ก ประกาศ เรื่อง การกาหนดคา่ เป้าหมายการพฒั นาตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั และระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นซับจาปา สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ข ประกาศโรงเรียนบ้านซับจาปา เรือ่ ง การใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวยั และระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเรอื่ งใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 กาหนดให้ สถานศึกษาต้องดาเนนิ การกาหนดมาตรฐาน และค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อให้ บคุ ลากรและผเู้ กี่ยวขอ้ งใช้เป็นกรอบดาเนนิ งาน วางแผนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา อาศัยอานาจตามความในพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔๒ และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้กาหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศกึ ษาใหย้ ึดหลัก สาคัญข้อหนึ่ง คือมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศึกษา โดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอานาจหน้าที่กากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาและมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มี ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ ือว่าการประกันคณุ ภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร การศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดย มีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง และเปดิ เผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อ การรองรบั การประกันคุณภาพภายนอก โรงเรียนบ้านซับจาปาจึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน เพอื่ ใชเ้ ปน็ หลกั ในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสรมิ และกำกบั ดูแลในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาการ ตรวจสอบการประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านซับจาปาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษาทกี่ าหนดตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้ ประกาศ ณ วันท่ี ๒๙ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายประดษิ ฐ หนคู า) (นายนิติศกั ดิ์ กล่ินเทศ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านซับจาปา โรงเรยี นบา้ นซับจาปา
ค ประกาศโรงเรียนบ้านซับจาปา เรือ่ ง การกาหนดมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา โดยท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรอ่ื งใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เมื่อวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 กาหนดให้ สถานศกึ ษาต้องดาเนินการกาหนดมาตรฐาน และค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือให้ บคุ ลากรและผเู้ ก่ียวข้องใชเ้ ป็นกรอบดาเนินงาน วางแผนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา โรงเรียนบ้านซับจาปาจึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน ของสถานศึกษาดงั นี้ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั มจี านวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคญั มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน มจี านวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น ๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ประกาศ ณ วันท่ี ๒๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายนติ ศิ กั ด์ิ กล่ินเทศ) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านซบั จาปา
ง ประกาศโรงเรียนบา้ นซบั จาปา เร่ือง การกาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาปฐมวัย เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตามท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเร่ืองให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ เม่ือวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 รวมท้ัง ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เรื่อง แนวปฏิบัติการดาเนินงานประกันคุณภาพ การศกึ ษา ระดับขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. 2561 แล้วนั้น เพือ่ ใหก้ ารดาเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านซับจาปาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนบ้านซับจาปาจึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย และกาหนดค่าเป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้อง เพ่ือนาไปสู่การพัฒนา คุณภาพมาตรฐานการศึกษา การประเมนิ คณุ ภาพภายใน และเพือ่ รองรับการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านซับจาปา มีคุณภาพและได้ มาตรฐานจึงกาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อเป็น เป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และการประเมินคุณภาพภายใน ประจาปีการศกึ ษา 256๓ ดังนี้ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ เด็กเปน็ สาคัญ ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายนติ ิศักดิ์ กล่ินเทศ) ผูอ้ านวยการโรงเรียนบา้ นซบั จาปา
จ แนบทา้ ยประกาศ โรงเรยี นบา้ นซับจาปา ประกาศโรงเรียนบ้านซบั จาปา เร่ือง การกาหนดค่าเปา้ หมายการพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตามที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรื่องให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 รวมทั้ง ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เร่ือง แนวปฏิบัติการดาเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ระดบั ข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2561 แลว้ นั้น เพื่อให้การดาเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านซับจาปาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนบ้านซับจาปาจึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกาหนดค่าเป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และการมีส่วนรว่ มของผู้เกี่ยวข้อง เพ่อื นาไปสู่การ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา การประเมินคณุ ภาพภายใน และเพอ่ื รองรบั การประเมินคุณภาพภายนอก เพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านซับจาปา มีคุณภาพและได้ มาตรฐานจึงกาหนดคา่ เป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการประเมิน คณุ ภาพภายใน ประจาปีการศึกษา 256๓ ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รยี น ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายนิตศิ กั ดิ์ กล่ินเทศ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านซับจาปา
ฉ แนบทา้ ยประกาศ โรงเรยี นบา้ นซับจาปา การกาหนดคา่ เปา้ หมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย เพือ่ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรยี นซับจาปา ประกอบด้วย มาตรฐานการศึกษา ๓ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบง่ ชี้ ดังนี้ มาตรฐานการศกึ ษา ค่าเป้าหมาย ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสขุ นิสัยทด่ี ี และดูแลความปลอดภยั ของตนได้ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๓ มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสังคม ดีเลศิ ดีเลศิ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๔ มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิดพ้ืนฐานและแสวงหาความรู้ได้ ดีเลศิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลิศ ตัวบ่งชท้ี ี่ 1 มหี ลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถนิ่ ดีเลิศ ดีเลิศ ตัวบง่ ช้ที ่ี 2 จัดครใู หเ้ พียงพอกบั ช้ันเรียน ดเี ลิศ ดเี ลิศ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเชย่ี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ดีเลิศ ตัวบง่ ชี้ที่ ๔ จัดสภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพือ่ การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ ดเี ลิศ ตวั บ่งช้ีที่ ๕ ใหบ้ ริการสอ่ื เทคโนโลยแี ละสือ่ การเรียนรู้เพ่ือสนบั สนุนการจัดประสบการณ์สาหรบั ครู ตวั บ่งชีท้ ่ี ๖ มรี ะบบบริหารคุณภาพที่เปดิ โอกาสให้ผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นเดก็ เปน็ สาคัญ ตัวบ่งชี้ท่ี 1 จดั ประสบการณท์ สี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ ตัวบง่ ชีท้ ่ี 2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ัติอย่างมีความสขุ ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3 จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ใชส้ ่ือ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วัย ตวั บ่งชี้ที่ 4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพฒั นาการเด็กไป ปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
ช มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพอื่ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรยี น บา้ นซบั จาปา ประกอบด้วย มาตรฐานการศกึ ษา ๓ มาตรฐาน ๒๑ ตวั บง่ ช้ี ดังนี้ มาตรฐานการศกึ ษา ค่าเปา้ หมาย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดีเลิศ ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รียน ดี ตัวบง่ ชที้ ่ี 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ ดี ตวั บ่งชท้ี ่ี ๒ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณอภปิ รายแลกเปล่ยี นความ ดี คิดเห็นและแก้ปัญหา ตัวบง่ ชี้ที่ ๓ มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดี ตัวบง่ ชี้ท่ี ๔ มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ดี ตวั บง่ ชที้ ่ี ๕ มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ดี ตัวบง่ ชี้ท่ี ๖ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีต่องานอาชพี ดเี ลิศ ๑.๒ คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน ดีเลศิ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑ การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามสถานศึกษากาหนด ดเี ลศิ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๒ ความภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ดีเลิศ ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓ การยอมรบั ทีจ่ ะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดีเลิศ ตัวบง่ ชที้ ี่ ๔ สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สงั คม ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึ ษา ดเี ลิศ ตัวบ่งช้ที ี่ 1 มเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนด ดเี ลิศ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ดเี ลิศ ตวั บง่ ชี้ที่ ๓ ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่เี น้นคณุ ภาพผ้เู รียนรอบด้านหลักสตู รสถานศึกษาและทุก ดเี ลิศ ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ตวั บง่ ชี้ท่ี ๔ พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพกลุ่มเป้าหมาย ดเี ลิศ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้ือตอ่ การจัดการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ ดีเลิศ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการจดั การเรยี นรู้ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ดีเลศิ ตวั บ่งชี้ท่ี 1 จัดการเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ดีเลศิ ชวี ิตได้ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2 ใช้สื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู เี่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้ ดเี ลิศ
ซ มาตรฐานการศึกษา ค่าเป้าหมาย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ (ตอ่ ) ดีเลศิ ตวั บง่ ช้ีท่ี 3 มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชิงบวก ดีเลิศ ตัวบ่งชี้ท่ี 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รียน ดเี ลศิ ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การ ดเี ลิศ เรยี นรู้
1 การประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นซบั จาปา การพัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั และระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานเพ่ือการประกนั คณุ ภาพ ภายในของโรงเรยี นบา้ นซับจาปา มแี นวคิดวา่ ต้องเปน็ มาตรฐานทส่ี ถานศึกษาปฏบิ ัติได้ ประเมินไดจ้ ริง กระชบั และจานวนน้อย แต่สามารถ สะทอ้ นคุณภาพการศกึ ษาได้จริง ข้อมูลที่ไดเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการพฒั นาการศึกษา ทุกระดับ ตง้ั แตส่ ถานศกึ ษาระดบั มาตรฐาน ระดบั ตัวบ่งช้ี การกาหนดมาตรฐานเนน้ ทีค่ ุณภาพผู้เรียน คณุ ภาพ ครู คุณภาพผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และคุณภาพของสถานศึกษาใหม้ ีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานเพ่อื การ ประเมนิ คุณภาพภายนอก ตามท่ไี ด้กาหนดไวใ้ นกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์และวิธีการประกัน คณุ ภาพการศึก พ.ศ. 25๖๑ โดยไดก้ าหนดมาตรฐานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ไว้ดงั น้ี มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั มีจานวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ เด็กเปน็ สาคัญ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มจี านวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรียน ๑.๒ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ เกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นซบั จาปา กาหนดคา่ เป้าหมายแตล่ ะมาตรฐาน จะกาหนดเป็นระดับคุณภาพ ๕ ระดับ เพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั การ ประเมิน ดังน้ี มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ร้อยละ ระดบั คณุ ภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเย่ียม ๘0 – ๘9 ดีเลศิ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลังพฒั นา
2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั ปรมิ าณ ระดบั คณุ ภาพ ระดับ 5 ยอดเย่ยี ม ระดบั 4 ดเี ลศิ ระดับ 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดบั 1 กาลงั พฒั นา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นเดก็ เป็นสาคญั ระดับปรมิ าณ ระดบั คุณภาพ ระดบั 5 ยอดเยย่ี ม ระดบั 4 ดีเลิศ ระดบั 3 ดี ระดบั 2 ปานกลาง ระดับ 1 กาลงั พฒั นา มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเย่ยี ม ๘0 – ๘9 ดีเลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลังพฒั นา
3 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดบั ปริมาณ ระดับคุณภาพ ระดบั 5 ยอดเยย่ี ม ระดับ 4 ดเี ลศิ ระดบั 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดบั 1 กาลงั พฒั นา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นเดก็ เปน็ สาคัญ ระดบั ปรมิ าณ ระดบั คณุ ภาพ ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ระดับ 4 ดีเลิศ ระดบั 3 ดี ระดบั 2 ปานกลาง ระดับ 1 กาลงั พัฒนา สรปุ คอื เกณฑ์การประเมินคุณภาพของมาตรฐานการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ทั้งมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ในมาตรฐานท่ี 1 จะพจิ ารณาเป็นคา่ รอ้ ยละแต่ละตวั บ่งชี้ แลว้ นามาหาคา่ เฉลยี่ แล้วจงึ แปลผลตามเกณฑ์ระดบั คุณภาพ สว่ นมาตรฐานที่ 2-3 น้นั จะพจิ ารณาที่ จานวนข้อทสี่ ถานศกึ ษาดาเนินการได้ในระดบั ของแต่ละตัวบง่ ช้ซี ง่ึ จะได้ผลลัพธ์ของคะแนนและระดับคุณภาพ ของตวั บ่งชน้ี ัน้ ๆ ตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยมีรายละเอยี ดการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั และ ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ดังน้ี
4 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ คาอธิบาย เดก็ ต้องพัฒนาตนเองให้ร่างกายแขง็ แรง มีสขุ นสิ ัยทดี่ ี ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ พฒั นาตนเอง ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ พัฒนาตนเองด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง เปน็ สมาชกิ ที่ดขี องสังคม และพัฒนาตนเองดา้ นสตปิ ญั ญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพืน้ ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑ มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ คาอธิบาย เดก็ มนี ้าหนักส่วนสงู ตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามัย สามารถเคล่ือนไหวร่างกายอย่าง คล่องแคล่ว ทรงตัวไดด้ ี ใช้มือและตาประสานสัมพนั ธ์ไดด้ ตี ามวยั ดูแลรกั ษาสุขภาพอนามยั สว่ นตนและปฏิบัติ จนเป็นนิสัย ปฏบิ ัติตนตามข้อตกลงเกยี่ วกับการรักษาความปลอดภัย หลีกเลยี่ งสภาวะเสี่ยงตอ่ โรค สง่ิ เสพตดิ และระวงั ภยั จากบุคคล สิง่ แวดล้อมและสถานการณท์ ่ีเส่ยี งอันตรายได้ เกณฑ์การพิจารณา ๑) รอ้ ยละของเด็กที่มนี า้ หนักสว่ นสูงตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามยั ๒) ร้อยละของเด็กทุกคนทส่ี ามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายอยา่ งคล่องแคลว่ ทรงตวั ได้ดี ใช้มือและตา ประสานสมั พนั ธ์ได้ดตี ามวัย อยู่ในระดับ ๒ ขึ้นไป ๓) ร้อยละของเด็กทุกคนท่ีดแู ลรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตนและปฏบิ ัติจนเป็นนสิ ัย ๔) ร้อยละของเด็กที่ปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลงเกย่ี วกบั การรักษาความปลอดภัย ๕) ร้อยละของเด็กท่ีหลีกเลีย่ งสภาวะเส่ยี งตอ่ โรค สง่ิ เสพติด และระวังภัยจากบุคคล สงิ่ แวดล้อมและ สถานการณ์ท่ีเส่ียงอนั ตราย อย่ใู นระดับ ๓ วิธกี ารคานวณ: คานวณหาร้อยละของเด็กที่มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และ ดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ จากประเดน็ ต่อไปนี้ ๑) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทม่ี นี ้าหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั = จานวนเด็กทม่ี ีน้าหนักส่วนสงู ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั ๑๐๐ จานวนเด็กทัง้ หมด ๒) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทุกคนทส่ี ามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว ทรงตัวไดด้ ี ใชม้ อื และตาประสานสัมพนั ธ์ได้ดีตามวยั อยู่ในระดับ ๒ ขึน้ ไป
5 จานวนเด็กทุกคนทสี่ ามารถเคลอื่ นไหวรา่ งกายอยา่ งคลอ่ งแคล่ว = ทรงตัวไดด้ ี ใชม้ ือและตาประสานสมั พันธไ์ ดด้ ตี ามวัย อยใู่ นระดับ ๒ ขน้ึ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ท้ังหมด ๓) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทุกคนทด่ี ูแลรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตนและปฏิบัติจนเปน็ นสิ ยั = จานวนเด็กทกุ คนทดี่ ูแลรักษาสขุ ภาพอนามยั สว่ นตนและปฏิบตั ิจนเปน็ นิสัย ๑๐๐ จานวนเด็กทั้งหมด ๔) คานวณหาร้อยละของเด็กทปี่ ฏบิ ัติตนตามข้อตกลงเก่ยี วกบั การรักษาความปลอดภัย = จานวนเดก็ ทุกคนทป่ี ฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลงเก่ียวกับการรกั ษาความปลอดภัย ๑๐๐ จานวนเดก็ ทั้งหมด ๕) คานวณหาร้อยละของเด็กทหี่ ลีกเล่ยี งสภาวะเส่ียงตอ่ โรค สิ่งเสพตดิ และระวังภัยจากบุคคล ส่งิ แวดล้อมและสถานการณ์ท่ีเสี่ยงอนั ตราย อยู่ในระดบั ๓ จานวนเด็กทุกคนที่หลกี เลยี่ งสภาวะเส่ียงตอ่ โรค ส่ิงเสพติด และระวังภยั จากบคุ คล = ส่ิงแวดลอ้ ม และสถานการณ์ท่ีเสย่ี งอนั ตราย อยใู่ นระดบั ๓ ๑๐๐ จานวนเด็กท้งั หมด
6 สรปุ การหาคานวณหารอ้ ยละของเด็กทม่ี ีพัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ัยทด่ี ี และ ดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ รอ้ ยละของเด็ก ๑) + ร้อยละของเดก็ ๒) + ร้อยละของเด็ก ๓) + ร้อยละของเด็ก ๔) + ร้อยละของเดก็ ๕) =๕ เกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ระดับคณุ ภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเย่ียม ๘0 – ๘9 ดเี ลศิ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลงั พัฒนา แหล่งข้อมูล / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) สมุดบนั ทึกพฒั นาการนักเรยี น (อบ.๐๒) ๒) แบบรายงานประจาตวั นกั เรียนระดบั ปฐมวยั (อบ.๐๑) ๓) รายงานโครงการพฒั นาการจัดการศกึ ษาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชท้ี ่ี ๒ มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ คาอธิบาย เด็กตอ้ งร่าเริงแจม่ ใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้อยา่ งเหมาะสม รู้จกั ยับยั้งชงั่ ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผูอ้ ื่น มจี ิตสานึกและคา่ นิยมทด่ี ี มีความม่นั ใจ กลา้ พดู กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบง่ ปนั เคารพสทิ ธิ รู้หน้าท่ีรับผิดชอบ อดทนอดกลัน้ ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามที่สถานศึกษากาหนด ชื่นชมและมีความสุขกบั ศลิ ปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว เกณฑ์การพจิ ารณา ๑) รอ้ ยละของเด็กทุกคน รา่ เรงิ แจม่ ใส แสดงอารมณ์ความร้สู ึกไดอ้ ย่างเหมาะสม อยู่ในระดับ ๓ ๒) ร้อยละของเด็กทุกคน รจู้ ักยับยงั้ ชงั่ ใจ อดทนในการรอคอย อย่ใู นระดับ 2 ข้นึ ไป
7 ๓) ร้อยละของเด็กทุกคน ยอมรบั และพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผอู้ ื่น มี จิตสานึกและค่านิยมที่ดี อยู่ในระดบั 2 ข้ึนไป ๔) รอ้ ยละของเด็กทุกคน มีความมนั่ ใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ชว่ ยเหลือแบ่งปัน อยู่ในระดบั 2 ข้ึน ไป ๕) ร้อยละของเด็กทุกคน เคารพสทิ ธิ รู้หนา้ ท่รี ับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน ซ่ือสัตย์สจุ ริต อยใู่ นระดับ 2 ขึน้ ไป ๖) ร้อยละของเด็กทุกคน มีคุณธรรม จริยธรรมตามที่สถานศึกษากาหนด ๗) ร้อยละของเด็กทุกคน ชื่นชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว อยูใ่ นระดบั 2 ขึน้ ไป วธิ กี ารคานวณ: คานวณหาร้อยละของเด็กท่ีมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและ แสดงออกทางอารมณ์ได้ จากประเด็นต่อไปน้ี ๑) คานวณหาร้อยละของเด็กทกุ คน ร่าเริงแจม่ ใส แสดงอารมณ์ความรสู้ กึ ได้อยา่ งเหมาะสม อย่ใู น ระดับ ๓ = จานวนเดก็ ทกุ คนท่ีร่าเริงแจม่ ใส แสดงอารมณ์ความรูส้ ึกไดอ้ ย่างเหมาะสม อยใู่ นระดบั ๓ ๑๐๐ จานวนเดก็ ทั้งหมด ๒) คานวณหาร้อยละของเด็กทกุ คน ร้จู กั ยับยั้งช่งั ใจ อดทนในการรอคอย อยใู่ นระดับ 2 ข้นึ ไป = จานวนเดก็ ทุกคนที่ร้จู ักยบั ยงั้ ชัง่ ใจ อดทนในการรอคอย อยใู่ นระดับ ๒ ขนึ้ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ทงั้ หมด ๓) คานวณรอ้ ยละของเด็กทกุ คน ยอมรบั และพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสานกึ และค่านิยมที่ดี อยู่ในระดับ 2 ขน้ึ ไป จานวนเดก็ ทุกคนทย่ี อมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผูอ้ ่ืน = มีจติ สานึกและคา่ นยิ มที่ดี อยใู่ นระดบั ๒ ขนึ้ ไป ๑๐๐ จานวนเด็กทัง้ หมด
8 ๔) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน มีความมั่นใจ กลา้ พดู กล้าแสดงออก ชว่ ยเหลอื แบ่งปัน อยู่ใน ระดับ 2 ข้ึนไป จานวนเด็กทุกคนที่มคี วามม่ันใจ กลา้ พูด กลา้ แสดงออก ช่วยเหลือแบง่ ปนั = อย่ใู นระดับ ๒ ขึ้นไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ทั้งหมด ๕) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทุกคน เคารพสิทธิ รู้หนา้ ทรี่ บั ผิดชอบ อดทนอดกลัน้ ซื่อสตั ยส์ ุจริต อยู่ ในระดับ2 ขึ้นไป จานวนเดก็ ทุกคนทเ่ี คารพสทิ ธิ รู้หน้าท่ีรบั ผดิ ชอบ อดทนอดกลน้ั ซ่อื สัตย์สจุ รติ = อยู่ในระดบั ๒ ขน้ึ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ทั้งหมด ๖) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน มีคณุ ธรรม จริยธรรมตามท่สี ถานศึกษากาหนด = จานวนเด็กทกุ คนท่ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรมตามทสี่ ถานศึกษากาหนด ๑๐๐ จานวนเด็กทัง้ หมด ๗) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน ชนื่ ชมและมีความสุขกับศลิ ปะ ดนตรี การเคล่ือนไหว อย่ใู น ระดับ 2 ขน้ึ ไป = จานวนเดก็ ทกุ คนท่ชี ่ืนชมและมคี วามสุขกบั ศิลปะ ดนตรี การเคลอ่ื นไหว อยู่ในระดับ ๒ ข้นึ ๑๐๐ จานวนเด็กท้ังหมด
9 สรุป การหาคานวณหาร้อยละของเด็กทมี่ ีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและ แสดงออกทางอารมณ์ได้ รอ้ ยละของเด็ก ๑) + รอ้ ยละของเด็ก ๒) + รอ้ ยละของเด็ก ๓) + ร้อยละของเด็ก ๔) = +รอ้ ยละของเดก็ ๕) + รอ้ ยละของเด็ก ๖) + รอ้ ยละของเดก็ ๗) ๗ เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ระดับคุณภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยี่ยม ๘0 – ๘9 ดเี ลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลังพัฒนา แหล่งข้อมูล / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) สมุดบนั ทึกพฒั นาการนักเรยี น (อบ.๐๒) ๒) แบบรายงานประจาตัวนกั เรียนระดบั ปฐมวยั (อบ.๐๑) ๓) รายงานโครงการพัฒนาการจัดการศกึ ษาเด็กปฐมวยั ตวั บ่งช้ที ่ี ๓ มพี ฒั นาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของสังคม คาอธิบาย เด็กต้องช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาวัน มีวนิ ัยในตนเอง ประหยัดและพอเพยี ง มสี ว่ นรว่ มดูแลรักส่ิงแวดล้อมในและนอกหอ้ งเรยี น มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทกั ทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ยอมรบั หรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคดิ พฤติกรรม พื้นฐาน ครอบครวั เช่ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เลน่ และทางานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไขขอ้ ขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้ ความรนุ แรง
10 เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๑) ร้อยละของเด็กทุกคน ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกจิ วตั รประจาวัน มีวินยั ในตนเอง ประหยดั และพอเพยี ง อยูใ่ นระดับ 2 ขึน้ ไป ๒) รอ้ ยละของเด็กทุกคน มีส่วนรว่ มดูแลรักสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน อยู่ในระดบั 3 ๓) ร้อยละของเด็กทุกคน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เชน่ การไหว้ การยม้ิ ทักทาย และมสี มั มา คารวะกับผ้ใู หญ่ อยูใ่ นระดับ 2 ข้นึ ไป ๔) รอ้ ยละของเด็กทุกคน ยอมรับหรอื เคารพความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล เชน่ ความคิด พฤติกรรม พน้ื ฐานครอบครัว เชื่อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม อย่ใู นระดบั 2 ขนึ้ ไป ๕) ร้อยละของเด็กทุกคน เล่นและทางานร่วมกับผู้อน่ื ได้ อยู่ในระดบั 2 ขน้ึ ไป ๖) รอ้ ยละของเด็กทุกคน แก้ไขขอ้ ขัดแยง้ โดยปราศจากการใช้ความรนุ แรง อยู่ในระดบั 2 ข้ึนไป วิธีการคานวณ: คานวณหาร้อยละของเด็กท่ีมพี ฒั นาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทดี่ ีของสังคม จากประเด็นต่อไปนี้ ๑) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทุกคน ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบตั กิ ิจวตั รประจาวัน มีวนิ ัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง อยูใ่ นระดบั 2 ขนึ้ ไป จานวนเดก็ ทกุ คนท่ีช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจาวัน มีวินยั ในตนเอง = ประหยัดและพอเพียง อยูใ่ นระดับ ๒ ขึน้ ไป ๑๐๐ จานวนเด็กท้ังหมด ๒) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน มีส่วนรว่ มดูแลรกั ส่งิ แวดลอ้ มในและนอกหอ้ งเรียน อยู่ในระดบั 3 = จานวนเด็กทกุ คนที่มสี ว่ นร่วมดูแลรักสิง่ แวดลอ้ มในและนอกห้องเรยี น อยู่ในระดบั ๓ ๑๐๐ จานวนเดก็ ท้ังหมด ๓) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย เชน่ การไหว้ การยมิ้ ทักทาย และ มีสมั มาคารวะกบั ผู้ใหญ่ อยใู่ นระดับ 2 ข้นึ ไป จานวนเดก็ ทกุ คนท่มี มี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทกั ทาย = และมสี ัมมาคารวะกบั ผ้ใู หญ่ อย่ใู นระดับ ๒ ขึน้ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ท้งั หมด
11 ๔) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน ยอมรับหรอื เคารพความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เช่น ความคดิ พฤติกรรม พ้ืนฐานครอบครัว เชอ่ื ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม อยู่ในระดับ 2 ข้ึนไป จานวนเด็กทกุ คนทยี่ อมรับหรอื เคารพความแตกต่างระหว่างบคุ คล เช่น ความคิด พฤตกิ รรม = พนื้ ฐานครอบครวั เช่ือชาติ ศาสนา วฒั นธรรมอยู่ในระดับ ๒ ขนึ้ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ท้ังหมด ๕) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน เลน่ และทางานร่วมกบั ผูอ้ นื่ ได้ อยู่ในระดับ 2 ขน้ึ ไป = จานวนเดก็ ทกุ คนท่ีเลน่ และทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้ อยู่ในระดบั ๒ ขนึ้ ไป ๑๐๐ จานวนเด็กท้ังหมด ๖) คานวณหาร้อยละของเด็กทกุ คน แก้ไขข้อขัดแยง้ โดยปราศจากการใชค้ วามรุนแรง อยูใ่ นระดบั 2 ขึ้นไป จานวนเด็กทกุ คนทแี่ ก้ไขขอ้ ขดั แย้ง โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง = อยู่ใน ระดับ ๒ ข้นึ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ทั้งหมด สรปุ การหาคานวณหาร้อยละของเด็กทม่ี ีพัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็น สมาชกิ ทีด่ ขี องสังคม รอ้ ยละของเดก็ ๑) + รอ้ ยละของเด็ก ๒) + รอ้ ยละของเด็ก ๓) = +ร้อยละของเดก็ ๔) + รอ้ ยละของเด็ก ๕) + ร้อยละของเดก็ ๖) ๖
12 เกณฑก์ ารประเมิน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเย่ียม ๘0 – ๘9 ดเี ลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลงั พัฒนา แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑) สมุดบนั ทกึ พัฒนาการนักเรียน (อบ.๐๒) ๒) แบบรายงานประจาตวั นกั เรยี นระดบั ปฐมวยั (อบ.๐๑) ๓) รายงานโครงการพฒั นาการจดั การศึกษาเด็กปฐมวยั ตัวบ่งช้ที ี่ ๔ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ส่ือสารได้มที ักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้ คาอธบิ าย เด็กต้องสนทนาโต้ตอบและเล่าเรอ่ื งใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจ ตั้งคาถามในส่งิ ท่ตี นเองสนใจหรอื สงสัย และ พยายามค้นหาคาตอบ ความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชงิ มเี หตุผลทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ เชน่ กจิ กรรมบ้านวทิ ยาศาสตร์น้อย กจิ กรรมจัดประสบการณ์ตามท่ีสถานศึกษากาหนด การคิดแกป้ ญั หาและสามารถตัดสินใจในเร่อื งงา่ ยๆ ได้ สรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความคดิ และจินตนาการ เช่น งานศลิ ปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอสิ ระ ใชส้ ื่อเทคโนโลยเี ปน็ เคร่อื งมือในการเรียนรู้และแสวงหา ความรู้ เช่น แวน่ ขยาย แมเ่ หล็ก กลอ้ งดิจิตอล เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๑) ร้อยละของเด็กทุกคน สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอ่ื งให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจ อยู่ในระดับ ๒ ขนึ้ ไป ๒) รอ้ ยละของเด็กทุกคน ตัง้ คาถามในสงิ่ ทตี่ นเองสนใจหรือสงสยั และพยายามค้นหาคาตอบ อยู่ใน ระดับ ๒ ขนึ้ ไป ๓) ร้อยละของเด็กทุกคน ความสามารถในการคิดรวบยอด การคดิ เชงิ มีเหตุผลทางคณิตศาสตรแ์ ละ วิทยาศาสตร์ เชน่ กิจกรรมบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ ้อย กิจกรรมจัดประสบการณต์ ามทีส่ ถานศึกษากาหนด อยู่ใน ระดับ ๒ ขน้ึ ไป ๔) รอ้ ยละของเด็กทุกคน การคิดแก้ปัญหาและสามารถตดั สินใจในเร่ืองง่ายๆ ได้ อยู่ในระดับ ๒ ขึน้ ไป
13 ๕) รอ้ ยละของเด็กทุกคน สรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความคิดและจนิ ตนาการ เช่น งานศิลปะ การ เคลื่อนไหวทา่ ทาง การเลน่ อิสระ อยใู่ นระดับ ๒ ข้นึ ไป ๖) รอ้ ยละของเด็กทุกคน ใชส้ ่ือเทคโนโลยเี ปน็ เคร่ืองมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ เช่น แว่น ขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล อยู่ในระดบั ๒ ขนึ้ ไป วิธกี ารคานวณ: คานวณหาร้อยละของเด็กท่ีมพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญา สือ่ สารได้มที ักษะการคิด พน้ื ฐานและแสวงหาความรู้ได้ จากประเดน็ ต่อไปนี้ ๑) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทุกคน สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอื่ งใหผ้ อู้ ่นื เข้าใจ อยู่ในระดับ ๒ ขึ้นไป = จานวนเดก็ ทกุ คน สนทนาโตต้ อบและเล่าเรื่องใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ อย่ใู นระดับ ๒ ขน้ึ ไป ๑๐๐ จานวนเด็กทงั้ หมด ๒) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน ตัง้ คาถามในสิ่งท่ีตนเองสนใจหรอื สงสัย และพยายามคน้ หา คาตอบ อยูใ่ นระดบั ๒ ขึ้นไป จานวนเด็กทุกคนทีต่ ง้ั คาถามในสิ่งท่ีตนเองสนใจหรอื สงสยั และพยายามคน้ หาคาตอบ = อยูใ่ นระดบั ๒ ข้ึนไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ท้ังหมด ๓) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทุกคน ความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงมีเหตผุ ลทาง คณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ เชน่ กิจกรรมบ้านวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย กจิ กรรมจัดประสบการณ์ ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด อยู่ในระดบั ๒ ข้นึ ไป จานวนเดก็ ทุกคนที่มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคดิ เชงิ มีเหตุผลทาง คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ เชน่ กจิ กรรมบ้านวิทยาศาสตรน์ ้อย = กจิ กรรมจัดประสบการณ์ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด อยู่ในระดับ ๒ ข้นึ ไป ๑๐๐ จานวนเด็กทงั้ หมด
14 ๔) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทกุ คน การคิดแกป้ ญั หาและสามารถตัดสนิ ใจในเร่ืองงา่ ยๆ ได้ อยใู่ น ระดบั ๒ ขึน้ ไป จานวนเดก็ ทกุ คนทม่ี ีการคิดแก้ปญั หาและสามารถตดั สนิ ใจในเรอ่ื งงา่ ยๆ ได้ = อยูใ่ นระดับ ๒ ขึน้ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ทง้ั หมด ๕) คานวณหาร้อยละของเด็กทกุ คน สร้างสรรคผ์ ลงานตามความคดิ และจินตนาการ เช่น งานศลิ ปะ การเคลอื่ นไหวทา่ ทาง การเล่นอิสระ อยู่ในระดับ ๒ ขนึ้ ไป จานวนเดก็ ทุกคนทสี่ ร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศลิ ปะ = การเคลอ่ื นไหวทา่ ทาง การเลน่ อสิ ระ อย่ใู นระดับ ๒ ขึน้ ไป ๑๐๐ จานวนเดก็ ทั้งหมด ๖) คานวณหารอ้ ยละของเด็กทุกคน ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีเป็นเครอ่ื งมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ เช่น แวน่ ขยาย แม่เหล็ก กลอ้ งดิจติ อล อยูใ่ นระดับ ๒ ขนึ้ ไป จานวนเด็กทุกคนท่ีใชส้ ่อื เทคโนโลยเี ป็นเครื่องมือในการเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ = เชน่ แว่นขยาย แมเ่ หล็ก กล้องดิจิตอล อยู่ใน ระดับ ๒ ข้นึ ไป ๑๐๐ จานวนเด็กท้งั หมด สรุป การหาคานวณหารอ้ ยละของเด็กทมี่ ีพัฒนาการด้านสติปัญญา สอ่ื สารได้มที ักษะการคดิ พืน้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ รอ้ ยละของเดก็ ๑) + รอ้ ยละของเดก็ ๒) + ร้อยละของเด็ก ๓) = +ร้อยละของเด็ก ๔) + ร้อยละของเด็ก ๕) + ร้อยละของเดก็ ๖) ๖
15 เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ระดับคุณภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยี่ยม ๘0 – ๘9 ดเี ลศิ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลังพัฒนา แหล่งข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมลู ๑) สมดุ บนั ทกึ พฒั นาการนักเรยี น (อบ.๐๒) ๒) แบบรายงานประจาตัวนักเรยี นระดบั ปฐมวัย (อบ.๐๑) ๓) รายงานโครงการพฒั นาการจัดการศึกษาเด็กปฐมวยั ๔) รายงานโครงการบ้านวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย
16 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ คาอธิบาย เป็นการบริหารจัดการศกึ ษาของเด็กปฐมวยั ให้มีหลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคลอ้ ง กับบรบิ ทของท้องถ่ิน จดั ครูใหเ้ พยี งพอกับชนั้ เรยี น สง่ เสริมให้ครมู ีความเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ จดั สภาพแวดล้อมและสอื่ เพ่ือการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ ให้บรกิ ารสื่อ เทคโนโลยีสานสนเทศ และ สื่อการเรียนรเู้ พ่อื สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ มรี ะบบบริหารคุณภาพทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมี สว่ นร่วม ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑ มีหลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการท้งั ๔ ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของทอ้ งถ่ิน คาอธบิ าย โรงเรยี นมกี ารประเมิน และพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาทย่ี ืดหยุ่น สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศึกษา ปฐมวัย และบรบิ ทของท้องถิ่น การออกแบบการจดั ประสบการณท์ สี่ อดคล้องกับหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทีห่ ลากหลายสอดคล้องกับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล และ สอดคลอ้ งกับวิถีชีวติ ของครอบครวั ชมุ ชนและท้องถนิ่ เกณฑ์การพิจารณา ๑) โรงเรียนมหี ลักสูตรสถานศึกษา ๒) โรงเรยี นมีการประเมิน และพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาให้มีความยืดหยุน่ ๓) โรงเรยี นมหี ลักสตู รสถานศึกษาสอดคล้องกบั หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั และบริบทของท้องถิน่ ๔) โรงเรียนมีการออกแบบการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคลอ้ งกับหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั ๕) โรงเรียนจดั ประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายสอดคล้องกบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และ สอดคลอ้ งกบั วิถชี วี ติ ของครอบครัว ชุมชนและท้องถ่นิ
17 เกณฑก์ ารประเมนิ สถานศึกษาดาเนนิ การ ระดับคุณภาพ ดาเนินการได้ครบทั้ง ๕ ข้อ ยอดเยี่ยม ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) ขอ้ ๒) ดีเลิศ ขอ้ ๓) และ ข้อ ๔) ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดี และ ข้อ ๓) ปานกลาง ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) และ ขอ้ ๒) กาลังพฒั นา ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) แหล่งข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมลู ๑) หลักสตู รสถานศึกษา ๒) หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอย เช่น แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ/กิจกรรม ตัวบ่งช้ีที่ ๒ จัดครูใหเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรยี น คาอธิบาย โรงเรยี นจัดครูใหเ้ หมาะสมกับภาระกิจการเรียนการสอน หรือจัดครทู ีจ่ บการศึกษาปฐมวัย หรือผ่าน การอบรมการศึกษาปฐมวยั อย่างพอเพียงกับชนั้ เรียน เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๑) โรงเรยี นจัดครูให้เหมาะสมกับภาระกิจการเรยี นการสอนเดก็ ปฐมวยั ๒) โรงเรียนจัดครูหรือจดั ครูท่ีผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวยั ให้เหมาะสมกับภาระกิจการเรียนการ สอนเดก็ ปฐมวัย ๓) โรงเรยี นจัดครทู ่ีจบการศึกษาปฐมวัย หรอื ผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวยั กบั ภาระกจิ การเรียน การสอนเด็กปฐมวัย ๔) โรงเรยี นจัดครหู รือจดั ครูท่ีผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวยั ใหเ้ หมาะสมกบั ภาระกจิ การเรยี นการ สอนเด็กปฐมวัย
18 ๕) โรงเรียนจัดจดั ครทู ีจ่ บการศึกษาปฐมวัย หรือผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวยั กบั ภาระกจิ การเรยี น การสอนเด็กปฐมวัยอย่างพอเพยี งกับช้นั เรยี น เกณฑก์ ารประเมนิ สถานศึกษาดาเนินการ ระดบั คณุ ภาพ ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๕) ยอดเย่ียม ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๔) ดเี ลิศ ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๓) ดี ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๒) ปานกลาง ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) กาลังพัฒนา แหล่งข้อมูล / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) หลักสตู รสถานศกึ ษา ๒) หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ่ งรอย เช่น แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ/กิจกรรม ตวั บ่งช้ีท่ี 3 สง่ เสรมิ ใหค้ รูมีความเชยี่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ คาอธิบาย โรงเรยี นสง่ เสริมครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคนได้รับการส่งเสริมใหม้ ีความเชยี่ วชาญดา้ นการจัด ประสบการณ์ทส่ี ่งผลต่อคุณภาพเด็กเป็นรายบุคคล ตรงตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา และจัดให้มี ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๑) ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมให้มคี วามเชีย่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ท่ี ส่งผลต่อคณุ ภาพเดก็ เป็นรายบุคคล ๒) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รบั การสง่ เสรมิ ใหม้ ีความเชยี่ วชาญด้านการจัด ประสบการณ์ทีส่ ่งผลตอ่ คุณภาพเด็กเป็นรายบคุ คล ๓) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รับการสง่ เสรมิ ใหม้ ีความเช่ยี วชาญด้านการจัด ประสบการณ์ทส่ี ่งผลตอ่ คุณภาพเดก็ เปน็ รายบุคคล ตรงตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา
19 ๔) ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการสง่ เสริมใหม้ ีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณท์ ่ี ส่งผลตอ่ คุณภาพเดก็ เปน็ รายบคุ คล ตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนแห่งการ เรียนรทู้ างวิชาชพี ๕) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนไดร้ ับการส่งเสรมิ ให้มีความเชย่ี วชาญดา้ นการจัด ประสบการณ์ทส่ี ่งผลตอ่ คุณภาพเดก็ เป็นรายบุคคล ตรงตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา และจัดให้มี ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี เกณฑก์ ารประเมนิ สถานศึกษาดาเนินการ ระดับคณุ ภาพ ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๕) ยอดเยี่ยม ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๔) ดเี ลศิ ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๓) ดี ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๒) ปานกลาง ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) กาลังพฒั นา แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) หลักสูตรสถานศกึ ษา ๒) หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอย เช่น แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม ตวั บง่ ชที้ ี่ ๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัยและเพยี งพอ คาอธิบาย โรงเรียนจดั สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกหอ้ งเรยี นที่คานึงถึงความปลอดภยั สง่ เสริมให้เกิดการ เรยี นร้รู ายบุคคล และกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มสี ือ่ เพอ่ื การเรยี นรู้อยา่ ง เพียงพอ เช่น ของเลน่ หนงั สือนิทาน สอ่ื จากธรรมชาติ สอื่ สาหรบั เด็กมดุ ลอด ปีนปา่ ย ส่ือเทคโนโลยี สอ่ื เพื่อ การสบื เสาะหาความรู้
20 เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๑) โรงเรียนจดั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรยี น ๒) โรงเรียนจดั สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกหอ้ งเรียนทคี่ านึงถึงความปลอดภยั ๓) โรงเรยี นจดั สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกหอ้ งเรียนที่คานึงถึงความปลอดภยั ส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรียนร้รู ายบคุ คล และกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือรว่ มใจ ๔) โรงเรียนมีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสอ่ื เพ่อื การเรียนรู้ ๕) โรงเรยี นมมี มุ ประสบการณ์หลากหลาย มสี ่ือเพอ่ื การเรียนรอู้ ย่างเพยี งพอ เชน่ ของเล่น หนงั สือ นทิ าน สื่อจากธรรมชาติ สือ่ สาหรบั เด็กมดุ ลอด ปีนปา่ ย สื่อเทคโนโลยี สอื่ เพ่ือการสบื เสาะหาความรู้ เกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาดาเนนิ การ ระดบั คณุ ภาพ ดาเนนิ การได้ครบทัง้ ๕ ข้อ ยอดเย่ยี ม ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๑) ขอ้ ๒) ดีเลิศ ขอ้ ๓) และ ข้อ ๔) ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดี และ ขอ้ ๓) ปานกลาง ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๑) และ ข้อ ๒) กาลังพัฒนา ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑) หลกั สตู รสถานศึกษา ๒) หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เชน่ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม
21 ตัวบง่ ช้ที ี่ ๕ ให้บริการสอ่ื เทคโนโลยีสานสนเทศ และส่อื การเรียนรู้เพ่อื สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ คาอธบิ าย โรงเรยี นให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอ่ื การเรียนรู้ เพือ่ สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์และ พฒั นาครู เหมาะสมกบั สภาพบรบิ ทสถานศึกษา ครใู ช้สื่อและเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม สอดคลอ้ งกับพฒั นาการ ของเด็ก เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๑) โรงเรียนให้บริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒) โรงเรียนให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และส่ือการเรยี นรู้ ๓) โรงเรียนให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรยี นรู้ เพ่อื สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ และพัฒนาครู ๔) โรงเรียนใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอ่ื การเรียนรู้ เพอื่ สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ และพัฒนาครู เหมาะสมกบั สภาพบริบทสถานศึกษา ๕) ครูใชส้ อ่ื และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั พฒั นา เกณฑ์การประเมนิ สถานศกึ ษาดาเนนิ การ ระดบั คุณภาพ ดาเนนิ การได้ครบท้งั ๕ ข้อ ยอดเย่ียม ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดเี ลศิ ขอ้ ๓) และ ข้อ ๔) ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดี และ ขอ้ ๓) ปานกลาง ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) และ ขอ้ ๒) กาลงั พัฒนา ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) แหล่งข้อมูล / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) หลักสตู รสถานศกึ ษา ๒) หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอย เช่น แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม
22 ตวั บง่ ช้ที ี่ 6 มรี ะบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผเู้ กี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนรว่ ม คาอธิบาย โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพันธกิจที่กาหนดไว้ตรงกับวตั ถปุ ระสงค์ และสอดคล้องกบั ความ ต้องการของชุมชน ท้องถิ่นอย่างชัดเจน มแี ผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และดาเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการ บริหารและการจดั การศึกษา ท่มี คี วามเหมาะสม ผ้เู ก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วมและมีเครือข่ายความรว่ มมือใน การร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน มีการกากบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล การบรหิ ารและการจัดการศึกษาอยา่ งเหมาะสม ชดั เจน และเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม มีการ ดาเนนิ การตามขั้นตอนของการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา อยา่ งต่อเน่ือง เกณฑ์การพจิ ารณา ๑) โรงเรยี นมีเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพันธกจิ ที่กาหนดไวต้ รงกบั วตั ถปุ ระสงค์ และสอดคล้องกับ ความตอ้ งการของชุมชน ท้องถน่ิ อยา่ งชดั เจน ๒) โรงเรียนมแี ผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และดาเนนิ งานพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา ที่มีความเหมาะสม ๓) ผ้เู กี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ มและมีเครอื ขา่ ยความรว่ มมือในการร่วมรบั ผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพและได้มาตรฐาน ๔) โรงเรียนกากบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศึกษาอยา่ งเหมาะสม ชัดเจน และเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ก่ยี วข้องมีส่วนรว่ ม ๕) โรงเรียนมีการดาเนินการตามขัน้ ตอนของการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา อยา่ งต่อเนอ่ื ง เกณฑก์ ารประเมิน สถานศกึ ษาดาเนนิ การ ระดบั คณุ ภาพ ดาเนนิ การได้ครบทงั้ ๕ ข้อ ยอดเยีย่ ม ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) ขอ้ ๒) ดเี ลศิ ขอ้ ๓) และ ข้อ ๔) ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดี และ ขอ้ ๓) ปานกลาง ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) และ ข้อ ๒) กาลงั พัฒนา ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑)
23 แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) หลกั สูตรสถานศกึ ษา ๒) หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอย เชน่ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม
24 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นเดก็ เปน็ สาคัญ คาอธิบาย กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ ดก็ เปน็ สาคญั เป็นการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมี ทกุ ดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบัติอย่างมีความสุข จัด บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั วยั ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนาผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ตวั บ่งช้ีท่ี 1 จดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสรมิ ให้เด็กมีทุกดา้ นอยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ คาอธบิ าย ครวู ิเคราะห์ข้อมลู เด็กเป็นรายบคุ คล จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์ จากการวิเคราะหม์ าตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงคใ์ นหลกั สูตรสถานศกึ ษา จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการเดก็ ครบทุกดา้ น ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา อย่างสมดลุ เต็มศักยภาพโดยความร่วมมือของพ่อแม่ และครอบครวั ชมุ ชน และผเู้ กี่ยวขอ้ ง และเป็นแบบอย่างที่ดี เกณฑ์การพจิ ารณา ๑) ครวู ิเคราะห์ข้อมูลเด็กเปน็ รายบุคคล จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์ ๒) ครูวเิ คราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์มาตรฐาน คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา ๓) ครจู ัดประสบการณ์ท่สี ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการเดก็ ครบทกุ ด้าน ทง้ั ด้านรา่ งกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญา อยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ ๔) ครจู ดั ประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนาการเด็กครบทกุ ด้าน ทั้งดา้ นรา่ งกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา อย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ โดยความรว่ มมอื ของพอ่ แม่และครอบครัว ชุมชน และ ผูเ้ กี่ยวข้อง ๕) ครจู ัดประสบการณ์ท่สี ง่ เสรมิ ให้เด็กมีพฒั นาการเด็กครบทุกด้าน ทัง้ ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา อยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ โดยความร่วมมอื ของพอ่ แม่และครอบครวั ชมุ ชน และ ผูเ้ กี่ยวข้อง และเปน็ แบบอย่างที่ดี
25 เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม สถานศึกษาดาเนินการ ดีเลศิ ดาเนนิ การได้ครบทั้ง ๕ ข้อ ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๑) ขอ้ ๒) ดี ขอ้ ๓) และ ข้อ ๔) ปานกลาง ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) ข้อ ๒) กาลงั พัฒนา และ ข้อ ๓) ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) และ ขอ้ ๒) ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑) หลักสตู รสถานศึกษา หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย ๒) แผนการจดั ประสบการณ์ ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอย เชน่ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม ตัวบง่ ช้ที ่ี 2 สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบัติอย่างมคี วามสุขคาอธิบาย ครูจัดประสบการณ์เชอื่ มโยงกับประสบการณ์เดิมใหเ้ ด็กมโี อกาสเลอื กทาอย่างอสิ ระ สรา้ งโอกาสให้ เดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบัตกิ จิ กรรม เรียนรลู้ งมือทาและสร้างองคค์ วามรู้ด้วยตนเองอยา่ งมี ความสขุ เกณฑ์การพิจารณา ๑) ครจู ดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ให้เดก็ มีพัฒนาการเดก็ ครบทกุ ด้าน ท้ังดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา ๒) ครูจดั ประสบการณ์เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ๓) ครูจัดประสบการณ์เช่ือมโยงกบั ประสบการณเ์ ดิม ใหเ้ ด็กมีโอกาสเลอื กทาอย่างอิสระ ๔) สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติกจิ กรรม ๕) สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติกจิ กรรม เรยี นรู้ลงมือทาและสรา้ งองค์ ความรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งมีความสขุ
26 เกณฑก์ ารประเมิน สถานศึกษาดาเนินการ ระดบั คณุ ภาพ ดาเนินการได้ครบท้งั ๕ ข้อ ยอดเยยี่ ม ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดเี ลศิ ขอ้ ๓) และ ข้อ ๔) ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดี และ ข้อ ๓) ปานกลาง ดาเนนิ การไดต้ าม ข้อ ๑) และ ข้อ ๒) กาลังพฒั นา ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๑) แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑) หลักสูตรสถานศกึ ษา หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ๒) แผนการจดั ประสบการณ์ ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ตัวบ่งชีท้ ี่ 3 จดั บรรยากาศที่เออื้ ต่อการเรยี นรู้ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั วัย คาอธบิ าย ครจู ัดบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียนทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ โดยเดก็ มสี ว่ นรว่ ม ใช้ส่อื และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวัย และสอดคล้องกับพัฒนาการของเดก็ เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๑) ครจู ดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียนที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ ๒) ครจู ัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรยี นทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ โดยเด็กมสี ว่ นร่วม ๓) ครใู ชส้ อ่ื และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมในการจัดการเรยี นรู้ ๔) ครใู ชส้ อ่ื และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวัยของเดก็ ในการจดั การเรยี นรู้ ๕) ครใู ช้ส่ือและเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวยั และสอดคล้องกับพฒั นาการของเด็กในการจัดการเรยี นรู้
27 เกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาดาเนนิ การ ระดับคณุ ภาพ ดาเนินการได้ครบท้ัง ๕ ข้อ ยอดเยย่ี ม ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) ขอ้ ๒) ดีเลศิ ขอ้ ๓) และ ข้อ ๔) ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดี และ ข้อ ๓) ปานกลาง ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๑) และ ขอ้ ๒) กาลงั พฒั นา ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑) หลกั สตู รสถานศกึ ษา หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย ๒) แผนการจดั ประสบการณ์ ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เชน่ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ/กิจกรรม ตัวบง่ ช้ที ี่ 4 ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไป ปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก คาอธิบาย ครูประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ ดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลายและสรปุ รายงานผลพัฒนาการของ เดก็ แกผ่ ู้ปกครองทราบอย่างน้อย ปีละ ๒ ครั้ง ผูป้ กครองและผู้เกี่ยวข้องมสี ว่ นร่วมนาผลการประเมินท่ีได้ไป ปรับปรงุ การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก เกณฑ์การพจิ ารณา ๑) ครปู ระเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย ๒) ครูประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ ด้วยวิธกี ารที่หลากหลายและสรปุ รายงานผลพัฒนาการ ของเด็กแกผ่ ู้ปกครองทราบอย่างนอ้ ย ปีละ ๒ คร้ัง ๓) ครปู ระเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ ด้วยวธิ ีการที่หลากหลายและสรุปรายงานผลพัฒนาการ ของเด็กแกผ่ ปู้ กครองทราบอย่างน้อย ปีละ ๒ ครง้ั และสามารถเปน็ แบบอย่างได้ ๔) ผู้ปกครองและผ้เู กี่ยวข้องมีส่วนรว่ มนาผลการประเมินท่ีไดไ้ ปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์
28 ๕) ผปู้ กครองและผเู้ กยี่ วขอ้ งมสี ว่ นรว่ มนาผลการประเมนิ ที่ได้ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณแ์ ละ พัฒนาเดก็ เกณฑ์การประเมิน สถานศกึ ษาดาเนินการ ระดับคุณภาพ ดาเนินการได้ครบทัง้ ๕ ข้อ ยอดเย่ียม ดาเนินการไดต้ าม ข้อ ๑) ขอ้ ๒) ดีเลศิ ข้อ ๓) และ ข้อ ๔) ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๑) ข้อ ๒) ดี และ ข้อ ๓) ปานกลาง ดาเนินการได้ตาม ข้อ ๑) และ ข้อ ๒) กาลังพัฒนา ดาเนนิ การได้ตาม ข้อ ๑) แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) หลกั สูตรสถานศกึ ษา หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ๒) แผนการจัดประสบการณ์ ๓) การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอย เช่น แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจาปี รายงานประจาปี และรายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม
29 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผู้เรียน คาอธิบาย ผลการเรยี นรู้ท่ีเปน็ คณุ ภาพของผ้เู รยี นท้ังดา้ นผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการ ประกอบดว้ ยความสามารถใน การอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร การคดิ คานวณ การคิดประเภทตา่ งๆ การสรา้ งนวัตกรรมการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสตู ร การมคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคติ อาชีพ และด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ที่เปน็ ค่านิยมที่ดีตามท่สี ถานศึกษากาหนด ความภมู ิใจ ความเป็น ไทย การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย รวมท้ังสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน ตวั บ่งชที้ ่ี ๑ มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สาร และการคดิ คานวณ คาอธบิ าย ผเู้ รียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน และการสื่อสารภาษาไทย และการสื่อสารภาษาองั กฤษได้ อยา่ งดี ใชก้ ระบวนการอา่ น การเขยี น และการสื่อสาร มีความสามารถในการคิดอยา่ งเป็นระบบ โดย สามารถคดิ คานวณ โดยการพูดหรือเขียนตามความคดิ ของตนเอง และมีเหตุผลประกอบ สามารถสรา้ งสรรค์ ผลงานผา่ นกระบวนการคดิ อย่างสมเหตสุ มผล ทาให้ตนเองเกิดการเรยี นรู้ได้ตามเกณฑม์ าตรฐานตัวช้ีวดั ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานของแต่ละระดบั ชน้ั มผี ลการทดสอบความสามารถของผู้เรียน จากแบบรายงานการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนรายบุคคล ทแ่ี สดงผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรยี น ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์ของแตล่ ะระดบั ชั้น คาอธิบาย ผู้เรียนมที ักษะในการอ่าน การเขยี น และการส่ือสารภาษาไทยได้อยา่ งดีใช้กระบวนการอ่าน การเขยี น และการสื่อสาร ทาใหต้ นเองเกิดการเรยี นรู้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานตัวชว้ี ดั ของสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของแต่ละระดับชัน้ มผี ลการทดสอบความสามารถของผู้เรียนจากแบบ รายงานการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี นรายบุคคล ที่แสดงผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู้ รยี น เกณฑ์การพิจารณา ร้อยละของผ้เู รียนท่ีมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สาร ภาษาไทย วิธีการคานวณ: คานวณหาร้อยละของผู้เรียนที่มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร ภาษาไทย จากประเดน็ ต่อไปนี้
30 คานวณหาร้อยละของผู้เรยี นทม่ี ผี ลการเรียนตัง้ แตร่ ะดับดี (เกรด ๓) ข้ึนไป ในรายวิชาพื้นฐานทกุ ระดับช้นั = จานวนผูเ้ รยี นท่มี ีผลการเรียนตัง้ แตร่ ะดับดี (เกรด ๓) ขนึ้ ไป ๑๐๐ จานวนผู้เรียนทท้ังหมด เกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ ระดับคณุ ภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยีย่ ม ๘0 – ๘9 ดเี ลศิ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลงั พัฒนา แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู ๑) แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นรายบุคคล (ป.พ.๕) ๒) รายงานสรุปการประเมินผลการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าต่างๆ ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ๓) แบบรายงานผลการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ความสามารถดา้ นภาษาไทย และผลการจัดกจิ กรรม พฒั นา ทกั ษะทางภาษาไทย ทัง้ การอ่าน การเขยี น และการส่อื สาร ๒) มคี วามสามารถในการอ่าการเขียน การสอื่ สารภาษาอังกฤษตามเกณฑข์ องแตล่ ะระดบั ชัน้ คาอธบิ าย ผู้เรียนมีทักษะในการอ่านการเขยี นและการส่ือสารภาษาองั กฤษได้อยา่ งดีใชก้ ระบวนการอ่าน เขียน และการสอื่ สารทาให้ตนเองเกิดการเรยี นรู้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานตัวช้ีวดั ของสานักงานคณะกรรม การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานของแต่ละระดับช้ันมผี ลการทดสอบความสามารถของผู้เรยี นจากแบบรายงานการพฒั นา คุณภาพผู้เรียนรายบุคคล ทแี่ สดงผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รียน
31 เกณฑก์ ารพจิ ารณา รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร ภาษาอังกฤษ วธิ กี ารคานวณ: คานวณหารอ้ ยละของผเู้ รียนที่มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร ภาษาอังกฤษ จากประเด็นต่อไปน้ี คานวณหาร้อยละของผเู้ รียนทีม่ ีผลการเรียนตง้ั แตร่ ะดับดี (เกรด ๓) ขึ้นไป ในรายวิชา ภาษาองั กฤษ พ้ืนฐานทุกระดับชน้ั จานวนผ้เู รียนท่ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษพนื้ ฐานต้ังแต่ระดับดี (เกรด ๓) ข้ึนไปทกุ ระดบั ช้นั = ๑๐๐ จานวนผู้เรียนททงั้ หมดท่เี รยี นวชิ าอังกฤษพน้ื ฐานทกุ ระดบั ชน้ั เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ระดบั คณุ ภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเย่ียม ๘0 – ๘9 ดีเลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลังพัฒนา แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑) แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนรายบุคคล (ป.พ.๕) ๒) รายงานสรุปผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวชิ าต่างๆของกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ๓) แบบรายงานผลการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และผลการจดั กจิ กรรม พฒั นาทกั ษะทางภาษาองั กฤษ ทงั้ การอา่ น การเขียน และการสื่อสาร ๓) มคี วามสามารถในการคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ชัน้ คาอธบิ าย ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ อย่างเปน็ ระบบ โดยสามารถคดิ คานวณ โดยการพดู หรือเขยี นตาม ความคิดของตนเอง และมีเหตุผลประกอบ สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานผ่านกระบวนการคิดอยา่ งสมเหตสุ มผล เกณฑก์ ารพจิ ารณา ร้อยละของผเู้ รียนที่มีความสามารถในการคดิ คานวณ
32 วิธีการคานวณ: คานวณหาร้อยละของผเู้ รียนท่ีมคี วามสามารถในการคดิ คานวณ จากประเดน็ ต่อไปนี้ คานวณหารอ้ ยละของผ้เู รียนทม่ี ีผลการเรยี นต้ังแตร่ ะดบั ดี (เกรด ๓) ขึ้นไป ในรายวิชาคณติ ศาสตร์ พ้ืนฐานทกุ ระดับชน้ั จานวนผู้เรยี นทผ่ี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน = ตงั้ แต่ระดับดี (เกรด ๓)ขึน้ ไปทกุ ระดับช้นั ๑๐๐ จานวนผเู้ รยี นททั้งหมดท่ีเรียนวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐานทุกระดับชน้ั เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเย่ยี ม ๘0 – ๘9 ดเี ลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลงั พัฒนา แหล่งข้อมลู / การเก็บขอ้ มูล ๑) แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นรายบุคคล (ป.พ.๕) ๒) รายงานสรุปผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นรายวิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐานทุกระดบั ช้ัน ๓) การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนและการพูดคุยซักถามผู้เรียน และครู ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหค์ ดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความ คิดเห็นและแก้ปญั หา คาอธบิ าย ผเู้ รียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คอื สามารถคดิ วเิ คราะห์ แยกแยะขอ้ เท็จจริง ใครค่ รวญ ไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบข้อคิดเหน็ มกี ารตัง้ ขอ้ สันนิษฐานและมีกระบวนการคิดเพื่อ ตรวจสอบ สนั นษิ ฐานได้อย่างถูกต้องมีกระบวนการคิดอยา่ งวจิ ารณญาณมีการแลกเปลีย่ นเรียนร้โู ดยการ อภิปรายร่วมกัน อยา่ งมเี หตผุ ลและสามารถนกระบวนการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และ
33 การแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ การอภปิ รายโดยใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสนิ ใจมาใชใ้ นการแก้ไขปญั หาตา่ งๆใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ เกณฑก์ ารพจิ ารณา รอ้ ยละของผ้เู รยี นที่มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หาในระดับดี วิธีการคานวณ คานวณหาร้อยละของผเู้ รียนที่มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา จานวนผูเ้ รยี นที่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ = คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณอภิปราย แลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหาในระดบั ดีขนึ้ ไป ๑๐๐ จานวนผ้เู รียนทท้งั หมด เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ระดับคณุ ภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยี่ยม ๘0 – ๘9 ดเี ลศิ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลงั พฒั นา แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู ๑) การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรยี นโดยการซกั ถามผู้เรียนและครู ๒) รายงานผลการประเมนิ การอา่ น วิเคราะห์ และเขยี น ๓) แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบคุ คล (ป.พ.๕) ตัวบ่งช้ีที่ ๓ มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
34 คาอธิบาย ผู้เรยี นมีความรู้ความสามารถและทักษะการปฏบิ ัติมีการคิดคน้ นวัตกรรมแนวความคิดใหม่ ๆ สามารถ สรา้ งส่ิงประดษิ ฐ์ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์หรอื ปรับปรุงของเกา่ ท่มี ีอยู่เดมิ ใหด้ ีขน้ึ แลว้ นามาใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน เพือ่ ใหง้ านมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลมากขน้ึ เกณฑ์การพิจารณา รอ้ ยละของผู้เรยี นที่มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม วิธกี ารคานวณ: คานวณหาร้อยละของผ้เู รยี นที่มคี วามสามารถในการสรา้ นวตั กรรม = จานวนผเู้ รยี นที่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการสร้างนวตั กรรมในระดบั ดีขึ้นไป ๑๐๐ จานวนผเู้ รียนทท้งั หมด เกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ระดับคุณภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยีย่ ม ๘0 – ๘9 ดเี ลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลังพัฒนา แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู ๑) การสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรียนและการพดู คยุ ซกั ถามนักเรยี น ครู และผปู้ กครอง ๒) การตรวจสอบหลกั ฐานโครงการ/กจิ กรรมเกยี่ วกนวัตกรรมของนักเรียน ๓) รายงานผลการพัฒนาผ้เู รียนเกีย่ วกบั นวตั กรรมต่าง ๆ
35 ตัวบง่ ช้ที ี่ ๔ มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คาอธบิ าย ผ้เู รยี นมคี วามรูค้ วามสามารถในการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารส เทศและการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา ตนเองและสังคมในดา้ นการเรียนรู้ ใช้ทักษะเพื่อการศกึ ษาค้นคว้าการเขยี นรายงานและการอา้ งอิง และ สามารถใชท้ กั ษะการสื่อสารในด้านการพูดฟงั การอา่ น การเขียนการตดิ ต่อสือ่ ย่างสร้างสรรคแ์ ละมสี าร คณุ ธรรม เกณฑก์ ารพิจารณา รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามเกณฑ์มาตรฐาน วธิ ีการคานวณ: คานวณหารอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามเกณฑข์ องแต่ละระดับชัน้ จานวนผเู้ รยี นที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ = และการสื่อสารในระดบั ดขี ึน้ ไป ๑๐๐ จานวนผ้เู รียนททง้ั หมด เกณฑก์ ารประเมิน รอ้ ยละ ระดับคณุ ภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยยี่ ม ๘0 – ๘9 ดีเลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลงั พฒั นา แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู ๑) การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนและการพดู คยุ ซักถามครู และผปู้ กครอง ๒) สรปุ ผลการบนั ทึกความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาผเู้ รยี นของ ๓) สรุปผลการทดสอบความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
36 ตวั บ่งชี้ท่ี ๕ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา คาอธบิ าย ผู้เรียนบรรลแุ ละมีความก้าวหนา้ ในการเรียนรูต้ ามหลักสตู รสถานศกึ ษาจากพ้ืนฐานเดิมในแตล่ ะปีใน ด้านความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการตา่ งๆ และสมรรถนะของผู้เรยี นตามหลักสูตรท่สี ถานศึกษากาหนด อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและตอ่ เน่ืองรวมท้งั มคี วามกา้ วหน้าในผลการทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผลการทดสอบอื่นๆ เกณฑ์การพจิ ารณา รอ้ ยละของผ้เู รยี นท่ีมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นทั้ง ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ตู ั้งแต่ระดับดี (เกรด ๓) ข้นึ ไป ตามหลักสตู รท่ีสถานศึกษากาหนด วธิ ีการคานวณ คานวณหาร้อยละของผูเ้ รยี นที่มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนท้ัง ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ในรายวชิ าพ้นื ฐาน ตง้ั แต่ระดบั ดี (เกรด ๓) ขึ้นไปทุกระดับชนั้ จานวนผเู้ รียนทมี่ ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ในรายวชิ าพืน้ ฐาน = ตัง้ แตร่ ะดับดี (เกรด ๓)ขึน้ ไปทุกระดบั ชน้ั ๑๐๐ จานวนผ้เู รยี นททั้งหมดที่เรยี นรายวิชาพ้ืนฐานทง้ั ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้ทุกระดับช้ัน เกณฑ์การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม ร้อยละ ดีเลิศ ๙๐ – ๑00 ดี ๘0 – ๘9 ปานกลาง ๗0 – ๗9 กาลงั พัฒนา ๖0 – ๖9 0 – ๕๙ แหล่งข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมลู
37 ๑) หลักสตู รสถานศึกษา ๒) รายงานสรุปผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของสถานศึกษาในปีการศกึ ษาทสี่ ถานศึกษารับการ ประเมนิ ตัวบง่ ช้ีท่ี ๖ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ งานอาชีพ คาอธิบาย ผู้เรยี นมีความรูค้ วามสามารถ มีทกั ษะพื้นฐานในการปฏิบัตงิ านเจตคตแิ ละมีความพึงพอใจ ความคดิ ความรสู้ กึ ทดี่ ีต่องานอาชพี เกณฑ์การพิจารณา รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีมคี วามรทู้ ักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชีพ วธิ ีการคานวณ: คานวณหาร้อยละของผูเ้ รยี นท่ีมคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดีต่องานอาชีพ จานวนผ้เู รียนท่ผี ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ที่มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน = และเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชีพระดับดีขน้ึ ไป ๑๐๐ จานวนผเู้ รียนทท้ังหมด เกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยยี่ ม ๘0 – ๘9 ดีเลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลังพัฒนา แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑) การสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรียนและการพูดคุยซักถามนักเรียนและผปู้ กครองครู ๒) การตรวจสอบหลกั ฐาน โครงการ/กจิ กรรมเกี่ยวกับอาชีพของนกั เรียน ๓) รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนในดา้ นอาชีพต่าง ๆ
38 ๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผู้เรยี น (๒๐ คะแนน ) ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑ การมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามสถานศึกษากาหนด (5 คะแนน ) คาอธบิ าย ผเู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ครบทั้ง 8 คณุ ลกั ษณะ คือ ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต ๓) มีวนิ ัย ๔) ใฝ่เรยี นรู้ ๕) อยอู่ ย่างพอเพียง ๖) มุ่งมน่ั ในการทางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มจี ติ สาธารณะ เกณฑก์ ารพิจารณา รอ้ ยละของผ้เู รียนท่ีมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสูตรฯ วธิ ีการคานวณ: คานวณหารอ้ ยละของผูเ้ รียนที่มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สูตรฯ = จานวนผู้เรียนท่ผี ่านเกณฑก์ ารประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสตู รฯระดบั ดีข้ึนไป ๑๐๐ จานวนผเู้ รียนททง้ั หมด เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม ร้อยละ ดีเลศิ ๙๐ – ๑00 ดี ๘0 – ๘9 ปานกลาง ๗0 – ๗9 กาลังพัฒนา ๖0 – ๖9 0 – ๕๙
39 แหล่งข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑) การสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรยี นและการพดู คุยซกั ถามครู ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และ ผปู้ กครอง/ชุมชน ๒) รายงานผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสตู รฯ ๓) ตรวจสอบแผนพฒั นาการจดั การศึกษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาสรุปงาน/กิจกรรมาปี /โครงการ ที่เกี่ยวข้อง โล่ รางวัล เกียรติบตั ร ของผ้เู รียน/สถานศกึ ษา ตวั บ่งช้ีท่ี ๒ ความภมู ิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย (5 คะแนน) คาอธบิ าย ผู้เรียนรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย/ท้องถ่นิ มสี ่วนเหน็ คณุ คา่ ร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ไทย ประเพณีไทยรวมท้งั ภูมปิ ัญญาไทยภูมิใจในความเป็นไทยแสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวติ ประจาวัน และเผยแพร่สู่สากล เกณฑ์การพิจารณา รอ้ ยละของผูเ้ รยี นที่มคี วามภูมใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย วธิ ีการคานวณ: คานวณหารอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีมีความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย = จานวนผูเ้ รียนทม่ี ีความภูมิใจในท้องถ่นิ และความเป็นไทยระดับดีข้ึนไป ๑๐๐ จานวนผูเ้ รยี นททั้งหมด เกณฑ์การประเมิน ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ ดีเลิศ ๙๐ – ๑00 ดี ๘0 – ๘9 ปานกลาง ๗0 – ๗9 กาลังพฒั นา ๖0 – ๖9 0 – ๕๙
40 แหล่งข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมูล ๑) การสอบถามและสมั ภาษณ์ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู ผู้เรยี นและผู้เกยี่ วข้อง ๒) การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอย และข้อมลู เชิงประจกั ษ์ เช่น การแสดงศลิ ปวฒั นธรรม/ ประเพณขี องสถานศึกษา รายงานการจดั โครงการ/กจิ กรรม เป็นตน้ ตวั บ่งชี้ที่ ๓ การยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย (5 คะแนน) คาอธบิ าย การอยรู่ ว่ มกันท่ามกลางความแตกตา่ งของสมาชกิ ในสังคม ควรเปดิ ใจให้กวา้ ง ยอมรับและเคารพ ใน เชอ้ื ชาติ ศาสนา เขา้ ใจและเรียนร้วู ฒั นธรรม รูปแบบการดาเนนิ ชีวิต ยอมรับความแตกต่างทเี่ กิดขึ้น รบั ฟัง เหตผุ ล ความคิดเหน็ ของผ้อู ื่น และมีมนุษยสัมพนั ธท์ ่ดี ี และสามารถปรบั ตัวให้เขา้ กับคนทุกเชือ้ ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม มีความระมดั ระวังในการกระทาและคาพดู ที่อาจนามาซ่งึ ความแตกแยกขดั แยง้ เคารพใน หนา้ ทีส่ ทิ ธิเสรภี าพของกันและกนั ภายใต้กรอบประชาธปิ ไตย เกณฑก์ ารพจิ ารณา รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีมกี ารยอมรบั ทจ่ี ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย วิธีคานวณ: คานวณหารอ้ ยละของผู้เรยี นทม่ี ีการยอมรับที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่าง หลากหลาย = จานวนผเู้ รียนที่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ยอมรบั ทีจ่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลายระดบั ดขี น้ึ ไป ๑๐๐ จานวนผูเ้ รยี นททัง้ หมด เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ระดับคณุ ภาพ ๙๐ – ๑00 ยอดเยีย่ ม ๘0 – ๘9 ดีเลิศ ๗0 – ๗9 ดี ๖0 – ๖9 ปานกลาง 0 – ๕๙ กาลงั พฒั นา
41 แหล่งข้อมูล / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) การสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรยี นในการพูดคยุ ซักถามครูและผปู้ กครอง ๒) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ ง ๓) รายงานผลการพฒั นาผู้เรียนด้านกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ตัวบ่งชี้ท่ี ๔ สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม (๕ คะแนน) คาอธิบาย ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มนี า้ หนกั ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน มีสุข นสิ ยั ในการดแู ลสุขภาพทด่ี ี สามารถปฏิบัตติ ามสขุ บญั ญตั ิ ๑๐ ประการ และรจู้ ักปอ้ งกนั ตนเองจากสง่ิ เสพตดิ ใหโ้ ทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะเสย่ี งได้มีสขุ ภาพจติ อารมณ์ และสงั คมและแสดงออกอย่างเหมาะสม แตล่ ะชว่ งวยั สามารถอย่รู ว่ มกบั ผู้อืน่ อย่างมีความสขุ เขา้ ใจผอู้ ืน่ ไม่มีความขัดแยง้ กับผู้อ่ืน เกณฑก์ ารพจิ ารณา รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีมีนา้ หนัก สว่ นสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ผูเ้ รียนท่ีมี สุขภาพจิตทดี่ ี ผ้เู รียนทีม่ ีสุขนิสยั ท่ดี ี ผ้เู รียนท่ปี ลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุขและปัญหาต่างๆ วิธคี านวณ: คานวณหารอ้ ยละของผูเ้ รียนทีม่ สี ุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สังคม = จานวนผเู้ รยี นท่ีผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สังคมระดับดขี ้ึนไป ๑๐๐ จานวนผู้เรยี นททง้ั หมด เกณฑ์การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม ร้อยละ ดเี ลิศ ๙๐ – ๑00 ดี ๘0 – ๘9 ปานกลาง ๗0 – ๗9 กาลงั พัฒนา ๖0 – ๖9 0 – ๕๙
42 แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑) การสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรยี นและการพูดคยุ ซกั ถามครู และผู้ปกครอง ๒) สรปุ การบนั ทกึ นา้ หนัก ส่วนสูง/แบบบนั ทกึ สุขภาพประจาตวั ของผู้เรียน ๓) สรปุ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของผู้เรยี น ๔) รายงานการประเมินสขุ ภาพจติ /หลักฐานการประเมินตนเองของผเู้ รียน ๕) รายงานผลการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ๖) สรปุ ผลการประเมินสุขบญั ญัติ ๑๐ ประการ ของผเู้ รียน ๗) ขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศกึ ษาเก่ยี วกับการมสี ขุ นิสัยทีผู้เรียนเชน่ ดขี องสถิติการใช้หอ้ ง พยาบาลสถิติการมาเรยี น ข้อมลู ดา้ นสขุ ภาพของผูเ้ รียนรายบุคคล ๘) รายงานผลการดดาเนนิ งานของฝา่ ยกจิ การนักเรยี นและข้อมูลสารสนเทศนักเรยี นรายบคุ คล
Search