418

5-9-13-15-418

Published by imagen kraraoki, 2018-09-03 04:15:00

Description: 5-9-13-15-418

Search

Read the Text Version

 ˹ѧÊÍ× Ebook

คาํ นาํ ในยุคสมยั น้ ีมเี หตุความวุน่ วาย แตกแยก และความขดั แยง้ กนั อยเู่ สมอ เราจึงตอ้ งหนั มาหาความชว่ ยเหลือจากพระพทุ ธศาสนา ซ่ึงเราควรรปู้ ระวตั ิและความสาํ คญั ต่างๆของพระพุทธศาสนาดว้ ยเชน่ กนัหนังสือเล่มน้ ีจงึ นําเสนอเกยี่ วกบั ประวตั ิของพระพุทธศาสนา พระธรรมคาํ สอน และ วนั สาํ คญัต่างๆ เพื่อเป็ นแนวทางในการดาํ เนินชีวติ ผจู้ ดั ทาํ

พระพทุ ธศสานา ¤×Í ศาสนาแหง่ ความรแู้ จง้ เป็ นศาสนาที่มพี ระรตั นตรยั เป็ นสรณะอนั สงู สุด อนั ไดแ้ ก่ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม และ พระสงฆ์ โดยพระรตั นตรยั ท้งั ๓ น้ ียอ่ มมีคุณเก่ียวพนั เป็ นอนั เดียวกนั จะแยกออกจากกนัโดยเฉพาะไมไ่ ด้ ดว้ ยพระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั รธู้ รรมกอ่ นแลว้ สอนให้พระสงฆร์ ธู้ รรม พระธรรมน้ัน พระสงฆซ์ ่ึงเป็ นสาวกของพระพทุ ธเจา้ ยอ่ มจาํ ทรงไว้ ปฏิบตั ิและสงั่ สอนสืบต่อพระศาสนา พระรตั นตรยั น้ ีเปรียบดว้ ยวตั ถุวเิ ศษที่มรี าคาอยา่ งสงู คือ แกว้ จงึ เรียกพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์วา่ รตั นะ คาํ วา่ \"รตั นะ\" แปลวา่ แกว้ ,สิ่งมคี ่าสงู ยงิ่ ,สิ่งประเสริฐ ซึ่งคาํ วา่รตั นะในท่ีน้ ีจะหมายถึง พระรตั นตรยั ซึ่งก็คือแกว้ ๓ ดวง ผทู้ ี่นับถือพระพทุ ธศาสนาก็คือนับถือแกว้ ๓ ดวงน้ ีวา่ มคี ุณ ยอ่ มจะเป็ นที่พง่ึ ท่ีระลึกแกต่ น

»ÃÐÇÑµÔ ศาสนาพุทธเป็ นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็ นศาสนาท่ีมีผนู้ ับถือมากศาสนาหน่ึงของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวตั ิความเป็ นมาของศาสนาพุทธเริ่มต้งั แต่สมยั พุทธกาล ผปู้ ระกาศศาสนาและเป็ นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ทรงตรสั รเู้ มื่อวนั ข้ ึน 15 คาํ่ เดือนวสิ าขะหรือเดือน 6 ณ ใตต้ น้ พระศรีมหาโพธ์ิ ตาํ บลอุรุเวลาเสนานิคม แควน้ มคธประเทศอินเดีย 45 ปี กอ่ นพุทธศกั ราช ปัจจุบนั สถานท่ีน้ ี เรียกวา่ พุทธคยา อยู่หา่ งจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวตั ิความเป็ นมาของพุทธศาสนาหลงั จากการประกาศศาสนา เร่ิมจากการแพร่หลายไปทวั่ อินเดีย หลงั พุทธปรินิพพาน 100 ปี จงึ แตกเป็ นนิกายยอ่ ย โดยนิกายท่ีสาํ คญั คือเถรวาทและมหายาน

นิกายมหายานไดแ้ พร่หลายไปทวั่ เอเชียกลาง เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวนั ออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเส่ือมลง พทุ ธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ ดเ้ ส่ือมตามไปดว้ ย ยงั คงเหลือในจนี ทิเบต ญ่ีป่ ุน เวยี ดนาม ส่วนนิกายเถรวาทไดเ้ ฟ่ื องฟขู ้ ึนอีกคร้งั ในศรีลงั กา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ พทุ ธศาสนาไดแ้ พรห่ ลายไปยงั โลกตะวนั ตกต้งั แต่คร้งั โบราณ แต่ชาวตะวนั ตกหนั มาสนใจพทุ ธศาสนามากข้ นึในยุคจกั รวรรดินิยมและหลงั สงครามโลกคร้งั ท่ีสอง

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาปคือฏิบหตัลิแกั ลคว้าํ สชอว่ นยใทหาเ้งกศิดาคสวนาามดทีง่ีเปา็มนใคนวชาีวมติ จรแิงลเะปส็ นงั คคมวาอมยดรู่ ว่ีงมามกนั ควอายมา่ ถงกูปตกอต้ งิสุขเมื่อนําไปหลกั ธรรมสาํ คญั1. ขนั ธ์ 5 หรือ เบญจขนั ธ์ คือ องคv์ ประกอบของชีวติ มนุษยท์ ี่ประกอบดว้ ยรปู และนาม ----รธธธธูปาาาาตตตตนกมคุุุุดลนไร้ํืนอาฟม้ินํะาตุษสเ(า(พ((ย่วสสส)า)์สน่ว่ว่วะ่วนทนนอน่ีขเทาทปทอห็ี่เ่ีเนี่เงปปาปร็ร็นร็น่าน่า)ขงลงอกอกมุณางาขเยหยอหทภงลปี่เรมู วปร่าขิข็ะนงออกกขงงอาอรรยบง่าา่ แดงงไขกกวด้ ็งยาาแ้ ยยธเกช)า่ไน่ลตดเมชุ แ้เ4น่หนก้ ืาไอ่ เคดยลกวแใ้ือจารกดเมะ่ขดรนา้ อกู้้ํอานลอผใากมนย)ลรน่าม้งําใกเนหายลืองแปลรุงะ---นแอตสเสุเาวบญงม่งัั ทกขจญนาติคขสราาาือาไเคดควมคสทือแือ้ือา่วกนรนสคคถ่าทภเววบจี่มาไาาตอมมมพอกนย่รงจทไาไนิสู้าํด่ีปมไึกดค้รดเ่ ทียห่าุงโ้ ี่เแนินด็นกติรยยหิด่าง้มอรจจยาือาิตคศจกใวยัติปจาปใใรมหจระสะคส้ไนสดิดาใาทแด้จทกสี คสค่มั ิดมัวผาชผสั มวัสั่ โเหชลเม่นรภือ่ือสแสเปุขลมั ็ นเะผวกสัทลอนาีกางคทสรุก้งิ่งั กทข็เี่เวขทา้ มนาา ความหลง- วญิ ญาณ คือ ความรบั รทู้ ่ีผ่านมาทางตา หู จมกู ล้ ิน กาย ใจ (อายตนะ 6)

2. อรยิ สจั 4 แปลวา่ ความจริงอนั ประเสริฐ เป็ นหลกั คาํ สอนท่ีสาํ คญั ท่ีสุดของพระพุทธศาสนา เพราะเป็ นคาํ สอนท่ีจะชว่ ยใหบ้ ุคคลรอดพน้ จากความทุกขเ์ พอื่ สู่นิพพาน ไดแ้ ก่1. ทุกข์ หมายถึง สภาพที่ทนไดย้ ากท้งั ร่างกายและจิตใจ 1.1 สภาวทุกข์ หรือ ทุกขป์ ระจาํ ไดแ้ ก่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย 1.2 ปกิณกทุกข์ หรือทุกขจ์ ร เป็ นทุกขท์ ี่เกิดข้ ึนภายหลงั เกิดข้ ึนแลว้ ก็ผ่านไปและเกิดข้ ึนเนืองๆ เชน่ ความเศรา้ โศก ความไมส่ บายกายไมส่ บายใจ ความคบั แคน้ ใจ2. สมุทยั หมายถึง เหตุท่ีทาํ ใหเ้ กิดทุกข์ ไดแ้ ก่ ตณั หา( ความอยาก) 2.1 กามตณั หา คือ อยากในรปู เสียง กล่ิน รส สมั ผสั ท่ีตนยงั ไมม่ ี 2.2 ภวตณั หา คือ ความอยากมี อยากเป็ น อยากใหส้ ภาพท่ีตนปรารถนาอยู่ นานๆ 2.3 วภิ วตณั หา คือ ความอยากมี อยากเป็ น อยากใหส้ ภาพท่ีตนปรารถนาอยู่ นานๆ3. นิโรธ หมายถึง ความดบั ทุกข์ คือ ใหด้ บั ที่เหตุ ซ่ึงมีข้นั ตอนตามลาํ ดบั ในมรรค 84. มรรคมีองค์ 8 หนทางแหง่ การดบั ทุกข์ 4.1 สมั มาทิฐิ ความเห็นชอบ คือ มีความเขา้ ใจวา่ อะไรคือทุกข์ อะไรคือสาเหตุแหง่ ทุกข์ อะไรคือความดบั ทุกข์ 4.2 สมั มาสงั กปั ปะ ความดาํ ริชอบ คือ ความคิดท่ีปลอดโปรง่ ความคิดไมพ่ ยาบาท ความคิดไมเ่ บียดเบียน 4.3 สมั มาวาจา วาจาชอบ คือ ไมพ่ ดู เท็จ ไมพ่ ดู ส่อเสียด ไมพ่ ดู หยาบ ไมพ่ ดู เพอ้ เจอ้ 4.4 สมั มากมั มนั ตะ การงานชอบ คือ ไมท่ าํ ลายชีวติ คนอ่ืน ไมข่ โมยของ ไมผ่ ิดใน กาม 4.5 สมั มาอาชีวะ เล้ ียงชีพชอบ คือ การทาํ มาหากินดว้ ยอาชีพสุจริต 4.6 สมั มาวายามะ ความเพียรชอบ คือ เพียรระวงั มิใหค้ วามชวั่ ท่ียงั ไมเ่ กิดข้ ึน เพียร ละความชวั่ ท่ีเกิดข้ ึน เพียรรกั ษาความดีที่ เกิดข้ ึนแลว้ 4.7 สมั มาสติ ความระลึกชอบ คือ พิจารณากาย พิจารณาเวทนา พิจารณาจิต พิจารณาธรรม 4.8 สมั มาสมาธิ การต้งั ใจชอบ คือ การต้งั จิตท่ีแน่วแน่อยใู่ นอารมณใ์ ด อารมณ์ หนึ่ง ไมฟ่ ้ ุงซ่านเพ่ือมุง่ มนั่ กระทาํ ความดี

3. ไตรลกั ษณ์ คือ ลกั ษณะทวั่ ไปของสิ่งท้งั ปวง1. อนิจจตา หรือ อนิจจงั ความไมค่ งท่ี ไมเ่ ท่ียง ไมถ่ าวร ไม่แน่นอน 2. ทุกขตา หรือ ทุกขงั สภาพท่ีอยใู่ นสภาวะเดิมไมไ่ ด้ ตอ้ งแปรปรวนไป3. อนัตตา ความไมใ่ ช่ตวั ตนแทจ้ ริง ไมอ่ ยใู่ นอาํ นาจบงั คบั บญั ชา ไมม่ ีใครเป็ นเจา้ ของ ในเร่ืงไตรลกั ษณ์ พระพุทธศาสนาถือวา่ เป็ นคาํ สอนสงู สุด ซ่ึงทุกสิ่งในสากลจกั รวาลล่วนเป็ นอนัตตาท้งั ส้ ิน4. พรหมวิหาร 4 ธรรมสาํ หรบั ผเู้ ป็ นใหญ่ ผปู้ กครอง พอ่ แม่จาํ เป็ นตอ้ งมีไวเ้ ป็ นเคร่ืองยดึ เหนี่ยวสาํ หรบั ดาํ เนินชีวติ ไดแ้ ก่ 1. เมตตา ความรกั ใคร่ ปรารถนาจะใหเ้ ป็ นสุข 2. กรุณา ความสงสาร ตอ้ งการท่ีจะชว่ ยบุคคลอื่น สตั วอ์ ื่นใหห้ ลุดพน้จากความทุกข์ 3. มุทิตา ความช่ืนชมยนิ ดีเมื่อเห็นบุคคลอื่นเขาไดด้ ี 4. อุเบกขา ความวางเฉยไมด่ ีใจไมเ่ สียใจ เมื่อบุคคลอ่ืนประสบความวบิ ตั ิ

5. สงั คหวตั ถุ 4 หลกั ธรรมที่เป็ นเครื่องยดึ เหน่ียวน้ําใจคน 1. ทาน การให้ 2. ปิ ยวาจา การกล่าวถอ้ ยคาํ ไพเราะอ่อนหวาน 3. อตั ถจริยา การบาํ เพ็ญประโยชน์ 4. สมานัตตตา การประพฤติตนสมาํ่ เสมอท้งั ต่อหนา้ และลบั หลงั6. ฆราวาสธรรม 4 หลกั ธรรมสาํ หรบั ผคู้ รองเรือนไดแ้ ก่ 1. สจั จะ การมคี วามซื่อตรงต่อกนั 2. ทมะ การรจู้ กั ขม่ จติ ของตน ไมห่ ุนหนั พลนั แล่น 3. ขนั ติ ความอดทนและใหอ้ ภยั 4. จาคะ การเสียสละแบ่งปันของตนแกค่ นที่ควร แบ่งปั น

7. บุญกิรยิ าวตั ถุ 10 หลกั ธรรมแหง่ การทาํ บุญ ทางแหง่ การทาํ ความดี 10 ประการ1. ทานมยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการบริจาคทาน 2. ศีลมยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการรกั ษาศีล 3. ภาวนามยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการเจริญภาวนา 4. อปจายนมยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการประพฤติออ่ นนอ้ มถ่อม ตนต่อผใู้ หญ่ 5. เวยยาวจั จมยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการชว่ ยเหลือขวนขวายใน กิจการงานต่างๆ 6. ปัตติทานมยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการใหส้ ่วนบุญ 7. ปัตตานุโมทนามยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการอนุโมทนาส่วนบุญ 8. ธมั มสั สวนมยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการฟังธรรม 9. ธมั มเทสนามยั บุญสาํ เร็จดว้ ยการแสดงธรรม 10. ทิฏ�ุชุกมั ม์ บุญสาํ เร็จดว้ ยการทาํ ความคิดความเห็นของตนใหต้ รง

8. สปั ปุรสิ ธรรม 7 หลกั ธรรมของคนดี หรือคุณสมบตั ิของคนดี 1. ธมั มญั �ุตา ความเป็ นผรู้ จู้ กั เหตุ 2. อตั ถญั �ุตา ความเป็ นผรู้ จู้ กั ผล 3. อตั ตญั �ุตา ความเป็ นผรู้ จู้ กั ตน 4. มตั ตญั �ุตา ความเป็ นผรู้ จู้ กั ประมาณ 5. กาลญั �ุตา ความเป็ นผรู้ จู้ กั กาลเวลา 6. ปริสญั �ุตา ความเป็ นผรู้ จู้ กั ชุมชน 7. ปุคคลปโรปรญั �ุตา ความเป็ นผรู้ จู้ กั เลือกคบ คนดี

วนั สาํ คญั ทางศาสนา วนั มาฆบูชา ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๓\"มาฆะ\" เป็ นชื่อของเดือน ๓ มาฆบชู าน้ัน ยอ่ มาจากคาํ วา่ \"มาฆบุรณม\"ี แปลวา่การบชู าพระในวนั เพ็ญ เดือน ๓ วนั มาฆบชู าจงึ ตรงกบั วนั ข้ นึ ๑๕ คาํ่ เดือน ๓แต่ถา้ ปี ใดมเี ดือน อธิกมาส คือมเี ดือน ๘ สองคร้งั วนั มาฆบชู าก็จะเลื่อนไปเป็ นวนั ข้ นึ ๑๕ คาํ่ เดือน ๔ เป็ นวนั สาํ คญั วนั หน่ึง ในวนั พทุ ธศาสนา คือวนั ท่ีมีการประชุมสงั ฆสนั นิบาตคร้งั ใหญ่ในพุทธศาสนา ที่เรียกวา่ \"จาตุรงคสนั นิบาต\" และเป็ นวนั ท่ีพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ไดท้ รงแสดงโอวาทปฎโิ มกขแ์ ก่พระสงฆส์ าวกเป็ นคร้งั แรก ณ เวฬวุ นั วหิ าร กรุงราชคฤห์ เพื่อใหพ้ ระสงฆน์ ําไปประพฤติปฏิบตั ิ เพื่อจะยงั พระพุทธศาสนาใหเ้ จริญรุ่งเรืองต่อไปโอวาทปาฏิโมกข์โอวาทปาฏโิ มกข์ - หลกั คาํ สอนสาํ คญั ของพระพุทธศาสนา หรือคาํ สอนอนั เป็ นหวั ใจของพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่ พระพทุ ธพจน์ ๓ คาถากึ่ง ท่ีพระพทุ ธเจา้ ตรสัแก่พระอรหนั ต์ ๑,๒๕๐ รปู ผไู้ ปประชุมกนั โดยมไิ ดน้ ัดหมาย ณ พระเวฬุ วนาราม ในวนั เพ็ญเดือน ๓ ที่เราเรียกกนั วา่ วนั มาฆบชู า (ถรรถกถากล่าววา่พระพุทธเจา้ ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ น้ ี แก่ท่ีประชุมสงฆต์ ลอดมา เป็ นเวลา๒๐ พรรษา ก่อนที่จะโปรดใหส้ วดปาฏโิ มกขอ์ ยา่ งปัจจุบนั น้ ีแทนต่อมา)

วนั วสิ าขบูชา ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๖ ความหมาย คาํ วา่ \"วสิ าขบชู า\" หมายถึงการบชู าในวนั เพ็ญเดือน ๖ วสิ าขบชู า ยอ่มาจาก \" วสิ าขปุรณมบี ชู า \" แปลวา่ \" การบชู าในวนั เพ็ญเดือนวสิ าขะ \" ถา้ ปี ใดมีอธิกมาสคือ มีเดือน ๘ สองหน ก็เลื่อนไปเป็ นกลางเดือน ๗ความสาํ คญั วนั วิสาขบูชา เป็ นวนั สาํ คญั ยง่ิ ทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็ นวนั ที่พระพทุ ธเจา้ ประสตู ิ คือเกิด ไดต้ รสั รู้ คือสาํ เร็จ ไดป้ รินิพพาน คือ ดบั เกิดข้ ึนตรงกนั ท้งั ๓คราวคือ๑. เม่ือเจา้ ชายสิทธตั ถะประสูตทิ ี่พระราชอทุ ยานลมุ พนิ ีวนั ระหวา่ งกรุงกบิลพสั ดุก์ บัเทวทหะ เม่ือเชา้ วนั ศุกร์ ข้ นึ ๑๕ คาํ่ เดือน ๖ ปี จอ กอ่ นพทุ ธศกั ราช ๘๐ ปี๒. เมื่อเจา้ ชายสิทธตั ถะตรสั รู้ เป็ นพระพุทธเจา้ เม่อื พระชนมายุ ๓๕ พรรษา ณ ใตร้ ่มไม้ศรีมหาโพธ์ิ ฝัง่ แมน่ ้ําเนรญั ชรา ตาํ บลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเชา้ มืดวนั พธุ ข้ นึ ๑๕ คาํ่เดือน ๖ ปี ระกา กอ่ นพุทธศกั ราช ๔๕ ปี หลงั จากออกผนวชได้ ๖ ปี ปัจจุบนั สถานที่ตรสั รู้แหง่ น้ ีเรียกวา่ พุทธคยา เป็ นตาํ บลหนึ่งของเมอื งคยา แหง่ รฐั พหิ ารของอินเดีย๓. หลงั จากตรสั รแู้ ลว้ ไดป้ ระกาศพระศาสนา และโปรดเวไนยสตั ว์ ๔๕ ปี พระชนมายุได้๘๐ พรรษา ก็เสด็จดบั ขนั ธปรินิพพาน เม่อื วนั องั คาร ข้ นึ ๑๕ คาํ่ เดือน ๖ ปี มะเส็ง ณสาลวโนทยาน ของมลั ลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แควน้ มลั ละ (ปัจจุบนั อยใู่ นเมอื งกุสีนคระแควน้ อุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย)นับวา่ เป็ นเร่ืองที่น่าอศั จรรยย์ ง่ิ ท่ีเหตุการณท์ ้งั ๓ เก่ียวกบั วถิ ีชีวติ ของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ซ่ึงมชี ว่ งระยะเวลาหา่ งกนั นับเวลาหลายสิบปี บงั เอิญเกิดข้ นึ ในวนั เพ็ญเดือน ๖ ดงั น้ันเมื่อถึงวนั สาํ คญั เช่นน้ ี ชาวพุทธท้งั คฤหสั ถ์ และบรรพชิตไดพ้ รอ้ มใจกนั ประกอบพธิ ีบชู าพระพุทธองคเ์ ป็ นการพิเศษ เพือ่ นอ้ มราํ ลึกถึงพระกรุณาธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และพระบริสุทธิคุณ ของพระองคท์ ่านผเู้ ป็ นดวงประทีปของโลก

วันอัฏฐมบี ชู า วนั ถวายพระเพลงิ พระพุทธสรรี ะ ตรงกบั วนั แรม ๘ ค่าํ แห่งเดอื นวสิ าขะ (เดอื น ๖)ประวตั คิ วามเป็ นมาเม่ือพระพทุ ธเจา้ เสด็จปรินิพพานแลว้ ๘ วนั มลั ลกษัตริยแ์ หง่ นครกุสินารา พรอ้ มดว้ ยประชาชน และพระสงฆอ์ นั มพี ระมหากสั สปเถระเป็ นประธาน ไดพ้ รอ้ มกนักระทาํ การถวายพระเพลิงพุทธสรีระ ณ มกุฏพนั ธนเจดีแหง่ กรุงกุสินารา วนั น้ันเป็ นวนั หน่ึงท่ีชาวพุทธตอ้ งมีความสงั เวชสลดใจ และวปิ โยคโศกเศรา้ เป็ นอยา่ งยงิ่ เพราะการสญู เสียแหง่ พระพุทธสรีระ เม่ือวนั แรม ๘ คาํ่ เดือน ๖ ซ่ึงนิยมเรียกกนั วา่ วนั อฏั ฐมีน้ันเวยี นมาบรรจบแต่ละปี พทุ ธศาสนิกชนบางส่วน โดยเฉพาะพระสงฆแ์ ละอุบาสกอุบาสิกาแหง่ วดั น้ัน ๆ ไดพ้ รอ้ มกนั ประกอบพธิ ีบชู าข้ ึน เป็ นการเฉพาะภายในวดั เช่นที่ปฏิบตั ิกนั อยใู่ นวดั มหาธาตุยุวราชรงั สฤษฏ์ิ เป็ นตน้ แต่จะปฏบิ ตั ิกนัมาแต่เมอ่ื ใด ไมพ่ บหลกั ฐาน ปัจจุบนั น้ ีก็ยงั ถือปฏบิ ตั ิกนั อยู่ความสาํ คญัโดยที่วนั อฏั ฐมคี ือวนั แรม ๘ คาํ่ เดือน ๖ เป็ นวนั ที่มีเหตุการณส์ าํ คญั ทางพระพุทธศาสนา ถือเป็ นวนั ท่ีตรงกบั วนั ท่ีตรงกบั วนั ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระเป็ นวนั ที่ชาวพทุ ธตอ้ งวปิ โยค และสญู เสียพระบรมสรีระแหง่ องคพ์ ระบรมศาสดา ซ่ึงเป็ นท่ีเคารพสกั การะอยา่ งสงู ยง่ิ และเป็ นวนั ควรแสดงธรรมสงั เวชและระลึกถึงพระพุทธคุณใหส้ าํ เร็จเป็ นพุทธานุสสติภาวนามยั กุศล

วนั อาสาฬหบูชา ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๘หพตทใอนาาํลรรปณบงะกั บพรลธาะนัทุอจรวเลริกสัธทนั มืิอปรศศขแทธ้ตาอึนหรสี่ทนินรง่น๑ระเมธดง๕าเรเตียมภครรคือมรืดอสัาํ่ียงววร้ นพงเันยัเู้ดลปําาพทือ็คอร้นรี่พนาแวคะณราหพร๘ะมง่ส้งัทุพธรแีนธุทม่ใรรันบอรธกเยงเชมอแปคน็มใงก็ นหท์แคพเ่ วบลหรท้์ทู นังะญมรวเคทงปุนปีจแวี่สวรรสาสาํคียัุดมมดคบคหยัสงญั ยีดนโธงบทใ์งับ้ารนผร้งัรสเปาทู้มรุข๕ณรริ่มมเะทงณตาเวซศปใน้ตัึ่งหน็มนปแิศแ้าฤัธผจากหค่ขจรสห่รรทยุบตือมมาานัรยปู่รยแ์ตาวหร้งั ชนัะอง่ าชยากู่ ็วกภไใมศแตแนรทกอปโพท๔ดหมคุง่ัผทอลร้าัี่ารมพรนูนร๔เยอผ่รคส้่ขสชกงะัาจ้ริปฒสั ลมพาอูชยพ้งปนญีย่ชูรบือัญูตจะนี่ืนมาิแงบีว์ทุงาวเาแทรพดทยญตมิกเาพโเชวธตแ้ฟล\"ขดงิงัธ่ีเบคต่าื่อ่ทาูกเ่ารื่อนาระห้อยรจสแวททนดงียต่วมาไนั้ังรนรทาาิ่ปง้าดีรทปเีกชนฟามๆือจมทเตธรงลงแรสี่ว้รใไเงึบทูจงแ่ีเ็เปมรนวดอียา่แสูเม้ทชกดกักราุกกา่ฏทกงจสอด้่ือิดบรกมรางํไดีย่แ้งี่ิบวมย้งพแงพดขรตัาผเวคลาา้่กธ้อา่ตัยทลัิหึนรรวิ้เกูน้ะาํงรลุตบแบโิตะะอกศตาใบผัสกบแร่าลข่สอนตัื่ทอารกนรอูอม้วเลวรอะม้ตูมิยิใหตร็แาสัาา่ืนน้คาะนอปสื่รอางมสอเนทงรมณือไิสทแทสจฏงจขัจวนรูเ่ี่ดทา้ีคดรทงึหศภปกวี่ไงิรึงบยนอ๔ร้ไิยินนด็าหท่ีเคานง่ํานตชัด้งัยหนศงกผลหแ้พาราาแีปวิทพทา้่ลขแาลคดงงันลเจติเสงราาปาร้ยืรคลอชดานีึงํากรดทะงง็ดหะาน่่ววนิมดต้ยีแวแ็กไศคงี่วพงสแิอมดนหดุอง่คปลคหานานเ้ก้ยอัไทุุนีขบคเะรา้รรสรง่เปพรแแน่การ้งวัะว้นว้งธธทัน้็วใลพลผแบสวธิสเยีแงรเน่ีพเแาภดะะรลนจบ่ยูีแปนารรลวมบดไทก็เนกาอเุคก้มว้นนใมนรัพะชาสํใันชธจไใ้ัก็ทวจสทนอ่เไเอ่ืฌหเขจัึงรอพนามมบาบาา้งัวดไธใครมาิมํกิม็ญงนดชหจ่ือเ่วนัาํมรวือ้นปแ่รนาชพนาชเชผ้ยรเ้เ็หอ๒พปานพ้รัดนเห่ือมีพสิผรูก้๕รจกงถ่๕็ญฏปื็อญาวํทจรมููท่า้เิ่มแคพนชาร่๐ินปือรนรรตรงี่ันล่สววนน่ําะเ้ทพ๐คปูงท์ไน\"าํะดาอย๖โไงดนดธดงัราม่โคยนปืนอไาก้หรภบีะวม้ดั้ลดกชุเณนนชาหแวาํรสย่จคาอว้้ม้นปอ่น้แีา่รกปือรครกตูงยสง๘นป์จรอวจถือผ่เิญราา่ตรแมีบยะงกยัมพึงทะมูร้แต่ากอกบแญา่กกคาุทาหีพนง๖่เาธอ้ทงตัแาปมัง้ิดจธง่ัืนวกิบบๆศจิสทล้ปก่ือปหศบฐารพีาวี่้ากนวาวิยงกยิธรตนัช้า็

วนั เขา้ พรรษา ตรงกบั วนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๘\"เขา้ พรรษา\" แปลวา่ \"พกั ฝน\" หมายถึง พระภิกษุสงฆต์ อ้ งอยปู่ ระจาํ ณ วดั ใดวดั หนึ่งระหวา่ งฤดฝู น โดยเหตุท่ีพระภิกษุในสมยั พทุ ธกาลมหี น้าท่ีจะตอ้ งจาริกโปรดสตั ว์ และเผยแผ่พระธรรมคาํ สงั่ สอนแก่ประชาชนไปในท่ีต่าง ๆ ไมจ่ าํ เป็ นตอ้ งมีที่อยปู่ ระจาํ แมใ้ นฤดฝู น ชาวบา้ นจึงตาํ หนิวา่ ไปเหยยี บขา้ วกลา้ และพืชอื่นๆ จนเสียหาย พระพุทธเจา้ จึงทรงวางระเบียบการจาํ พรรษาใหพ้ ระภิกษุอยปู่ ระจาํ ที่ตลอด 3 เดือน ในฤดฝู น คือ เร่ิมต้งั แต่วนั แรม 1 คาํ่ เดือน 8 ของทุกปี ถา้ ปี ใดมีเดือน 8 สองคร้งั ก็เล่ือนมาเป็ นวนั แรม 1คาํ่ เดือนแปดหลงั และออกพรรษาในวนั ข้ ึน 15 คาํ่ เดือน 11 เวน้ แต่มีกิจธุระเจา้ เป็ นซึ่งเมอ่ื เดินทางไปแลว้ ไมส่ ามารถจะกลบั ไดใ้ นเดียวน้ัน ก็ทรงอนุญาตใหไ้ ปแรมคืนได้ คราวหน่ึงไมเ่ กิน 7 คืนเรียกวา่ สตั ตาหะ หากเกินกาํ หนดน้ ีถือวา่ ไมไ่ ดร้ บั ประโยชน์ แหง่ การจาํ พรรษา จดั วา่ พรรษาขาด ระหวา่ งเดินทางก่อนหยุดเขา้ พรรษา หากพระภิกษุสงฆเ์ ขา้ มาทนั ในหมบู่ า้ นหรือในเมืองก็พอจะหาท่ีพกั พิงไดต้ ามสมควร แต่ถา้ มาไมท่ นั ก็ตอ้ งพงึ่ โคนไมใ้ หญ่เป็ นท่ีพกัแรม ชาวบา้ นเห็นพระไดร้ บั ความลาํ บากเชน่ น้ ี จงึ ชว่ ยกนั ปลกู เพงิ เพื่อใหท้ ่านไดอ้ าศยัพกั ฝน รวมกนั หลาย ๆ องค์ ที่พกั ดงั กล่าวน้ ีเรียกวา่ \"วิหาร\" แปลวา่ ที่อยสู่ งฆ์ เมื่อหมดแลว้ พระสงฆท์ ่านออกจาริกตามกิจของท่านคร้งั ถึงหน้าฝนใหมท่ ่านก็กลบั มาพกั อีกเพราะสะดวกดี แต่บางท่านอยปู่ ระจาํ เลย บางทีเศรษฐีมจี ิตศรั ทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ก็เลือกหาสถานท่ีสงบเงยี บไมห่ า่ งไกลจากชุมชนนัก สรา้ งที่พกัเรียกวา่ \"อาราม\" ใหเ้ ป็ นที่อยขู่ องสงฆด์ งั เชน่ ปัจจุบนั น้ ี โดยปรกติเคร่ืองใชส้ อยของพระตามพทุ ธานุญาตใหม้ ีประจาํ ตวั น้ัน มเี พียงอฏั ฐบริขารอนั ไดแ้ ก่ สบง จวี ร สงั ฆาฏิเข็ม บาตร รดั ประคด หมอ้ กรองน้ํา และมีดโกน และกวา่ พระท่านจะหาที่พกั แรมได้ บางทีก็ถกู ฝนตน้ ฤดเู ปี ยกปอนมา ชาวบา้ นท่ีใจบุญจึงถวายผา้ อาบน้ําฝนสาํ หรบั ใหท้ ่านไดผ้ ลดั เปลี่ยน และถวายของจาํ เป็ นแกก่ ิจประจาํ วนั ของท่านเป็ นพเิ ศษในเขา้ พรรษานับเป็ นเหตุใหม้ ปี ระเพณีทาํ บุญเน่ืองในวนั น้ ีสืบมา

วนั ออกพรรษา ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๑๑ในฤดฝู นวซนั ่ึงอตอรกงพกรบั รวษนั าข้ นึ คือ๑ว๕นั สค้ ินาํ่ สเุดดรือะนยะ๑ก๑ารจาํ พรรษา หรือออกจากการอยปู่ ระจาํ ที่วแวาน่ัปกอลลอว่าก่าวพต\"รกอั รเนษตุญาือนนา้ ีตกเ\"รนั ียไหกดรอ้ อืใีกนอ\"ขยยอ้ อา่ ทงมี่ผหใิดนหพ่ึง\"้ วลาค่้งั ลือ\"่ววเงนัปเ็กมนินวหนรั าะทปหี่เวปวาิา่ดรงโณทอี่จากาํ\"าพสครใาํหรวษพ้่าาร\"อะปยภวดู่ิกาว้ษรยุสณกงนัาฆ\"ด์ ว้ ยกนักกททรว่าล่ีาชํ มรบบัาเกวุญจสุพศาดตลกุทใ็จกั กกนธจบรานวาารรนักิยตมโอเมปรทกอนรวาจกดําโรดัพลไพดป\"กรตอรรใกสะษกักา่บพบไรามาุทตนา้ต้ีกตธักธรบมิจรปู ใทเาานทรตเ่ีชวทดโรานั วียาเวนท\"นใบ้ ีนกโคา้วไ็คเนาปํทืจอวมบวึง่ากัโขชเู ลปจา\"้า็กเวะนพทตกกรโรม้ะาวะทร\"มทรี่วดาัํยะดั กลไอ่ ต็คแึกม้ลือถแาะึงจลกฟวาะานัังกขรพทา\"้บเ่ีรวาพํทะตเธรโมพ้ วะรล็ญพโรกูรมกุทโหุศเยธทนลนอศ\"งเนแคชแลาเ์น่ปสะขลดกอว็จางา่ รเพทิธ่าีเนห้ันมือปนรกะเนั พหณมีกดาจรทะผาํ ิดบกุญนั กกุศ็เลพเียนงื่อแงตใ่สนถวานั นอทอ่ีทกพี่สมรรมษตาิวนา่ ้ ีเปท็ นุกวสดัวใรนรคปช์ร้นะั เดทาศวไดทึงยสก์ ็มีพบรแกาลิจรร๕๔๓๑๒ชกระะก...ผย.พ.รราทไสราูปตุ้ทปว่รมยันาําดธมแวบมตใกศหลดักจุญ่าสวาระเุศทงถาพสือตๆลวัดป่านื่อกัไธนบบรทปปาบระรทา้่ีคฏารดรน่ีรตมวบิยบัาเรรราตัชธ\"ปอือยติธกงฏุทนธชรกาั ิศิบรใรารบหรมสตตั าสมส่้วิแิใตถฟนนะลรเาัองวกกะเนพานทัธุศ่ียดทรงโอวลวะธี่ศกอใป\"ธรหึกบกั รรรษแพว้ะรมนกัดารมจญ่แรอบัเกั ษทลอธาระกศาตงตทชพนิผา่ีวารลาูม้ ดัตร่ววิตษงดัคลาาแวบมัฯรลลอจะาฯดัสคใถเหาพารมน้่ือบีนทใา้หิที่สนค้ราํ เวรคราศือญั มกนทราแาแู้รลงกะกป่ สารถระาชนาทชี่น

วนั พระ วนั ธรรมสวนะวนั พระ หรอื วนั ธรรมสวนะ หมายถึง วนั ประชุมถือศีลฟังธรรมในพุทธศาสนา(ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม) กาํ หนดเดือนทางจนั ทรคติละ 4 วนั ไดแ้ ก่ วนั ข้ ึน 8 คาํ่ วนั ข้ ึน 15 คาํ่ (วนั เพ็ญ) วนั แรม 8 คาํ่ วนั แรม 15 คาํ่ (หากเดือนใดเป็ นเดือนขาด ถือเอาวนั แรม 14 คาํ่ ) ในวนั พระ พุทธศาสนิกชนถือเป็ นวนั สาํ คญั ควรไปวดั เพ่ือทาํ บุญ ถวายภตั ตาหารแด่พระสงฆ์ และฟังธรรม สาํ หรบั ผทู้ ี่เคร่งครดั ในศาสนาอาจถือศีลแปดในวนั พระดว้ ย นอกจากน้ ีชาวพุทธยงั ถือวา่ วนั พระไมค่ วรทาํ บาปใดๆ การทาํ บาปหรือไมถ่ ือศีลหา้ ในวนั พระถือวา่ เป็ นบาปยง่ิ ในวนั อ่ืนวนั โกน เป็ นภาษาพดู หมายถึง วนั กอ่ นวนั พระ ๑ วนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook