Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โมดูลที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับ อกท.

โมดูลที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับ อกท.

Published by อัจฉราภรณ์ ภู่ขวัญ, 2021-02-20 03:04:04

Description: โมดูลที่ 1

Search

Read the Text Version

กิจกรรมที่ ๔ สราง พฒั นามอดลู 1

คํานาํ บทเรยี นโมดูลหนวยที่ 1 เรอ่ื ง แนวคิดเก่ียวกบั องคการเกษตรกรในอนาคต (อกท.) ฉบับนี้ ผูสอน เรยี บเรียงขน้ึ เพือ่ ใชป ระกอบการเรียนการสอนในรายวชิ าองคการเกษตรกรในอนาคต รหัสวชิ า 20500-1002 ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชน้ั ปท ่ี 2 โดยมีวตั ถุประสงคเ พื่อใหผูเรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเอง เพอ่ื ใหมคี วามรู พ้ืนฐานกอนท่ีจะศกึ ษาเน้อื หานั้นจริงๆ และยงั ไดเพมิ่ เตมิ เนื้อหาบางตอนเพอื่ ชวยเสรมิ ความรคู วามเขา ใจ แกผ เู รียน บทเรยี นโมดลู ชุดนี้มเี นือ้ หาเกย่ี วกับความหมาย ความสําคญั หลกั การและพัฒนาการของ อกท. นอกจากนี้ยงั ประกอบดวยคาํ แนะนําการใชบทเรียนโมดูล จดุ ประสงคการเรียนรู แบบทดสอบความรูกอ นเรยี น เนอ้ื หา ใบกิจกรรม แบบทดสอบความรหู ลงั เรยี น รวมทง้ั เฉลยใบกิจกรรมและแบบทดสอบ บทเรียนโมดลู น้ีผเู รยี น สามารถศึกษาคนควาดวยตนเองและเรยี นไดดว ยตนเอง ผสู อนหวงั เปนอยา งยงิ่ วาบทเรยี นโมดลู ชุดนจี้ ะชวยใหผ เู รยี นไดร ับความรคู วามเขาใจเกยี่ วกบั อกท. มากยง่ิ ขึน้ และสงผลใหผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี นสงู ขึ้น อยางไรกต็ ามในบทเรียนโมดูลชุดน้ี อาจมบี างจดุ ทม่ี ขี อบกพรอ งผดิ พลาด ขอใหผูเ รยี นโปรดแจงใหผูสอนทราบดว ยจะขอบพระคณุ เปน อยางย่งิ ผูส อน ยนิ ดีรบั ฟง ความคิดเหน็ และขอ เสนอแนะจากผูเ รียนทุกคน และพรอ มทจ่ี ะนาํ มาแกไ ขปรบั ปรงุ บทเรยี นโมดลู ชุดนี้ ใหมคี วามสมบูรณแ ละถูกตอง อัจฉราภรณ ภูขวัญ 2

สารบญั หนา เรือ่ ง 2 คาํ นํา 3 สารบญั 4 คาํ ชี้แจงในการใชโ มดูล 5 ขน้ั ตอนการใชโ มดลู สําหรับผูเรยี น 6 จุดประสงคการเรียนรู 7 แบบทดสอบกอนเรียน 8 เฉลยแบบทดสอบภาคความรูกอ นเรียน 10 เรือ่ งที่ 1.1.1 ความหมาย ความสําคญั ของ อกท. 15 ใบงานที่ 1 17 เรือ่ งที่ 1.1.2 พฒั นาการของ อกท. 20 ใบงานที่ 2 21 แบบทดสอบภาคความรูหลังเรียน 23 เฉลยแบบทดสอบภาคความรูหลังเรยี น 3

คาํ ช้แี จงในการใชโ มดูลสาํ หรับผเู รียน การใชบทเรยี นโมดลู ใหเกดิ ประสิทธภิ าพตอ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได อยา งสงู สุด ผเู รยี นควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. การเตรยี มตวั ของผูเรยี น ศึกษาบทเรียนโมดลู วงหนา กอ นท่ีจะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหมคี วามรู ความเขา ใจเก่ียวกบั จุดประสงค ข้ันตอนการเรยี นรู และสามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามข้นั ตอนการเรียนรูไดอ ยา งครบถวน หากผเู รียนมี ขอ สงสยั สามารถสอบถามขอมลู เพิ่มเติมจากผสู อนได ซงึ่ จะเปน การใชบ ทเรียน โมดูลใหเกดิ ประสทิ ธิภาพตอ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนไดอยางสงู สุด ผเู รยี นควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 2 การดําเนนิ การจัดกิจกรรมในแตล ะครง้ั ผเู รียนควรปฏิบตั ิ ดังน้ี 2.1 ศึกษาแนวทางในการปฏิบตั ิกิจกรรมใหมีความเขาใจ อยางละเอยี ด 2.2 ปฏิบตั กิ ิจกรรมตามลาํ ดับขนั้ ตอนท่กี าํ หนด ดงั นี้ 2.2.1 ผูเ รยี นทาํ แบบทดสอบภาคความรูก อ นเรยี น 2.2.2 ผเู รียนศกึ ษาและปฏบิ ัติกจิ กรรมตา ง ๆ ตามแนวทางการจดั กิจกรรม การเรยี นรูตามลําดับข้ันตอนที่กําหนด 2.2.3 สง ผลงานหรอื ช้ินงานที่เกิดจากมากมอบหมายใหผ เู รยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรม มสี วนรว ม ในการนาํ เสนอผลงาน 2.2.4 ผูเรยี นทําแบบทดสอบภาคความรหู ลงั เรียน 4

ข้นั ตอนการใชโมดูลสาํ หรบั ผูเรยี น 1. ผสู อนแนะนําผเู รยี นเกี่ยวกับองคประกอบของบทเรยี นโมดลู ชดุ ท1่ี เร่อื ง แนวคิดเกี่ยวกับองคก าร เกษตรกรในอนาคต 2. ผูเรยี นตรวจสอบสวนประกอบและอปุ กรณใ นชุดโมดลู 3. ผเู รยี นศึกษา และปฏิบัตกิ ิจกรรม ตามลําดับดังน้ี 3.1 ผเู รยี นทาํ แบบทดสอบภาคความรูกอนเรยี น 3.2 ผเู รียนดูไสลดค อมพิวเตอรเรอื่ งแนวคอดเกีย่ วกบั อกท. 3.3 ผเู รียนศึกษาและคนควาจากใบความรู ดังน้ี 3.3.1 ความหมายและความสาํ คญั ของ อกท. 3.3.2 หลกั การและวตั ถปุ ระสงคข อง อกท. 3.4. ผูเรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมตามใบงานที่ 1 3.5. ผูเรียนศกึ ษาและคน ควา จากใบความรู ดงั น้ี 3.5.1. พฒั นาการของ อกท. 3.6. ผูเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมตามใบงานท่ี 2 3.7 ผเู รียนตรวจคําตอบตามใบเฉลยกิจกรรม 4. ผูเรยี นทาํ แบบทดสอบภาคความรูห ลังเรียน 5. ผเู รยี นตรวจคาํ ตอบ หมายเหตุ ในขณะทผี่ ูเรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมหากมีขอสงสยั หรอื พบปญหาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมใหผ ูเรียนสอบถาม ครผู สู อนไดทันที ทุกเวลา 5

จดุ ประสงคการเรียนรู 1.1 ดา นความรู 1.1.1 อธิบายความหมายของคาํ วา “ อกท.” ไดถ กู ตอ ง 1.1.2 บอกความหมายของหลกั การ อกท. 1.1.3 บอกความสําคัญของ อกท.ได 1.1.4 อธบิ ายความเปนมาของ อกท. 1.1.5 บอกพัฒนาการของ อกท.ได 1.2 ดา นคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค 1.2.1 ความสนใจใฝร ู 1.2.2 ความตรงตอ เวลา 1.2.3 ความคิดสรางสรรค 6

วชิ าองคก ารเกษตรกรในอนาคต แบบทดสอบภาคความรกู อ นเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นปท่ี 1 คาํ ชี้แจง แบบทดสอบ เลือกตอบ 10 ขอ ตอนที่ 1 โปรดทําเครือ่ งหมาย X ทบั ตวั อักษรท่ีเหน็ วาถกู ทส่ี ุดลงในกระดาษคําตอบ 1. อกท. นํารปู แบบการดําเนนิ งานมาจากประเทศใด? ข. ญี่ปุน ก. สหรัฐอเมรกิ า ค. เกาหลี ง. ฟล ปิ ปนส 2. FFT” หมายความวา อยางไร ก. Future Farmers of Thailand ข. Farmers of Thailand ค. Farmers Future of Thailand ง. Farmers Future Thailand 3. องคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทย ( อกท.) นาํ มาทดลองใชค รัง้ แรกทีส่ ถานศกึ ษาแหงใด ก. วิทยาลัยเกษตรกรรมสรุ ินทร ข. วทิ ยาลยั เกษตรกรรมชลบุรี ค. วทิ ยาลัยเกษตรกรรมนครศรธี รรมราช ง. วทิ ยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม 4. สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารโี ปรดเกลา ฯ เปนองคประธานเปดการประชุมวิชาการ อกท. ระดับชาติ คร้งั ท่ี แรก ที่ อกท. หนว ยใด ? ก. หนวย ชลบรุ ี ข. หนวยสุราษฎรธ านี ค. หนวย เชยี งใหม ง. หนว ยอดุ รธานี 5. “อกท. เปนองคการของสมาชิกทดี่ าํ เนนิ งานโดยสมาชิกเพ่อื สมาชิก โดยมีคณะกรรมการ อกท. แตล ะ ระดับไดใ หค าํ แนะนาํ สนับสนุน กาํ กับ ดแู ล” เปน ก.ปรชั ญา ข. วตั ถปุ ระสงค ค. คาํ ขวัญ ง. หลักการ 6. สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามกุฎราชกุมาร(พระยศในชว งเวลาน้นั ) โปรดเกลา ฯ เปน องคป ระธานเปดงาน การประชมุ วิชาการของสมาชิก อกท. ระดับชาติ ท่ี อกท. หนว ยใด ก. หนวยนครสวรรค ข. หนวยนครพนม ค. หนว ยนครศรีธรรมราช ง. หนวยนครราชสมี า 7. สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับ อกท. ไวในพระราชูปถมั ภ ฯ เมือ่ ใด ก. 6 พฤษภาคม 2545 ข. 6 พฤศจิกายน 2545 ค. 6 พฤษภาคม 2546 ง. 6 พฤศจิกายน 2546 8. “อกท. รวมพลงั สรางชาติ ” หมายถงึ ขอใด ก. ปรชั ญา ข. คตพิ จน ค. คําขวัญ ง. วตั ถปุ ระสงค 9. หนว ย อกท. มที ้งั หมดจํานวนเทาไร ก. 49 หนว ย ข. 50 หนวย ค. 52 หนว ย ง. 53 หนว ย 7

10. ขอใด ทัง้ หมด ไดแกข อ ใด ก. สงขลา ตรงั ชุมพร บรุ รี ัมย ข. สงขลา ชุมพร นครศรธี รรมราช บรุ รี มั ย ค. สงขลา ชุมพร นครศรธี รรมราช อุบลราชธานี ง. นครศรีธรรมราช เชยี งใหม นครราชสมี า บรุ ีรัมย 8

เฉลยแบบทดสอบกาคความรกู อ นเรยี น 1ก 2ก 3ง 4ง 5ง 6ก 7ข 8ค 9ค 10 ข 9

เร่ืองท่ี 1.1.1 ความหมาย ความสําคญั ของ อกท. อกท. เป็ นกิจกรรมหลกั ของนกั ศึกษาอาชีวศึกษาเกษตรที่ส่งเสริมใหน้ กั ศึกษาเกิดการเรียนรู้จากการฝึ กหดั และฝึ กปฏิบตั ิ มีรายไดข้ ณะกาํ ลงั ศึกษาเลา่ เรียน และรู้จกั การใหบ้ ริการแก่สงั คมและชุมชน 1. ความหมายของ อกท. อกท. เป็ นคาํ ยอ่ ขององคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีชื่อภาษาองั กฤษวา่ Future Farmers of Thailand (FFT) โดยความหมายแลว้ อกท. หมายถึง กิจกรรม หลกั ของนกั ศึกษาอาชีวศึกษาเกษตร เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษาดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา ดว้ ยการ เรียนรู้โดยการปฏิบตั ิจริง (Learning by Doing) และเป็ นการพฒั นาบุคลิกภาพของสมาชิกใหพ้ ร้อมท่ีจะเป็ นผนู้ าํ ของสงั คมหลงั จาก ที่จบการศึกษาแลว้ สามารถออกไปประกอบอาชีพดว้ ยความมนั่ ใจ และเป็ นพลเมืองดีของประเทศชาติตามระบอบ ประชาธิปไตย 2. ความสําคญั ของ อกท. อกท. มีความสาํ คญั ต่อนกั ศึกษาโดยเป็ นการฝึ กทกั ษะวชิ าชีพ สร้างลกั ษณะความเป็ นผนู้ าํ เกษตรกรในอนาคต สร้างความเป็ นเลิศดา้ นวชิ าการ สร้างรายไดข้ ณะศึกษาเลา่ เรียน ใหบ้ ริการชุมชน สร้างความสามคั คีระหวา่ งนกั ศึกษาปัจจุบนั และศิษยเ์ ก่าที่จบการศึกษาจากสถาบนั อาชีวศึกษาเกษตร 2.1 การฝึ กทกั ษะวชิ าชีพ กิจกรรม อกท. มุ่งเนน้ การฝึ กฝนทกั ษะวชิ าชีพใหน้ กั ศึกษาเกิดความชาํ นาญ และมีความ มน่ั ใจตอ่ วชิ าชีพใชห้ ลกั การ “Learning by Doing” คือ เรียนรู้ดว้ ยงานการฝึ กหดั ดงั ภาพที่ 1.1 ภาพท่ี 1.1 สมาชิกแข่งขนั ทกั ษะการผสมเทียมปลาเป็ นการฝึ กทกั ษะวชิ าชีพ 10

2.2 สร้างลกั ษณะความเป็ นผ้นู ําเกษตรกรในอนาคต เป้าหมายขององคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย คือ การสร้างใหน้ กั ศึกษามีลกั ษณะเป็ นผนู้ าํ เกษตรกรในอนาคต ฉะน้นั กิจกรรมของ อกท.จึงเนน้ การสร้างความเป็ นผนู้ าํ ใหแ้ ก่ เยาวชนเป็ นเกษตรกรผนู้ าํ ท่ีจะเป็ นกาํ ลงั สาํ คญั ของชาติในอนาคต ที่ทาํ หนา้ ท่ีผลิตทางดา้ นการเกษตรของประเทศไทยในยคุ โลกาภิวฒั น์ (Globalization) ดงั ภาพท่ี 1.2 ภาพท่ี 1.2 การทาํ โครงการปลกู ผกั ของสมาชิกเพ่อื ฝึ กคุณลกั ษณะการเป็ นผนู้ าํ เกษตรกรในอนาคต 2.3 สร้างความเป็ นเลศิ ด้านวชิ าการ กิจกรรม อกท. นอกจากจะฝึ กทกั ษะอาชีพแลว้ ยงั ฝึ กฝนให้ นกั ศึกษา ไดร้ ู้จกั วธิ ีการคิดและเรียนรู้ทางดา้ นการเกษตร และสาขาวชิ าที่เก่ียวขอ้ งสาํ หรับนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ รงชีพ และการประกอบ อาชีพของนกั ศึกษาในอนาคต กิจกรรม อกท.ไดบ้ ูรณาการท้งั ศาสตร์และศิลปะใหแ้ ก่มวลสมาชิกในการแขง่ ขนั ทกั ษะวชิ าชีพ เพือ่ สร้างความเป็ นเลิศทางวชิ าการ ดงั ภาพท่ี 1.3 ภาพที่ 1.3 สมาชิกแข่งขนั ทกั ษะการจดั สวนหยอ่ มที่บูรณาการท้งั ศาสตร์และศิลปะใหแ้ ก่สมาชิก 11

2.4 การสร้างรายได้ให้แก่นักศึกษา ขณะศึกษาเล่าเรียนอยใู่ นสถานศึกษา กิจกรรม อกท. ไดฝ้ ึ กฝนทกั ษะวชิ าชีพใน รูปของโครงการตา่ งๆ เช่น โครงการเกษตร โครงการหารายไดแ้ ละออมทรัพย์ จดั เป็ นกิจกรรมที่ฝึ กฝนใหน้ กั ศึกษาไดเ้ รียนรู้ อาชีพ การหารายไดข้ ณะศึกษาเล่าเรียน เพ่อื นกั ศึกษาจะไดเ้ ตรียมตวั เขา้ สู่อาชีพ ภายหลงั จากการจบการศึกษาไปแลว้ ดงั ภาพท่ี 1.4 ภาพท่ี 1.4 สมาชิกหารายไดจ้ ากการจาํ หน่ายผลผลิตเพอื่ ฝึ กฝนใหส้ มาชิกไดเ้ รียนรู้ดา้ นอาชีพ 2.5 การบริการชุมชน เป็ นกิจกรรมท่ีสมาชิก อกท. ไดบ้ ริการงานสงั คมชุมชนในทอ้ งถิ่นเป็ น กิจกรรมที่ให้ นกั ศึกษาไดเ้ ห็นความสาํ คญั ของชุมชน และบริบทของสงั คมชนบท รู้จกั การช่วยเหลือผอู้ ื่นดว้ ยความเตม็ ใจ และเสียสละ ดงั ภาพที่ 1.5 ภาพที่ 1.5 สมาชิกบริจาคโลหิตใหก้ บั สภากาชาดจงั หวดั เพ่อื ใหส้ มาชิกไดเ้ ห็นความสาํ คญั ของชุมชนและสงั คม 12

2.6 สร้างความสามคั คี ใหก้ บั นกั ศึกษาปัจจุบนั และศิษยเ์ ก่าที่จบจากสถาบนั อาชีวศึกษาเกษตรเพ่ือใหเ้ กิดความ เขม้ แขง็ ของเกษตรกรในอนาคต ซ่ึงในปัจจุบนั ศิษยเ์ ก่าที่เป็ นสมาชิก อกท. ไดจ้ ดั ต้งั สมาคมศิษยเ์ ก่า อกท. โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เชื่อมเครือข่ายดา้ นอาชีพเกษตรกรรมของสมาชิก และใหค้ วามช่วยเหลือแก่ศิษยป์ ัจจุบนั ในรูปของการใหค้ วามรู้การฝึ กอาชีพ ตามโครงการพีช่ ่วยนอ้ ง เป็ นตน้ ดงั ภาพที่ 1.6 ภาพที่ 1.6 สมาชิกสามญั มอบช่อดอกไมต้ อ้ นรับสมาชิกวสิ ามญั เป็ นการเช่ือมเครือขา่ ยและใหค้ วามช่วยเหลือจากศิษยเ์ ก่า 3. หลกั การของ อกท. หลกั การของ อกท. เป็ นองคก์ ารของสมาชิก ดาํ เนินงานโดยสมาชิก และเพ่ือสมาชิกโดยมี คณะกรรมการ อาํ นวยการ อกท. แต่ละระดบั ใหค้ าํ แนะนาํ สนบั สนุน และกาํ กบั ดูแลในการดาํ เนินกิจกรรม อกท. 4. วตั ถุประสงค์ของ อกท. วตั ถปุ ระสงคข์ อง อกท. ครอบคลมุ เพ่ือพฒั นาคุณภาพ และความเป็ นเลิศทางวชิ าชีพของสมาชิก เพอ่ื พฒั นาให้ สมาชิกมีลกั ษณะความเป็ นผนู้ าํ และเพ่ือส่งเสริมใหส้ มาชิกเป็ นพลเมืองดี 4.1. เพื่อพฒั นาคณุ ภาพและความเป็ นเลศิ ทางวชิ าชีพของสมาชิก โดยการปฏิบตั ิจริงในวชิ าชีพเกษตรกรรม และ วชิ าอ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ งจนมีความมนั่ ใจสามารถนาํ ไปประกอบอาชีพ และสามารถแนะนาํ ผอู้ ่ืนได้ 4.2. เพ่ือพฒั นาให้สมาชิกมลี กั ษณะความเป็ นผู้นาํ สามารถทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่น และอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งเป็ นสุข 4.3 เพ่ือส่งเสริมให้สมาชิกเป็ นพลเมืองดี ตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมขุ 13

โดยสรุป อกท. เป็ นคาํ ย่อขององค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ใน พระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็ นกจิ กรรมหลกั ของนกั ศึกษาอาชีวศึกษาเกษตร เพื่อ พฒั นาศักยภาพนักศึกษาด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา และบุคลกิ ภาพให้มลี กั ษณะความเป็ น ผ้นู าํ อกท. มคี วามสําคญั ต่อนกั ศึกษาโดยเป็ นการฝึ กฝนทกั ษะวชิ าชีพ สร้างลกั ษณะความเป็ นผู้นําเกษตรกรใน อนาคต สร้างความเป็ นเลศิ ทางวชิ าการ สร้างรายได้ขณะศึกษาเล่าเรียน ให้บริการชุมชน สร้างความสามคั คี ระหว่างนักศึกษาปัจจบุ ันและศิษย์เก่าทจี่ บการศึกษาจากสถาบันอาชีวศึกษาเกษตร หลกั การของ อกท. เป็ น องค์การของสมาชิก ดาํ เนนิ การโดยสมาชิก และเพ่ือสมาชิก โดยมคี ณะกรรมการอาํ นวยการ อกท. แต่ละ ระดบั ให้คาํ แนะนาํ สนบั สนุนและกาํ กบั ดูแลในการดาํ เนนิ กจิ กรรมของ อกท. วตั ถุประสงค์ของ อกท. ครอบคลมุ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพและความเป็ นเลศิ ทางวชิ าชีพของสมาชิก เพ่ือพฒั นาให้สมาชิกมลี กั ษณะความ เป็ นผู้นาํ และเพ่ือส่งเสริมให้สมาชิกเป็ นพลเมืองดตี ามระบอบประชาธิปไตย 14

ใบงานที่ 1 ชอื่ วชิ า องคการเกษตรกรในอนาคตแหงประเทศไทย รหัสวชิ า 20500-1002 2 คาบ / สปั ดาห หนวยท่ี.......1......... เรือ่ ง แนวคดิ เกี่ยวกบั องคก ารเกษตรกรในอนาคตแหงประทศไทย ( อกท.) สอนสัปดาหท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564 คาํ ช้แี จง ใหนักเรยี นเขียนเตมิ คาํ ในชอ งวางใหสมบูรณแ ละถูกตองตามหลักวชิ าการ เน้อื หา 2 15

16

เร่ืองท่ี 1.1.2 พฒั นาการของ อกท. พฒั นาการของ อกท. มี 3 ช่วง คือช่วงก่อต้งั ช่วงถูกยบุ องคก์ าร และช่วงฟ้ื นฟู 1. ช่วงก่อต้งั ช่วงก่อต้งั องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย (อกท.) นาํ มาทดลองคร้ังแรกท่ีวทิ ยาลยั เกษตรกรรมเชียงใหม่ (ปัจจุบนั คือมหาวทิ ยาลยั แม่โจ)้ เม่ือ พ.ศ. 2504 ใชร้ ูปแบบของ Future Farmers of America (FFA) เพ่อื นาํ มาทดลองพฒั นาความเป็นผนู้ าํ ของนกั ศึกษาเกษตร ผลจากการทดลองนกั ศึกษาผา่ น กิจกรรมลกั ษณะความเป็นผนู้ าํ ท่ีดีข้ึน พ.ศ. 2515 กองโรงเรียนเกษตรกรรม กรมอาชีวศึกษา ไดน้ าํ กิจกรรม อกท. มาใชใ้ นวทิ ยาลยั เกษตรกรรม 6 แห่ง ไดแ้ ก่ วทิ ยาลยั เกษตรกรรมเชียงใหม่ (แม่โจ)้ วทิ ยาลยั เกษตรกรรมบางพระ (ชลบุรี) วทิ ยาลยั เกษตรกรรมนครศรีธรรมราช (ทุง่ สง) วทิ ยาลยั เกษตรกรรมพระนครศรีอยธุ ยา วทิ ยาลยั เกษตรกรรม กาฬสินธุ์ และวทิ ยาลยั เกษตรกรรมสุรินทร์ และในโรงเรียนเกษตรกรรมอีก 21 แห่ง แตก่ ิจกรรมต่างๆ ของ อกท. ไม่สามารถดาํ เนินไดค้ รบข้นั ตอน การจดั ยงั ไมเ่ ป็นระบบ เป็นการลองผดิ ลองถูก เนื่องจากครู – อาจารย์ เกษตรและผบู้ ริหารไม่เขา้ ใจปรัชญา หลกั การและวตั ถุประสงคข์ อง อกท. นอกจากน้ียงั ขาดการสนบั สนุนดา้ น งบประมาณในการดาํ เนินกิจกรรมทาํ ให้ อกท. ไม่เป็นท่ีรู้จกั แพร่หลาย ภาพท่ี 2.1 ภาพที่ 2.1 อกท.ที่จดั ต้งั ที่วทิ ยาลยั เกษตรเชียงใหม่ ท่ีมา : วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครศรีธรรมราช (2547) ทรี่ ะลึกการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม บรมราชกมุ ารี ครั้งที่ 25 วนั ท่ี 5-8 กุมภาพนั ธ์ 2547 หนา้ 31 17

2. ช่วงถูกยบุ องค์การ ช่วงถูกยบุ องคก์ าร ระหวา่ งปี พ.ศ. 2510 – 2516 องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ยงั ไมเ่ ป็ นที่รู้จกั อยา่ งแพร่หลาย แมจ้ ะมีผสู้ นใจจะฟ้ื นฟกู ิจกรรม อกท. ดว้ ยการนาํ อปุ กรณ์และภาพยนตร์ที่เก่ียวกบั FFA มาเผยแพร่ จดั อบรม ครูที่ปรึกษาของคณะกรรมการดาํ เนินงาน แปลและเรียบเรียงคู่มือกิจกรรม มีพธิ ีเปิ ดหน่วย อกท. หลายแห่งในโรงเรียนและ วทิ ยาลยั เกษตรกรรม จดั ทาํ คู่มือการปฏิบตั ิกิจกรรม อกท. และตอ้ ง ถกู ยบุ องคก์ ารในปี พ.ศ. 2518 เพราะรัฐบาลสงั่ ยกเลิก และยบุ องคก์ ารต่างๆ ของนกั ศึกษาทุกรูปแบบ 3. ช่วงฟื้ นฟู ช่วงฟ้ื นฟู ปี พ.ศ. 2522 รัฐบาลมีนโยบายใหส้ ถานศึกษาทุกระดบั จดั ต้งั ชมรม องคก์ ารต่างๆ ข้ึนภายใน สถานศึกษา อาจารยบ์ ุญเทียม เจริญยงิ่ ดาํ รงตาํ แหน่งผอู้ าํ นวยการกองวทิ ยาลยั เกษตรกรรม ขณะน้นั ไดร้ ณรงคฟ์ ้ื นฟกู ิจกรรม อกท. เป็ นกิจกรรมหลกั ของนกั ศึกษาอาชีวศึกษาเกษตรทวั่ ประเทศ และในปี น้ีมีการ จดั งานประชุมวชิ าการ อกท. ระดบั ภาค ท้งั 4 ภาค โดยภาคเหนือจดั ที่วทิ ยาลยั เกษตรกรรมเชียงราย ภาคกลางจดั ที่วทิ ยาลยั เกษตรกรรมสิงห์บุรี ภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือจดั ที่วทิ ยาลยั เกษตรกรรมบุรีรัมย์ และภาคใตจ้ ดั ที่วทิ ยาลยั เกษตรกรรมตรัง ส่วนการจดั งานประชุมวชิ าการ ของสมาชิก อกท. ระดบั ชาติ จดั คร้ังแรกระหวา่ ง วนั ท่ี 15 – 18 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2523 ท่ีวทิ ยาลยั เกษตรกรรมศรีสะเกษ จงั หวดั ศรีสะเกษ ในการจดั งานประชุมวชิ าการ อกท. ระดบั ชาติ คร้ังตอ่ มามีบุคคลท่ีสาํ คญั ๆ ระดบั ชาติเป็ นประธานเปิ ดงาน ทุกคร้ัง ไดแ้ ก่ รัฐมนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ นายกรัฐมนตรี ผแู้ ทนพระองค์ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกฎุ ราชกมุ าร และไดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชสยาม มกฎุ ราชกมุ าร เสด็จเป็ นองคป์ ระธานเปิ ดงานดว้ ยพระองคเ์ องวนั ที่ 4-6 กมุ ภาพนั ธ์ 2530 ณ วทิ ยาลยั เกษตรกรรมนครสวรรค์ และจากปี พ.ศ. 2533 ไดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารีเสด็จเป็ นองคป์ ระธาน เปิ ดงานติดกนั มาทุกปี จนถึงปัจจุบนั ดงั ภาพท่ี 2.2 ภาพที่ 2.2 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปิ ดงานประชุมวชิ าการ อกท. ระดบั ชาติ 18

พ.ศ. 2530 กรมอาชีวศึกษา ไดบ้ รรจุวชิ าองคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย (อกท.) เป็ นวชิ าบงั คบั เรียนในหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) ส่วนกิจกรรมตามหลกั การของ อกท. น้นั ให้ นกั ศึกษาท่ีเขา้ ศึกษาในระบบ ทุกหลกั สูตรของสถานศึกษา สงั กดั กองวทิ ยาลยั เกษตรกรรม กรมอาชีวศึกษา เขา้ ร่วมกิจกรรมทุกคน ไดม้ ีผบู้ ริจาคก่อต้งั มลู นิธิองคก์ ารเกษตรกรในอนาคต โดยมีวตั ถุประสงคท์ ี่จะนาํ ดอกผลจากมลู นิธิมาสนบั สนุนกิจกรรมของ อกท. และต่อมา สมาชิกจากหน่วยตา่ งๆ ไดร้ ณรงคห์ าเงินสมทบมูลนิธิ อกท. ทุกปี ทาํ ใหส้ ามารถสนบั สนุนกิจกรรมในการจดั ประชุมวชิ าการ ระดบั ชาติมากข้ึน พ.ศ. 2545 องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ไดร้ ับมหากรุณาธิคุณจาก สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารีทรงรับ อกท. เขา้ อยใู่ นพระราชูปถมั ภ์ เมื่อ วนั ที่ 6 พฤศจิกายน 2545 นบั เป็ นพระมหากรุณาธิคุณลน้ เกลา้ ลน้ กระหม่อม เป็ นเกียรติอนั สูงสุดแด่สมาชิกและศิษยเ์ ก่า อกท. ตลอดจนคณะครู – อาจารยข์ องวทิ ยาลยั เกษตรและ เทคโนโลยที ุกแห่งต่างตระหนกั ดีวา่ “กิจกรรมและการดาํ เนินงานของ อกท. คือคุณภาพอาชีวศึกษาเกษตรของประเทศไทย” โดยสรุป พฒั นาการของ อกท. มี 3 ช่วง คือ ช่วงก่อต้งั ช่วงถูกยุบองค์การ และช่วงฟื้ นฟู 19

ใบงานท่ี 2 ช่ือวิชา องคการเกษตรกรในอนาคตแหง ประเทศไทย รหสั วิชา 20500-1002 2 คาบ / สปั ดาห หนวยท่ี.......1......... เร่ือง แนวคดิ เก่ยี วกบั องคการเกษตรกรในอนาคตแหง ประทศไทย ( อกท.) สอนสัปดาหท ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2564 คําชแี้ จง ใหนกั เรียนจัดทําแผน พับ โดยสรปุ เนือ้ หาหรอื สาระสําคญั ตามหัวขอทกี่ ําหนดให เขยี นลงในแบบฟอรม แผน พับท่ีกําหนดให หรือนกั เรียนจะออกแบบแผนพบั ขน้ึ ใหม และระบายสีใหสวยงาม (แบบแผน พบั แนบทา ย) แบบทดสอบหลังเรยี น 20

วชิ าองคก ารเกษตรกรในอนาคต แบบทดสอบหลงั เรยี น ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพชัน้ ปท ี่ 1 คาํ ช้แี จง แบบทดสอบ เลอื กตอบ 10 ขอ ตอนที่ 1 โปรดทาํ เครื่องหมาย X ทับตัวอักษรทีเ่ หน็ วา ถกู ทีส่ ุดลงในกระดาษคําตอบ 1.อกท. นาํ รูปแบบการดาํ เนินงานมาจากประเทศใด? ก. สหรฐั อเมริกา ข. ญีป่ ุน ค. เกาหลี ง. ฟล ปิ ปนส 2. FFT” หมายความวา อยา งไร ก. Future Farmers of Thailand ข. Farmers of Thailand ค. Farmers Future of Thailand ง. Farmers Future Thailand 3. องคก ารเกษตรกรในอนาคตแหง ประเทศไทย ( อกท.) นํามาทดลองใชครัง้ แรกท่สี ถานศกึ ษาแหง ใด ก. วทิ ยาลยั เกษตรกรรมสรุ ินทร ข. วิทยาลัยเกษตรกรรมชลบรุ ี ค. วทิ ยาลยั เกษตรกรรมนครศรธี รรมราช ง. วิทยาลยั เกษตรกรรมเชยี งใหม 4. สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารโี ปรดเกลา ฯ เปนองคป ระธานเปดการประชุมวิชาการ อกท. ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ แรก ที่ อกท. หนว ยใด ? ก. หนวย สงิ หบ ุรี ข. หนว ย ศรีสะเกษ ค. หนว ย เชียงใหม ง. หนวยอุ บลราชธานี 5.“อกท. เปน องคการของสมาชิกท่ีดําเนินงานโดยสมาชิกเพอื่ สมาชิก โดยมคี ณะกรรมการ อกท. แตล ะ ระดับไดใหคาํ แนะนาํ สนบั สนนุ กาํ กบั ดแู ล” เปน ก.ปรชั ญา ข. วัตถปุ ระสงค ค. คาํ ขวญั ง. หลกั การ 6.สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามกุฎราชกมุ าร(พระยศในชวงเวลานนั้ ) โปรดเกลา ฯ เปนองคประธานเปด งาน การประชมุ วิชาการของสมาชิก อกท. ระดับชาติ ท่ี อกท. หนว ยใด ก. หนว ยนครสวรรค ข. หนว ยนครพนม ค. หนว ยนครศรีธรรมราช ง. หนวยนครราชสมี า 7.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงรบั อกท. ไวใ นพระราชูปถัมภ ฯ เม่ือใด ก. 6 พฤษภาคม 2545 ข. 6 พฤศจกิ ายน 2545 ค. 6 พฤษภาคม 2546 ง. 6 พฤศจิกายน 2546 8.“อกท. รวมพลงั สรางชาติ ” หมายถึงขอ ใด ก. ปรชั ญา ข. คติพจน ค. คําขวญั ง. วัตถุประสงค 9.หนว ย อกท. มที ง้ั หมดจํานวนเทา ไร ก. 49 หนว ย ข. 50 หนวย ค. 52 หนวย ง. 53 หนวย 21

10. จังหวัดท่มี ีหนวย อกท. มากกวา 1 หนวย ทง้ั หมด ไดแ กข อ ใด ก. สงขลา ตรัง ชมุ พร บุรีรมั ย ข. สงขลา ชมุ พร นครศรธี รรมราช บรุ ีรมั ย ค. สงขลา ชมุ พร นครศรีธรรมราช อุบลราชธานี ง. นครศรธี รรมราช เชียงใหม นครราชสีมา บุรีรมั ย 22

เฉลยแบบทดสอบกาคความรูหลงั เรียน 1ก 2ก 3ง 4ง 5ง 6ก 7ข 8ค 9ค 10 ข 23

24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook