Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำโดยใช้ชุดแบบฝึก

การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำโดยใช้ชุดแบบฝึก

Published by kantajitm, 2022-03-16 02:35:33

Description: การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำโดยใช้ชุดแบบฝึก

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจยั ในชัน้ เรยี น เรื่อง การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคา โดยใชช้ ดุ แบบฝึกทกั ษะทกั ษะ สาหรับนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางคน์ คร นางสาวกันทจิตต์ จูมั่น หลักสูตรการศกึ ษาบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษา แขนงวิชาภาษาไทย มนี าคม ๒๕๖๕

รายงานการวิจยั ในช้นั เรียน เรอื่ ง การพฒั นาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชดุ แบบฝึกทักษะทกั ษะ สาหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการเขลางคน์ คร นางสาวกันทจิตต์ จูมนั่ หลกั สตู รการศกึ ษาบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษา แขนงวชิ าภาษาไทย มนี าคม ๒๕๖๕

กิตติกรรมประกาศ การศึกษาอิสระ เรื่องการพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ สาเร็จได้ด้วยความกรุณาจากคุณครู พรรณี ใจสาร ครูพี่เลี้ยง อาจารย์ประภัสสร ไชยชนะใหญ่ อาจารย์นิเทศก์วิทยาลัยการศึกษา และอาจารย์พิทยา ดวงตาดา อาจารย์นเิ ทศก์ คณะศิลปศาสตร์ ทไี่ ด้ใหค้ าแนะนาและตรวจสอบแก้ไขด้วยความเอาใจใสม่ าโดยตลอด จวบจนสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสนี้ นอกจากนี้ผู้วิจัยขอขอบคุณ นายสุทิน คงสนุ่น ผู้อานวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการเขลางค์นคร ที่ได้ให้ผู้วิจัยได้มาศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถาบันแห่งนี้และเป็น แห่งเพม่ิ พนู ความร้ใู หแ้ กผ่ ู้วิจยั การศึกษาอิสระฉบับนี้ ผู้ศึกษาขอมอบความดีทั้งหมดแด่ผู้มีพระคุณทุกท่าน และขอมอบ เป็นตัวอย่างให้แก่ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตอ่ ไป หากมขี ้อผิดพลาดประการใดผู้วิจยั ขออภยั มา ณ ท่นี ี้ กันทจติ ต์ จูมนั่

เรอ่ื ง การพฒั นาความสามารถการเขยี นสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝกึ ทกั ษะสาหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ กนั ทจติ ต์ จมู ่ัน การศกึ ษาอิสระ: กศ.บ. (ภาษาไทย), มหาวิทยาลยั พะเยา, พ.ศ. ๒๕๖๔ อาจารยท์ ่ปี รึกษา อาจารย์ประภัสสร ไชยชนะใหญ่ คาสาคัญ การเขยี นสะกดคา แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ ประสิทธภิ าพของชุดแบบฝกึ ทักษะทักษะการ เขยี นสะกดคา ผลสัมฤทธ์ิ บทคดั ยอ่ การวจิ ัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่อื ๑) เพือ่ พัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ทักษะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ๒) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นเรอ่ื งการเขียนสะกดคาสาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ กบั คะแนนเกณฑร์ ้อยละ ๗๐ เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัยประกอบด้วย ๑) แบบฝกึ การเขียนสะกดคา ๒) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิเร่ือง การเขียนสะกดคา ๓) หาประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกทักษะทักษะการสะกดคา ๔) หาค่าความเที่ยงตรง ๕) หา คา่ เฉลี่ยร้อยละ ๖) หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบวา่ ๑. ชดุ แบบฝึกทกั ษะทกั ษะการเขียนสะกดคาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษา ปที ี่ ๑ มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ทต่ี งั้ ไว้ ๒. ชุดแบบฝึกทักษะทักษะการเขียนสะกดคาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ มีประสิทธิภาพเท่ากบั ๗๕/๗๕ แสดงว่าแบบฝึกมีประสทิ ธิภาพสูงกว่าเกณฑ์

สารบญั บทท่ี หนา้ ๑ บทนา................................................................................................................................. ๑ ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา....................................................................... ๑ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั .............................................................................................. ๒ สมมตฐิ านของการวิจัย.................................................................................................. ๒ ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จาการวิจัย.......................................................................................... ๑ ขอบเขตของการวิจัย..................................................................................................... ๒ กรอบแนวคดิ ................................................................................................................. ๓ นิยามศพั ท์เฉพาะ.......................................................................................................... ๔ ๒ เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง........................................................................................ ๕ เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง........................................................................................................ ๕ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน.................................................................. ๕ การจัดการเรียนร้โู ดยใช้แบบทักษะ......................................................................... ๑๘ การเขียนสะกดคา.................................................................................................... ๒๑ งานวิจยั ที่เก่ียวข้อง........................................................................................................ ๒๔ ๓ วธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั ....................................................................................................... ๒๗ รปู แบบการวิจยั ............................................................................................................ ๒๗ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง........................................................................................... ๒๗ เครอื่ งมือที่ใช้ในการวจิ ยั ................................................................................................ ๒๘ วิธดี าเนนิ การ/การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล............................................................................ ๒๘

สารบญั (ตอ่ ) บทท่ี หนา้ ๔ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ....................................................................................................... ๓๓ ลาดบั ขัน้ ตอนในการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล.......................................................... ๓๓ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล................................................................................................... ๓๓ ๕ บทสรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ............................................................................. ๓๕ สรปุ ผลการวจิ ยั ........................................................................................................... ๓๘ อภปิ รายผลการวจิ ยั .................................................................................................... ๓๙ ขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................... ๔๐ บรรณนุกรม.................................................................................................................................. ๔ ประวตั ผิ ู้วิจัย................................................................................................................................ ๔๔ ภาคผนวก..................................................................................................................................... ๔๖

สารบญั ตาราง ตาราง หนา้ ๑ สาระที่ ๒ การเขียน ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑................................................................ ๑๐ ๒ เนื้อหาจดุ ประสงค์การเรียนรชู้ น้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑............................................................. ๒๘ ๓ แสดงคะแนนเฉล่ีย ร้อยละ เพ่อื หาประสิทธภิ าพของแบบฝกึ ทักษะการเขียนสะกดคา ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑.............................................................................. ๓๓ ๔ แสดงคะแนนเฉลยี่ นและคา่ ร้อยละของคะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น................ ๓๔

บทที่ ๑ บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กล่าวถึงภาษาไทยไว้ว่า ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้าง ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศตา่ ง ๆ เพือ่ พัฒนาความรู้ การคดิ ใหทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงทางสังคม ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของคนในชาติเพื่อการสื่อสารทาความเข้าใจกัน เป็นเครื่องมือการ เรียนรู้เป็นวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทยจึงต้องเรยี นรู้เพื่อให้เกิดทักษะอย่างถูกต้อง เหมาะสมในการสอ่ื สาร การแสวงหาความรู้ และประสบการณ์ ภาษาไทยจงึ เป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจน เกิดความชานาญในการใช้ภาษาในการสื่อสารทั้งการอ่าน ฟัง พูด และเขียนจึงต้องเรียนเพื่อการ สื่อสารให้สามารถรับรู้ขอ้ มูลข่าวสารได้อยา่ งพินิจพิเคราะห์สามารถเลือกใช้คาและใช้ภาษาได้ถกู ต้อง ตามกฎเกณฑ์ ไดต้ รงตามความหมาย ตามกาลเทศะบคุ คล และใชไ้ ดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ (สุธะนะ พามนตรี ๒๕๖๔ : คาอธิบายรายวชิ า) การเขียนก็เป็นการส่ือสารชนิดหน่งึ ท่ีทาให้ผู้อนื่ เข้าใจสงิ่ ที่เราจะสอ่ื ได้เช่นกัน แต่ต้องมีการ ฝึกฝนในการเขยี นสะกดคาทีม่ ีความถกู ตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี จะส่งผลให้ให้ผู้อา่ นก็จะเขา้ ใจความหมายได้ อย่างถกู ต้อง หากสะกดคาผดิ ก็จะทาให้ผอู้ า่ นเขา้ ใจความหมายผดิ ไปด้วย การสะกดคาจึงเปน็ สง่ิ สาคัญ และจาเปน็ ตอ่ การเรียน ซงึ่ การสะกดคา คอื การเขียนคาท่มี พี ยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการสง่ สาร ด้วยการเขียนใหถ้ ูกตอ้ งชดั เจน เพือ่ จะไดส้ อื่ สารให้เข้าใจกนั เชน่ การเขียนคาพอ้ งเสยี ง น่า-หนา้ สู้ –ซู่ โทรม-โซม คาแต่ละคู่จะมีเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกัน และความหมายก็ต่างกันด้วย เราจึงต้อง เลือกคาให้ตรงกับความหมายที่ต้องการจะสื่อสาร การสะกดคาเป็นเรื่องที่จะต้องใส่ใจ เพราะ ภาษาไทยมคี าทรี่ ับมาจากภาษาตา่ งประเทศเปน็ จานวนมาก เชน่ คาว่า คุกก้ี เขยี นผดิ เป็น คกุ้ กี้ บาง คาออกเสียงตามภาษาเดมิ ทรี่ ับมาใช้ บางคายงั คงรกั ษารูปเขยี นไว้ บางคาดัดแปลงรปู เขยี นใหม่ ดงั นั้น จึงตอ้ งจดจาเวลาเขียนต้องนึกกาหนดความหมายไปดว้ ยจงึ จะเขยี นถูก

๒ จากการสงั เกตในช้ันเรียนของครผู ู้สอนในรายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑ นักเรยี น ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ห้อง ๖ พบวา่ ครผู ู้สอนได้ทาการทดสอบการเขียนสะกดคาจานวน ๒๐ คา ผล ปรากฏว่า นักเรียนทุกคนสะกดคาไม่ถูกต้อง และต่ากว่าเกณฑ์การผ่านที่ครูผู้สอนตั้งไว้ จากเหตุผล ดังกล่าว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี๑ ห้อง ๖ จาเป็นต้องฝึกทักษะในการอ่านและการเขียนสะกด เพราะวิชาภาษาไทยมคี วามจาเปน็ ในชีวิตประจาวนั และเปน็ พ้นื ฐานการเรียนในระดบั สูงต่อไป วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ๑. เพื่อพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะทักษะ สาหรับ นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ๒. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเขียนสะกดคาสาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ กับคะแนนเกณฑ์รอ้ ยละ ๗๐ สมมติฐานในการวิจยั ๑. ชุดแบบฝึกทักษะทักษะการเขียนสะกดคา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ มี ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ๒. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเร่อื งการเขยี นสะกดคา สาหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ กับคะแนนเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ ๑. ไดแ้ นวทางในการสร้างชุดแบบฝึกทกั ษะทกั ษะท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน เพ่อื พฒั นาพฒั นาความสามารถการเขียนสะกดคาสาหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๒. นกั เรยี นมที กั ษะการเขยี นสะกดคาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย ๓. นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิ์โดยใช้ชดุ แบบฝึกทกั ษะทกั ษะการเขยี นสะกดสูงขึน้ ขอบเขตของการวจิ ยั การวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจยั ไดก้ าหนดขอบเขตการวจิ ยั ไวด้ งั นี้ ๑. ขอบเขตดา้ นประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง ๑.๑ ประชากร ประชากร ในการวจิ ัยครั้งน้คี อื นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางคน์ คร มนี กั เรียนทงั้ สน้ิ ๙๕๙ คน

๓ ๑.๒ กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนีค้ ือนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ที่กาลังศึกษาอย่ใู น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางค์นครจานวน ๑ ห้องเรียนมีนักเรยี นทง้ั สิ้น ๒๔ คน การสุ่มตวั อย่างเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) ๒. ขอบเขตด้านตวั แปร ๒.๑ ตัวแปรตน้ ได้แก่ การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะทักษะการเขยี นสะกดคา สาหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ๒.๒ ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสัมฤทธเิ์ ร่อื ง การเขยี นสะกดคา ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี ๑ ๓. ขอบเขตด้านเนือ้ หา เนื้อหาในการวิจยั ครั้งนี้สารวจจากคาที่นักเรียนมักเขียนผิด และที่พบในแบบเรียนวิชา ภาษาไทย โดยผวู้ ิจยั ทาการทดสอบการเขยี นสะกดคา โดยได้รับกนั ตรวจสอบระดบั เกณฑ์การผ่านจาก ครูผู้สอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ในกลุ่มโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางค์นคร ดาเนินการ ทดสอบจนไดก้ ลมุ่ นักเรยี นท่ีมีเกณฑ์การผา่ นแบบทดสอบไม่ถึงเกณฑ์ท่ีกาหนดจานวน ๑ หอ้ งเรยี น จึง กาหนดเปน็ ขอบเขตเนือ้ หามาสรา้ งเป็นชุดแบบฝึกทกั ษะทักษะการเขยี นสะกดคา ๖. กรอบแนวคิด การฝึกเขียนสะกดคา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน โดยใชช้ ุดแบบฝึกทกั ษะทักษะ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ หลงั เรยี นสงู กวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ ๗๐

๔ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ๑. การเขียนสะกดคา หมายถึง การเขียนโดยเรียงลาดับ พยัญชนะ สระวรรณยุกต์ และ ตัวสะกดค าเป นค าได้อย่างถูกหลักเกณฑ์และถูกต องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ๒. แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง เป็นเครือ่ งมือท่ีช่วยพฒั นาทักษะในเร่ืองท่ีเรียนรู้ให้มากข้ึน โดยอาศัยการฝึกฝนหรือปฏบิ ตั ิด้วยตนเองของผู้เรียนที่ผู้วิจยั สรา้ งขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนสาหรับ ครูใชก้ ับผ้เู รียน เพื่อพัฒนาการเขียนสะกดคาสาหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๓. ประสทิ ธิภาพของชดุ แบบฝกึ ทกั ษะทกั ษะการเขียนสะกดคา หมายถึง ผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนท่วี ดั ได้จากการทาแบบฝึกทักษะและการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของชดุ แบบฝกึ ทกั ษะทกั ษะการเขียนสะกดคาที่ผู้วจิ ยั สรา้ งขึ้นโดยใชเ้ กณฑ์ ๗๐/๗๐ ๗๐ ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนที่ได้จากการทาแบบฝึกทักษะหรือ แบบทดสอบย่อยแตล่ ะชุดแบบฝกึ ทักษะจานวน ๕ หนว่ ยการเรียนรู้ ๗๐ ตวั หลัง หมายถงึ คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนท่ีทาแบบทดสอบหลังเรียนไดถ้ กู ต้องร้อย ละ ๗๐ ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ๔. ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ความรู้ความสามารถในการเขียนสะกดคาซึ่งได้จากคะแนนที่ทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นชดุ แบบฝกึ ทกั ษะทักษะการเขียนสะกดคาที่ผวู้ จิ ยั สรา้ งขนึ้

บทท่ี ๒ เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง การวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ ชุดแบบฝึกทักษะ ส าหรับ นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ผวู้ จิ ัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้องตามลาดับดังน้ี ๑. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ๑.๑ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑.๒ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๑.๓ การจดั การเรยี นการสอนภาษาไทย ๒. การจดั การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ๒.๑ ความหมายของแบบฝกึ ทักษะ ๒.๒ ความสาคญั ของแบบฝกึ ทักษะ ๒.๒ ลกั ษณะแบบฝกึ ทักษะทดี่ ี ๒.๓ หลกั การสร้างแบบฝึกทกั ษะทด่ี ี ๒.๔ ประโยชนข์ องแบบฝกึ ทกั ษะ ๓. การเขียนสะกดคา ๓.๑ ความหมายของการเขยี นสะกดคา ๓.๒ ความสาคญั ของการเขียนสะกดคา ๓.๓ หลักการเขยี นสะกดคาเขียนสะกดคา ๔. งานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ๑. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นทุกคน ซ่งึ เป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และ ทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญบนพน้ื ฐานความเชือ่ ว่า ทุกคนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มตาม ศกั ยภาพ

๖ ๒. วสิ ัยทศั น์ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรยี นทกุ คน ซ่งึ เป็นกาลงั ของชาติให้เป็นมนุษย์ ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และ ทกั ษะพื้นฐาน รวมทัง้ เจตคติ ทีจ่ าเป็นตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุง่ เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญบนพ้นื ฐานความเชอ่ื ว่า ทกุ คนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มตาม ศกั ยภาพ ๓. หลักการ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มหี ลกั การทสี่ าคัญ ดงั นี้ ๓.๑ เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของ ความเปน็ ไทยควบคูก่ ับความเปน็ สากล ๓.๒ เป็นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ปวงชนที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศกึ ษาอย่างเสมอภาค และมคี ณุ ภาพ ๓.๓ เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถน่ิ ๓.๔ เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้เวลา และการจัดการ เรียนรู้ ๓.๕ เปน็ หลกั สตู รการศึกษาทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั ๓.๖ เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลุมทุก กลุม่ เปา้ หมายสามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ ๔. จดุ หมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี ศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ดังนี้ ๔.๑ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔.๒ มีความรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทกั ษะชีวติ ๔.๓ มีสขุ ภาพกาย และสุขภาพจติ ทีด่ ี มสี ขุ นิสัย และรักการออกกาลังกาย ๔.๔ มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิต และการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ

๗ ๔.๕ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรม และภูมิปญั ญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มี จติ สาธารณะทีม่ ุ่งทาประโยชน์ และสรา้ งส่งิ ทีด่ งี ามในสงั คม และอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอย่างมีความสุข ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ในการพัฒนาผ้เู รยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มุ่งเนน้ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานทีก่ าหนด ซ่งึ จะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ ๕.๑ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มงุ่ ให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังนี้ ๕.๑.๑ ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ขอ้ มลู ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจา ต่อรองเพอ่ื ขจัดและลดปญั หาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลอื กรับหรอื ไม่รับขอ้ มูลขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่มีต่อ ตนเองและสงั คม ๕.๑.๒ ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การ คิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ ความร้หู รือสารสนเทศเพ่ือการตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ๕.๑.๓ ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หา และอปุ สรรคตา่ ง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พันธแ์ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา ใช้ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา และมีการตดั สนิ ใจท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดล้อม ๕.๑.๔ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไป ใช้ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ กั หลกี เลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ นื่ ๕.๑.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี ดา้ นตา่ ง ๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

๘ ๖. ตวั ชว้ี ดั ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่ง สะท้อนถึงมาตรฐานการเรยี นรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนด เนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรบั การวดั ประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผ้เู รยี น ๖.๑ ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีท่ี ๑ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓) ๖.๒ ตวั ชี้วัดช่วงชน้ั เปน็ เปา้ หมายในการพฒั นาผเู้ รียนในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย(มัธยมศึกษา ปีท่ี ๔ - ๖) ๒. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒.๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย ทาไมต้องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอัน ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลกิ ภาพของคนในชาติให้มคี วามเป็นไทย เป็นเคร่อื งมือ ในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชวี ิตร่วมกันในสังคมประชาธปิ ไตยไดอ้ ย่างสันติสขุ และเปน็ เครือ่ งมือในการแสวงหา ความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทาง วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยตี ลอดจนนาไปใช้ในการพฒั นาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ี ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้าคา่ ควรแกก่ ารเรียนร้อู นุรักษ์ และสืบสานใหค้ งอยคู่ ู่ชาติไทยตลอดไป ๒.๒ เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การ เรยี นรู้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเพอื่ นาไปใชใ้ นชีวิตจริง • การอ่าน การอา่ นออกเสยี งคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพนั ธช์ นดิ ต่าง ๆ การ อา่ นในใจเพ่อื สร้างความเข้าใจ และการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ความรู้จากสง่ิ ทอ่ี ่าน เพื่อนาไปปรับใช้ ในชวี ิตประจาวนั • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตามจินตนาการ วเิ คราะห์วจิ ารณ์ และเขียนเชงิ สร้างสรรค์

๙ • การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สกึ พดู ลาดบั เรือ่ งราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตเุ ปน็ ผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ทง้ั เป็นทางการและ ไมเ่ ปน็ ทางการ และการพดู เพอ่ื โนม้ นา้ วใจ • หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแตง่ บทประพนั ธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย • วรรณคดแี ละวรรณกรรม วเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมเพ่ือศึกษาขอ้ มลู แนวความคิด คุณค่าของงานประพนั ธ์ และความเพลดิ เพลิน การเรียนร้แู ละทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเลน่ ของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เปน็ ภมู ิปัญญาท่ีมคี ุณค่าของไทย ซ่ึงไดถ้ า่ ยทอดความรสู้ ึกนึกคิด คา่ นิยมขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เรือ่ งราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความซาบซึง้ และภูมิใจ ใน บรรพบรุ ุษท่ไี ด้ส่งั สมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จุบนั ๒.๓ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๕ กลุ่มสาระการ เรยี นรู้ จานวน ๕ มาตรฐาน โดยกาหนดสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ภาษาไทยไว้ ดงั น้ี สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ดั สนิ ใจแก้ปัญหา ในการดาเนินชีวติ และมนี ิสยั รักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรม ไทยอย่างเห็นคณุ ค่าและนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจริง

๑๐ ๒.๓ ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพ ตารางท่ี ๑ สาระที่ ๒ การเขียน ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.๑ ๑. คดั ลายมอื ตวั บรรจงคร่ึง การคัดลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรปู แบบการ บรรทัด เขียนตัวอักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารโดยใชถ้ อ้ ยคา การเขยี นสื่อสาร เช่น ถูกตอ้ งชดั เจน เหมาะสม และ - การเขยี นแนะนาตนเอง สละสลวย - การเขยี นแนะนาสถานท่สี าคัญๆ - การเขยี นบนสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ ๓. เขยี นบรรยายประสบการณ์ การบรรยายประสบการณ์ โดยระบสุ าระสาคัญและ รายละเอียดสนบั สนนุ ๔. เขยี นเรยี งความ การเขยี นเรียงความเชิงพรรณนา ๕. เขยี นย่อความจากเรื่องท่ี การเขยี นย่อความจากสอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ เร่ืองส้นั คา อา่ น สอน โอวาท คาปราศรยั สนุ ทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คาสั่ง บทสนทนาเรื่องเล่าประสบการณ์ ๖. เขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั สาระจากสื่อ เก่ยี วกับสาระจากสอื่ ที่ได้รบั ตา่ ง ๆ เช่น - บทความ - หนงั สืออา่ นนอกเวลา - ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจาวนั - เหตุการณส์ าคญั ตา่ ง ๆ

๑๑ ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๗. เขยี นจดหมายสว่ นตวั และ การเขียนจดหมายสว่ นตัว จดหมาย กจิ ธุระ - จดหมายขอความชว่ ยเหลอื - จดหมายแนะนา การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ - จดหมายสอบถามขอ้ มูล ๘. เขยี นรายงานการศกึ ษา การเขยี นรายงาน ไดแ้ ก่ ค้นควา้ และโครงงาน - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาค้นควา้ - การเขยี นรายงานโครงงาน จากตารางท่ี ๑ ระบุตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรดู้ ้านการเขียนของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ ตามหลักสตู รแกนกลาง พุทธศักราช ๒๕๕๑ การจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย ๑. การจดั การเรียนรู้ สรุ างค์ โค้วตระกลุ (๒๕๕๐ : ๑๘๖) ไดใ้ ห้ความหมายของการเรียนรู้ว่า หมายถึง การเปล่ียนแปลง พฤติกรรมซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือจากการฝึกหัด รวมทงั้ การเปลยี่ นแปลงความรขู้ องผู้เรยี น สริ ิอร วชิ ชาวธุ (๒๕๕๔ : ๒) ได้กล่าวว่าการเรียนรมู้ ีองคป์ ระกอบ $ อยา่ งคอื ๑.๑ มนุษยต์ ้องเกิดการเปล่ยี นแปลงจากไม่รู้ เปน็ รู้ ทาไม่ได้ เปน็ ได้ ไมเ่ คยทา เป็นทา ๑.๒ การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมนั้นเปน็ ไปอยา่ งถาวร ๑.๓ การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมนนั้ เกดิ จากประสบการณ์การฝึกฝนและการฝกึ หดั สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา (๒๕๕๓ : ๖) ไดบ้ อกวา่ การจัดการเรียนรเู้ ป็นกระบวนการ ทีส่ าคัญในการนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สู่การปฏิบตั ิ ท้ังน้ี การ ที่ผเู้ รียนจะมคี ณุ ภาพและบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรูต้ ัวชีว้ ัด หรอื ไม่ ขึ้นอย่กู ับการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ด้วยเหตุนี้ครูผู้สอนต้องมีความรู้ ความเข้าใจสิ่งที่กาหนดไว้ใน มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ซ่งึ เปน็ เป้าหมาย การจัดการเรยี นรู้ โดยมี หลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนรู้ที่คานึงถึงความ แตกต่างระหว่าง บุคคล การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรม จรยิ ธรรม

๑๒ ๒. หลักการจดั การเรยี นรู้ภาษาไทย สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (๒๕๕๓ : ๖) ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครผู สู้ อนตอ้ งจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย เพ่อื ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้บรรลุตามเป้าหมายของ หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับผู้เรียน ในการเตรียมเข้าสู่โลกอนาคต เช่น การเรียนรู้ แบบบรู ณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการติด กระบวนการทางสงั ตามกระบวนการเผชิญ สถานการณ์และแก้ปญั หา กระบวนการเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ ระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ จัดการ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรียนรูก้ ารเรียนรู้ของตนเอง และ กระบวนการพัฒนาลักษณะ นิสัย เป็นต้น อีกทั้งต้องให้ความสาคัญกับการใช้สื่อ การพัฒนาสื่อ การใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น และการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลายควบคู่กันเพื่อให้เกิด การพัฒนาผู้เรียนอย่าง แทจ้ รงิ อดุลย์ ไทรเล็กทิม (๒๕๕๐ : ๘๕) ได้กล่าวว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักภาษาไทย ผู้สอนควรยึดหลกั การสอน ดงั น้ี ๒.๑ สอนให้สัมพันธ์กับการใช้ภาษา ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน กล่าวคือเมื่อ สอนวชิ าหลกั ภาษา ผ้สู อนกค็ วรมกี ิจกรรมให้ผู้เรียนไดฝ้ กึ ทกั ษะการฟัง การพูด การอา่ น และการเขียน ในชว่ั โมงให้มากทีส่ ุด ๒.๒ สอนเนอื้ หาในบทเรียนให้สัมพนั ธ์กับภาษาท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาวัน คือ เนน้ การนา ไปใช้เพ่ือให้ ผู้เรยี นรูส้ ึกว่า การเรยี นหลักภาษาไทยนนั้ มีประโยชน์ ชว่ ยใหส้ ามารถใช้ภาษาได้ ถูกต้องตามระเบียบ แบบแผน เช่น ให้ผู้เรียนลองพิจารณาว่าชื่อของตนเป็นภาษาบาลี หรือ สันสกฤต เมื่อจัดการเรียนรู้ เรยี นเร่ือง คาบาลี สนั สกฤต ๒.๓ ไมค่ วรมงุ่ สอนแตเ่ น้อื หาหลกั ภาษาแต่เพียงอย่างเดียว แตค่ วรสอนใหส้ ัมพนั ธก์ ับ ทกั ษะการใช้ ภาษา ซง่ึ ได้แก่ การฟัง การพดู การอ่าน และการเขยี น และเมือ่ สอนวรรณคดี กค็ วรให้ความรทู้ างด้าน ภาษาด้วย เช่น เมือ่ เรยี นวรรณคดีเรอ่ื งขอ้ คิดการบวช กค็ วรสอนใหร้ จู้ ัก คาศัพท์ และรู้จักวิเคราะห์คา ราชาศพั ท์สาหรบั พระสงฆ์ดว้ ย ๒.๔ ควรใช้วิธีสอนหลาย ๆ วิธี เพื่อเร้าความสนใจผู้เรียนจะได้ไม่เบ่ือ ซึ่งควรจะ ทาตลอดเวลาที่ สอนไมใ่ ช่เรา้ ความสนใจแต่ช่วงนาเข้าสูบ่ ทเรยี นเท่านั้น ๒.๕ ผู้สอนควรมีการวางแผนและเตรียมการสอนอย่างดี ว่าจะดาเนินการสอนอย่างไรจงึ จะทาให้ การเรียนการสอนประสบผลดี ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง และให้ผู้เรียนได้มี ส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรยี นรู้มากทีส่ ุด ๒.๖ เตรียมสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้หลาย ๆ ประเภท เพื่อช่วยให้ผู้เรียน เข้าใจบทเรียนได้ งา่ ย และชว่ ยเรา้ ความสนใจของผูเ้ รยี น

๑๓ สรุปได้วา่ หลักของการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยได้ให้ความสาคัญกับผู้เรียนเป็นสว่ นใหญ่ โดยมีการ จดั การเรยี นรูใ้ นรูปแบบทห่ี ลากหลาย และเหมาะสม และเปน็ การจดั การเรยี นรู้ทีต่ ้องการให้ผู้เรียนได้ มกี ารลงมือปฏบิ ตั เิ อง เพอื่ เปน็ การฝกึ ทักษะกระบวนการคิด การฟงั การอ่าน การเขยี น อกี ทง้ั สว่ นของ เน้ือหาทมี่ ีการปรับใชเ้ พอื่ ให้ผูเ้ รียนได้นาไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวัน และปลูกฝังให้ผูเ้ รยี นได้เห็นคุณค่า ของภาษาไทยที่ถกู ตอ้ งตามแบบแผน ๓. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ภาษาไทย อดุลย์ ไทรเลก็ ทิม (๒๕๕๐ : ๘๖ – ๘๗) ได้กว่าวา่ กระบวนการจดั การเรียนรภู้ าษาไทยเนือ้ หาสาระ หลักภาษาไทย ผู้สอนต้องวิเคราะห์หลักสูตร และ เนื้อหาบทเรียน เพื่อจะได้นาไปจัดการเรียนรู้ได้ อย่างเหมาะสม ดงั น้ี ๓.๑ วิเคราะหห์ ลักสตู รและเรยี งลาดับเนอ้ื หาวชิ า ๓.๑.๑ ศึกษาว่าหลกั สูตรแตล่ ะระดับชั้นกาหนดใหส้ อนในเรือ่ งใดบา้ ง ๓.๑.๒ เรียงลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหายาก เช่น ควรสอนเรื่องภาษาในภาษาไทย ก่อนที่จะ สอนเร่อื งการสร้างคาในภาษาไทย ๓.๑.๓ ควรสอนจากหน่วยยอ่ ยไปหาหนว่ ยใหญ่ เช่น สอนเรือ่ งการสร้างคาในภาษาไทย ภาษา กอ่ นสอนเร่ืองประเภทการสรา้ งคาในภาษาไทย ๓.๒ วิเคราะห์เน้ือหาวิชา เป็นการพจิ ารณาวา่ จะสอนรายละเอียดอะไรบา้ งและใช้ ตวั อยา่ งอย่างใด ใหแ้ กผ่ ้เู รยี น โดยต้องคานึงถงึ วยั และความสามารถของผู้เรียนดว้ ย นอกจากนี้ แล้วยงั ต้องพิจารณาว่า ควรทบทวนบทเรียนในเร่อื งใดกอ่ นทีจ่ ะสอนเน้อื หาใหม่ การวเิ คราะห์ เนอื้ หาควรดาเนินการ ดังนี้ ๓.๒.๑ แบ่งหัวเรื่องให้ชัดเจนและครอบคลุมเนื้อหาที่เลือกไว้ เช่น สอนเรื่อง ส่วนขยายของ ประโยคควรแบ่งเนอื้ หาดังนี้ ๑)สว่ นขยายประธาน (ขยายดว้ ยคา ขยายด้วยวลี และขยายดว้ ยประโยคยอ่ ย) ๒) สว่ นขยายกริยา (ขยายดว้ ยคา และขยายด้วยกลมุ่ คา) ๓) ส่วนขยายกรรม (ขยายด้วยคา และขยายดว้ ยกล่มุ คา) ๓.๒.๒ ศึกษาเนื้อหาแต่ละหัวขอ้ จากหนังสอื เรียนหลาย ๆ เลม่ แล้วสรุป ความคิดรวบยอดให้ เป็นคาพดู ของผูส้ อนเอง โดยใชภ้ าษาท่งี า่ ยและกะทัดรัดชดั เจน ๓.๒.๓ หาตัวอย่างประกอบ อย่างน้อยเรื่องละ ตัวอย่าง เพื่อให้ผู้เรียน สังเกตและสรุปเป็น กฎเกณฑไ์ ด้ โดยตัวอย่างทีด่ ีควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี ๑) ไม่ควรเป็นตวั อย่างจากหนงั สอื เรยี น ๒) ควรเป็นตวั อย่างที่ส้ัน กะทัดรดั ๓) ตวั อย่างควรจะสอดคล้องกับสิ่งท่ีสอน

๑๔ ๔) ควรใชต้ ัวอยา่ งจากสื่อมวลชน เชน่ หนงั สอื พิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ และวารสาร ต่าง ๆ ๕) ควรใชต้ วั อยา่ งจากส่งิ แวดลอ้ มในห้องเรยี น เช่น ชือ่ ผู้เรยี น หรือสง่ิ ของภายในห้อง ๓.๒.๔ เนื้อหาที่สอน แบบฝึกหัดหรือควรเตรียมแบบฝึกหัดหรือการบ้านที่วัดผลการเรียนได้ ครอบคลุม การบ้านควรมีลักษณะ ดงั น้ี ๑) ไม่ควรมากจนเกินไป ควรจะเป็นเรื่องสั้น ๆ ใช้เวลาทาไม่นาน เช่น รวบรวมคา ประสมจากหนงั สอื พมิ พค์ นละ ๑๐ คา เป็นต้น ๒) ผู้สอนควรคดิ แบบฝึกหัดเอง ไม่ควรนามาจากหนังสือเรยี น ๓) อาจให้ทาแบบฝึกหัดเป็นกลุ่มบ้าง แต่ผู้สอนต้องคอยตรวจสอบ ว่าผู้เรียนทุกคน ช่วยกนั ทา ๓.๒.๕ เมื่อแบ่งเนือ้ หาแลว้ ผู้สอนจะต้องดูว่าควรจะตอ้ งมีการทบทวนความรู้ในเร่ือง ใดบ้าง ก่อนที่จะสอนเรื่องใหม่ หรือสารวจพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง เช่น ให้ทา กิจกรรมวัดผลเรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย ถา้ สารวจแล้วผเู้ รียนยังไมเ่ ขา้ ใจเร่ืองคามูลอย่างละเอียด ผู้สอนก็ควรจะตอ้ งจัดกิจกรรมทบทวนเร่ือง คามูล ให้เข้าใจกอ่ นทจี่ ะสอนเรอ่ื งถดั ไป สรุปได้วา่ กระบวนการจัดการเรียนรภู้ าษาไทย จะตอ้ งทาการวเิ คราะห์เร่ืองของหลักสูตรที่ ตรงตามผู้เรียน และจึงมีการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่ตรงตามผู้เรียน และนามาสรุปหา ข้อเท็จจริงของเรื่อง หลังจากนั้นจะเป็นการจัดเตรียมเน้ือหาต่าง ๆ ตามลาดับความสาคัญของหัวข้อ นั้น ๆ ใหช้ ดั เจนจากหัวทเ่ี ปน็ เน้ือหาย่อยเพอื่ เกร่นิ นาเนื้อหาให้ผูเ้ รยี นได้รับรู้ แลว้ จงึ ทาการขยายหัวข้อ ตามลาดบั ๔. สื่อการเรยี นรู้ วราภรณ์ ศรีวิโรจน์ (๒๕๕๘) ได้กล่าวว่าสื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจดั การ กระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของ หลักสูตรไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพสือ่ การเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้ง สื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลยี และเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่มี ีในท้องถิ่น การเลอื กใช้สอื่ ควรเลอื กให้มีความ เหมาะสม กับระดบั พัฒนาการ และลลี าการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายของผ้เู รยี น การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้ อย่างมีคุณภาพ จากสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ ส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอยา่ งพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้อยา่ งแทจ้ รงิ สถานศกึ ษา เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งและผู้มีหน้าที่ จัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ควรดาเนินการดังนี้

๑๕ ๔.๑ จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การ เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหวา่ งสถานศกึ ษา ท้องถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก ๔.๒ จัดทาและจัดหาสื่อการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมท้งั จดั หาสิ่งท่มี อี ยูใ่ นทอ้ งถิ่นมาประยกุ ต์ใช้เป็นส่อื การเรียนรู้ ๔.๓ เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับ วธิ กี ารเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผ้เู รียน ๔.๔ ประเมนิ คณุ ภาพของสอ่ื การเรยี นรทู้ เ่ี ลือกใช้อย่างเป็นระบบ ๔.๕ ศึกษาคน้ คว้า วจิ ยั เพ่ือพฒั นาส่ือการเรียนร้ใู ห้สอดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรู้ของผ้เู รยี น ๔.๖ จดั ให้มีการกากับ ตดิ ตาม ประเมินคณุ ภาพและประสิทธภิ าพเกีย่ วกับสอื่ และการใชส้ อื่ การเรียนรู้เป็นระยะ ๆ และสม่าเสมอ ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคณุ ภาพสือ่ การ เรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถึงหลักการสาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับ หลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ ถูกตอ้ ง รูปแบบการนาเสนอทเ่ี ข้าใจ งา่ ย และนา่ สนใจ สรุปได้ว่า สื่อการเรียนรู้ เป็นเรื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มคี วามเข้าใจ ความรู้ ทักษะ และกระบวนการได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยการจัดทาสื่อการเรียนรู้จะต้องมคี วามเหมาะสม ต่อการพฒั นาการเรียนรูข้ องผู้เรียน สอดคลอ้ งกับหลักสตู ร ถูกตอ้ ง ทันสมยั และมคี วามหลากหลาย ๕. การวัดและประเมินการจดั การเรยี นรู้ พิชิต ฤทธิ์จรูญ (๒๕๕๒ : ๓) กล่าวว่า การวัดผล หมายถึง กระบวนการกาหนดตัวเลขหรือ สัญลักษณ์ให้กับบุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ์ อย่างมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แทนปริมาณหรือ คุณภาพของคณุ ลักษณะท่จี ะวดั ปิ่นวดี ธนธานี (๒๕๕๐ : ๒) กล่าวว่า การวัดผล คือ กระบวนการกาหนดค่าเป็นตัวเลข หรือ สัญลักษณใ์ ด ๆ เพอื่ แทนคณุ ลกั ษณะของผ้เู รียน หรอื พฤตกิ รรมของผูเ้ รยี นทแี่ สดงออกมา กัสคีย์ (Guskey, ๒๕๔๓ : ๔๑ – ๔๒) กล่าวว่าการประเมินผลเป็นการค้นหาที่เป็นระบบคุณค่า หรือคุณธรรม การประเมินเปน็ การกาหนดคุณค่าใหก้ ับสงิ่ ตา่ ง ๆ ซ่งึ มีกระบวนการ ๔ ขน้ั ตอน คอื ๑. กาหนดมาตรฐานสาหรับคุณภาพการตดั สนิ ๒. มาตรฐานควรมคี วามเกยี่ วข้องและสมบูรณ์ ๓. รวบรวมข้อมลู สารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ๔. สรา้ งมาตรฐานเพ่ือกาหนดคุณค่า หรอื คุณภาพ

๑๖ ๕.๑ การวดั และประเมนิ การจัดการเรยี นรู้ ดร.ณัชชา มหปญุ ญานนท์ (๒๕๕๕ : ๘) การวดั และประเมิน จะตอ้ งพิจารณาวตั ถุประสงค์ใน การจัดการเรียนการสอนที่เป็นผลคาดหวังให้เกิดขึ้นหลังการเรียนรู้ หรือเมื่อสิ้นสุดการเรยี น ซึ่งอาจ กาหนดเป็นจุดประสงค์การสอน หรือจุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อได้ผลการวัดแล้ว ต้องป้อนข้อมูล ย้อนกลับไปพิจารณาสภาพการจัดการเรียนการสอน และสาระเนื้อหา ตลอดจนการบรรลุผลตาม จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ในการจัดการศึกษา กระบวนการเรียนการสอนนับเป็นกิจกรรมนับเป็น กิจกรรมที่สาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้ คุณภาพของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรจะได้ผลหรือไม่ มากน้อยเพียงใด ยอ่ มข้ึนอยู่กับการจดั การเรยี นการสอนเป็นหลัก ดังน้ันในการจดั การเรยี นการสอน ผู้สอนต้องกาหนดจุดประสงค์การสอน ( instructional objective ) หรือจุดประสงค์การเรียนรู้ ( learning objective ) หรือผลการเรยี นรู้ ( learning outcome ) ทค่ี าดหวังหรอื ต้องการให้เกดิ กับ ผเู้ รียน ซ่ึงนยิ มกาหนดในรูปพฤตกิ รรมที่แสดงออกของผเู้ รยี นที่แสดงถงึ คุณลักษณะความสามารถ หรอื สมรรถภาพ ตามลักษณะท่ีต้องการหรือที่มุ่งหวังไว้ โดยจุดประสงคจ์ ะต้องมีความชัดเจน ท้ังน้ีเพื่อให้ การเรยี นการสอนเป็นไปอย่างมที ิศทางและสามารถตรวจสอบผลได้ตรงประเด็น การประเมินระดบั ชน้ั เรยี น เปน็ การวดั และประเมนิ ผลท่ีอยูใ่ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผูส้ อน ดาเนินการเปน็ ปกตแิ ละสมา่ เสมอ ในการจดั การเรียนการสอน ใช้เทคนคิ การประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผปู้ ระเมนิ เองหรือเปิดโอกาส ใหผ้ ู้เรียนประเมิน ตนเอง เพือ่ นประเมนิ เพอื่ น ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ไี มผ่ ่านตัวชวี้ ัดให้มีการสอนซอ่ มเสรมิ ๕.๒ ความสาคัญของการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ดร.ณัชชา มหปุญญานนท (๒๕๖๒ : ๕) ได้กล่าวว่าการวัดและประเมิน มุ่งค้นหาและพัฒนา ความสามารถหรือสมรรถภาพของผู้เรียน หน้าที่ หลักในการวัดและประเมินผลการศึกษา คือ การ ตรวจสอบผลการเรียนการสอน เพื่อการปรับปรุง การเรียนการสอน การสรุปผลการเรียนการสอน และการตัดสนิ ผลการเรยี น ถา้ พจิ ารณาจาก บทบาทหน้าที่ดังกล่าวนี้ ชใี้ หเ้ หน็ ความสาคัญของการวัด และประเมินที่มีต่อภาระงานต่าง ๆ หรือ ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา การจัดการเรียน การสอน โดยการที่จะนาผลการวัด หรือ ผลการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ ทั้งในด้านการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการ และด้าน การศึกษาค้นคว้าวิจัย ซึ่งสามารถสรุปสาระสาคัญในแต่ละด้านได้ ดังนี้ ๕.๒.๑ ดา้ นการเรยี นการสอน การวดั และประเมินนับว่ามีความสาคญั ท่ีให้ประโยชน์โดยตรง ต่อการจัดการเรยี นการสอน ทั้งน้ีเพราะกระบวนการวัดและประเมินจะช่วยให้ได้ข้อมลู ที่เปน็ ผล การ เรยี นรู้ของผเู้ รยี น อันเกดิ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอน ทีน่ ับวา่ มีคุณค่าต่อบุคคลที่ เกี่ยวข้อง

๑๗ ในการนาผลการเรยี นรู้ มาใช้ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดต่อการพฒั นาด้านการเรียนการสอน หรือการจดั การศึกษา ซึ่งพอสรปุ ประเดน็ ได้ ดงั น้ี ๑) ตัวผู้เรียน ผลการวัดที่แสดงผลการเรียนรู้ จะช่วยบ่งบอกความสามารถใน การ เรียนรู้ ความกา้ วหน้า ความงอกงามของการเรียนรู้ และศกั ยภาพในการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น โดย ผลการ วัดหรอื ผลการเรียนรทู้ ีเ่ กิดจากการเรียนการสอนจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี นดังน้ี ๑.๑) การพัฒนาปรับปรุงการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนได้รู้ระดับความสามารถ จุดเด่น หรอื จุดด้อยของตนเอง ๑.๒) การตัดสินใจเลือกแผนการเรียนหรือการประกอบอาชีพ เมื่อผู้เรียนได้รู้ ระดับความสามารถ ความถนดั หรือความสนใจของตนเอง ๑.๓) สภาพการเรียนหรือความสาเร็จในการเรียน เมื่อผู้เรียนได้รู้ระดับ ความสามารถความก้าวหน้าหรืองอกงามในการเรียน ระดับผลการเรียน และศักยภาพในการเรียนรู้ ของตนเอง ๒) ครผู สู้ อน ผลการวดั หรอื ผลการเรียนรู้จากการเรียนการสอนท่ไี ด้มาและทีบ่ ง่ บอก ระดับความสามารถของผู้เรียน ความเดน่ ด้อยของผเู้ รียน ทง้ั ทางดา้ นความรู้ ความสามารถ ทักษะการ ปฏบิ ตั ิ-ลกั ษณะนสิ ยั โดยผลการวดั หรือผลการเรยี นรูจ้ ะเปน็ ประโยชน์ต่อครูผสู้ อน ดงั น้ี ๒.๑) การแก้ไขข้อบกพรอ่ งของผเู้ รียน การพฒั นาหรอื ปรับปรงุ การเรยี นการสอน ในการเลือกวิธีสอนและการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับระดบั ความสามารถของผู้เรียน ๒.๒) การสรุปหรือตัดสินผลการเรียน ในการบ่งบอกระดับความสามารถ การ ตดั สิน ผล ผา่ น-ไมผ่ ่าน ในรายวชิ าที่ทาการสอน ตลอดจนการเลอื่ นช้ันหรอื การจบหลักสตู รการศกึ ษา ๒.๓) การรายงานผลสรุปในการจัดการเรียนการสอน ให้ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาและ ให้ ผู้ปกครองนกั เรยี นได้รับทราบ ๓) ผู้ปกครอง การรายงานผลการวัดหรือผลการเรียนรู้ที่บ่งบอกระดับ ความสามารถ และจดุ เด่นด้อยของผ้เู รยี น มคี วามสาคญั และเป็นประโยชน์ต่อผู้ปกครอง ทาให้ ผู้ปกครองเข้าใจในตัว บตุ รหลาน ได้รบั ทราบผลการเรียนรู้ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรู้ และทาให้ ผู้ปกครองมีโอกาสในการ ช่วยเหลือส่งเสริม สนับสนุน ชี้แนวทางแก่บุตรหลานได้ถูกต้อง ตาม ระดับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของบุตรหลานของตน ๓.๑) ด้านการบรหิ ารจัดการ ในการจดั การศึกษา การบรหิ ารจดั การนับเป็นหัวใจ สาคญั ทีจ่ ะ ทาใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลตุ ามเป้าหมายที่กาหนด ผลการวัดหรอื ผลการเรียนรู้จากการวัด และ ประเมิน มีความสาคัญและเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจดั การทั้งด้านการบรหิ ารงาน การแนะ แนวและการจัดกจิ กรรม พอสรุปประเด็นไดด้ ังนี้

๑๘ ๓.๒) การบริหารงาน จากข้อมูลและข้อสรุปสภาพการจัดการเรียนการสอน สามารถ ใชเ้ ป็นข้อมลู สารสนเทศในการวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน การส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดกิจกรรม โครงการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการประเมินคุณภาพในการจัดการศึกษา ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อการพฒั นาภาระงานและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา หรือหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง ๕.๒.๒. การแนะแนวและการจัดกิจกรรม ผลการวัดหรือผลการเรียนรู้ ที่บ่งบอกระดับ ความสามารถ ความถนัดความสนใจของผู้เรียน มีประโยชน์ต่อครูผู้ทาหน้าที่และรับผิดชอบใน ส่วน งานการจัดกจิ กรรม การแนะแนวการศกึ ษาและอาชพี และตอ่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ดังนี้ ๑) การชี้แนะแนวทางในการเรียน การเลือกแผนการเรียน การศึกษาต่อ การเลือก อาชพี ซงึ่ จะช่วยใหผ้ เู้ รยี นมีความมนั่ ใจ มีกาลังใจในการเรียนรู้มากยิ่งข้ึน ๒) การสนบั สนุนหรือสง่ เสรมิ การจัดกิจกรรม ทงั้ ในกิจกรรมวชิ าการ กจิ กรรม สร้าง ลักษณะนิสยั เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ภาพเต็มตามศกั ยภาพของตน ๓) การสร้างสัมพันธภาพและความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียน กับผู้ปกครอง ชุมชน ทอ้ งถ่นิ ในการพฒั นาการศึกษาและการมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา กล่าวโดยสรุป การนาเข้าสู่บทเรียนจะประสบความสาเร็จจะขึ้นอยูก่ ับการวิเคราะห์ลักษณะของ ผู้เรียน เรื่อง ระดับการเรียนรู้ และความสามารถในการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับลักษณะนกั เรยี น โดย มงุ่ ให้นักเรยี นวเิ คราะหเ์ นอื้ หาและทดสอบอย่างเป็นข้ันตอน การจัดการเรียนร้โู ดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ๑. ความหมายของแบบฝกึ ทกั ษะ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาประถมแห่งชาติ (๒๕๔๐ : ๑๔๗) ได้ให้ความหมายของชุดฝึกไว้ ว่า เป็นสื่อการสอนประเภทหนึ่งสาหรับนักศึกษาปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและมีทักษะ เพมิ่ ขึ้นส่วนใหญ่ชุดฝึกทกั ษะจะอยูท้ายบทเรยี นของหนงั สอื เรียน ราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๖ : ๖๔๑) ได้ให้ความหมายของชุดฝึกไว้ว่า หมายถึงแบบฝึกหัดหรือชุด การสอนท่ีเปน็ แบบฝกึ ทใี่ ชเ้ ป็นตัวอยา่ ง ปัญหาหรอื คาสั่งท่ตี ้งั ขนึ้ ใหน้ กั ศึกษาฝกึ ตอบ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (๒๕๓๗ : ๔๙๐) ได้เสนอความหมายของแบบฝึกปฏิบัติว่า หมายถึงค่มู ือนกั ศกึ ษา ทีน่ ักศึกษาตอ้ งใชค้ วบคไู่ ปกับการเรยี นการสอน เปน็ ส่วนท่ีนักศึกษาบนั ทึก สาระสาคัญและทาแบบฝกึ หัดด้วย มลี กั ษณะคล้ายกบั แบบฝึกหัด แต่ครอบคลมุ กิจกรรมท่ีผู้เรียน พึง กระทามากกว่าแบบฝึกหัด ซึ่งอาจกาหนดแยกเป็นแต่ละหน่วย เรียกว่า “Worksheet\" หรือ “กระดาษคาตอบ” ซ่ึงผูเ้ รยี นตอ้ งถือติดตัวเวลาประกอบกจิ กรรมต่าง ๆ หรืออาจรวมเป็นเล่ม เรียกว่า “Workbook\" โดยเย็บรวมเรียงตามลาดับ ตั้งแต่หน่วยที่ ๑ ขึ้นไป แบบฝึกปฏิบัติเป็นสมบัติส่วนตัว ของนกั ศึกษา แตต่ ้องเก็บไวท้ ี่ชดุ การสอนเปน็ ตวั อย่าง ๑ ชดุ เสมอ

๑๙ สรุปได้ว่า ชุดฝึกเป็นสื่อการสอนที่ช่วยเสริมทักษะและครูสามารถใช้ชุดฝึกทักษะช่วยพัฒนาการ เรยี นรู้เพือ่ นามาใช้สอนหรือใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ กึ ฝนทกั ษะตา่ ง ๆ ได้ดขี ้ึนหลงั จากท่ไี ด้เรียนบทเรียนแลว้ ๒. ความสาคัญของแบบฝึกทกั ษะ การที่ครูจะช่วยให้นักเรียนมีทักษะในการเขียนสะกดคานั้น นอกจากการจัดกิจกรรมการเรียนท่ี เหมาะสมแล้ว ก็ควรสร้างชุดฝึกเพื่อช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาในการเขียนสะกดคาชุดฝึก จึงมี ความสาคญั ต่อการเรียนการสอนอย่างมาก ดังน้ันกล่าวความสาคัญของชุดฝึกทกั ษะไว้ดงั นี้ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (๒๕๔๕ : ๑๔๕) ได้เสนอถึง ความสาคัญของ แบบฝึกว่า การทาแบบฝกึ ภาษาไทยเปน็ สื่อประกอบการสอนท่ีช่วยใหไ้ ด้ฝึกทักษะทางภาษา มีโอกาส นาความรทู้ เี่ รยี นมาฝกึ ให้เกิดความเขา้ ใจอยา่ งกว้างขวาง ๓. ลักษณะแบบฝึกทกั ษะทดี่ ี วลี สมุ พี ันธ์ (๒๕๓๐ : ๑๘๙-๑๙๐) ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะของชดุ ฝึกท่ดี วี ่าต้องมลี กั ษณะดังน้ี ๓.๑ เกีย่ วข้องกับบทเรยี นท่เี รียนมาแล้ว ๓.๒ เหมาะสมกบั ระดบั วัยละความสามารถของเด็ก ๓.๓. มคี าช้แี จงสั้น ๆ ทจี่ าทาใหเ้ ดก็ เข้าใจวิธีทาได้ง่ายคาชแ้ี จงหรือคาส่งั ส้ัน กะทัดรัด ๓.๔ ใช้เวลาทเี่ หมาสม คอื ไม่ใชเ้ วลาทน่ี านหรือเรว็ จนเกินไป ๓.๕ เปน็ ท่ีนา่ สนใจและทา้ ทายให้แสดงความสามารถ สรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่จาเป็นต่อการฝึกทักษะทางภาษาของนักเรียน เป็นส่วนช่วยใน การเรยี น และเปน็ ตวั ชว่ ยเสรมิ ทกั ษะการใชภ้ าษาให้ดยี ิ่งข้ึน แบบฝกึ ชว่ ยในเรือ่ งความแตกตา่ งระหว่าง บุคคล เหมาะกับความสามารถของเด็กจะทาให้เกิดผลดี ทางด้านจิตใจ ช่วยเสริมทักษะทางภาษา แบบฝึกยังใช้เปน็ เครอ่ื งมือวดั ผลทางการเรียนหลงั แบบบทเรียนได้อีกดว้ ย นอกจากน้ียงั เปน็ เครื่องมือ ในการทบทวนความรูไ้ ด้ ๔. หลักการสร้างแบบฝึกทักษะทดี่ ี ชุดฝึกทักษะเป็นเคร่ืองมือที่สาคัญ ครูจาเป็นต้องใช้ในการฝึกทักษะคอมพวิ เตอร์ ดังนั้นครู ต้องมี ความรู้เกี่ยวกับการสร้างชุดฝึกทักษะ เพื่อที่จะสามารถสร้างชุดฝึกทักษะที่ดี มีประสิทธิภาพ สูง เหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรียนมากที่สุด จึงต้องอาศัยทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสร้าง ชุดฝึก ทักษะมาเปน็ แนวทางในการสร้าง มีนักการศึกษาได้กล่าวหลักการสรา้ งชุดฝกึ ทักษะท่ีดไี ว้ใน ลักษณะ ต่าง ๆ ดงั นี้ วรินทรา วชั รสิงห์ (๒๕๓๗ : ๑๑ - ๙๒) ไดเ้ สนอแนวคิดในการสรา้ งชดุ ฝกึ ทกั ษะไว้ดังนี้ ๑. เทคนิคการยกตัวอย่าง คอื ผสู้ อนควรยกตวั อย่างง่ายๆเพ่อื ให้เกิดความเข้าใจอย่างรวดเร็ว และ ถูกต้อง ครคู วรยกตัวอยา่ งประกอบหลายๆเพ่อื ใหน้ ักศึกษาเกดิ ความสนใจและเข้าใจมากยงิ่ ขึ้น

๒๐ ๒. เทคนคิ การใชว้ สั ดปุ ระกอบการทาชดุ ฝกึ ทักษะ ๒.๑ ใหผ้ เู้ รียนชว่ ยทาวัสดุประกอบการเรียน ในการทาชุดฝึกทักษะผู้สอนควรจะให้ผู้เรียนช่วย ทาวัสดุประกอบการเรียนเพือ่ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจรงิ พัฒนาทักษะทางกายและทาให้ ผ้เู รยี นเกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ ๒.๒ ผ้สู อนรู้จกั ใชว้ สั ดจุ ากสงิ่ แวดลอ้ ม ซึง่ หาไดไ้ มย่ ากนัก และควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหา ๒.๓ ผู้สอนรู้จักเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนท่ีหาได้ง่ายและประหยัด เพื่อให้ เข้าใจ สภาพเศรษฐกิจและสังคม วัสดุที่ใช้ไม่จาเป็นต้องหายาก ราคาแพง เพราะเราใช้วัสดุ ประกอบการ เรยี นเพอื่ ให้เกิดกาความเขา้ ใจและเกดิ มโนคตทิ ีด่ ี ๓. เทคนคิ การสร้างและการใช้ภาพประกอบการเรยี น ๓.๑ การใชภ้ าพลายเส้นงา่ ย ๆ ยิง่ จะทาใหช้ ุดฝกึ ทกั ษะทสี่ รา้ งข้นึ เข้าใจงา่ ยและเพลิดเพลนิ ๓.๒ การใช้ภาพสาเร็จรูปประกอบการสอน ผสู้ อนบางคนไม่สามารถวาดภาพลายเส้นไดด้ ี อาจ ใชภ้ าพสาเร็จรปู ทต่ี ักมาจากหนังสอื กไ็ ด้ ๔. เทคนิคในดา้ นนันทนาการ ๔.๑ การใช้เพลงประกอบในการทาชุดฝึกทักษะ จะช่วยทาให้ผู้เรียนไม่เครียดจนเกินไป และ สามารถใชเ้ พลงน้ันมาตอบคาถามในชุดฝึกได้ ๔.๒ การใชค้ าประพันธป์ ระเภทร้อยกรอง สามารถนามาใชไ้ ด้ ๔.๓ การใชเ้ กมประกอบผู้ทเี่ ป็นครูควรจะศึกษาทั้งเกมที่ประกอบการสอนในห้องเรยี น เกมลับ สมองท่ัวไป มักเป็นเกมที่สั้นและงา่ ย ใช้เวลาน้อย ๕. ประโยชน์ของแบบฝกึ ทักษะ วิมลรตั น์ สนุ ทรโรจน์ (๒๕๕๒) ได้นาเสนอว่า ๑. แบบฝึกเป็นส่วนเพิ่มหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรยี นทักษะเปน็ อุปกรณ์การสอนท่ีช่วยภาระ ของครูได้มาก เพราะแบบฝกึ เป็นสงิ่ ทีไ่ ดจ้ ัดทาขน้ึ อยา่ งเป็นระบบระเบยี บ ๒. ช่วยเสริมทักษะทางการใช้ภาษา เป็นเครื่องมือช่วยให้เด็กฝึกทักษะการใช้ภาษาดีขึ้น แต่ต้อง อาศัยการสง่ เสริมและความเอาใจใส่จากผสู้ อน ๓. ชว่ ยในเร่อื งความแตกต่างระหวางบุคคล เน่อื งจากเดก็ แตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งกนั การให้เด็กทา แบบฝกึ หดั ที่เหมาะสมกบั ความสามารถของเด็ก ๓.๑ แบบฝกึ ช่วยเสริมให้ทักษะทางภาษาคงทน โดยกระทาดังน้ี ๓.๑.๑ ฝกึ ทันทีหลังจากทีเ่ ด็กได้เรียนรเู้ รื่องนน้ั แล้ว ๓.๑.๒ ฝกึ ซ้า ๆ หลายคร้ัง ๓.๑.๓ เน้นเฉพาะเรือ่ งที่ตอ้ งการฝึก ๓.๒ แบบฝึกทเี่ ป็นเครือ่ งมือวัดผลการเรียน ควรฝึกหลังจากจบบทเรยี นในแต่ละคร้ัง

๒๑ ๓.๓. แบบฝกึ ที่จัดทาเปน็ รูปเล่ม สามารถเกบ็ รักษาไว้ใชเ้ ป็นแนวทางเพ่ือทบทวนด้วยตัวเองได้ ตอ่ ไป ๓.๔ การให้นักศึกษาทาแบบฝึกช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่นหรือปัญหาต่าง ๆ ของนักศึกษาได้ ชัดเจน ซึ่งจะชว่ ยให้ครไู ดด้ าเนินการปรบั ปรงุ แก้ไขปัญหานัน้ ไดท้ ันทว่ งที ๓.๕ แบบฝกึ ท่ีทาขน้ึ นอกเหนอื จากท่อี ยใู นหนงั สือเรียนจะชว่ ยให้นักศกึ ษาฝึกฝนเต็มที่ ๓.๖.แบบฝกึ ทีจ่ ัดพิมพไ์ วแ้ ลว้ จะช่วยใหค้ รูประหยดั ท้ังแรงงานและเวลา ๓.๗ แบบฝึกช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ผู้เรียนสามารถจะบันทึกและมองเห็นความก้าวหน้าของ ตนเองได้ สรุปไดว้ ่า แบบฝึกทกั ษะมีประโยชนต์ ่อตัวของเด็กและครู ซึ่งเดก็ จะเกิดความชานาญ และมีทักษะ ที่ดีไดน้ ั้น ต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ ซ่งึ แบบฝกึ ทกั ษะจะช่วยให้เด็กเกิด การเรยี นรู้ แสวงหา องค์ความรใู้ หม่ ๆ เกดิ ความสนุกกับเน้อื หาแบบฝกึ ทักษะนอกจากจะเป็น เครื่องมือสาคญั ตอ่ การเรียน ของนักเรียนแล้วยังมีประโยชน์สาหรับครูผู้สอน ซึ่งทาให้ทราบ พัฒนาการทางทักษะนั้น ๆ ของ นกั เรยี น และเหน็ ข้อบกพร่องใน การเรียน การเขียนสะกดคา ๑. ความหมายการเขียนสะกดคา อรทัย นตุ รดิษฐ์ (๒๕๔๐ : ๑๐) สรุปการเขียนสะกดคาไววา การเขยี นสะกดคา หมายถึง การเขียน คาใดคาหนึ่งอันประกอบด้วย พยัญชนะตน สระ วรรณยุกต ตัวสะกดและตัวการันตได้ถูกตองตาม พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถานพุทธศกั ราช ๒๕๒๕ อรพรรณ ภิญโญภาพ (๒๕๒๙ : ๑๒) ได้ใหความหมายของการสอนเขียนสะกดคาไว้ว่า การสอน เขยี นสะกดคาเปน็ การฝกทักษะการเขยี นให้ถูกต้องตามพจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถานแกผู้เรียน และจะตองใหผู้เรียนเขาใจ กระบวนการประสมคา รู้หลักเกณฑทจะเรียบเรยี งตัวอักษรในคาหนึ่ง ๆ ใหได้ความหมายที่ตองการ เพอ่ื นาประโยชนไปใชในการสอื่ สาร กล่าวโดยสรุป การเขียนสะกดคา นั้นผู้เรียนต้องสามารถจาตัวอักษรตามความหมายของรปู นัน้ ๆ ได้และสามารถถ่ายทอดความคิดของตนเองออกมาเป็นตัวหนังสอื อีกทั้งสามารถเรียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

๒๒ ๒. ความสาคญั การเขียนสะกดคา อมรรัตน์ คงสมบูรณ์ (๒๕๓๖ : ๑๓) ได้กล่าวว่าการเขียนสะกดคา นับว่าเป็นทักษะ การเขียนท่ี สาคัญมาก ครูผู้สอนภาษาไทยทุกคนควรจะได้ฝึกฝนให้นักเรียนเขียนสะกดคาให้ถูกต้อง เพราะเป็น พืน้ ฐานของการเขียนดา้ นอนื่ ๆ ถา้ เด็กอ่านออกเขียนไดถ้ ูกตอ้ งเดก็ ก็จะสามารถนา ประโยชน์จากการ เขยี นไปใช้ในวิชาอ่ืน ๆ ได้อย่างดีมีประสทิ ธิภาพ วรรณี โสมประยูร (๒๕๒๖ : ๕๐๓) กล่าวว่า การเขียนสะกดคาเป็นพืน้ ฐานท่ีจาเป็น ของการเรียน อย่างหนึง่ เพราะเด็กตอ้ งร้จู กั สะกดคาไดถ้ กู ตอ้ งก่อน จึงสามารถเขยี นประโยคและ เรือ่ งราวได้ ถา้ เด็ก เขยี นสะกดคาผิดเสมอ จะไม่สามารถแสดงให้ผู้อ่ืนเข้าใจความคิดของตนเอง ดังนน้ั การเขียนสะกดคา ให้ถูกต้อง นับว่าเป็นสิ่งสาคัญในการเขียนอย่างยิ่ง เด็กควรเขียนสะกดคา ให้ถูกต้องเสียแต่เมื่อเร่ิม เรียนคา เพื่อช่วยให้เด็กรู้จักคาต่าง ๆ ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน ช่วยให้ เด็กใช้คาต่าง ๆ ได้ถูกต้อง กวา้ งขวาง ครจู งึ ต้องฝกึ ฝนนกั เรียนอย่างสมา่ เสมอทกุ ระดบั ช้ัน อดุลย์ ภูปล้มื (๒๕๓๙ : ๑๒) ไดก้ ล่าวถึง ความสาคญั ของการเขียนสะกดคา ไว้วา่ การเขียนสะกด คามีความสาคัญต่อการดารงชีวิตประจาวัน และความเป็นอยู่ของบุคคลในปัจจุบัน เพราะการเขียน สะกดถูกต้อง ช่วยให้ผู้เขียนอ่านและเขียนหนังสือได้ถูกต้อง สื่อความหมายได้ ชัดเจน และมีความ มนั่ ใจในการเขียน ทาให้ผลงานท่ีเขยี นมคี ุณค่าเพม่ิ ขึ้น สรุปได้ว่า การเขียนสะกดคาเป็นพืน้ ฐานที่ สาคัญในการใช้ภาษา การอ่าน การเขียน และการสื่อ ความหมาย การเขียนสะกดคาเป็นทักษะ ที่มีความจาเป็นในการเรียนวชิ าอื่น ๆ และการนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน ส่งผลให้ผู้เขียน เกิดความภาคภูมิใจและมีความมั่นใจในการเขียน ฉะนั้นครูจึงต้อง ฝกึ ฝนนักเรียน ให้สามารถ เขียนสะกดคาใหถ้ กู ตอ้ ง และต้องฝกึ ฝนอยา่ งสม่าเสมอเพอ่ื ช่วยในการเรียน วชิ าอืน่ ๆ และเกดิ ความมั่นใจในการเรียน ๓. หลักการการเขยี นสะกดคา ฟิทซ์เจอรลั ด์ (Fitzgerald. ๑๙๖๗ : ๓๘) ไดเ้ สนอแนะการสอนใหน้ ักเรียนฝึก เขียน สะกดคาไว้ ๕ ขนั้ ดงั นี้ ๑. ต้องให้นักเรียนรู้ความหมายของคาน้ัน ๆ เสียก่อน โดยครเู ป็นผู้บอกหรือเปิด พจนานุกรม แล้ว ให้นกั เรยี นอภปิ รายสิง่ สาคญั คอื ต้องเป็นความหมายทไ่ี ม่ซับซ้อน ๒. ตอ้ งให้นักเรยี นอ่านออกเสยี งของคาท่ถี ูกตอ้ งชัดเจน จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นรู้ คานน้ั ได้อย่างแม่นยา ท้งั รูปคาและการอ่านออกเสยี ง ๓. ตอ้ งใหน้ กั เรยี นมองเห็นรูปน้ัน ๆ วา่ ประกอบด้วยพยญั ชนะ สระ อะไรบ้าง และถา้ เปน็ คาหลาย พยางค์ ครูควรแยกใหด้ ูเป็นคา ๔ ต้องให้นักเรยี นลองเขียนคาน้ัน ๆ โดยการดูแบบและไม่ดแู บบ

๒๓ ๕. สร้างสถานการณ์ให้นักเรียนนาคานั้น ๆ ไปใช้ ซึ่งอาจเป็นการให้นักเรียนเขียน บรรยายภาพ บรรยายเรอ่ื งราว หรือเขยี นในกิจกรรมการเขียนโดยให้เหมาะกับวยั สราวดี เพ็งศรีโคตร (๒๕๓๙ : ๒๕) ไดส้ รุปหลักการสอนเขยี นสะกดคาไว้ว่า “การสอน ให้นักเรียน สามารถเขียนสะกดคาได้ถูกต้องแม่นยา ครูต้องตระหนักถึงความสาคัญของการเขียน สะกดคาและ หลกั การเขียนสะกดคา ซึ่งพอจะสรปุ วิธีการสอนเขียนสะกดคาภาษาไทยได้ดงั น้ี ๑. ให้นกั เรียนไดม้ องเห็นรูปคาว่ามีลักษณะอยา่ งไร ประกอบดว้ ย พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และ ตัวสะกดอะไรบ้าง ๒. ฝกึ ใหน้ กั เรียนออกเสยี งคานัน้ ๆ ใหช้ ดั เจนเป็นคา ๆ ๓. ฝกึ ให้นกั เรียนสะกดคาปากเปล่า โดยวธิ ีแจกลูกสะกดคาโดยออกเสยี งดังๆ อย่างชดั เจน ๔. สอนให้นักเรียนรู้และเข้าใจความหมายของคานั้น ๆ และยกตัวอย่างการใช้คา น้ัน ๆ ใน สถานการณต์ ่าง ๆ ๕. ฝึกใหล้ งมือเขยี นสะกดคานั้น ๆ หลาย ๆ ครั้ง ๖. ให้นักเรยี นระลึกคาทเ่ี ขยี น แล้วเขียนสะกดคาโดยไม่ตอ้ งดแู บบ ๗. ตรวจสอบดูว่าถกู ตอ้ งหรือไม่ ถา้ ไม่ถูกต้องให้กลบั ไปดคู าน้ันใหม่ ๘. ใชค้ าท่เี ขียนนัน้ มาแต่งประโยค โดยอาจแตง่ ด้วยปากเปลา่ กไ็ ด้ ๙. ทบทวนการเขยี นอกี ครั้งหนงึ่ โดยทาแบบฝึกทักษะ หลักการเขียนสะกดคามีหลากหลายวิธี ที่ผู้สอนสามารถจะเลือกสอนให้เหมาะสมกับ วัย ของผู้เรียนได้ แต่ในการสอนเขียนสะกดคาควรยึดหลักที่สาคัญ ประกอบด้วย การให้นักเรียนรู้ ความหมายของคา การให้เหน็ รูปของคาวา่ ประกอบดว้ ยพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และตวั สะกด อะไร หลังจากนั้นก็ให้นักเรียนเขียนเลียนแบบคานั้นหลายๆครั้ง เขียนไม่ดูแบบ และการนาไปใช้ กับ สถานการณอ์ ื่นทต่ี ่างกัน

๒๔ งานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง อัจฉรา ศรีธารา (๒๕๖๒) ได้ศึกษาเรื่องผลของการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่ นสะกด คาทมี่ ีตอ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาภาษาไทยของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ โรงเรยี นวัดสุวรรณ นมิ ติ การวิจัยครัง้ น้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลัง เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เพื่อเปรียบเทียบผล การทดสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึก ทกั ษะการอ่าน สะกดคา ท่มี คี ะแนนผา่ นเกณฑร์ ้อยละ ๗๐ ของคะแนนเต็ม กบั จานวนนักเรยี นท้งั หมด กับจานวนร้อยละ ๘๐ ของจานวนนักเรียนทง้ั หมด เพอ่ื ศกึ ษาดชั นปี ระสิทธผิ ลของการเรยี นโดยใช้แบบ ฝกึ ทกั ษะการอ่านสะกดคา ของ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ โรงเรยี นวดั สุวรรณนิมิต ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จานวน ๖ คน โดยนาคะแนนการ ทดสอบอา่ นสะกดคาจากบญั ชีคาพ้ืนฐานชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การอ่านสะกดคามาวเิ คราะห์ข้อมูล ซึ่งมีเครื่องมอื ในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ แบบฝึกทกั ษะการอ่านสะกดคา แบบ บนั ทกึ คะแนนการอ่านสะกดคา สถิติท่ใี ช้ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน ค่าดัชนปี ระสิทธิผล t-test dependent samples พัทธนนั ท์ พาปอ้ (๒๕๖๒) ไดศ้ ึกษาเรือ่ งการพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคาของนกั เรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคาการวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นการเขียนสะกดคาของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ก่อนและหลังได้รับการ พัฒนาโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคา และเพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคาของ นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ให้มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ กลุ่มตวั อยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัยครง้ั น้ีเปน็ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔/๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ โรงเรียน ศรแี กง้ คร้อ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชัยภูมิ เขต ๒ จานวน ๓๔ คน เคร่อื งมือท่ีใช้ใน การรวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ๑. แผนการจัดการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ เรื่อง การเขียนสะกดคา จานวน ๘ แผน ๒. แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคา จานวน ๘ แบบฝึก ๓. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านทักษะการเขียนสะกดคาชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๔ เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๓๐ ข้อ สถิติพื้นฐานที่ใช้ใน การวเิ คราะหข์ ้อมลู ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ีย คา่ รอ้ ยละ และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

๒๕ เบ็ญจวรรณ เสาวโค (๒๕๕๓) ได้ศึกษาเรื่องการพฒั นาแบบฝึกทักษะภาษาไทย เรื่อง การ เขียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกด โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ โดย การศึกษาวจิ ยั คร้งั นีม้ ีความม่งุ หมายเพื่อพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการเขียนสะกด คาตาม มาตราตัวสะกด ที่ใช้สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพ ๘๐/ ๗๐ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียน สะกด คาตามมาตราตวั สะกด โดยใช้กิจกรรมการเรียนร้แู บบกลุม่ รว่ มมอื เพ่อื ศกึ ษาความพงึ พอใจของ นกั เรียนต่อแบบฝกึ ทักษะทักษะการเขยี นสะกดคาตามมาตราตวั สะกด โดยใชก้ จิ กรรมการเรยี นรู้ แบบ กลุ่มร่วมมือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียน บ้าน สารภีอาเภอประโคนชัย สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาบรุ รี ัมย์ เขต ๒ จังหวดั บรุ รี ัมย์ ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๐ จานวน ๑๗ คน เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจยั ครง้ั น้มี ี ๔ ชนิด ประกอบด้วย ๑. แบบฝึก ทกั ษะการเขยี นสะกดคา ตามมาตราตัวสะกด จานวน ๙ ชุด ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้แบบกลุ่มร่วมมือ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย จานวน ๑๘ แผน ๓ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเปน็ ปรนัย ๔. ตัวเลอื ก จานวน ๓๐ ขอ้ และ ๔. แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียน จานวน ๒๐ ขอ้ วเิ คราะห์ ข้อมูลโดยใช้ คอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการ ทดสอบสมมติฐาน t-test กุสุมา สว่างจิตร (๒๕๖๐) ได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาแบบฝึกวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียน สะกดคาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคมการวิจัยครั้งนี้มี จดุ ประสงคเ์ พื่อพฒั นาแบบฝึกวชิ าภาษาไทยเร่ืองการเขียนสะกดคาของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์๘๐/๘๐และเพ่อื พัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้าน การเขยี นสะกดคาของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ โรงเรยี นบางสะพานน้อยวิทยาคม โดยใช้แบบฝึก วิชาภาษาไทยเรือ่ งการเขียนสะกดคา กลุ่มตวั อยา่ งคือ เปน็ นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม เป็นจานวน ๑ ห้องเรียน มีนักเรียนจานวน ๒๕ คนซ่ึงได้มาจากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใชเ้ วลาในการทดลอง ๑๐ คาบเรียน คาบเรียนละ ๕๐ นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบฝึกวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียน สะกดคา การวเิ คราะหข์ ้อมูลใช้สถติ ิ ค่าเฉลีย่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลของการวิจัยพบว่า ผลการ วิเคราะห์ข้อมลู จากตารางที่ ๔.๕ พบว่าคะแนนเฉลี่ยของผลการทดลองระหว่างเรียนได้คะแนนเฉล่ยี เทา่ กบั ๑๔.๘๐ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ ๐๘๙ และคะแนนเฉลย่ี ของผลการทดลองหลัง เรียนได้คะแนนเฉลี่ย () เท่ากับ ๑๘.๓๖ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ ๐.๘๕และค่า ประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ เรอื่ งการอ่านจบั ใจความจากเรือ่ งสัน้ ท่สี ร้างข้ึนมีประสทิ ธิภาพ เทา่ กบั ๗๔.๐๐/๙๑.๘๐

๒๖ จุติตา คงด้วง (๒๕๔๙) ได้ศึกษาเร่ืองการพัฒนาแบบฝกทกั ษะวิชาภาษาไทยเร่ืองการเขยี น สะกดคาของนกั เรียนชนมัธยมศึกษาปที่ ๒ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ การวิจัยครัง้ นี้มี ความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคา ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์สิงหเสนี) ๔ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบดินทรเด-ชา (สิงห์สิงหเสนี) ๔ เขตหนองจอก กรงุ เทพมหานคร ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๔๘ จานวน ๑ หอ้ งเรียน นักเรียน ๕๐ คน ได้มาจาก การสุ่มแบบกลมุ่ (Cluster Random Sampling) ใช้ระยะเวลาในการทดลองจานวน ๑๖ คาบ คาบละ ๕๐ นาที ดาเนินการทดลองโดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One - Group Pretest Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น คือ แบบฝึกทักษะการเขียน สะกดคา และ แบบทดสอบการเขียนสะกดคา วเิ คราะหข์ ้อมลู โดยการวเิ คราะหห์ าประสทิ ธิภาพของ ชุดการเรียนด้วย ตนเองตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ โดยใช้สูตร E๑/E๒ และการทดสอบค่าสถิติ t - test แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบว่า นกั เรยี นท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียน สะกด คา มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรยี นแตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดับ ๐๑ โดยนักเรยี นทเี่ รียนโดยใช้แบบฝึกทกั ษะวชิ าภาษาไทยเร่ือง การเขยี นสะกดคา สามารถเขียนสะกดคา ไดด้ ีกวา่ ก่อนการใชแ้ บบฝกึ ทักษะ นรเศรษฐ์ สุวรรณอาไพ (๒๕๕๙) ได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคาโดยใช้ แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ๑) สร้างและ หาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ทักษะ การเขียนสะกดคาโดยใช้แบบฝึก กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษา ปีท่ี ๑ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ๒) ศึกษาค่า ดชั นีประสิทธผิ ลของการเรยี นรูท้ ักษะการ เขียนสะกดคาโดยใช้แบบฝกึ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๓) เปรยี บเทยี บ ทักษะการเขียนสะกดคา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของ นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ระหว่าง กอ่ นเรียนและหลงั เรยี น โดยใช้แบบฝึกทักษะ กลุ่มเป้าหมาย คอื นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ ของโรงเรียนบ้านปากอนู (ปากอูนผดุงวิทย์) อาเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๒ จานวน ๑ หอ้ งเรยี น รวมจานวนนกั เรียน ๒๘ คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ ๑) แผนการจัดการ เรียนรู้ ภาษาไทย จานวน ๑๒ แผน ใช้เวลา แผนละ ๑ ชั่วโมง ๒) แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคา จานวน ๑๒ ชุด ๓) แบบทดสอบวัดทักษะ การเขียนสะกดคา เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ ๓ ตัวเลอื ก จานวน ๒๐ ขอ้ สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการ วเิ คราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ร้อย ละ และ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัย พบว่า ๑) ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ ทักษะการเขียนสะกดคา โดยใช้แบบฝึกทักษะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ มีประสทิ ธิภาพ ๙๑.๑๓ / ๙๕.๕๔ สูงกวา่ เกณฑท์ ตี่ ั้งไว้ ๒) ค่าดัชนปี ระสิทธิผลของ

๒๗ การเรียนรู้ทักษะ การเขียนสะกดคาโดยใช้แบบฝึกทักษะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เทา่ กบั ๐.๙๑ หรือคดิ เปน็ ร้อยละ ๙๑.๐๐ ๓) เปรยี บเทียบทักษะการเขียนสะกด คากลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ หลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียน สะกดคา ของนักเรยี น สงู กว่าก่อนเรยี นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระดบั .๐๕

บทท่ี ๓ วิธีดาเนนิ การวิจยั การวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ ชุดแบบฝึกทักษะ ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โดยมีวตั ถุประสงค์ ๑. เพอื่ พัฒนาความสามารถการเขยี นสะกดคาโดยใช้ ชุดแบบฝึกทักษะทักษะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ๒. เพือ่ เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการเขียนสะกดคาสาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กบั คะแนนเกณฑร์ ้อยละ ๗๐ โดยมีขัน้ ตอนการวจิ ยั ดังน้ี ๑. รูปแบบการวจิ ยั ๒. ประชากร ๓. กล่มุ ตวั อย่าง ๔. เครื่องมอื ที่ใชใ้ นงานวจิ ยั ๕. วิธดี าเนินการ/เก็บรวบรวมข้อมลู ๑. รปู แบบการวิจยั การวจิ ัยโดยการทดลอง (Experimental Research) ๒. ประชากร ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการเขลางคน์ คร มนี ักเรียนท้งั ส้นิ ๙๕๙ คน ๓. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตวั อย่าง ในการวจิ ยั ครั้งนี้คอื นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ทีก่ าลังศึกษาอยูใ่ นภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางค์นครจานวน ๑ ห้องเรียนมีนักเรียน ท้ังสน้ิ ๒๔ คน การสุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ๓.๑ ขน้ั ตอนการเลือกกลมุ่ ตัวอย่าง การส่มุ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling or Judgment Sampling) โดยผ้วู ิจัยไดก้ าหนดคณุ ลกั ษณะเฉพาะเจาะจงไว้ดังนี้ ๓.๑.๑ นกั เรยี นท่ีมเี กณฑก์ ารทาแบบทดสอบตา่ กวา่ เกณฑ์ท่กี าหนดรอ้ ยละ ๖๐ ๓.๑.๒ นกั เรียนทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้

๒๘ ๓.๒ การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จานวนนักเรียนท้ังหมด ๙๕๙ คน จะใช้กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี๑/๖ จานวน ๒๔ คน ๔. เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นงานวจิ ัย ๔.๑ เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการทดลอง ๔.๑.๑ แบบฝกึ การเขียนสะกดคาจานวน ๔ ชุด ๔.๑.๒ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียนวัดผลสัมฤทธ์ิเร่ือง การเขียนสะกดคา จานวน ๔ ชุด ชดุ ละ ๒๐ ขอ้ ๔.๑.๓ แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนท่ีมีตอ่ แบบฝกึ ทักษะการเขียนสะกดคา ๕. วิธดี าเนินการ/เกบ็ รวบรวมข้อมูล ๕.๑ วิธดี าเนินการ ๕.๑.๑ แบบฝกึ การเขยี นสะคา ผ้วู ิจยั ได้จัดทาดงั น้ี ๑) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๒) กาหนดจดุ ประสงค์ของหน่วยการเรยี นรู้ทีจ่ ะใชใ้ นแบบฝกึ ทกั ษะการเขียนสะกดคา ตารางท่ี ๒ เน้ือหาและจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ กิจกรรมเพิม่ เติม วธิ กี าร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การสร้างคามูลใน พยางค์ ๑. บอกความหมายและลักษณะของ การสร้างคามลู ในภาษาไทย ภาษาไทย คา ๒. จาแนกประเภทการสรา้ งคามูลใน ชดุ แบบฝึกทกั ษะ ภาษาไทยไดถ้ กู ตอ้ ง ๓. เขยี นคาทมี่ ีเกิดจากคามูลได้ ทักษะ ถกู ตอ้ ง ๔. เขา้ ใจวธิ ีการสรา้ งคา ๕. ยกตัวอยา่ งคาทีเ่ ปน็ คามลู ใน ภาษาไทย ไดถ้ กู ต้อง

๒๙ หนว่ ยการเรยี นรู้ กิจกรรมเพมิ่ เตมิ วิธีการ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การสรา้ งคาประสม โครงสร้างของคา ๑. บอกความหมายและลักษณะการ สรา้ งคาประสมในภาษาไทย ในภาษาไทย ประสม ๒. จาแนกประเภทการสร้างคา ประสมในภาษาไทยได้อยา่ งถูกตอ้ ง หน้าที่ของคา ๓. เขียนคาที่มีเป็นคาประสมได้ ถกู ตอ้ ง ประสม ๔. เขา้ ใจวธิ ีการสร้างคาประสมใน ภาษาไทย การสรา้ งคาซอ้ นใน ลักษณะคาซอ้ น ๕. ยกตัวอยา่ งคาการสร้างคาประสม ในภาษาไทยถกู ต้อง ภาษาไทย โครงสรา้ งคาซ้อน ๑. บอกความหมายและลักษณะการ สร้างคาซอ้ นในภาษาไทย ทม่ี าคาซ้อน ๒. จาแนกประเภทการสร้างคาซ้อน ในภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ๓. เขยี นคาทีม่ ีเปน็ คาซอ้ นไดถ้ ูกตอ้ ง ๔. เขา้ ใจวิธกี ารสรา้ งคาซ้อนใน ภาษาไทย ๕. ยกตวั อย่างคาการสร้างคาซ้อนใน ภาษาไทยถูกต้อง การสร้างคาซา้ ใน ชนดิ ของคาไทยที่ ๑. บอกความหมายและลกั ษณะการ ภาษาไทย นามาซ้า สร้างคาซ้าในภาษาไทย ลกั ษณะของการ ๒. จาแนกประเภทการสรา้ งคาซา้ ซ้าคาในภาษาไทย นภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้อง ลักษณะ ๓. เขยี นคาที่มีเปน็ คาซ้าได้ถกู ตอ้ ง ความหมายของ ๔. เข้าใจวธิ ีการสรา้ งคาซ้าใน คาซา้ ภาษาไทย ๕. ยกตวั อยา่ งคาการสร้างคาซ้าใน ภาษาไทยถกู ต้อง

๓๐ ๓) นาเน้ือหาท่ีจะจัดทาชุดแบบฝกึ ทักษะทักษะตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา IOC โดยใชผ้ ู้เช่ยี วชาญ ๓ ทา่ นพจิ ารณา ๕.๑.๒ แบบทดสอบวัดผลการเรยี นรู้เรื่องการเขียนสะกดคา คา ผูว้ จิ ยั ได้จดั ทาดังนี้ ๑) วิเคราะห์จุดประสงค์ เนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่จะใช้จัดทาแบบทดสอบเรื่องการ เขยี นสะกดคา นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ๒) สร้างตารางวิเคราะห์แบบทดสอบ โดยศึกษาจากเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้กิจกรรม เพม่ิ เตมิ วิธีการ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ซงึ่ ตอ้ งมีความสอดคลอ้ งและครอบคลุมเนอื้ หา ๓) สร้างแบบทดสอบ เป็นแบบการเขียนตามคาบอก ๕๐ คา และแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลอื ก จานวน ๔ ชุด ชุดละ ๒๐ ขอ้ ๔) เสนอแบบทดสอบตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา IOC โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ ๓ ท่าน พิจารณา ๕.๒ วิธีดาเนนิ การ ผู้วจิ ยั นาขอ้ มลู ท้ังหมดมาวิเคราะหห์ าคา่ ทางสถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู ดังนี้ ๕.๒.๑ สถติ ิพืน้ ฐาน ดังนี้ ๑) ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกทักษะทักษะการสะกดคา สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ที่มีประสิทธภิ าพ ๗๐/๗๐ โดยหาค่า E๑ และ E๒ โดยใช้สตู รดงั น้ี E๑ คือ แทนคา่ ประสิทธภิ าพกระบวนการ (ระหว่างเรยี น) E๒ คอื แทนค่าประสิทธิภาพผลลพั ธ์ (หลงั เรียน) E๑ หรอื E๒ สามารถคานวณได้ดังนี้ การหาประสิทธภิ าพกระบวนการ E๑ เมอื่ E๑ คอื ประสิทธภิ าพของกระบวนการ х คอื คะแนนรวมจากการประเมินระหว่างเรียนแตล่ ะคน คือ ผลรวมคะแนนของนกั เรยี นทั้งหมด Σх คือ คะแนนเต็มรวม A คอื จานวนนกั เรยี นท้งั หมด N

๓๑ การหาประสิทธิภาพของผลลัพธิ์ E๒ เม่ือ E๒ คอื ประสทิ ธิภาพของผลลัพธ์ F คอื คะแนนรวมจากการประเมนิ หลงั เรียนแตล่ ะคน ΣF คือ ผลรวมคะแนนของนกั เรยี นท้ังหมด B คือ คะแนนเตม็ รวม N คอื จานวนนักเรียนทั้งหมด ๕.๒.๒ การวิเคราะหแ์ บบทดสอบหาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น สาหรับนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ โดยใช้สตู รดังนี้ ๑) หาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบ เมอ่ื IOC แทน ดชั นีความสอดคลอ้ งระหวา่ งข้อสอบกบั วตั ถุประสงค์กับเนอ้ื หาหรือระหว่างขอ้ สอบกบั จดุ ประสงค์ ΣR แทน ผลรวมของการประเมิน N แทน จานวนผู้ประเมนิ ๕.๒.๓ หาค่าเฉลีย่ รอ้ ยละ (Arithmetic Mean) เม่ือ х̅ คอื ค่าเฉลย่ี Σх คือ ผลรวมของข้อมลู N คอื จานวนของข้อมูล

๓๒ ๕.๒.๔ หาคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน S.D. (Standard Deviation) เม่ือ S.D. คอื ค่าของกล่มุ ตวั อยา่ ง X คือ ขอ้ มูล х̅ คือ คา่ เฉล่ีย N คือ ขอ้ มลู ทง้ั หมด

บทที่ ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยคร้ังน้เี ปน็ การวิจยั ๑. เพื่อพฒั นาความสามารถการเขยี นสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝึก ทักษะทักษะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ๒. เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรือ่ งการเขียนสะกดคาสาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ กับ คะแนนเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ไดด้ าเนนิ การวิจัยตามข้ันตอนเพ่อื เปน็ การตอบ วตั ถุประสงค์และข้อคาถาม ของการวิจยั ผู้วจิ ยั ขอเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยแบ่งเป็น ๒ ตอนดงั นี้ ตอนที่ ๑ เพือ่ พฒั นาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝกึ ทักษะทักษะ สาหรับ นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ตอนที่ ๒ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเขยี นสะกดคาสาหรับนักเรียน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ กับคะแนนเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ตอนที่ ๓ เพื่อพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะทักษะ สาหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ปรากฏผลดังตารางที่ ๑ ตารางที่ ๓ คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคา ของ นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ แบบฝึกทกั ษะ คะแนนเตม็ х รอ้ ยละ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๑ ๒๐ ๑๕ ๗๒ แบบฝกึ ทักษะที่ ๒ ๒๐ ๑๕.๖ ๗๔.๘๘ แบบฝึกทักษะท่ี ๓ ๒๐ ๑๗.๒ ๘๒.๕๖ แบบฝึกทกั ษะท่ี ๔ ๒๐ ๑๕.๘ ๗๕.๘๔ รวม ๘๐ ๑๕.๙ ๗๖.๓๒ จากตารางที่ ๓ แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ที่มี ความบกพร่องในทักษะการเขียนสะกดคา จานวน ๔ แบบฝึก มีคะแนนเฉลี่ย ๑๕.๙ คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๓๒ ด้งั นนั้ แบบฝกึ ทกั ษะที่สรา้ งขึน้ มปี ระสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน ๗๐/๗๐

๓๔ ตอนที่ ๔ เพื่อเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเรอ่ื งการเขยี นสะกดคาสาหรบั นกั เรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ กับคะแนนเกณฑร์ ้อยละ ๗๐ ตารางท่ี ๔ ตารางแสดงคะแนนเฉลย่ี และค่าร้อยละของคะแนนทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น คะแนน จานวน คะแนนเต็ม คะแนนรวม คะแนนเฉล่ีย รอ้ ยละ กอ่ นเรียน นัก๒เร๔ยี น ๒๐ ๓๐๐ ๑๒.๕ ๖๒.๕ หลังเรยี น ๒๔ ๒๐ ๓๖๑ ๑๕.๐๔ ๗๕.๒๐ จากตารางที่ ๔ พบว่า คะแนนเฉลยี่ ความสามารถในการการเขยี นภาษาไทย จากการ ทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ ๓๐ คดิ เป็นร้อยละ ๖๐.๐๐ ทดสอบหลังเรียน เท่ากับ ๕๓.๓๓ คิดเป็นร้อย ละ ๘๘.๘๘ แสดงใหเ้ ห็นว่านกั เรียนมีความกา้ วหนา้ ในการเขียนสะกดคา ในภาษาไทยสงู ข้นึ

บทที่ ๕ สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้พัฒนาทักษะการเขียนสะกดคา โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของ นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางทักษะการเขยี นสะกดคา ซง่ึ สรปุ ไดด้ ังน้ี ๑. วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา ๒. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ๓. เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษา ๔. การดาเนินการศกึ ษา ๕. สรปุ ผลการศึกษา ๖. อภิปรายผล ๗. ข้อเสนอแนะ ๑. วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย ๑.๑ เพ่อื พฒั นาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะทกั ษะ สาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ให้มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ ๗๐/๗๐ ๑.๒ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเขียนสะกดคาสาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ กบั คะแนนเกณฑ์รอ้ ยละ ๗๐ ๒. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ๒.๑ ประชากร ประชากรในการวจิ ยั ครง้ั นี้คือนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการเขลางคน์ คร มีนกั เรียนทั้งสิน้ ๙๕๙ คน ๒.๒ กลมุ่ ตวั อยา่ ง กลมุ่ ตัวอยา่ ง ในการวิจัยครั้งนค้ี อื นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ทก่ี าลงั ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษาพฒั นาการเขลางค์นครจานวน ๑ ห้องเรียนมีนกั เรียน ท้ังส้นิ ๒๕ คน การสุ่มตวั อย่างเฉพาะเจาะจง (purposive sampling)

๓๖ ๓. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศกึ ษา ๓.๑ เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา ๓.๑.๑ แบบฝึกการเขียนสะกดคาจานวน ๔ ชดุ ๓.๑.๒ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรียนวัดผลสัมฤทธิ์เร่ือง การเขยี นสะกดคา จานวน ๔ ชุด ชุดละ ๒๐ ข้อ ๓.๑.๓ แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรยี นทีม่ ีตอ่ แบบฝึกทักษะการเขยี นสะกดคา ๔. การดาเนินการศึกษา ๔.๑ วิธีดาเนินการ ๔.๑.๑ แบบฝกึ การเขียนสะคา ผ้วู จิ ยั ได้จัดทาดังน้ี ๑) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๒) กาหนดจุดประสงค์ของหนว่ ยการเรยี นรู้ทจี่ ะใช้ในแบบฝกึ ทักษะการเขยี นสะกดคา จากตารางที่ ๑ เนือ้ หาและจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ กิจกรรมเพิม่ เตมิ วิธีการ จุดประสงค์การเรยี นรู้ การสร้างคามลู ใน พยางค์ ๑. บอกความหมายและลกั ษณะของ ภาษาไทย คา การสร้างคามูลในภาษาไทย ๒. จาแนกประเภทการสรา้ งคามูล ชุดแบบฝึกทักษะ ในภาษาไทยได้ถกู ตอ้ ง ทักษะ ๓. เขยี นคาท่มี ีเกดิ จากคามูลได้ ถูกต้อง ๔. เขา้ ใจวธิ ีการสรา้ งคา ๕. ยกตวั อยา่ งคาท่เี ปน็ คามลู ใน ภาษาไทย ได้ถกู ต้อง

๓๗ หน่วยการเรยี นรู้ กิจกรรมเพมิ่ เติม วธิ กี าร จุดประสงค์การเรียนรู้ การสรา้ งคาประสม โครงสรา้ งของคา ในภาษาไทย ประสม ชุดแบบฝึกทักษะ ๑. บอกความหมายและลกั ษณะการ หน้าที่ของคา ทักษะ สรา้ งคาประสมในภาษาไทย การสร้างคาซอ้ นใน ประสม ๒. จาแนกประเภทการสร้างคา ภาษาไทย ประสมในภาษาไทยได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ลกั ษณะคาซอ้ น ๓. เขยี นคาทม่ี ีเป็นคาประสมได้ โครงสร้างคาซ้อน ถูกต้อง ทม่ี าคาซอ้ น ๔. เขา้ ใจวธิ ีการสรา้ งคาประสมใน ภาษาไทย ๕. ยกตวั อยา่ งคาการสรา้ งคาประสม ในภาษาไทยถกู ตอ้ ง ๑. บอกความหมายและลักษณะการ สรา้ งคาซอ้ นในภาษาไทย ๒. จาแนกประเภทการสร้างคาซอ้ น ในภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๓. เขยี นคาที่มีเปน็ คาซอ้ นได้ถกู ตอ้ ง ๔. เข้าใจวิธกี ารสร้างคาซอ้ นใน ภาษาไทย ๕. ยกตัวอย่างคาการสรา้ งคาซอ้ นใน ภาษาไทยถกู ต้อง การสร้างคาซ้าใน ชนิดของคาไทยท่ี ๑. บอกความหมายและลักษณะการ ภาษาไทย นามาซ้า สรา้ งคาซ้าในภาษาไทย ลกั ษณะของการ ๒. จาแนกประเภทการสร้างคาซ้า ซ้าคาในภาษาไทย นภาษาไทยไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ลักษณะ ๓. เขียนคาทมี่ ีเป็นคาซ้าไดถ้ กู ตอ้ ง ความหมายของ ๔. เขา้ ใจวธิ กี ารสรา้ งคาซา้ ใน คาซา้ ภาษาไทย ๕. ยกตวั อย่างคาการสรา้ งคาซ้าใน ภาษาไทยถูกต้อง

๓๘ ๓) นาเน้ือหาท่จี ะจัดทาชดุ แบบฝกึ ทักษะทักษะตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา IOC โดย ใช้ผู้เช่ยี วชาญ ๓ ท่านพจิ ารณา ๔.๑.๒ แบบทดสอบวัดผลการเรยี นรเู้ รื่องการเขียนสะกดคา คา ผูว้ ิจยั ได้จดั ทาดังน้ี ๑) วิเคราะห์จุดประสงค์ เนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่จะใช้จัดทาแบบทดสอบเรื่องการเขยี น สะกดคา นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ๒) สร้างตารางวิเคราะห์แบบทดสอบ โดยศึกษาจากเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้กิจกรรม เพิ่มเติม วิธกี าร จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ซึ่งตอ้ งมีความสอดคลอ้ งและครอบคลมุ เนือ้ หา ๓) สร้างแบบทดสอบ เป็นแบบการเขียนตามคาบอก ๕๐ คา และแบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลอื ก จานวน ๓ ชุด ชุดละ ๒๐ ข้อ ๔) เสนอแบบทดสอบตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา IOC โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ ๓ ท่าน พจิ ารณา ๕. สรปุ ผลการวิจัย ผลการวิจยั พบวา่ ๑. การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคาโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะทักษะ สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ที่มีความบกพร่องทางทักษะการเขียนสะกด มีประสิทธภิ าพ ๗๖.๓๒/๗๕.๒๐ ซง่ึ สูง กวา่ เกณฑ์ ๗๐/๗๐ ทตี่ ง้ั ไว้ ๒. สรุปผลสัมฤทธก์ิ อ่ นและหลังการใชแ้ บบฝกึ ทักษะการเขยี นสะกดคาโดยใชแ้ บบทดสอบการสร้าง คาในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางค์นคร เฉล่ยี อย่ใู นเกณฑด์ ี-ดีมาก ซึ่งเหน็ ไดจ้ าก จานวนนักเรยี นที่คะแนนหลังเรียนสูงขึน้ ทกุ คน ๖. อภิปรายผล จากการวิจัย ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการเขียนสะกดคา ของ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ พบประเด็นสาคญั ท่ีควรนามาอภปิ รายผล ดังนี้ แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคา ที่ผู้วิจัยจัดทาขึ้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ที่มีความ บกพร่องทางด้านการเขียนสะกดคา จานวน ๔ แบบฝึก มีประสิทธิภาพ ๗๖.๓๒/๗๕.๒๐ หมายถึง นกั เรยี นไดค้ ะแนนเฉลี่ย จากการทาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนท้ัง ๔ แบบฝกึ คิดเป็นร้อยละ ๗๕.๒๐ และได้คะแนนเฉล่ยี จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการเขียน คิดเป็นร้อย ละ ๗๖.๓๒ แสดงว่าการจัดกิจกรรมพฒั นาทักษะการเขียนสะกดคา ของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ที่มีความบกพร่องทางทักษะการเขียนสะกดคา โดยใช้แบบฝึกทักษะ ที่ผู้วิจัยได้จัดทาขึ้นมี ประสิทธภิ าพสงู กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน ๗๐/๗๐ ท่ไี ด้ตั้งไว้ อาจเนอ่ื งมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการ

๓๙ สอนโดยใช้แบบฝกึ ทักษะท่ีผู้วจิ ัยได้ศึกษาวธิ กี ารและขั้นตอนในการสรา้ งแบบฝึกทกั ษะ ซึ่งได้จากการ วัดประเมิน ทาการตรวจสอบ แนะนา ทาการแก้ไขข้อบกพร่อง และประเมินความถูกต้องเหมาะสม จากผู้เชี่ยวชาญ อีกทั้งยังผ่านการทดลองใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขชุดแบบฝึกทักษะให้มีความสมบูรณ์ กอ่ นที่จะนาไปใช้จริงกับกลุ่มตวั อย่าง ซ่งึ ผ้วู จิ ยั ได้จดั ทา แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคา ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ที่มีความบกพร่องทางทักษะการเขียนสะกดคา ตามแนวทางการสร้างแบบฝึก ทักษะที่จัดไวอ้ ย่างเป็นระบบ ซึ่งการทาแบบฝึกทักษะนัน้ ช่วยใหน้ ักเรยี นสามารถเข้าใจในเนื้อหาไดด้ ี ขนึ้ ส่งผลใหเ้ ขียนสะกดคาได้ถูกต้อง จดจาคาศัพท์ไดน้ านและคงทน รวมท้ังยังสามารถพัฒนาความรู้ ทักษะและเจตคติทางด้าน ต่าง ๆ ของนักเรียนให้ดีย่ิงขึ้น ซึ่งผู้วิจัยได้จัดทา แบบฝึกทักษะการเขียน สะกดคา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ที่มีความบกพร่องทางทักษะการเขียนสะกดคา ตาม แนวทางการสร้างแบบฝกึ ทกั ษะท่จี ดั ไว้อย่างเปน็ ระบบ ๗. ขอ้ เสนอแนะ ๗.๑ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ ๗.๑.๑ ในการเลอื กเนอื้ หาทน่ี ามาจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เป็นส่ิงท่ีสาคัญ ควรที่จะคานึงถึงความ เหมาะสมของเพศ วัย และระดบั ความสามารถในการเรียนของนักเรียน หากเนือ้ หาทน่ี ักเรียนมีความ สนใจ นักเรียนกจ็ ะเกิดความกระตอื รือร้นในการเรยี นรู้ทีเ่ พ่ิมมากขึ้น ๗.๑.๒ ครูผู้สอนในรายวชิ าภาษาไทยควรนาแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคา ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ท่ีมคี วามบกพร่องทักษะทางด้านการเขียนสะกดคาท่ผี ้วู จิ ัยสร้างขนึ้ ไปประกอบใช้ใน การสอน เนอื่ งจากแบบฝกึ ทกั ษะน้ีมีประสิทธภิ าพสงู กวา่ เกณฑ์ ๗๐/๗๐ ทก่ี าหนดไว้ ๗.๑.๓ ในระหว่างการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนต่า หรือนักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ ซ่ึง อาจจะไม่เข้าใจหรือมีการเรียนรู้ที่ช้ากว่าปกติ อาจจะต้องการความช่วยเหลือ ครูควรใช้เทคนิคการ เสริมแรงกระตุ้นใหน้ กั เรยี นสนใจ หรอื อธบิ ายใหน้ กั เรยี นเข้าใจชัดเจนอกี ครัง้ หนึ่ง ๗.๒ ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยครงั้ ต่อไป ๗.๒.๑ สามารถนาไปเปน็ แนวทางในการจัดทาแบบฝึกทกั ษะการเขยี นสะกด สาหรับนักเรียนท่ี มีความบกพร่องทางด้านการเขียนสะกดคา โดยนาไปทดลองใช้กับนักเรียนโรงเรียนอื่น เพื่อที่จะได้ ข้อสรปุ ผลการวจิ ัยที่กวา้ งขวางมากย่ิงขน้ึ ๗.๒.๒ ควรมีการจัดทาแบบฝึกทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในเนื้อหาที่นักเรียน เขา้ ใจยากหรือในเนื้อหาที่เป็นปัญหาต่อการเรียนการสอนในกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยของแต่ละ ระดบั ชั้น เพ่ือหาไปทดลองหาประสทิ ธิภาพ ๗.๒.๓ ควรมกี ารจดั ทาแบบฝึกทกั ษะภาษาไทย ในหนว่ ยการเรยี นรูห้ รือในระดับชน้ั อืน่ ๆ

บรรณานกุ รม

บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๕๐). หลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (พมิ พค์ ร้ังท่ี ๒). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษรแหง่ ประเทศไทย. กสุ มุ า สว่างจติ ร. (๒๕๖๐). การพฒั นาแบบฝกึ วชิ าภาษาไทยเรอ่ื งการเขยี นสะกดคาของนกั เรยี น ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ โรงเรียนบางสะนานน้อยวิทยา. การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง กศ.บ., มหาวทิ ยาลัยราชภฎั เพรชบุร,ี เพชรบรุ ี. ครเู ชยี งรายดอทเน็ต. (๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒). ความหมายของแบบฝกึ เสริมทักษะ. สบื คน้ เม่ือ ๘ สงิ หาคม ๒๕๖๔, (https://www.kruchiangrai.net/๒๐๑๙/๑๑/๑๗/). จุติตา คงดวง. (๒๕๔๙). การพฒั นาแบบฝกทกั ษะวิชาภาษาไทยเร่อื งการเขยี นสะกดคา ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๒ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสนี) ๔. สารนิพนธ กศ.ม., มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, กรงุ เทพฯ. ณชั ชา มหปญุ ญานนท์. (๒๕๕๕). การพฒั นารูปแบการประเมินโครงการในสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน. การศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตัวเอง กศ.ด., มหาวทิ ยาลัยทักษณิ , สงขรา. นรเศรษฐ์ สุวรรณอาไพ. (๒๕๕๙). การพฒั นาทกั ษะการเขียนสะกดคาโดยใช้แบบฝึกทกั ษะสาหรับ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑. วิทยานพิ นธ์ ค.ม., มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, มหาสารคาม. เบญ็ จวรรณ เสาวโค. (๒๕๕๓). การพฒั นาแบบฝึกทักษะภาษาไทย เรอื่ ง การเขียนสะกดคาตาม มาตราตวั สะกด โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ สาหรบั นักเรียนช้นั ประถม ศึกษาปที ่ี ๑. วิทยานพิ นธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลยั ราชภัฎบรุ รี ัมย,์ บุรีรัมย์ ป่นิ วดี ธนธานี. (๒๕๕๐). เอกสารประกอบการสอน“การวดั และประเมนิ ผลการศึกษา”. มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม, นครปฐม. พรธณา เจือจารย์. (๒๕๖๐). การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใชช้ ดุ ฝึกทักษะเรอื่ งการใช้ เครื่องมือโปรแกรม Microsoft Word ๒๐๑๖ วชิ าคอมพวิ เตอรใ์ นงานธรุ กิจ สาหรับ นักศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ ๓ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลัย เทคโนโลยอี รรถวทิ ย์พณิชยการ. การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ปวช., วิทยาลัย, กรงุ เทพฯ. พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. (๑๔ สงิ หาคม ๒๕๔๒). ราชกิจจานเุ บกษา. ๑๑๖ (๗๔ ก). หนา้ ๑ – ๙. พนั ธนันท์ พาป้อ. (๒๕๖๒). การพฒั นาทักษะการเขียนสะกดคาของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการเขยี นสะกดคา. วารสารสหวทิ ยาการมนุษยศาสตร์และ สงั คมศาสตร,์ ๒(๑), ๒๕.

๔๒ พิชติ ฤทธิจ์ รญู . (๒๕๕๒). หลกั การวดั และประเมนิ ผลการศึกษา (พิมพค์ ร้งั ที่ ๕). กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เคอรม์ สิ ท์. มยรุ ี สนเจรญิ . (ม.ป.ป). การสะกดคา. สบื ค้นเมอื่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ (https://mayuree๒๐๑๖.wordpress.com /). วรรณี โสมประยูร. (๒๕๒๖). การสอนภาษาไทยหน่วยท่ี ๑ – ๘ (พมิ พครง้ั ที่ ๓). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. วชริ าภรณ์ ชาน.ิ (๒๕๕๕). ผลของการใชแ้ บบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการแก้ไขปัญหาทาง คณติ ศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์สมการของนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑. สารนพิ นธ์ กศ.ม., กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. วลี สมุ ิพนั ธ์. (๒๕๓๐) การเปรยี บเทียบความสามารถในการเขยี นเรียงความของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑. วิทยานพิ นธ์ ค.ม., กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรนี ครวโิ รฒ. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน.์ (๒๕๕๒). นวัตกรรมการเรยี นร้ภู าษาไทย. ประสานการพมิ พ์: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. สมพงษ์ ศรีพยาด. (๒๕๕๓). การพัฒนาชุดแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคาสาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษา ปที ี่ ๖. วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรงุ เทพฯ. สราวดี เพง็ ศรโี คตร. (๒๕๓๙). การสรางแบบฝกการเขียนสะกดคา ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษา ปท่ี ๑. ปริญญานิพนธ กศ.ม., มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, กรุงเทพฯ. สุธะนะ พามนตรี. (ม.ป.ป). ความสาคัญของภาษาไทย. สืบค้นเมือ่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๔ (https://www.classstart.org/classes/๔๑๓๑) สุรางค์ โคว้ ตระกูล. (๒๕๕๙). จิตวทิ ยาการศกึ ษา (พิมพ์คร้ังที่ ๑๒). กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สนุ ยี แกวของแกว. (๒๕๔๘). การพฒั นาทกั ษะการเขยี นสะกดคาทีม่ ตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตรา ของนักเรยี นที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ โดยใชแบบฝกการ ประสมอกั ษร. สารนิพนธ์ กศ.ม., มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ. อมรรตั น คงสมบรู ณ. (๒๕๓๖). การเปรียบเทียบความสามารถและความสนใจในการเขียนสะกด คายากภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ท่ีสอนโดยใชเกมและแบบฝก. ปรญิ ญานิพนธ กศ.ม., มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, กรงุ เทพฯ อรพรรณ ภิญโญภาพ. (๒๕๓๙). การศกึ ษาผลสัมฤทธก์ิ ารเขยี นสะกดคายากแบบทกั ษสมั พนั ธ์ ของ นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรยี นในแหล่งเสอื่ มโทรมคลองเตย กรุงเทพมหานคร. การศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตัวเอง (รายงานการวจิ ยั ) กศ.ม., มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook