Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01 prehistoric

01 prehistoric

Published by paranapa, 2016-07-14 08:22:07

Description: 01 prehistoric

Keywords: history of western architecture,RMUTT

Search

Read the Text Version

สถาปัตยกรรมยคุ โบราณ (PREHISTORIC) อาจารย์พรนภา พรพนั ธ์ไุ พบลู ย์วชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

ประวตั ศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรมตะวนั ตกยคุ สมัยตา่ งๆ C(-40) C(-30) C(-20) C(-10) 0 C10 C20PREHISTORIC MESOPOTAMIA (C(-41)-(-4))CLASSIC EGYPT (C(-33)-(-1)) AEGEAN SEA/CRETE (C(-29)-(-12)) GREEK (C(-12)-(-2)) ETRUSCAN (C(-7)-(-1)) ROMAN (C(-3)-C4)MIDDLE AGE EARLY CHRISTIAN (C1-5) BYZANTINE (C5-15) ROMANESQUE (C10-12) GOTHIC (C12-14)RENAISSANCE RENAISSANCE MANNERISM BAROQUE ROCOCOPRE-MODERN NEO-CLASSIC ROMANTICMODERNPOST-MODERNวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

ประวตั ศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรมตะวนั ตกยคุ สมัยตา่ งๆ C(-40) C(-30) C(-20) C(-10) 0 C10 C20PREHISTORIC MESOPOTAMIA (C(-41)-(-4))CLASSIC EGYPT (C(-33)-(-1)) AEGEAN SEA/CRETE (C(-29)-(-12)) GREEK (C(-12)-(-2)) ETRUSCAN (C(-7)-(-1)) ROMAN (C(-3)-C4)MIDDLE AGE EARLY CHRISTIAN (C1-5) BYZANTINE (C5-15) ROMANESQUE (C10-12) GOTHIC (C12-14)RENAISSANCE RENAISSANCE MANNERISM BAROQUE ROCOCOPRE-MODERN NEO-CLASSIC ROMANTICMODERNPOST-MODERNวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสารบญั Part 1 : MESOPOTAMIA Part 2 : EGYPT Part 3 : AEGEAN SEA/CRETEวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสารบญั Part 1 : MESOPOTAMIA Part 2 : EGYPT Part 3 : AEGEAN SEA/CRETEวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIAMESO + POTAMIAเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) เป็นภาษากรีก หมายถงึ ดนิ แดนที่อยรู่ ะหวา่ งแมน่ ํา้ Meso = ระหวา่ ง, กลาง Potamia = แมน่ ํา้ หมายถงึ แมน่ ํา้ ไทกรีส (Tigris) และยเู ฟรตสิ (Euphrates)วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIAMESO + POTAMIA ชาวพืน้ เมืองเป็นชาว Sumerian ลกั ษณะพืน้ ที่เตมิ ไปด้วยโคลนและดินเหนียว หินและไม้ขนาดใหญ่หายาก การก่อสร้างใช้อิฐดนิ เหนียวเป็นหลกั มีทงั้ อฐิ ตากแห้ง และอฐิ เผา โครงสร้างหลกั เป็นผนงั รับนํา้ หนกั (wall bearing) มีการขดุ คลองระบายนํา้ และใช้สญั จร ผนงั รับนํา้ หนกั (wall bearing)วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA C(-40) C(-30)กลมุ่ วฒั นธรรมในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี C(-20) C(-10) 1. วัฒนธรรมแห่งซูเมอร์, อักคัด และ บาบีโลน 2. วัฒนธรรมแห่งอัสซีเรีย 0 3. วัฒนธรรมแห่งเปอร์เซียโบราณ C10วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA C(-40) C(-30)กลมุ่ วฒั นธรรมในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี C(-20) C(-10) 1. วัฒนธรรมแห่งซูเมอร์, อักคัด และ บาบีโลน 2. วัฒนธรรมแห่งอัสซีเรีย 0 3. วัฒนธรรมแห่งเปอร์เซียโบราณ C10วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 1 : MESOPOTAMIA สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณ1. วฒั นธรรมแหง่ ซเู มอร,์ อกั คดั และ บาบโี ลน Cuneiform (อกั ษรรูปลมิ่ ) บน ตงั้ อยปู่ ากแมน่ ํา้ ชาวพืน้ เมืองเป็นชาว Sumerian ดนิ เหนียว ประกอบด้วยนครรัฐหลายนครรัฐ แตล่ ะนครรัฐมีเทพเจ้าเป็นผ้พู ทิ กั ษ์นครรัฐของตนเอง มีวิหารเป็นศนู ย์กลางทางศาสนาและการบริหารของแตล่ ะนครรัฐ เป็นสถานที่ควบคมุ การแจกจา่ ยอาหาร และแรงงาน มีการปกครองแบบเทพราชา (กษัตริย์เป็นเทพ) มีรัฐบาลกลางเป็นศนู ย์กลางการบริหารอาณาจกั ร ใช้อกั ษร “คนู ีฟอร์ม” หรือ“อกั ษรรูปลมิ่ ” (ใช้ลม่ิ ไม้กดลงบนดินเหนียวในมมุ ตา่ งๆ)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA1. วฒั นธรรมแหง่ ซเู มอร,์ อกั คดั และ บาบโี ลนสถาปัตยกรรมเป็นทงั้ ผ้คู ิดค้นวิธีเรียงอฐิอิฐทําจากดินเหนียว โดยใช้อิฐทําเป็นลานใหญ่ แล้วจงึ สร้างอาคารบนฐานอฐิ ขนึ ้ ฐานอฐิ เรียกวา่ “ Platform ”พืน้ ท่ีตงั้ อาคารศาสนสถานเป็นบริเวณที่ลมุ่ โดยถมท่ีให้สงู นํา้ ท่วมไมถ่ งึไมม่ ีโครงสร้างแบบเสาคาน ใช้วิธีเรียงอฐิ เพียงอยา่ งเดียวสถาปัตยกรรมท่ีสาํ คญั คือ วิหารและพระราชวงัการเรยี งอฐิ ใหม้ คี วามแขง็ แรง ตอ้ งเรยี งเป็น slopeผนงั รับนํา้ หนกั (wall bearing) วิหารซกิ กรู ัต (ziggurat)วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 1 : MESOPOTAMIA สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณ1. วฒั นธรรมแหง่ ซเู มอร,์ อกั คดั และ บาบโี ลน SKETCH!!! สถาปัตยกรรม วิหารซกิ กรู ัต (ziggurat)วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA1. วฒั นธรรมแหง่ ซเู มอร,์ อกั คดั และ บาบโี ลน สถาปัตยกรรม มีการตกแตง่ ผนงั ด้วยกระเบือ้ งเคลอื บสีติดเป็นลวดลาย The Ishtar Gate ประตเู ข้าสเู่ มืองบาบีโลเนียทางทิศเหนือวชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA1. วฒั นธรรมแหง่ ซเู มอร,์ อกั คดั และ บาบโี ลน สถาปัตยกรรม สสุ านหลวงท่ีนครอรู ์ ประเทศอีรักวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA C(-40) C(-30)กลมุ่ วฒั นธรรมในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี C(-20) C(-10) 1. วัฒนธรรมแห่งซูเมอร์, อักคัด และ บาบีโลน 2. วัฒนธรรมแห่งอัสซีเรีย 0 3. วัฒนธรรมแห่งเปอร์เซียโบราณ C10วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA พระเจ้าอสั ซรู ์บานิพลั ทรงสงั หารสงิ โต นคร2. วฒั นธรรมแหง่ อสั ซเี รยี นิเนเวห์ จกั รวรรดิอสั ซีเรียขยายอาณาเขตจากนครอสั ซรู ์ นครนิมรูด และนครนิเนเวห์ไปครอบครองดินแดนเมโสโปเตเมีย อียิปต์ ดินแดนเอเชียไมเนอร์และเปอร์เชีย รับศิลปะและวฒั นธรรมแหง่ ซเู มอร์มาใช้รวมถงึ การนบั ถือเทพเจ้า แตเ่ ทพเจ้าของอสั ซเี รียจะอยหู่ า่ งไกลจากมนษุ ย์ ซงึ่ ตา่ งจากชาวซเู มอร์ งานศิลปะของอสั ซีเรียจึงไม่แสดงการเผชิญหนา้ กนั ระหว่างเทพเจ้ากบั มนษุ ย์ ตลอดยคุ ของอสั ซเี รียมกั เผชิญกบัสงคราม งานศิลปะของอสั ซีเรียจึงมกั แสดงพลงัทางดา้ นร่างกายวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA2. วฒั นธรรมแหง่ อสั ซเี รยี สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมที่สาํ คญั คือ วิหาร (Ziggurat เชน่ เดียวกบั วฒั นธรรมแรก) และพระราชวงั วิหารมีทงั้ สร้างให้ตงั้ อยเู่ ป็นเอกเทศ สร้างให้อยเู่ คียงคกู่ บั พระราชวงั และบางทีก็สร้างให้เป็นทงั้ วิหารและพระราชวงั ประตทู างเข้าจะอยตู่ รงกลาง เข้าสลู่ านกว้าง (court) Grand Entrance Courtมีหอสงู ตงั้ ขนาบ 2 ข้าง สว่ นวิหารจะมีห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ และห้องพกั รอที่หน้าห้อง Ziggurat Courtศกั ดิส์ ทิ ธิ์ สว่ นพระราชวงั จะมีลกั ษณะอาคารล้อมรอบลานกว้างตรงกลาง (court) Palace of Sargonวิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA2. วฒั นธรรมแหง่ อสั ซเี รยีสถาปัตยกรรมการกอ่ สร้างใช้อิฐดิน และหินเฉพาะตอนลา่ งของผนงั และรอบๆประตทู างเข้าอาคารมีการใช้อิฐเคลือบมนั เพื่อให้เกิดสีสนั ประตทู างเข้าเมืองของพระเจ้าซาร์กอนท่ี 2วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA2. วฒั นธรรมแหง่ อสั ซเี รยี สถาปัตยกรรม มีการตกแตง่อาคารด้วยปฏิมากรรมรูปนนูและจิตรกรรมฝาผนงั ประตทู างเข้าเมืองของ พระเจ้าซาร์กอนท่ี 2วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA C(-40) C(-30)กลมุ่ วฒั นธรรมในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี C(-20) C(-10) 1. วัฒนธรรมแห่งซูเมอร์, อักคัด และ บาบีโลน 2. วัฒนธรรมแห่งอัสซีเรีย 0 3. วัฒนธรรมแห่งเปอร์เซียโบราณ C10วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA3. วฒั นธรรมแหง่ เปอรเ์ ชยี โบราณ ศนู ย์กลางการปกครองอย่ทู ี่นครปาซาร์กาแด นครซซู า นครเปอร์เซโปลสิ และนครบาบีโลน ศาสนาของชาวเปอร์เชียพฒั นาขนึ ้ มาจากการบชู าไฟ เป็นการบชู าเทพอะฮรู า มซั ดา ซง่ึ เป็นเทพเจ้าแหง่ แสงสวา่ ง มีกษัตริย์เปอร์เชียเป็นตวั แทนเทพเจ้าบนโลกมนษุ ย์ รับศลิ ปะแบบตา่ งๆมาผสมผสานกนั จนเกิดเป็นศิลปะเฉพาะวิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA3. วฒั นธรรมแหง่ เปอรเ์ ชยี โบราณ สถาปัตยกรรม พระราชวงั เป็นสถาปัตยกรรมขนาดใหญ่ท่ีสาํ คญั นิยมวางผงั แบบเปิดโลง่ แบง่ พืน้ ที่ออกเป็น 3สว่ นหลกั คือ 1. อาคารที่ประตหู น้า 2. ห้องโถงแบบอาปาดานา เป็นห้องโถงรูปส่เี หลี่ยมผืนผ้าหรือจตั รุ ัส มีเสาเรียงรายโดยรอบ 3. สว่ นท่ีใช้เป็นที่อยอู่ าศยั Palace Persepolisวิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA3. วฒั นธรรมแหง่ เปอรเ์ ชยี โบราณ Palace Persepolisวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA3. วฒั นธรรมแหง่ เปอรเ์ ชยี โบราณสถาปัตยกรรมมีการตกแตง่ ผนงั ด้วยปฏิมากรรมรูปนนูมีการตกแตง่ เสาด้วยปนู ฉาบ ระบายสเี ป็นลายรูปเรขาคณิต ตวั เสาขดุ ร่องเป็นลายแนวตงั้ รอบเสา มีบวั หวั เสาสว่ นวิหารไมม่ ีความสาํ คญั เพราะนิยมบชู าเทพเจ้ากนั กลางแจ้ง Palace Persepolisวิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 1 : MESOPOTAMIA3. วฒั นธรรมแหง่ เปอรเ์ ชยี โบราณ สถาปัตยกรรมวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 1 : MESOPOTAMIA สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสรปุ สถาปัตยกรรมทสี่ ําคญั ของดนิ แดนเมโสโปเตเมยี 2.2 อาคาร 1. วิหาร2. พระราชวงั 2.1 ล้อมลาน 3. วิหาร+พระราชวงัวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสารบญั Part 1 : MESOPOTAMIA Part 2 : EGYPT Part 3 : AEGEAN SEA/CRETEวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสภาพภมู ศิ าสตร์ อียิปต์เป็นดนิ แดนทะเลทราย มีแมน่ ํา้ ไนล์ไหลผา่ นแบง่ เป็น 2 บริเวณ คือ 1. อียปิ ต์ตอนล่าง หรือบริเวณปากแมน่ ํา้ ไหลสทู่ ะเลเมดิเตอร์เรเนียน เรียกวา่ “เดลตา” ซงึ่ มีความอดุ มสมบรู ณ์ แตก่ ็เกิดนํา้ ทว่ มเป็นประจําทกุ ปี 2. อียปิ ต์ตอนบน หรือบริเวณที่แมน่ ํา้ ไหลผา่ นทะเลทราย วิถ๊ชีวิตของชาวอียิปต์ขนึ ้ อยกู่ บั ปริมาณของนํา้ ในแมน่ ํา้ ไนล์ จงึ ต้องมีการสาํ รวจ และวางแผนการเพาะปลกู อยเู่ สมอ ชาวอียิปต์จงึ เป็นผ้ทู ี่มีความรู้ทงั้คณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ เพ่ือให้สามารถกําหนดวนั เวลาในการเพาะปลกู ได้อยา่ งถกู ต้อง ไมเ่ จอกบั ปัญหาเรื่องนํา้วชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTยคุ สมยั ประวตั ศิ าสตร์อียิปต์โบราณสามารถจดั ออกเป็นยคุ สมยั ได้3 ยคุ สมยั 1. สมัยอาร์คาอกิ และสมัยอาณาจกั รเก่า คือสมยั ที่มีการรวมอียิปต์ตอนบนและอียิปต์ตอนลา่ งเข้าด้วยกนั มีเมืองเมมฟิสเป็นศนู ย์กลางทางศิลปะและวฒั นธรรม 2. สมัยอาณาจักรกลาง อํานาจของฟาโรห์ถกู ลดลงด้วยระบบมลู นาย 3. สมัยอาณาจกั รใหม่หรือ สมัยจักรวรรดิ มีเมืองเทเบสเป็นศนู ย์กลางวิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPT ภาษาการปกครองแผนผงั ชนชนั้ ของการปกครองพลเมืองอียิปต์ ใช้อกั ษร “เฮียโรกริฟฟิค (Hieroglyph)” หรือภาษาภาพวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTความเชอ่ื ศาสนา ศาสนาของอียิปต์กลา่ วถงึ ชีวิตหลงั ความตาย งานศิลปะตา่ งๆ รวมถงึ งานสถาปัตยกรรมจงึ เป็นเรื่องทางศาสนาและการฝังศพ อียิปต์นบั ถือเทพเจ้าหลายองค์ มีลกั ษณะทงั้ ท่ีเป็นสตั ว์ และคนปนกบั สตั ว์วชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสถาปัตยกรรมการกอ่ สร้างใช้หินเป็นหลกั โครงสร้างมีทงั้ ผนงั รับนํา้ หนกั (wall bearing) และเสา-คาน (post-lintel)สถาปัตยกรรมที่สําคญั มี 2 ประเภท คือ1. สถานท่เี กบ็ ศพ หรือ สุสาน สร้างขนึ ้ เพื่อใช้เก็บรักษาร่างกายและสมบตั ไิ ว้ใช้ในโลกหน้าเมื่อฟื น้ คืนชีพมาสตาบา (mastaba) พีรามิด (pyramid) สสุ านสกดั หินผา (cut rock tomb)2. วหิ าร สร้างขนึ ้ เพื่ออทุ ิศถวายให้เทพเจ้า หรือ ฟาโรห์ เพราะชาวอียิปต์เช่ือวา่ ฟาโรห์เป็นเทพเจ้าวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - สถานทเี่ กบ็ ศพ หรอื สสุ าน SKETCH!!! มาสตาบา (mastaba) เป็นท่ีเก็บศพแบบปิดตายใช้สาํ หรับขนุ นางหรือผ้ทู ี่รํ่ารวย มีรูปร่างคล้ายกลอ่ งส่เี หล่ียมวชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสถาปัตยกรรม - สถานทเ่ี ก็บศพ หรอื สสุ าน มาสตาบา (mastaba)วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสถาปัตยกรรม - สถานทเี่ กบ็ ศพ หรอื สสุ าน พรี ะมดิ (Pyramid) มีลกั ษณะฐานเป็นรูปสี่เหลีย่ มมียอดแหลมขนึ ้ ไปบรรจบกนั เมื่อมองด้านข้างจะเป็นรูปสามเหลย่ี ม การออกแบบสสุ านเป็นรปู พี รามดิ มแี นวความคดิ มาจาก การรอ้ื ถอน เพอ่ื ปกป้องใหค้ ง อยไู่ ดย้ าวนานวชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสถาปัตยกรรม - สถานทเ่ี กบ็ ศพ หรอื สสุ านพรี ะมดิ (Pyramid)มีลกั ษณะฐานเป็นรูปสเ่ี หลี่ยมมียอดแหลมขนึ ้ ไปบรรจบกนั เมื่อมองด้านข้างจะเป็นรูปสามเหลย่ี ม ปล่องอากาศ SKETCH!!! ห้องฝังศพหลอกวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสถาปัตยกรรม - สถานทเี่ กบ็ ศพ หรอื สสุ าน สุสานสกัดหนิ ผา (Rock Cut Tomb)วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสถาปัตยกรรม - สถานทเี่ กบ็ ศพ หรอื สสุ าน สุสานสกัดหนิ ผา (Rock Cut Tomb)วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTSKETCH!!!สถาปัตยกรรม - วหิ ารวิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ (Sanctuary) เชิงเทิน หรือ เชิงหิน ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) ลานเปิดโลง่ (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ (Sanctuary) เชิงเทนิ หรือ เชงิ หนิ ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) ลานเปิดโลง่ (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPT Obelisk Obelisk Pylon Pylonสถาปัตยกรรม - วหิ าร เชงิ เทนิ หรือ เชงิ หนิ (Pylon) คือ สว่ นประตทู างเข้าPylon Obelisk Pylonวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ (Sanctuary) เชิงเทิน หรือ เชิงหิน ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) ลานเปิดโลง่ (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ (Sanctuary) เชิงเทิน หรือ เชิงหิน ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) ลานเปิ ดโล่ง (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณPart 2 : EGYPTสถาปัตยกรรม - วหิ าร ลานเปิ ดโล่ง (Open Court) คือ สว่ นอเนกประสงค์วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ (Sanctuary) เชิงเทิน หรือ เชิงหิน ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) ลานเปิดโลง่ (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ (Sanctuary) เชิงเทิน หรือ เชิงหิน ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) ลานเปิดโลง่ (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องโถงใหญ่ (Hypostyle Hall) มองจากลานเปิดโลง่ (Open Court) ห้องโถงใหญ่ (Hypostyle Hall) ใช้ประกอบพธิ ีบชู าเทพเจ้าวชิ าประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศกั ดิ์สทิ ธิ์ (Sanctuary) เชิงเทิน หรือ เชิงหิน ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) สว่ นเปิดโลง่ (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี

Part 2 : EGYPT สถาปตั ยกรรมยคุ โบราณสถาปัตยกรรม - วหิ าร ห้องศักด์สิ ทิ ธ์ิ (Sanctuary) เชิงเทิน หรือ เชิงหิน ห้องโถงใหญ่ (Pylon) (Hypostyle Hall) สว่ นเปิดโลง่ (Open Court)วิชาประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมตะวนั ตก (History of Western Architecture) สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook