Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานติดตาม ประเมินผลโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2562

รายงานติดตาม ประเมินผลโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2562

Description: รายงานติดตาม ประเมินผลโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2562

Search

Read the Text Version

จดั ทำโดย : กลุม่ สำรสนเทศกำรเกษตร สำนักงำนเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยำ

คำนำ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ได้ดำเนินงานโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ตั้งแต่ ปี 2560 – จนถึงปัจจุบัน รวมระยะเวลา 3 ปีแล้ว มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ รวมทั้งสิ้นจำนวน 1,726 ราย โดยหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ร่วมดำเนินงานท้ังหน่วยงานพี่เล้ียง และเป็นหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการ โดยมีสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา เปน็ หนว่ ยงานประสานการดำเนินงานตามโครงการฯ เนื่องจากการดำเนินงานโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ได้ ดำเนินการมาเป็นปีที่ 3 แล้ว จึงเห็นควรได้จัดทำการติดตามประเมินผลโครงการ โดยในคร้ังนี้จะเน้น ประเมินผลด้านความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการเป็นหลัก เน่ืองจากโครงการจะประสบ ความสำเร็จและอยู่ย่ังยืนได้ อยู่ท่ีตัวเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ ว่ามีความเห็นถึงประโยชน์ ความสำคัญของโครงการมากน้อยเพียงใด และเป็นการรวบรวมผลการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องท้ังหนว่ ยงานพ่ีเลย้ี ง หน่วยงานสนบั สนุน รวมรวมปญั หา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะแนวทางการ ดำเนินงาน สำหรบั ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรับปรงุ /พฒั นาการดำเนินงานโครงการในโอกาสตอ่ ไป ขอขอบคุณ พ่ีน้องเกษตรกร หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ท่ีให้ข้อมูลในการจัดทำการติดตามและประเมินผล โครงการ 5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจำปี 2562 และหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับน้ี จะเป็นประโยชนแ์ กผ่ เู้ กีย่ วข้องได้บ้างตามสมควร กันยายน 2562 กลุ่มสารสนเทศการเกษตร สำนกั งานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา

สารบัญ หน้า คำนำ สารบญั - โครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ปี 2562 1 - โครงการ 5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง ปี 2562 4 จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา - การตดิ ตามประเมินผลโครงการทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ปี 2562 13 จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา - ภาพกจิ กรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ 17 ถวายในหลวง ปี 2562 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา - ภาคผนวก  คำสงั่ คณะทำงานขบั เคลื่อนโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ระดบั จังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบล  แบบสอบถามเกษตรกรโครงการ 5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง ปี 2562  รายช่อื เกษตรกรท่ีเขา้ ร่วมโครงการ 5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง ปี 2562

โครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 1. หลกั การเหตผุ ล “เกษตรทฤษฎใี หม่” คือ ระบบการเกษตรท่ีเน้นการจดั สรรทรัพยากรน้ำในไร่นาให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด จัดสรรพ้ืนท่ีสำหรับใช้ในการเพาะปลูกเพ่ือบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก ที่มีเหลือจึงขาย มีการสร้างผลผลิต อาหารทีเ่ พยี งพอและสร้างการผลติ ท่หี ลากหลายสำหรบั เปน็ แหลง่ รายทไ่ี ด้ม่ันคงของครัวเรือน สร้างความม่ันคง ดา้ นอาหาร เกดิ การพ่งึ พาตนเอง และลดการพึ่งพาจากภายนอก ดังนั้นเพื่อรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดชท่ีทรงมีต่อปวงชนชาวไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้จัดทำ “โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ (5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ถวายในหลวง)” ข้ึนในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 และดำเนินงานอย่าง ตอ่ เนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 และให้สอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน ตามวาระ ของประเทศ โดยส่งเสริมให้เกษตรกรที่มีความสมัครใจ และ “ระเบิดจากข้างใน” ซึ่งต้องการสมัครเข้าร่วม โครงการฯ จากทุกตำบลของประเทศไทยเพิ่มข้ึน ในปี 2562 อีกจำนวน 70,000 ราย รวมกบั กลุ่มเปา้ หมาย ในปี 2562 – 2561 จำนวน 140,206 ราย รวมท้ังส้ิน 210,206 ราย (ปี 2560 - ปี 2562) ได้น้อมนำ หลักเกษตรทฤษฎีใหม่ไปปรับใช้ในพื้นท่ีของตนเองอย่างเหมาะสม ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นท่ีของเกษตรกร ตามภูมิสงั คมของแตล่ ะพื้นที่ โดยมุ่งหวังจะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ อันเกิดจากการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยการสร้างอาชีพอย่างเหมาะสมกับ ทรัพยากรและปัจจยั การผลติ ท่มี ีอยู่อยา่ งคุ้มค่า 2. วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื รำลึกในพระมหากรุณาธคิ ุณอนั หาทส่ี ดุ มิได้ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 2. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตามระบบเกษตร ทฤษฎีใหม่ และสามารถนำไปปรับใช้เพือ่ การประกอบอาชีพได้อยา่ งมัน่ คงและยั่งยนื 3. เพ่ือสนับสนุนให้เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการฯ มีศักยภาพในการดำเนินกิจกรรม ทางการเกษตร ตามแนวทฤษฎใี หมข่ นั้ ท่ี 1 และสามารถพฒั นาไปส่ขู ้ันที่ 2 และขั้นท่ี 3 ไดต้ อ่ ไป 3. เปา้ หมาย 1. เกษตรกรรายใหม่ปี 2562 ที่มีความสมัครใจ และมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 70,000 ราย 2. เกษตรกรรายเดมิ ปี 2562 – 2561 จำนวน 140,206 ราย ท่เี ข้ารว่ มโครงการฯ มกี ารประเมิน ศกั ยภาพและจดั กลมุ่ เพอ่ื การพฒั นาตามแนวทางทก่ี ำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 4. ระยะเวลาการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (ตง้ั แต่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กนั ยายน 2562)

-2- 5. ตัวช้ีวดั ความสำเร็จของโครงการ 1. รอ้ ยละ 80 ของเกษตรกรรายใหมท่ ่ีเขา้ รว่ มโครงการฯ มีการปรับเปลยี่ นวธิ ีการผลิตเป็นแนวเกษตร ทฤษฎีใหม่ 2. ร้อยละ 30 ของเกษตรกรรายเดิมที่เข้าร่วมโครงการฯ ที่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตเป็นแนว เกษตรทฤษฎีใหมส่ ามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนลงไดจ้ ากรายจา่ ยเดิม เป้าหมาย/การคัดเลือก • เกษตรกรรายใหม่ปี 2562 70,000 ราย ท่วั ประเทศ จงั หวดั รบั สมัครและเลือกเกษตรกรรายใหมป่ ี 2562 ตามคุณสมบัติและหลักเกณฑท์ ก่ี ำหนด • เกษตรกรรายเดิมปี 2560 จำนวน 70,034 ราย และปี 2561 จำนวน 70,172 ราย ทว่ั ประเทศ เกษตรกรรายเดิมควรมาเติมเต็มและประเมินศักยภาพการพัฒนารวมถึงจัดกลุ่ม (A B C) เพื่อพัฒนา ตอ่ เนื่อง • ปราชญ์เกษตรทฤษฎีใหม่/เกษตรต้นแบบ จังหวัดสามารถคัดเลือกปราชญ์เกษตรทฤษฎีใหม่และ เกษตรกรต้นแบบเพิ่มเตมิ ได้ โดยอาจคดั เลอื กจาก 1. ปราชญช์ าวบา้ นของสำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทส่ี ามารถเปน็ แบบอยา่ งท่ดี /ี สามารถสื่อสาร/มีจิตอาสา 2. เกษตรกรท่ีร่วมโครงการ ปี 2560 – 2561 ที่สามารถเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี/สามารถสอ่ื สาร/มจี ติ อาสา คณุ สมบัตขิ องเกษตรและพ้ืนที่เข้ารว่ มโครงการ หลกั เกณฑก์ ารคัดเลอื กเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ปี 2562 (รายใหม่ 70,00 ราย) คุณสมบัติ 1) มคี วามสมัครใจทำเกษตรทฤษฎใี หม่ (ระเบิดจากขา้ งใน) 2) มคี วามพรอ้ ม มีความตัง้ ใจจริงและตอ้ งการทำเกษตรทฤษฎใี หม่ดว้ ยตนเอง ตามฐานะ (แรงงาน ทนุ ) พ้นื ท่ี 1) มีทดี่ นิ เพยี งพอท่จี ะสามารถทำเกษตรทฤษฎใี หม่ได้ 2) มีแหล่งน้ำของตนเองหรอื แหล่งนำ้ ธรรมชาตหิ รือคลองชลประทาน และต้องมนี ้ำใช้เพียงพอในการ ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ได้ตลอดปี 3) เกษตรกรท่สี นใจสมัครเขา้ ร่วมโครงการฯ ยน่ื เอกสารหลกั ฐาน ดงั น้ี 3.1 ใบสมคั ร 3.2 สำเนาทะเบียนบ้าน 3.3 สำเนาบัตรประชาชน 3.4 สำเนาเอกสารสทิ ธใ์ิ นทดี่ นิ ที่เขา้ ร่วมโครงการ เอกสารท่ีหนว่ ยงานราชการใหก้ ารรับรองการใช้ ประโยชน์ ในทด่ี นิ (สปก.4-01, นส.2, นส.3, นส.4, นส.5, โฉนด, สญั ญาเชา่ , สัญญาเช่าซื้อ)

-3- 2. หลักเกณฑก์ ารประเมนิ ศกั ยภาพเกษตรกรและจัดกลุ่มเกษตรกรปี 2560 และ 2561 (รายเดิม 140,206 ราย) พิจารณาจากข้อมูลแหล่งน้ำ ที่ดิน แรงงาน และพฤติกรรมของเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ และ ประเมินศักยภาพโดยใช้หลักเกณฑ์การแบ่งกลุ่มเกษตรกรตามคำนิยามและตัวบ่งช้ี เป็น 3 กลุ่ม เพื่อนำไป วิเคราะห์และกำหนดแนวทางการพัฒนา ตามการจดั กลมุ่ ดงั นี้ กลุ่ม A หมายถึง เกษตรกรท่ีสามารถพัฒนาตนเองสู่เกษตรทฤษฎีใหม่ข้ันท่ี 1 ข้ันท่ี 2 และขั้นท่ี 3 และทำเปน็ ต้นแบบได้ คำนยิ าม 1. เป็นเกษตรกรท่ปี ระสบผลสำเรจ็ ในเกษตรทฤษฎีใหม่ขัน้ ที่ 1 2. เปน็ เกษตรกรทสี่ ามารถเป็นต้นแบบได้ กล่มุ B หมายถึง เกษตรกรท่ีเกือบจะไปสู่เกษตรทฤษฎใี หมข่ ้นั ท่ี 1 คำนิยาม 1. เกษตรกรท่มี แี นวโนม้ จะประสบผลสำเรจ็ ในเกษตรทฤษฎีใหมข่ น้ั ที่ 1 2. เป็นเกษตรกรทีต่ อ้ งได้รับการพฒั นาเพิ่มเติมให้สามารถเปน็ เกษตรทฤษฎใี หม่ กลุ่ม C หมายถงึ เกษตรกรที่อยูใ่ นขั้นตอนเรียนร้แู ละพัฒนาสเู่ กษตรทฤษฎีใหม่ขนั้ ท่ี 1 คำนิยาม 1. เป็นเกษตรกรทย่ี งั ขาดประสบการณ์ในการทำเกษตรทฤษฎใี หมข่ ั้นที่ 1 2. เปน็ เกษตรกรทต่ี ้องไดร้ บั การพัฒนาเพื่อให้เกิดการพง่ึ พาตนเอง ----------------------------------------------

-4- โครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎใี หม่ถวายในหลวง ประจำปี 2562 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้เร่ิมดำเนินการโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ถวาย ในหลวง ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2560 เป็นต้นมา โดยในปี 2560 มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จำนวน 589 ราย ปี 2561 จำนวน 628 ราย และปี 2562 จำนวน 509 ราย โดยมีหน่วยงานพี่เลี้ยงเกษตรกร ประกอบด้วย 6 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักงานประมงจัง หวัด พระนครศรีอยุธยา สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนกั งานการปฏริ ปู ทด่ี นิ จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา และโครงการชลประทานพระนครศรอี ยุธยา โดยมีเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการอยู่ในการดูแลรับผิดชอบ ต้ังแต่ ปี 2560 – 2562 แยกตาม หน่วยงานพี่เล้ยี ง ไดต้ ามตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 จำนวนเกษตรกรท่เี ข้าร่วมโครงการแยกรายป/ี หนว่ ยงานพเ่ี ลย้ี ง หนว่ ยงานพี่เลย้ี ง จำนวนเกษตรกรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ รวมทั้งส้นิ ปี 2562 ปี 2561 ปี 2560 894 ปงี บประมาณ 135 129 1 สำนักงานเกษตรจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 298 298 298 113 268 2 สำนักงานประมงจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 45 45 45 187 1,726 3 สำนักงานปศุสตั ว์จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 43 43 43 4 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 23 45 45 5 สำนกั งานการปฏริ ปู ที่ดนิ พระนครศรอี ยุธยา 75 129 64 6 โครงการชลประทานพระนครศรอี ยธุ ยา 25 68 94 รวมท้งั สนิ้ 509 628 589 ทีม่ า: สำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา โดยในปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา มเี กษตรกรรายใหมท่ เี่ ข้ารว่ มโครงการทง้ั สิ้น 509 ราย แยกตามหนว่ ยงานพ่เี ล้ียงได้ดังน้ี 1) สำนกั งานเกษตรจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา จำนวน 298 ราย 2) สำนักงานประมงจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา จำนวน 45 ราย 3) สำนกั งานปศุสตั วจ์ ังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 43 ราย 4) สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดพระนครศรอี ยุธยา จำนวน 23 ราย 5) สำนกั งานการปฏิรูปที่ดนิ พระนครศรอี ยุธยา จำนวน 75 ราย 6) โครงการชลประทานพระนครศรอี ยุธยา จำนวน 25 ราย

-5- ตารางท่ี 2 จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ปี2562 แยกรายอำเภอและหนว่ ยงานพเี่ ล้ียง อำเภอ หนว่ ยงานพี่เลีย้ ง/จำนวนเกษตรกรในการดแู ลรบั ผิดชอบ (ราย) รวมทั้งสนิ้ (ราย) สำนักงานเกษตร สำนักงานประมง สำนักงานปศสุ ตั ว์ สำนกั งาน สำนักงานการปฏริ ูป โครงการ จังหวัด จังหวัด จังหวดั สหกรณจ์ ังหวัด ทด่ี ินจังหวัด ชลประทาน 20 24 1. อ.พระนครศรีอยุธยา 13 3 1 3 34 38 2. อ.ทา่ เรอื 20 3 1 24 37 3. อ.นครหลวง 29 3 2 18 27 4. อ.บางไทร 26 5 2 5 24 78 5. อ.บางบาล 17 3 4 73 28 6. อ.บางปะอิน 15 15 2 1 4 24 23 7. อ.บางปะหัน 14 31 19 14 8. อ.ผักไห่ 20 31 3 509 9. อ.ภาชี 19 2 3 10. อ.ลาดบัวหลวง 21 5 2 10 40 11. อ.วังนอ้ ย 20 5 3 5 35 5 12. อ.เสนา 20 5 3 13. อ.บางซ้าย 18 33 14. อ.อุทัย 20 3 15. อ.มหาราช 11 5 2 1 16. อ.บ้านแพรก 11 3 รวมทงั้ ส้ิน 298 45 43 23 75 25 ที่มา: สำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา การประเมนิ ศกั ยภาพเกษตรกรและการจดั กลุ่มเกษตรกรปี 2560 และ 2561 พิจารณาจากข้อมูลแหล่งน้ำ ท่ีดิน แรงงาน และพฤติกรรมของเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ และ ประเมินศักยภาพโดยใช้หลักเกณฑ์การแบ่งกลุ่มเกษตรกรตามคำนิยามและตัวบ่งช้ี เป็น 3 กลุ่ม เพื่อนำไป วิเคราะห์และกำหนดแนวทางการพฒั นา ตามการจดั กลมุ่ ดังน้ี กลุ่ม A หมายถึง เกษตรกรที่สามารถพัฒนาตนเองสู่เกษตรทฤษฎีใหม่ข้ันท่ี 1 ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 และทำเปน็ ต้นแบบได้ คำนิยาม 1. เปน็ เกษตรกรท่ปี ระสบผลสำเร็จในเกษตรทฤษฎีใหมข่ ั้นท่ี 1 2. เปน็ เกษตรกรทส่ี ามารถเป็นตน้ แบบได้ กลุ่ม B หมายถึง เกษตรกรทีเ่ กือบจะไปสู่เกษตรทฤษฎใี หม่ขนั้ ท่ี 1 คำนิยาม 1. เกษตรกรที่มีแนวโน้มจะประสบผลสำเร็จในเกษตรทฤษฎีใหม่ขน้ั ท่ี 1 2. เปน็ เกษตรกรที่ตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาเพมิ่ เตมิ ให้สามารถเปน็ เกษตรทฤษฎใี หม่

-6- กล่มุ C หมายถึง เกษตรกรที่อยู่ในข้ันตอนเรยี นรูแ้ ละพฒั นาสเู่ กษตรทฤษฎีใหม่ขั้นท่ี 1 คำนิยาม 1. เปน็ เกษตรกรทยี่ ังขาดประสบการณใ์ นการทำเกษตรทฤษฎีใหมข่ ัน้ ท่ี 1 2. เป็นเกษตรกรทต่ี ้องไดร้ บั การพัฒนาเพอ่ื ใหเ้ กิดการพง่ึ พาตนเอง สำหรับเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ 5 ประสาน สืบสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ท่ีเข้าร่วมโครงการใน ปี2560 และ 2561 ไดจ้ ดั กลุ่มเกษตรกรได้ดงั น้ี สรปุ ขอ้ มูลผลการประเมินศักยภาพและการจัดกลุม่ เกษตรกร เพื่อกำหนดแนวทางการส่งเสริมและพัฒนา (รายเดมิ ปี 2560 และปี 2561) โครงการ “5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง” ปงี บประมาณ 2562 จงั หวดั ...พระนครศรอี ยธุ ยา........ เกษตรรายเดิม....1,212...ราย ที่ ปงี บประมาณ กลมุ่ A กลุ่ม B กลมุ่ C รวม (ราย) (ราย) (ราย) (ราย) 1 ปี 2560 183 273 128 584 2 ปี 2561 163 346 119 628 รวม 346 619 247 1,212 จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา มีเกษตรกรเขา้ ร่วมโครงการในปี 2560 - 2561 รวมจำนวน 1,212 ราย แบ่งเป็นกลุ่ม A จำนวน 346 ราย คิดเป็นร้อยละ 29 กลุ่ม B จำนวน 619 ราย คิดเป็นร้อยละ 51 และ กลุม่ C จำนวน 247 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 กำรจัดกลุ่มเกษตรกรผู้เข้ำร่วมโครงกำร ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๑ กลมุ่ C = ๒๔๗ ราย กลมุ่ A = ๓๔๖ ๒๐% ราย ๒๙ % กลมุ่ B= ๖๑๙ ราย , ๕๑% กลมุ่ A กลมุ่ B กลมุ่ C

-7- การสนับสนุนปัจจยั การผลิต ในปีงบประมาณ 2562 ได้มีการสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกรเป็นการเริ่มต้นในการดำเนิน ชีวิตตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง ให้เกษตรกรสามารถลดรายจ่าย เพิม่ รายไดใ้ หแ้ กค่ รัวเรอื นได้ตามสมควร ปจั จยั การผลิตท่มี อบให้แก่เกษตรกรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการฯ มีดงั นี้ 1) ไม้ผล/ไม้ยืนต้น ได้แก่ ก่ิงพันธ์ุมะม่วงน้ำดอกไม้สีเหลืองทอง กิ่งพันธุ์ฝร่ังกิมจู ให้แก่เกษตรกรท่ีเข้า รว่ มโครงการ ปี 2562 จำนวน 509 ราย รายละ 2 ต้น (ชนดิ ละ 1 ตน้ ) (2) พันธ์ุปลา ได้แก่ พันธุ์ปลาตะเพียน ปลานิล จำนวนรายละ 840 ตัว ให้แก่เกษตรกรเข้าร่วม โครงการฯ ในปี 2562 จำนวน 507 ราย (เกษตรกร 509 ราย ขอรับพันธุ์ปลา 507 ราย) และพันธ์ุปลา ตะเพียน ปลานิล 500 ตวั ให้แก่เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการในปี 2561 จำนวน 623 ราย (เกษตรกร 628 ราย ขอรับพนั ธ์ุปลา 623 ราย) (3) ไก่ไข่ จำนวน 5 ตัว อาหารไก่ จำนวน 10 กิโลกรัม และเวชภัณฑ์ จำนวน 2 ซอง ให้แก่เกษตรกร ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ปี 2562 จำนวน 509 ราย (4) เมล็ดพันธุ์ผัก ได้แก่ ถ่ัวเขียว ข้าวโพดข้าวเหนียว คะน้า และกวางตุ้ง จำนวน 4 ชนิด 4 ซอง ให้แก่เกษตรกรผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ ปี 2562 จำนวน 509 ราย รายละ 4 ซอง (ซองละ 1 ชนิด) (5) หม่อนพันธ์ุดีชำถุง ให้แก่เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการปี 2562 จำนวน 496 ราย รายละ 5 ต้น รวมจำนวน 2,480 ต้น (เกษตรกร จำนวน 509 ราย ขอรบั พันธุห์ มอ่ น จำนวน 496 ราย) (6) ปัจจัยการผลิตในการจัดทำน้ำหมักชีวภาพให้แก่เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ ปี 2562 รายละ 1 ชุด จำนวน 509 ราย ประกอบด้วย ผักผลไม้ 24 กิโลกรัม กากน้ำตาล จำนวน 20 ลิตร มูลวัว จำนวน 20 กโิ ลกรัม และถังพลาสติกขนาด 120 ลิตร จำนวน 1 ใบ โดยสถานีพัฒนาที่ดินพระนครศรีอยุธยา ได้มีการจัด อบรมเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ ปี 2562 ในเรื่องความรู้ในการพัฒนาที่ดิน จำนวน 16 คร้ัง 16 อำเภอ และสนบั สนุนนำ้ หมกั ชีวภาพใหแ้ กเ่ กษตรกรรายเดมิ ปี 2561 รายละ 20 ลิตร

-8- งบประมาณและการดำเนินงาน ในปี 2562 แต่ละหน่วยงานมีงบประมาณดำเนินงานตามโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎี ใหม่ ถวายในหลวง แยกรายหน่วยงานได้ ดงั นี้ 1. ประชาสัมพันธโ์ ครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง 2. จัดประชุมคณะทำงาน 5 ประสานสืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ระดบั จงั หวดั วนั ที่ 10 มกราคม 2562 เวลา 09.30 น. ณ หอ้ งประชุมมงคลบพิตร (2) ช้นั 4 อาคาร 4 ช้นั ศาลากลาง จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา เพื่อช้ีแจงแนวทางการดำเนนิ งานโครงการในปี 2562 3. จดั อบรมเกษตรกรท่สี มัครเขา้ ร่วมโครงการ 5 หน่วยงาน (ยกเวน้ สำนักงานเกษตรจงั หวัด พระนครศรอี ยุธยาทจี่ ดั อบรมเอง) อบรมหลกั สูตรกลาง : การปรับแนวคดิ เกษตรทฤษฎใี หม่ ภายใต้โครงการ เกษตรทฤษฎใี หม่ (5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง) โดยมกี ารอบรมจำนวน 5 ครง้ั (คร้งั ที่ 1 วันท่ี 2 – 3 เมษายน 2562 ครง้ั ท่ี 2 วนั ท่ี 4 – 5 เมษายน 2562 ครั้งท่ี 3 วนั ท่ี 22 – 23 เมษายน 2562 คร้ังที่ 4 วันที่ 24 – 25 เมษายน 2562 และครงั้ ท่ี 5 วันที่ 4 – 5 มิถุนายน 2562 งบประมาณดำเนนิ งาน 139,260 บาท ใช้ไป 132,696 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.29 4. ลงพ้นื ท่ีตรวจเยย่ี มเกษตรกรให้คำปรึกษาแนะนำดา้ นการเกษตร/การดำเนนิ งานตาม โครงการปี 2562 จำนวน 16 อำเภอ 16 ครัง้ จำนวนเกษตรกร 64 ราย 5. ติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานโครงการฯ ปี 2562 งบประมาณดำเนนิ งาน 11,495 บาท ใช้ไป 11,495 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 1. จดั เวทีคร้งั ท่ี 1 อบรมเกษตรกรใน 6 หลักสตู ร (ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณก์ ำหนด) 2. จดั เวทีครั้งท่ี 2 จัดกระบวนการแลกเปล่ยี นการเรยี นรู้ พรอ้ มทั้งถ่ายทอดความรูใ้ ห้แก่ เกษตรกรใน เรอ่ื ง การขยายพันธุ์พืช 3. สนบั สนุนปัจจัยการทำแปลงเกษตรทฤษฎใี หม่ (ตน้ พนั ธุ์ไม้ผล) ให้แกเ่ กษตรกรทเี่ ขา้ ร่วมโครงการฯ ของจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา จำนวน 509 ราย โดยเกษตรกร 1 ราย จะได้รบั ต้นพันธม์ุ ะมว่ งน้ำดอกไม้สีทอง จำนวน 1 ตน้ และต้นพันธฝ์ุ รัง่ กมิ จู จำนวน 1 ตน้ 4. การติดตามตรวจเยยี่ มเกษตรกร จำนวน 76 ครงั้ 173 ราย งบประมาณรวมทง้ั สนิ้ 259,580 บาท ใชไ้ ป 259,580 บาท คดิ เป็นร้อยละ 100

-9- 1. คดั เลอื กเกษตรกรตน้ แบบเกษตรกรทฤษฎใี หม่ด้านประมง จำนวน 3 ราย ไดแก่ (1) นางกันยานี ปานฉิม เกษตรกรปี 2560 บ้านเลขท่ี 30 ม.3 ต.คลองน้อย อ.บา้ นแพรก (2) นายดำเนิน คำนิยาย เกษตรกรปี 2560 บา้ นเลขที่ 67 ม.5 ต.หนองน้ำใหญ่ อ.ผักไห่ (3) นายประสิทธ์ิ รัมมะเกษ เกษตรกรปี 2560 เลขที่ 44/3 ม.7 ต.คลองพระยาบันลือ อ.ลาดบวั หลวง 2. การสนับสนุนปัจจัยการผลิต พันธ์ุปลาตะเพียน ปลานิล จำนวนรายละ 840 ตัว ให้แก่เกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯ ในปี 2562 จำนวน 507 ราย (เกษตรกร 509 ราย ขอรับพันธุ์ปลา 507 ราย) และพันธ์ุ ปลาตะเพียน ปลานิล 500 ตัว ให้แก่เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการในปี 2561 จำนวน 623 ราย (เกษตรกร 628 ราย ขอรบั พันธปุ์ ลา 623 ราย) 3. การตดิ ตามตรวจเยย่ี มเกษตรกร จำนวน 4 ครง้ั จำนวน 45 ราย งบประมาณ 191,090 บาท ใช้ไป 191,090 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 1. นำเกษตรกรท่เี ข้ารว่ มโครงการไปศึกษาดงู าน ณ สอนศริ ิฟาร์ม จงั หวดั ปราจนี บุรี 2. สนบั สนนุ ปจั จัยการผลิต ไก่ไข่ จำนวน 5 ตัว อาหารไก่ จำนวน 10 กิโลกรมั และเวชภณั ฑ์ จำนวน 2 ซอง ใหแ้ กเ่ กษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ ปี 2562 จำนวน 509 ราย 3. การติดตามตรวจเยีย่ มเกษตรกร จำนวน 43 คร้ัง จำนวน 43 ราย งบประมาณ 654,460 บาท ใช้ไป 654,341 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 99.98 1. โครงการอบรมสง่ เสริมเกษตรทฤษฎใี หม่ในเขตปฏริ ปู ท่ีดิน จำนวน 80 ราย 2. โครงการศกึ ษาดงู านเกษตรทฤษฎีใหม่ในเขตปฏิรปู ท่ีดนิ ศนู ย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงบ้านสารภี จ.สมุทรสงคราม จำนวน 50 ราย 3. เกษตรกรศนู ยต์ ้นแบบปี 2561 จำนวน 3 ราย (ศูนยเ์ กา่ ) และปี 2562 จำนวน 1 ราย (ศนู ย์ใหม่) 4. การติดตามตรวจเยีย่ มเกษตรกร จำนวน 6 คร้ัง จำนวน 75 ราย งบประมาณ 121,850 บาท ใช้ไป 121,850 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 1. ตดิ ตาม ใหค้ ำแนะนำส่งเสรมิ ด้านการสหกรณแ์ ละการประยกุ ต์ใชแ้ นวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ น เกษตรกรทฤษฎีใหม่ 2. สอบถามปัญหา อปุ สรรค และความต้องการของเกษตรกรเก่ียวกบั โครงการและปจั จยั การผลิตท่ไี ดร้ ับ

-10- 1. แนะนำในการดำเนนิ งานแกเ่ กษตรกรผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ ปี 2560 จำนวน 2 – 3 ราย 2. ให้ความร้เู กยี่ วกับการบริหารจัดการน้ำใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่ิงข้นึ 3. ใหค้ ำปรกึ ษา ดแู ลเรื่องนำ้ ชลประทานทสี่ ง่ สนบั สนุนให้กับเกษตรกรทเี่ ข้าร่วมโครงการฯ เปน็ พเิ ศษ เนื่องจาก เป็นกลมุ่ เปา้ หมาย 1. อบรมถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารพัฒนาท่ดี ิน โดยมกี ารอบรมจำนวน 16 ครั้ง ใน 16 อำเภอท่ี รบั ผิดชอบ 509 ราย จำนวน 60 ราย 2. สนบั สนนุ นำ้ หมักชีวภาพเกษตรกรรายเดิมปี 2561 จำนวน 60 ราย งบประมาณ 524,270 บาท ใชไ้ ป 524,270 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 1. มอบสมดุ บญั ชใี หก้ บั เกษตรกรโครงการทฤษฎใี หม่ 2. สอนแนะการจดั ทำบญั ชีต้นทนุ อาชีพ 3. กำกับแนะนำการจดั บญั ชี 4. ตดิ ตามการจดั ทำบัญชี งบประมาณ 278,770 บาท ใช้ไป 278,770 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 - สวพ.5 ได้แจกเมลด็ พนั ธุ์พชื ได้แก่ ถั่วเขียว ข้าวโพดข้าวเหนียว คะน้า กวางตุง้ ให้กับหน่วยงานพ่ี เลย้ี งในพ้ืนท่ีครบถว้ น ซงึ่ มเี กษตรกรทีร่ ับเมล็ดพนั ธ์ุพืชจำนวน 509 ราย 1. สง่ มอบปจั จัยการผลิต (หม่อนพนั ธดุ์ ีชำถุง) ใหแ้ กเ่ กษตรกรผู้เข้ารว่ มโครงการในจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จำนวน 496 ราย รายละ 5 ต้น รวมจำนวน 2,480 ตน้ 2. ใหค้ ำปรึกษา พร้อมเอกสารความรู้ แนะนำวิธีการปลูก ดแู ลรักษาต้นหมอ่ น และการแปรรูป ผลติ ภัณฑ์หม่อน

-11- ปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งานโครงการ 1) เกษตรกรไมใ่ หค้ วามสำคญั ในการจัดทำบัญชคี รวั เรอื น 2) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ไม่สะดวกในการเดินทางมาร่วมกิจกรรมตาม โครงการ/มารบั ปัจจยั การผลิตทหี่ น่วยงานตา่ ง ๆ สนับสนนุ 3) เกษตรกรกรรุ่นเกา่ ๆ ไม่ยอมรับเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหม่ ๆ 4) หน่วยงานสนับสนุนปัจจัยการผลิตมอบปัจจัยการผลิตไม่พร้อมกันทำให้มีปัญหาในการนัดหมาย เกษตรกร 5) งบประมาณในการสนบั สนนุ ปัจจยั การผลิตนอ้ ยเกินไป 6) การประชาสัมพันธ์และชี้แจงเกษตรกรมีน้อย ทำให้เกษตรกรที่สมัครเข้าร่วมโครงการบางส่วนไม่ ทราบรายละเอยี ดของโครงการฯ ทง้ั หมด 7) เกษตรกรไดผ้ ลผลิตแลว้ ไมม่ ีตลาดรองรบั 8) ปจั จัยการผลิตไมต่ รงกบั ความต้องการของเกษตรกร คอื แต่ละคนจะไดเ้ หมือนกนั หมด 9) การลงพื้นท่ี 3 ประสาน 5 ประสาน เพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการไม่มี มากนัก เน่ืองจากความพร้อมของแต่ละหน่วยงานมีเวลาไม่ตรงกัน และมีเวลาลงพ้ืนไปพบปะเกษตรกรน้อย และไม่มีการ บูรณาการหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการลงพ้ืนท่ี และแต่ละหน่วยงานมีภารกิจมาก และมีบุคลากร ไม่เพียงพอ 10) พ้นื ท่ที ำการเกษตรของเกษตรกรบางรายเป็นพืน้ ท่ีตำ่ (เป็นพน้ื ทร่ี ับน้ำ) นำ้ ท่วมทุกปี 11) เกษตรกรไมม่ ีเวลา/ส่วนร่วมในโครงการเท่าทีค่ วร 12) ระยะเวลาในการอบรมหลกั สตู รนานเกินไป ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงานโครงการ 1) กระทรวงควรจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมและเพียงพอ ควรคำนึงถึงสภาพเศรษฐกิจด้วย โดยเฉพาะคา่ พาหนะในการเดนิ ทาง 2) หน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งจัดหาตลาดรองรับผลผลิตของเกษตรกร 3) ควรลดจำนวนเกษตรกรเป้าหมายในการเข้าร่วมโครงการในปีต่อไป เน่ืองจากถูกจำกัดด้วยเงื่อนไข ในการเขา้ รว่ มโครงการ ควรเน้นในเร่อื งการพัฒนาเกษตรกรตนั แบบมากกวา่ 4) ควรปรับโครงการเป็นการสร้างอาชีพและรายได้เสริมให้แก่เกษตรกร เพ่ือรองรับเกษตรกรท่ีเป็น ผู้สูงอายุ 5) การสนับสนุนปจั จยั การผลิตตามต้องของเกษตรกรและหน่วยงานควรกำหนดในการมอบปัจจัยการ ผลิตพร้อมกนั เพ่ืออำนวยความสะดวกใหก้ ับเกษตรกรและประหยดั ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทาง 6) การกำหนดหลักสูตรและระยะเวลาการอบรมให้มีความเหมาะสม ควรปรับลดจำนวนวันอบรม เนอ่ื งจากเกษตรกรไม่สะดวกในการเขา้ ร่วมอบรมในหลาย ๆ วัน

-12- 7) ควรมีการอบรมให้ความรูแ้ ก่เกษตรกรรายเดมิ เพม่ิ เตมิ ในหัวข้อท่ีเกษตรกรตอ้ งการเรียนร/ู้ สนใจ 8) ควรคดั เลอื กเกษตรกรตามความสมัครใจ ไม่ควรกำหนดเปา้ หมายมาจากส่วนกลาง 9) หนว่ ยงานพี่เล้ยี ง หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งควรมกี ารปรับปรงุ ขอ้ มูลเกษตรกรใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั อยูเ่ สมอ 10) ควรมีการจัดเก็บขอ้ มลู เกษตรกรใหค้ รบถ้วน โดยเฉพาะหมายเลขโทรศัพทต์ ิดต่อเพอ่ื ความสะดวก ในการประสานการดำเนินงานโครงการ 11) ควรมีการสอบถามความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้ตรงกับ ความตอ้ งการของเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างย่งั ยืนและสามารถนำไปต่อยอดตอ่ ไปได้ 12) ควรเพ่ิมการประชาสัมพันธ์รายละเอียดการดำเนินงานโครงการฯ เพ่ือให้เกษตรกรและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทราบแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน เช่น คุณสมบัติของเกษตรกร แนวทางการดำเนินงาน การ สนบั สนุนองค์ความรู้ การสนับสนุนปัจจัยการผลติ การตดิ ตามตรวจเยีย่ มเกษตรกร เป็นตน้ 13) การมอบปัจจัยการผลิตควรทำในเวลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี เช่น พ้ืนทีที่เป็นทุ่งรับน้ำ ควร มอบพันธปุ์ ลาใหท้ ันเวลาก่อนใหป้ ลาโตจนจบั ไดก้ ่อนท่ีจะมีการปลอ่ ยน้ำเขา้ ทุ่ง 14) ควรคัดเลือกเกษตรกรท่ีดำเนินกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่อยู่เดิมแล้ว แต่ให้โครงการเข้าไป สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพ่ือต่อยอดอย่างจริงจังและประสบความสำเร็จอยู่ได้ด้วยตนเอง เพื่อให้เป็นแบบอย่าง แก่เกษตรกรบริเวณใกล้เคยี ง 15) ควรให้มีการประชุม 3 ประสาน /5 ประสานในพื้นท่ี เพ่ือเป็นการประสานการดำเนินงานของ ภาคส่วนตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้อง 16) หัวข้อวิชาในการฝึกอบรมให้แก่เกษตรกรควรเป็นหัวข้อท่ีเกษตรกรสามารถนำไปใช้ประโยชนใน ชวี ติ ประจำวันได้ เชน่ การขยายพนั ธ์ุพืช การเพาะเมลด็ พนั ธ์ุตา่ ง ๆ ------------------------------------------------------

-13- กลุ่มสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับมอบหมาย จากเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้ดำเนินการติดตาม และประเมินผลโครงการเกษตรกรที่ เข้าร่วมโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ปี 2562 โดยได้ทำการสุ่มตัวอย่าง เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการใน ปี 2562 ทั้ง 16 อำเภอ รวมจำนวน 80 ราย คิดเป็นร้อยละ 15 ของ เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการทั้งหมด เพ่ือติดตามประเมินผลความพึงพอใจและความคิดเห็นที่มีต่อโครงการ 5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ปี 2562 สรปุ ผลการติดตามประเมนิ ผลโครงการได้ ดังน้ี 1) เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ 5 ประสานสืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ถวายในหลวง ปี 2562 ที่ได้ทำ การติดตามประเมินผล จำนวน 80 ราย เป็นผู้ชาย 44 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 55 เปน็ ผู้หญิง จำนวน 36 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 อายุเฉลี่ยของเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ 59 ปี มีสมาชิกในครัวเรือนเฉล่ีย 4 ราย ทำการเกษตรเฉลยี่ ครัวเรือนละ 2 ราย 2) กิจกรรมเกษตรกรที่ทำจะเป็นนาข้าวเป็นหลักประมาณร้อยละ 95 ซ่ึงทำร่วมกับกิจกรรม การเกษตรอ่ืนด้วย ได้แก่ เลี้ยงปลา ปลูกพืชผัก ปลูกไม้ยืนต้น เล้ียงไก่ จะมีเพียง ร้อยละ 5 ท่ีจะทำการเกษตร แบบอ่นื แบบเชิงเด่ียว เช่น ทำนา เลี้ยงปลา เล้ียงไก่ ปลกู ผกั 3) รายได้ในครัวเรือน เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจะมีรายได้ส่วนใหญ่มาจากภาคเกษตร แต่จะมี รายได้จากเงินเดือนประจำของสมาชิกในครัวเรือนด้วย รายได้เฉล่ียของครัวเรือนประมาณ 260 ,000 บาท รายจ่ายเฉลี่ยต่อครวั เรือนประมาณ 120,000 บาท เกษตรกรมีหน้ีสิน 42 ครวั เรือน คิดเป็นร้อยละ 52.50 มลู ค่าหนส้ี นิ เฉลย่ี ครัวเรอื นละ 234,000 บาท หนี้สินสว่ นใหญ่นำมาใชใ้ นการลงทนุ ในการประกอบอาชพี และ ใช้จ่ายในครวั เรือน ไมม่ หี นส้ี นิ 38 ครวั เรือน คิดเป็นร้อยละ 47.50 4) เหตุผลในการเข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 95 มีเจ้าหน้าท่ี/ผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน มาชักชวนให้เข้าร่วม โครงการ และรอ้ ยละ 5 ญาติพน่ี ้อง/เพอื่ นบ้านชกั ชวนให้เข้าร่วมโครงการ 5) ความพึงพอใจในกรเข้าร่วมโครงการฯ รอ้ ยละ 82.92 มีความพึงพอใจในระดบั มาก ร้อยละ 9.76 มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด และร้อยละ 7.31 มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง โดยเกษตรกรคิดว่าการ เข้าร่วมโครงการเป็นการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาสู่การปฏิบัติสำหรับ ตนเองและครอบครัว และได้รับปัจจัยการผลิตที่เป็นการเริ่มต้นในการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง ทำให้มีกนิ มใี ช้และชว่ ยลดรายจา่ ยในครวั เรือนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 6) ปัจจัยการผลติ ที่เกษตรกรเข้าร่วมโครงการได้รบั ได้แก่ เมล็ดพันธ์ุผัก ต้นพันธ์ุหม่อน พันธุ์ปลา ไก่ ไข่ ไมผ้ ล/ไม้ยืนตน้ วสั ดอุ ุปกรณ์ในการทำนำ้ หมักชวี ภาพ ซง่ึ จากการลงติดตามผลการดำเนนิ งานพบว่า - ปลามกี ารเจรญิ เติบโตดี ยังไมไ่ ด้ผลผลิต - ไกไ่ ข่มีผลผลติ แลว้ ได้ไขไ่ ก่ 3 - 5 ฟองตอ่ วนั - เมล็ดพันธ์ุ เกษตรกรประมาณร้อยละ 70 ได้ทำการเพาะปลูกแล้ว และได้ผลผลิตไว้บริโภค ในครัวเรอื นและมีเหลอื นำไปจำหน่ายบางแล้ว ประมาณร้อยละ 50

-14- - พนั ธุ์หมอ่ นมีการเจรญิ เติบโตดียงั ไมใ่ หผ้ ลผลิต - ไม้ยืนต้น เกษตรกรทเี่ ข้ารว่ มโครงการในปนี ้ี ได้รบั ไม้ผลไม้ยนื ต้นเม่ือประมาณปลายปงี บประมาณ จึง ทำใหย้ ังไมไ่ ดผ้ ลผลติ - ปัจจัยการผลิตในการจัดทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ เกษตรกรบางรายได้ทำน้ำหมักไว้ใช้เองในครัวเรือน และจกจ่ายให้เพ่ือนบ้าน ญาติพ่ีน้องได้ใช้ด้วย และมีบางรายยังไม่ได้ทำไว้ใช้ หรือจากไม่มีเวลา หรอื ยังไม่ได้ทำ การเพาะปลูกพชื ต่าง ๆ ความพึงพอใจในปัจจัยการผลิตท่ีได้รับ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับมาก คิด เป็นรอ้ ยละ 75.61 พึงพอใจในระดบั ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 4.88 และพึงพอใจในระดบั มากที่สุด คดิ เป็น รอ้ ยละ 19.51 จากการสอบถามเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกีย่ วกับปัจจยั การผลติ ที่ไดร้ ับ เกษตรกรได้ดำเนินการกับ ปัจจยั การผลิตดงั น้ี (1) เมลด็ พนั ธท์ุ ่ไี ดร้ ับอยากใหส้ ออบถามความตอ้ งการว่าต้องการเมล็ดพนั ธ์ุอะไร เพราะบาง ชนิดท่ีได้รับมาไมต่ รงกบั ความต้องการจึงใหเ้ พ่ือนบ้านไปบา้ ง ยังไม่ทำการปลูกบ้าง เมื่อท้งิ ไว้นาน ๆ ทำคณุ ภาพ ของเมลด็ พันธุ์ลดลง เชน่ ป่นเสยี หายนำไปเพาะปลกู ไมไ่ ด้ (เมลด็ ขา้ วโพด) เกษตรกรบางรายได้นำผลผลิตมาบริโภคในครัวเรือนแล้ว และบางรายได้ขายผลผลิตท่ีปลูก เชน่ ข้าวโพด ทำรายได้ให้แก่ครอบครัวไดอ้ กี ทางหนงึ่ (2) พันธุไ์ ก่ไข่ เกษตรกรที่เลยี้ งไกอ่ ยู่แล้วจะมสี ถานทีส่ ำหรับเล้ยี งแล้วให้ผลผลติ แลว้ ทุกราย ได้ผลผลิตวันละ 3 – 5 ฟอง แต่บางคนไม่มีสถานที่เลี้ยงจะให้ไก่ไข่แก่เพ่ือน/ญาติพี่น้องที่มีสถานที่สำหรับ เลย้ี งไก่ หรือบางรายเล้ียงแบบปล่อยทำให้โดนสนุ ัข/ตวั เงนิ ตัวทองกัดตายจนหมดตง้ั แต่ยงั ไม่ได้ผลผลติ สำหรับครัวเรือนท่ีได้ผลผลิตจะนำมาบริโภคในครัวเรือนทำให้ลดรายจ่ายในครัวเรือน หาก เหลอื จากการบริโภคในครัวเรือนจะนำไปใหญ้ าติพ่นี อ้ ง/เพ่ือนบ้าน หรอื บางรายนำมาจำหน่ายทำให้มีรายได้เข้า ครัวเรือนไดด้ ้วย (3) พนั ธุ์ปลา เกษตรกรบางรายมีบ่อปลาอยู่แล้วจะเล้ยี งรวมกับปลาที่เลยี้ งไว้อยเู่ ดมิ การ เจริญเติบโตดี แต่บางรายไม่มีบ่อเล้ียง/บ่อไม่เหมาะสม/ไม่มีบ่อ จะนำไปให้เพ่ือนบ้าน/ญาติพี่น้อง ที่มีบ่อที่ เหมาะสมสำหรับเลีย้ งตอ่ ไป ขณะท่ีสัมภาษณ์ยังไมไ่ ดผ้ ลผลิต (4) ต้นพันธ์ุหม่อน เกษตรกรส่วนใหญ่ได้นำต้นพันธ์ุหมอ่ นที่ได้รบั รายละ 5 ตน้ ลงปลกู แลว้ เจริญเตบิ โตดี ยังไม่ใหผ้ ลผลติ (5) ไมผ้ ลไมย้ ืนตน้ สำนักงานเกษตรจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา หนว่ ยงานสนบั สนนุ ปจั จัยการ ผลิตได้ส่งมอบปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการในปี 2562 ได้แก่ ต้นพันธุ์มะม่วงน้ำดอกไม้ ตน้ พันธ์ุฝรงั่ กมิ จู จำนวนรายละ 1 ต้น ได้มอบปัจจยั เมื่อวนั ท่ี 19 – 20 สิงหาคม 2562 (6) ปจั จัยการผลิตน้ำหมักชวี ภาพ สถานีพฒั นาที่ดินจังหวัดสนับสนุนปัจจัยการผลิตในการทำ น้ำหมักชีวภาพให้แก่เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ ปี 2562 แต่ละรายจะได้รับ 4 รายการ คือ ผักผลไม้ กากน้ำตาล มลู วัว และถงั พลาสติก

-15- ปจั จัยการผลติ ทีไ่ ด้ผลผลิตเห็นภาพได้ชัดเจน ณ วันที่ลงมาสัมภาษณ์เกษตรกรคือ ไกไ่ ข่ จะได้ ผลผลิต ร้อยละ 100 ยกเว้นบางรายท่ีไก่ตายก่อนจะได้ผลผลิต ทำให้ลดรายจ่ายได้ครัวเรือนได้ทุกครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 100 บางครอบครัวเก็บไข่ไก่เหลือจากบริโภคสามารถนำมาจำหน่ายให้เพื่อนบ้านเป็น รายไดเ้ ข้าครอบครวั ได้ด้วย 7) การเข้ารับการอบรมตามโครงการฯ เกษตรกรเข้ารับการอบรมคิดเป็น ร้อยละ 100 และทุกคนมี ความเห็นว่ามปี ระโยชน์ในการนำมาปรับใช้ในการทำการเกษตร/ในการประกอบอาชีพ แต่บางคนให้คำแนะนำ เพม่ิ เติมวา่ ควรเน้นหัวข้อการอบรมที่เปน็ ประโยชน์ในการนำไปใช้ได้เห็นผลเป็นรูปธรรม เช่น การขยายพันธ์พุ ืช การปลูก/เล้ยี งสตั วเ์ ศรษฐกจิ 8) การตดิ ตามตรวจเย่ียมของเจา้ หน้าท่ีหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง เกษตรกรผู้เข้ารว่ มโครงการใหข้ อ้ มลู ด้าน การติดตามตรวจเยี่ยมของเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ดังนี้ เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องลงพื้นท่ีมา ตรวจเยี่ยมและให้คำแนะนำในการดำเนินกิจกรรมด้านการเกษตรดังน้ี มาสม่ำเสมอ คิดเป็นร้อยละ 53.65 มาบ้าง คิดเป็นร้อยละ 24.40 และไม่ได้รับการตรวจเย่ียมติดตามเลย คิดเป็นร้อยละ 21.95 ซ่ึงจากการ สอบถามเพ่ิมเติมว่าหน่วยงานท่ีลงมาตรวจเย่ียมส่วนใหญ่จะเป็นหน่วยงานพ่ีเล้ียงท่ีดูแลเกษตรกรแต่ละราย ลง มาตรวจเยี่ยมและให้คำแนะนำส่งเสรมิ กิจกรรมการทำการเกษตรด้านตา่ ง ๆ 9) การจัดทำแผนการผลิตและการจัดทำผังแปลงก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรมีการทำ แผนการผลิตและทำผังแปลงก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 24.39 ไม่ได้จัดทำคิดเป็นร้อยละ 75.61 จากการได้สัมภาษณ์เกษตรกรพบว่า เกษตรกรไม่ได้จัดทำแผนการผลิต/ผังแปลง เน่ืองจากไม่มี เจ้าหน้าที่ลงมาแนะนำหรือชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน และเกษตรกรไม่เห็นถึงความสำคัญในการจัดทำ แผนการผลิตและผังแปลงก่อน/หลังการเข้าร่วมโครงการ โดยเกษตรกรจะทำการผลิตตามที่ตนเองเคยทำแต่ เดมิ อยแู่ ล้ว จะรู้เวลาว่าช่วงไหนจะต้องทำอะไร อย่างไร และกิจกรรมทเ่ี กษตรกรทำจะเป็นแบบเดิม ๆ ไม่ได้ทำ กิจกรรมอะไรเพ่มิ เตมิ จากเดิม 10) การจัดทำบัญชีครัวเรือน/บัญชีต้นทุนการผลิต เกษตรกรมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน/บัญชีต้นทุน การผลิตคิดเป็นร้อยละ 19.51 ไม่ได้จัดทำคิดเป็นร้อยละ 80.49 ในเรื่องของการจัดทำบัญชีครัวเรือน เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ให้ความสำคัญในการจัดทำบัญชีครัวเรือนและบัญชีต้นทุนการผลิตเนื่องจากเห็นว่ามี รายได้เข้ามานาน ๆ คร้ัง แต่มีรายจ่ายออกทุกวัน จดบัญชีไม่ได้ทำแล้วไม่มีประโยชน์ไม่ได้ทำให้มีเงินเพิ่มข้ึน และเกษตรกรบางรายมีอายุมากแล้วไม่สามารถจดบัญชีด้วยตนเองได้ ถ้าจะจดต้องพ่ึงพาลกู หลานทำให้ยุ่งยาก และเกษตรกรบางรายต้องออกไปไรน่ าแต่เช้ามืดกว่าจะเข้าบ้านช่วงเยน็ หรอื คำ่ ทำใหไ้ มม่ ีเวลาทำบัญชีครัวเรือน และบางรายคิดวา่ แบบจัดทำบัญชีย่งุ ยากเกินไป บางรายจดบันทึกในรูปแบบของตนเองเป็นแบบเตือนความจำ ว่าไดใ้ ช้จ่ายอะไรไปบ้าง 11) การปรับเปลี่ยนแนวทาการดำเนนิ ชีวติ หลังจากเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรท่ีเข้ารว่ มโครงการที่ได้ ลงไปสัมภาษณ์ท้ังหมด ร้อยละ 90 ไม่ได้มีการปรับเปล่ียนแนวทางการดำเนินชีวิตหลังจากเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากส่วนใหญ่ทำกิจกรรมการเกษตรที่หลากหลาย/ผสมผสานอยู่เดิมแล้ว ได้ปัจจัยการผลิตมาเพิ่มเติมจะ นำมาปลูกแซมในพื้นที่ว่างของตนเอง หรือนำมาเล้ียงร่วมกับท่ีเคยเลี้ยงอยู่แล้ว ปัจจัยการผลิตท่ีได้รับจะเป็น ส่วนทเี่ สริมเพ่ิมในการลดรายจ่ายเปน็ หลัก มีสว่ นน้อยที่จะเปน็ การเพิม่ รายได้

-16- 12) ความพึงพอใจในภาพรวมของการเขา้ ร่วมโครงการของเกษตรกร ปี 2562 ร้อยละ 100 มคี วาม พึงพอใจในระดับมาก เนื่องจากเห็นว่าเป็นโครงการท่ีดี ที่ช่วยในการเริ่มต้นการดำเนินชีวิต แบบเศรษฐกิจ พอเพยี ง รจู้ ักพึงพาตนเอง เปน็ การลดรายจา่ ยให้แกค่ รัวเรือนได้ และบางคร้ังสามารถเพ่ิมรายได้ให้แก่ครวั เรือน ไดด้ ้วย และสามารถตอ่ ยอดเป็นอาชพี เสริม/อาชพี หลักในการเพม่ิ รายได้ให้แกค่ รอบครัวต่อไปได้ สรปุ ปญั หา – อปุ สรรคและข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการติดตามประเมนิ ผลโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ปี 2562 ในความคิดเห็นของผู้ลงพนื้ ท่ีตดิ ตามประเมนิ ผล เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรงุ พฒั นาการดำเนินเงนิ โครงการ ในปีตอ่ ๆ ไป ดังนี้ 1) การรบั สมัครเกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการสว่ นใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ เนอ่ื งจากจะอยู่บ้านไม่ได้ไปทำงาน นอกบ้าน/นอกภาคเกษตร วถิ ชี วี ิตของเกษตรกรจะทำแบบเดิม ๆ ไม่ค่อยยอมรับการเปลี่ยนแปลง เชอ่ื ม่ันใน ความคิดของตนเอง เชน่ แนะนำให้จดั ทำบัญชรี ายรับรายจา่ ยในครวั เรือนเพอ่ื จะไดน้ ำมาวางแผนการใชจ้ า่ ยใน ครวั เรือน สิ่งไหนไม่จำเป็นควรลดละเลิก ส่วนใหญ่เกษตรกรจะไม่ทำเนอื่ งคดิ ว่าไมจ่ ำเปน็ จดบนั ทกึ ไปไม่ได้ใช้ ประโยชนม์ เี งินใชอ้ ย่เู ท่าเดิม มีรายได้เข้ามานาน ๆ ครัง้ นอกน้นั เปน็ รายจ่าย 2) การมอบปจั จัยการผลติ ให้แกเ่ กษตรกร หน่วยงานพเี่ ล้ยี งควรลงไปสำรวจพ้ืนท่ีความเหมาะสมของ สภาพแวดล้อมและสอบถามความต้องการของเกษตรกรแต่ละราย เนือ่ งจากบางรายไม่มีสถานท่ีท่ีเหมาะสม/ พร้อม สำหรับเลย้ี งปลา เล้ยี งไก่ เม่ือได้ปจั จยั การผลิตมาจะนำไปใหเ้ พื่อนบ้าน/ญาติพี่น้อง หรือถ้าเล้ยี งไว้เอง พืน้ ทไี่ มม่ ี ไมม่ ีความเหมาะสมกจ็ ะโดนสตั ว์อ่ืน ๆ กัดตาย เช่น สุนัข ตัวเงินตัวทอง หรือมีบ่อน้ำแตส่ ภาพไม่ สมบรู ณ์ไมส่ ามารถเล้ยี งปลาได้ 3) เกษตรกรบางรายยังได้รบั ปัจจัยการผลติ /สมุดตรวจเย่ยี มไม่ครบ เน่อื งจากการสอบถามพบว่า หน่วยงานจะมอบให้ผนู้ ำชุมชน เชน่ ผใู้ หญบ่ ้าน กำนัน เจา้ หน้าที่ในระดบั พนื้ ที่ รวมรวบนำมามอบใหก้ ับ เกษตรกรท่ีอยู่ในการดูแล/ในพนื้ ท่ีแตย่ ังไม่ได้เอามาให้ ทำใหก้ ารลงตรวจเย่ียมของเจ้าหน้าทจ่ี ึงไม่ไดล้ งชอ่ื ลง ตรวจเย่ยี มในสมดุ 4) เกษตรกรสว่ นใหญ่จะไม่ได้ปรับเปลยี่ นวิถชี ีวติ ของตนเองหลงั จากเขา้ ร่วมโครงการ จากการลงพน้ื ท่ี พบว่าเกษตรกรส่วนใหญม่ ีวิถีชวี ติ ความเปน็ อยแู่ บบพอเพยี งอย่แู ลว้ เช่น ปลกู พชื ผักสวนครัวไวบ้ ริโภคใน ครวั เรอื น มกี ารทำการเกษตรทหี่ ลากหลายชนิดเพ่ือมรี ายไดเ้ ขา้ ครวั เรอื นทกุ วัน เชน่ ปลกู ใบเตย ปลกู บวั เลยี้ ง ปลา ฯลฯ หรือ เมอ่ื วางจากการทำการเกษตรได้มกี ารออกไปรับจ้างเพื่อเปน็ รายได้ให้แกค่ รอบครัว หรือมีคน ในครอบครวั มีรายได้ประจำอยู่ด้วย 5) การลงพ้ืนท่ีตรวจเย่ียมสว่ นใหญจ่ ะเปน็ เจา้ หน้าทีส่ ำนกั งานเกษตรอำเภอทลี่ งตรวจเยย่ี มเปน็ ประจำ และเจ้าหน้าที่หนว่ ยงานพ่เี ล้ียง แต่มบี างรายทบ่ี อกวา่ ยงั ไม่มีเจา้ หนา้ ทีม่ าติดตามตรวจเย่ียม 6) เกษตรกรไม่มีการจดั ทำแผนการผลติ กอ่ น/หลงั การจัดทำผังแปลง เน่ืองจากไม่เห็นถงึ ความสำคญั / ประโยชน์ เพราะกจิ กรรมหลัก ๆ ท่ีทำแบบเดิม ๆ อยู่แลว้ และบางรายบอกทำไม่เปน็ /ไม่ทราบวา่ ตอ้ งจดั ทำ เนอ่ื งจากไม่มเี จ้าหนา้ ทีแ่ นะนำ 7) เกษตรกรสว่ นใหญเ่ ข้ารว่ มโครงการกับหนว่ ยงานต่าง ๆ หลายหนว่ ยงาน หลายโครงการ ทำให้จำ ไมไ่ ด้วา่ เขา้ รว่ มโครงการอะไรไปบา้ ง และจำไม่ไดว้ า่ แตล่ ะโครงการมรี ายละเอียดอย่างไร ---------------------------------------------------------------------------

-17- ภาพกจิ กรรมการจดั ประชมุ คณะทำงาน 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง ระดบั จังหวดั จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เมอ่ื วนั ที่ 10 มกราคม 2562

-18- ภาพกิจกรรมการฝึกอบรมเกษตรกร

-19- ภาพกิจกรรมการฝึกอบรมเกษตรกร

-20- ภาพกิจกรรมการฝกึ อบรมเกษตรกร ‘

-21- ภาพกจิ กรรมการฝึกอบรมเกษตรกร

-22- ภาพกิจกรรมการมอบปจั จยั การผลติ แก่เกษตรกรผู้เขา้ รว่ มโครงการ

-23- ภาพกิจกรรมการมอบปัจจยั การผลติ แกเ่ กษตรกรผู้เขา้ รว่ มโครงการ

-24- ภาพกิจกรรมการมอบปจั จยั การผลติ แกเ่ กษตรกรผู้เขา้ รว่ มโครงการ ]

-25- ภาพกจิ กรรมการติดตามตรวจเยี่ยมเกษตรกร

-26- ภาพกจิ กรรมการติดตามตรวจเยี่ยมเกษตรกร

-27- ภาพกจิ กรรมการตดิ ตามตรวจเยี่ยมเกษตรกร

-28- ภาพกจิ กรรมการตดิ ตามตรวจเยี่ยมเกษตรกร

-29- ภาพกิจกรรมการตดิ ตามประเมินผลโครงการ

-30- ภาพกจิ กรรมการตดิ ตามประเมินผลโครงการ

-31- ภาพกจิ กรรมการตดิ ตามประเมินผลโครงการ