Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป Gov Lab ศพช.ลำปาง 2565

สรุป Gov Lab ศพช.ลำปาง 2565

Published by sisaykojung, 2022-06-12 07:50:15

Description: สรุป Gov Lab ศพช.ลำปาง 2565

Search

Read the Text Version

1 โครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) มีวัตถุประสงค์ เพื่อสรา้ งทีมนวัตกรในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน และพัฒนาทักษะด้านนวัตกรรมโดยการเรยี นรูผ้ ่านการลงมือทาจรงิ และพัฒนานวัตกรรม ภาครฐั อย่างมีส่วนรว่ มเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน โดยดาเนินการสรา้ งและพัฒนาต้นแบบ นวัตกรรมในพื้นท่ีเป้าหมาย คือ บ้านเมืองรวง หมู่ท่ี 5 ตาบลแม่กรณ์ อาเภอเมืองเชยี งราย จงั หวัดเชยี งราย ในประเด็นงานพัฒนาชุมชนเรอ่ ื ง การท่องเทยี่ วชุมชน ซง่ึ มกี ิจกรรมและกระบวนการ ดังนี้ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10.00 น. นายธนวัฒน์ ป่ ินแก้ว ผู้อานวยการสถาบันการ พัฒนาชุมชน เป็นประธานในการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ประ ชาชน ( Government Innovation Lab : Gov Lab) กิ จกรรมที่ 1 สร้าง ความเข้าใจทีมนวัตกร วัตถุประสงค์เพ่ือสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั การขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน และพัฒนา รูปแบบในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน โดยเป็นการฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรม Miro ไวท์บอรด์ แพลตฟอรม์ ผ่านระบบประชุมออนไลน์ ZOOM Cloud Meetings เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนงาน/โครงการ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยมที มี นวตั กรของศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง เข้ารว่ มประชุมดังกลา่ ว ณ ห้องประชุม 3 ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง

2 วันท่ี 15 กุมภาพันธ์ 2565 ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง เตรยี มความ พรอ้ มดาเนินโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ( Government Innovation Lab : Gov Lab)สรา้ งความเข้าใจทีมนวัตกร ในการใชโ้ ปรแกรม Miro ไวท์บอรด์ แพลตฟอรม์ ณ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองเชยี งราย จ. เชยี งราย และได้ลงศึกษาชุมชนเป้าหมาย บา้ นเมืองรวง หมู่ที่ 5 ตาบลแมก่ รณ์ อาเภอเมอื งเชยี งราย จงั หวดั เชยี งราย วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 08.00 – 11.00 น. นายธนวัฒน์ ป่ ินแก้ว ผู้อานวยการ สถาบันการพัฒนาชุมชน เป็นประธานในการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 1 การสรา้ งความเขา้ ใจทีมนวัต กร โดยวตั ถุประสงค์เพื่อสรา้ งทีมนวตั กรรมภาครฐั ในการขับเคลอ่ื นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน และ เพอื่ พฒั นารูปแบบในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน เพื่อให้สามารถขบั เคลื่อนงาน/โครงการ ให้เปน็ ไป อย่างมีประสิทธภิ าพ ผ่านระบบออนไลน์ ZOOM Cloud Meetings มีกิจกรรม/กระบวนการ ซงึ่ บรรยายโดย อาจารย์แพรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ได้แนะนาโครงการภาพรวมของกระบวนการทึม Innovation Lab : แนวคิดห้องปฏิบตั ิการนวัตกรรม และทมี นวตั กร (i-team) โดยมที มี นวตั กร ของศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชน ลาปาง รว่ มประชุมดังกลา่ ว ณ ห้องประชุม 3 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง

3 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 08.00 – 11.00 น. ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปาง รว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 1 วันท่ี 2 การสรา้ งความเข้าใจทีมนวัตกร โดย วัตถุประสงค์เพื่อสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน และเพื่อ พัฒนารูปแบบในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ในหัวข้อ “Co-initating : เรม่ ิ ต้นออกเดินทาง” วธิ กี ารสรา้ งสรรค์นวัตกรรมเพ่ือสังคม : การคิดเชิงระบบพบการคิดเชิงออกแบบ โดยอาจารย์แพรวา สาธุ ธรรม พรอ้ มคณะ ผ่านระบบ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศพช.ลาปาง วันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 08.00 – 11.00 น. ทมี นวัตกร ของศูนยศ์ ึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปาง รว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมท่ี 1 วันที่ ๓ การสรา้ งความเข้าใจทีมนวัตกร โดย วัตถุประสงค์เพ่ือสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน และเพื่อ พัฒนารูปแบบในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ในหัวข้อการกาหนดขอบเขตและระบุโจทย์ ด้วยการ เรยี นรูเ้ น้ือหาแล้วให้ทีมนวัตกรระดมสมองตามประเด็น ได้แก่ ปัญหา ส่ิงท่ีกลัว ส่ิงท่ีปรารถนาให้เกิดขึ้น กลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่ิงที่เรารู้ ส่ิงที่เราไม่รูแ้ ต่ต้องศึกษา และการต้ังโจทย์ พรอ้ มนาเสนอ โดยมีผู้อานวยการสถาบันการพัฒนาชุมชนและอาจารย์แพรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ช่วยเติมเต็ม ให้ คาแนะนา เพื่อให้สามารถเข้าถึงปัญหาและตอบโจทย์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างแท้จรงิ ผ่าน ระบบ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องงานวชิ าการ ศพช.ลาปาง

4 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 08.00 – 11.00 น. ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปางรว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมท่ี 1 วันท่ี ๔ การสรา้ งความเข้าใจทีมนวัตกร โดย วัตถปุ ระสงค์เพือ่ สรา้ งทมี นวัตกรรมภาครฐั ในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน และเพ่ือ พัฒนารูปแบบในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ด้วยการวเิ คราะห์สถานการณ์จาลอง “อนุมาน” หรอื “ข้อเท็จจรงิ ” ในการฝึกวเิ คราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ ด้วยกระบวนการ Empathize : “เข้า (ถึง) ใจ” เพ่ือเรยี นรู้ การเขา้ ใจปญั หา เขา้ ใจกลมุ่ เปา้ หมาย และค้นพบโอกาสใหม่ ๆ สามารถออกแบบนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ความ ต้องการที่แท้จรงิ ในท่ีสุด ผ่านการฟังอย่างลึกซงึ้ (Deep listening) และฝึกปฏิบัติการฟังอย่างลึกซงึ้ พรอ้ ม กับการฝึกการต้ังคาถาม ผ่านการระดมความคิดเห็นของทีมบนกระดานบอรด์ ออนไลน์ (Miro Board) โดย อาจารยแ์ พรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ผา่ นระบบ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศพช.ลาปาง วันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 08.00 – 11.00 น. ทีมนวัตกรของศูนยศ์ ึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปาง รว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 1 วันท่ี ๕ การสรา้ งความเข้าใจทีมนวัตกร โดย วัตถุประสงค์เพื่อสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน และเพื่อ พัฒนารูปแบบในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ซงึ่ กิจกรรมในวันนี้ มีดังน้ี 1) แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และทบทวนปญั หาและโจทย์สาหรบั การออกแบบนวตั กรรม (Design Challenge) รว่ มกับ Dream Team ๒) สรา้ งแผนผังประสบการณ์ (Journey Map) โดยฝึกปฏิบัติผ่านการระดมความคิดเห็น รว่ มกันของ Dream Team บนกระดานบอรด์ ออนไลน์ (Miro Board) ๓) วางแผนเก็บข้อมูลเพิ่มเติมในพ้ืนท่ีต้นแบบรว่ มกับ Dream Teamโดยอาจารย์แพรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ผา่ นระบบ ZOOM Cloud Meetings

5 วันที่ 1 มีนาคม 2565 นางอาไพ บัวระดก ผู้อานวยการกลุ่มงานยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา ชุมชน รกั ษาราชการแทนพัฒนาการจังหวัดเชียงราย และทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง ประชุม เพ่ือซักซ้อมแนวทางการดาเนินงานโครงการสร้างทีมนวัตกรรมภาครัฐในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมท่ี 2 แลกเปล่ียนเรยี นรูพ้ ื้นที่ต้นแบบ ณ ห้องประชุมสานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดเชยี งราย ซงึ่ กาหนดดาเนินการวันที่ 2 มีนาคม 2565 ณ พื้นที่ ต้นแบบนวัตกรรม หมู่ที่ 5 บ้านเมืองรวง ต.แม่กรณ์ อ.เมืองเชยี งราย จ.เชยี งราย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ สรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน และพัฒนารูปแบบในการ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน โดยให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง ได้ขับเคลื่อนการดาเนินงาน ดังกล่าว โดยได้กาหนดเป้าหมายในประเด็นการท่องเท่ียวชุมชน จะทาการค้นหาและทาความเข้าใจปัญหา (Empathize) โดยวธิ กี ารจดั เวทีประชุมเพ่อื รบั ฟังความคิดเห็น จาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ณ บ้านเมืองรวง หมู่ที่ 5 ตาบลแมก่ รณ์ อาเภอเมอื งเชยี งราย จงั หวดั เชยี งราย ซงึ่ เปน็ พนื้ ทต่ี ้นแบบในการดาเนนิ โครงการฯ วันท่ี 2 มีนาคม 2565 เวลา 09.00 น. ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง, ทีมนวัตกรสานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดเชยี งราย, ทีมนวัตกรสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองเชยี งราย, นวัตกรผู้เชยี่ วชาญ และทีมนวัตกรผู้นาหมู่บ้านบ้านเมืองรวง และกลุ่มองค์กรในชุมชน จานวน 48 คน รว่ ม ดาเนินโครงการสร้างทีมนวัตกรรมภาครัฐในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ( Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 2 เเลกเปล่ยี นเรยี นรพู้ ้นื ทีต่ ้นแบบ กิจกรรมย่อยท่ี 2.1 ประชุมเเลก เปลี่ยนเรยี นรูพ้ ื้นที่ต้นแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรา้ งความเข้าใจบรบิ ทภาพรวม การเข้าถึงสภาพปัญหา และความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ พรอ้ มทั้งระดมความคิดเห็นเพ่ือระบุความท้าทายและ ประเด็นสาคัญที่จะนามาแก้ไขปัญหาและสรา้ งสรรค์สิ่งใหม่ มีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยทีมนวัตกร และผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสีย จานวน 48 คน ณ พ้ืนที่ต้นแบบบ้านเมืองรวง หมู่ท่ี 5 ตาบลแม่กรณ์ อาเภอเมืองเชยี งราย จงั หวดั เชยี งราย ในหัวขอ้ “การทอ่ งเทย่ี วชุมชน” ซงึ่ มีกิจกรรมดังน้ี ๑) สรา้ งความเขา้ ใจบรบิ ทภาพรวม การเข้าถึงสภาพปญั หาและความต้องการทแี่ ทจ้ รงิ ของผู้ มีส่วนได้เสียฝา่ ยต่าง ๆ ๒) แบง่ ทีมลงพนื้ ทส่ี ัมภาษณจ์ ดั เก็บขอ้ มลู แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ระดับครวั เรอื น ๓) จดั เก็บขอ้ มลู ระดับชุมชน แบบ Focus Group เพอื่ ระบคุ วามท้าทายและประเด็นสาคัญ ที่จะนามาแก้ไขปญั หาและสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่

6 ๔) ให้ตัวแทนนาเสนอผลการจดั เก็บขอ้ มลู ๕) นาสู่การตั้งโจทย์รว่ มกัน คอื “เราจะทาอย่างไร ให้นักทอ่ งเท่ยี วมาเทย่ี วบา้ นเมืองรวงมากขึ้น และ มีกิจกรรมทเี่ หมาะสม” วันที่ 3 มีนาคม 2565 เวลา 08.00 น. ทีมนวัตกรศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง เข้า รว่ มโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน (Government innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมท่ี 2 แลกเปล่ียนเรยี นรู้พื้นที่ต้นแบบ กิจกรรมย่อยที่ 2.2 นาเสนอผลการ แลกเปลี่ยนเรยี นรพู้ ืน้ ทต่ี ้นแบบ โดยมีกิจกรรม ดังน้ี ๑) เรยี นรเู้ ครอ่ ื งมือการสรา้ งผู้ใชจ้ าลอง (Persona) ๒) นาเสนอผลการแลกเปล่ียนเรยี นรูพ้ ้ืนท่ีต้นแบบบ้านเมืองรวง หมู่ที่ 5 ตาบลแม่กรณ์ อาเภอเมืองเชยี งราย จงั หวัดเชยี งราย หัวข้อ “การท่องเที่ยวชุมชน” ได้รบั การเติมเต็ม และข้อแนะนา โดย อาจารย์แพรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Cloud Meeting ณ ห้องประชุมสานักงาน พัฒนาชุมชนจงั หวดั เชยี งราย

7 วันที่ 14 มีนาคม 2565 เวลา 07.30 – 10.30 น. ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปาง รว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 3 วันท่ี ๑ การวเิ คราะห์ปัญหา และกาหนดโจทย์ การออกแบบนวัตกรรม โดยการสังเคราะห์ข้อมูลจากการลงพ้ืนท่ี ผ่านเครอ่ ื งมือการสรา้ งแผนผังประสบการณ์ (Journey Map) และการสรา้ งผู้ใชจ้ าลอง (Persona) ได้รบั การเติมเต็มองค์ความรูก้ ารวเิ คราะห์ปัญหาเชิง ระบบ (System Thinking) ในการวเิ คราะห์ความซบั ซ้อนของปัญหาผ่านเครอ่ ื งมือ Matrix เพื่อชว่ ยการจัด กลุ่มข้อมูลให้เห็นประเภทย่อยของกลุ่มเป้าหมาย การคิดเชงิ ประสบการณ์ด้วย “โมเดลภูเขาน้าแข็ง” และได้ ฝึกปฏิบัติบนกระดานบอรด์ ออนไลน์ (Miro Board) โดยอาจารย์แพรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ผ่านระบบ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศพช. ลาปาง วันที่ 21 มีนาคม 2565 เวลา 09.00 น. นายธนวัฒน์ ป่ นิ แก้ว ผอู้ านวยการสถาบนั การพฒั นาชุมชน เป็นประธานในการอบรมเพมิ่ ทักษะและความรู้ ตามโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) โดย มีทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง รว่ มอบรมในกิจกรรมท่ี 4 ออกแบบนวัตกรรมเชงิ พ้ืนท่ี กิจกรรมย่อยท่ี 4.2 วันที่ ๑ การขับเคลื่อน ชุมชนด้วยการจัดการความรู้ และการนานวัตกรรมสังคม ผ่านระบบ ออนไลน์ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชุมชนลาปาง โดยมีกิจกรรม ดังน้ี ๑) บรรยายให้ความรใู้ นเรอ่ ื ง การทาความเข้าใจเบ้อื งต้น นิยามและขั้นตอนของการสรา้ งสรรค์นวัตกรรม และนวตั กรรมสังคม โดย ดร.ศิญาณี หริ ญั สาลี อาจารย์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

8 ๒) แบ่งกลุ่มยอ่ ย ทบทวนความเขา้ ใจรว่ มกับวทิ ยากรกระบวนการ และสรุปความเข้าใจรว่ มกัน ๓) บรรยายให้ความรูใ้ นเรอ่ ื ง นวัตกรรมชุมชน นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ และการสรา้ งบรกิ าร สังคม โดย ดร.นัชชา เทยี มพทิ กั ษ์ อาจารย์มหาวทิ ยาลยั รงั สิต ๔) บรรยายให้ความรูใ้ นเรอ่ ื ง ถอดบทเรยี นความสาเรจ็ จากกรณีศึกษา โดย ดร.สุนทร คุณชยั มัง ผู้อานวยการสถาบันวจิ ยั เพ่อื การนวตั กรรมสังคม ๕) แบ่งกลุ่มย่อย ทบทวนความเข้าใจ พรอ้ มแลกเปล่ียนแนวทางสรา้ งสรรค์รว่ มกับวทิ ยากร กระบวนการสรุปความเข้าใจรว่ มกัน วันท่ี 22 มีนาคม 2565 เวลา 09.00 น. ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง เข้ารว่ มอบรมเพ่ิมทักษะและความรู้ ตามโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 4 ออกแบบนวัตกรรมเชงิ พื้นท่ี กิจกรรมย่อย ท่ี 4.2 วันที่ 2 การขับเคลื่อนชุมชนด้วยการจัดการความรู้ และการนานวัตกรรมสังคม ผ่านระบบออนไลน์ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง โดยมีกิจกรรม ดังนี้ ๑) การบรรยาย เร่อื ง การทาความเข้าใจการสร้างงานให้สาเร็จและการอธิบายการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม โดย ผศ.วรี ะบูรณ์ วสิ ารทสกุล จากวทิ ยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อ๊ึงภากรณ์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ๒) แบ่งห้องย่อยระดมความคิด ทบทวนความเข้าใจรว่ มกับวทิ ยากรกระบวนการ สรุปความ เขา้ ใจรว่ มกัน พรอ้ มข้อสังเกตจากห้องยอ่ ย ๓) การบรรยายเรอ่ ื ง การบรหิ ารงานเพื่อสนับสนุนงานนวัตกรรมชุมชนและการขยายผลสู่ การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคม โดย ดร.สุนทร คุณชัยมัง อาจารย์ประจาว ทิ ยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวทิ ยาลัยรงั สิต ๔) แบ่งห้องย่อย ทบทวนความเข้าใจพรอ้ มแลกเปลี่ยนแนวทางสรา้ งสรรค์รว่ มกับวทิ ยากร กระบวนการ และสรุปความเข้าใจรว่ มกัน พรอ้ มข้อสังเกตจากห้องย่อย เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มสมรรถนะ บคุ ลากรและขบั เคลอ่ื นองค์กรสู่ “องค์กรแห่งการเรยี นรู”้ ในอนาคต

9 วันที่ 29 มีนาคม 2565 เวลา 07.30 – 10.30 น. ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปาง รว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 4 ออกแบบนวตั กรรมเชงิ พน้ื ที่ กิจกรรมย่อยที่ 4.1 การ ออกแบบนวัตกรรมเชงิ พ้ืนท่ี โดยวทิ ยากรอาจารย์แพรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ผ่านระบบ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศพช. ลาปาง ซงึ่ กิจกรรมในวันนี้ มดี ังน้ี ๑) การทบทวนความเชอื่ มโยงของกิจกรรมความเข้าใจเชงิ ลึก (Insights) ๒) การวเิ คราะห์จุดคานงัด (Leverage points) ในการตั้งโจทย์สาหรบั การระดมความคิด (Define) ไปสู่การเชอ่ื มโยงส่ิงแตกต่าง (Forced connection) โดยการให้ทีมนวัตกรรว่ มกันระดมความ คิดเห็นผ่านกระดานบอรด์ ออนไลน์ (Miro Board) วันที่ 7 เมษายน 2565 เวลา 07.30 – 10.30 น. ทีมนวัตกรของศูนย์ศึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปาง รว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมท่ี 4 ออกแบบนวัตกรรมเชิงพ้ืนท่ี กิจกรรมย่อยท่ี 4.1 วันที่ 4 การออกแบบนวัตกรรมเชงิ พื้นที่ โดยวทิ ยากรอาจารย์แพรวา สาธุธรรม พรอ้ มคณะ ผ่านระบบ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศพช. ลาปาง ซง่ึ กิจกรรมในวันนี้ มดี ังน้ี ๑) การสะกิดพฤติกรรม ๒) เครอ่ ื งมอื ออกแบบพฤติกรรม ๓) กิจกรรมแบง่ กล่มุ ระดมสมอง โดยการให้ทมี นวัตกรรว่ มกันระดมความคิดเห็นผ่านกระดาน บอรด์ ออนไลน์ (Miro Board) ๔) สรปุ บทเรยี น

10 วันท่ี 31 มีนาคม 2565 เวลา 07.30 – 10.30 น. นายยอดชาย ผ้าเจรญิ ผู้อานวยการ ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง พรอ้ มด้วยเจา้ หน้าท่ีศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง (ทีมนวัตกร) รว่ ม การประชุมโครงการสรา้ งทีมนวัตกรรมภาครฐั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ( Government Innovation Lab : Gov Lab) กิจกรรมที่ 4 ออกแบบนวัตกรรมเชงิ พื้นท่ี กิจกรรมย่อยที่ 4.1 การออกแบบ นวตั กรรมเชงิ พนื้ ที่ ซง่ึ กิจกรรมในวนั นี้ มีดังนี้ 1) ทบทวนโจทยน์ วตั กรรม 2) การเรยี นรู้ เรอ่ ื งการหาแรงบนั ดาลใจ และการระดมความคิดไอเดียพรอ้ มทงั้ เลือกไอเดีย 3) ทีมนวัตกรรว่ มกันสรา้ งต้นแบบนวัตกรรม (Prototype) ที่จะเขา้ ไปทดสอบในพืน้ ท่ี โดย ได้สรา้ งต้นแบบนวัตกรรมสาหรบั ดาเนินการทดสอบ ณ บ้านเมืองรวง จานวน 3 Prototype โดยการให้ทีม นวัตกรรว่ มกันระดมความคิดเห็นผ่านกระดานบอรด์ ออนไลน์ (Miro Board) ได้แก่ - การสื่อสาร ในเรอ่ ื งการสรา้ ง Website - ปฏิทนิ “พากิน พาทา พาเที่ยว บ้านเมอื งรวง” หรอื ปฏิทนิ เที่ยวทัง้ ปีสุขภาพดีทีเ่ มืองรวง - 3 กิจกรรมไฮไลท์ “ท่องเทยี่ วสุขภาพดีวถิ ีเมืองรวง” ได้แก่ สุดสาย ยายกอง, ธรรมชาติ บาบดั สับปะรดสี ชุบชวี ี ที่เมืองรวง และ นา้ แสนดอก พรอ้ มทั้งโปรโมชน่ั พิเศษสาหรบั การท่องเท่ยี วบ้านเมืองรวง

11 วันที่ 11 เมษายน 2565 ทีมนวัตกรของศูนย์ ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง รว่ มการประชุมโครงการสรา้ งทีม นวัตกรรมภาครัฐในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ( Government Innovation Lab : Gov Lab) กิ จ ก ร ร ม ที่ 4 ออกแบบนวัตกรรมเชงิ พนื้ ที่ กิจกรรมยอ่ ยที่ 4.1 วันที่ ๕ ผา่ นระบบ ZOOM Cloud Meetings ณ ห้องประชุม 3 ศพช. ลาปาง ซ่ึง กิจกรรมในวนั นี้ มีดังน้ี ๑) การนาเสนอต้นแบบนวัตกรรม โดยการ จาลองประสบการณ์ผ่านการแสดงบทบาทสมมุติ โดยได้จาลอง เป็น “นักท่องเที่ยวที่มีความสนใจท่ีจะมาท้องเท่ียวบ้านเมืองรวง และมีการโทรเข้ามาสอบถาม ถึงโปรแกรมการท่องเท่ียว กิจกรรม และโปรโมชั่นพิเศษ โดยมีโอเปอเรเตอร์ของบ้านเมืองรวงทา หน้าที่แนะนา และประชาสัมพันธ”์ หลังจากนั้น ได้รบั ฟังความคิดเห็นวทิ ยากรและศูนย์ฯ อื่น นาไปปรบั ปรุง เพอื่ นาไปทดสอบกับพ้นื ทต่ี ้นแบบต่อไปได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๒) การทดสอบแนวคิดในพน้ื ท่ี (Field test) และสะทอ้ นการเรยี นรจู้ ากการอบรม ๓) การรว่ มสะท้อนแสดงความคิดเห็น (ความรูส้ ึกเก่ียวกับกระบวนการ, สิ่งท่ีได้เรยี นรู,้ สามารถนาสิ่งท่ไี ด้เรยี นรูน้ าไปปรบั ใชใ้ นงานหรอื ชวี ติ ประจาวัน ได้อย่างไร

12 กิจกรรมการทดสอบต้นแบบนวัตกรรม ดาเนินการระหวา่ งวนั ท่ี ๕ – ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ตารางสรุปกิจกรรมทด่ี าเนินการ วันที่ สาระสาคัญของกิจกรรม 1. ประชุมทีมนวัตกรรมรว่ มกัน เพ่ือเตรยี มความพรอ้ ม สาหรบั จัดกิจกรรมการทดสอบต้นแบบนวัตกรรม จ. เชยี งราย ณ ศพช.ลาปาง ๕ พ.ค. ๖๕ ๒. ทมี นวตั กรรมของ ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง ออกเดินทางรว่ มกัน ไปยัง จ.เชยี งราย เพ่อื สมทบกับทมี นวัตกรรมในพื้นที่ ๓. นัดหมายการประชุมทีม กับทีมนวัตกรเชยี งรายเพื่อ เตรยี มความพรอ้ มรว่ มกันระหวา่ งทีมนวัตกรรมเบ้ืองต้น ในกิจกรรมท่จี ะดาเนนิ การ ๔. เตรยี มความพรอ้ มในสถานที่สาหรบั การจัดประชุม/ สถานที่จดั กิจกรรม ๑. ทีมนวัตกรและผู้มีส่วนได้เสียในหมู่บ้านและผู้นา ชุมชน ประชุมรว่ มกัน เพื่อเตรยี มความพรอ้ ม ในการ ทดสอบนวัตกรรม ๖ พ.ค. ๖๕ ๒. ทบทวนปฏิทินทั้ง ๑๒ เดือน สาหรบั ออกแบบกิจกรรม การทอ่ งเท่ยี ว สู่การออกแบบรว่ มกันเปน็ ปฏิทนิ เทย่ี วท้ัง ปี สุขภาพดี ทเ่ี มอื งรวง ๓. รว่ มกันหาแนวทางส่งเสรมิ การท่องเที่ยว และกาหนด โปรโมชนั่ สาหรบั นักทอ่ งเท่ยี ว

13 วันท่ี สาระสาคัญของกิจกรรม ๔. ดาเนินการทดสอบนวัตกรรม ครง้ั แรก ใน กิจกรรม ไฮไลท์จานวน ๔ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรม สุดสายยาย กอง ปลกู สับปะรดสี ชุบชวี ที ี่เมอื งรวง น้าแสนดอก และ ตุ๊กตาสมนุ ไพร ๖ พ.ค. ๖๕ ๕. สรุปบทเรยี นร่วมกั น เพ่ือปรับปรุงพัฒนาง าน เตรยี มพรอ้ มในการทดสอบครง้ั ต่อไป อาทิการกาหนด โปรโมชน่ั ท่ีน่าสนใจใหม่ จดั เตรยี มคนประจาฐานในแต่ ล ะ กิ จก รรมไ ฮ ไ ลท์ แ ละ การอานวยความสะ ด ว ก นักท่องเทย่ี ว ๖. ประชาสัมพันธก์ ิจกรรมหลากหลายชอ่ งทาง สาหรบั นักทอ่ งเทยี่ ว อาทิ เสียงตามสาย และ Facebook บ้านเมอื งรวง ๑. นานักท่องเท่ียวลงทะเบียนและเข้าจุดคัดกรอง เพ่ือ เข้ารว่ มกิจกรรม ไฮไลทท์ ั้ง ๔ กิจกรรม ตามโปรโมชน่ั ที่ นักทอ่ งเท่ยี วได้รบั (ซอื้ สินค้าครบตามจานวน) ๒. อานวยความสะดวกแก่นักท่องเท่ียว มีจักรยานไว้ บรกิ ารเพ่ือไปยังกิจกรรมท่ีนักท่องเที่ยวเลือก และ นักทอ่ งเทยี่ วได้เข้ารว่ มทากิจกรรม ๗ พ.ค. ๖๕ ๓. ประเมินความพึงพอใจของนักท่องเท่ียว เพ่ือนาไป ปรบั ปรงุ การจดั กิจกรรมในครง้ั ต่อไป ๔. สรุปบทเรยี นรว่ มกัน แลกเปล่ียนเรยี นรู้ หาทาง พัฒนางานในลาดับต่อไป ๕. หารอื เตรยี มความพรอ้ ม สาหรบั การนาเสนอ

14 รายละเอียดของกิจกรรมการทดสอบต้นแบบนวัตกรรม วนั ท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ มรี ายละเอียด ดังน้ี ๑. จดั เวทปี ระชุมสาหรบั ทมี นวตั กร ทั้ง ๑๗ คน และผูม้ สี ่วนได้เสียในหมู่บา้ น โ ด ย มี ก า ร จั ด ป ร ะ ชุ ม ร่ว ม เ พ่ื อ ใ ห้ ที ม นวัตกรรม ซ่ึงประกอบด้วย ทีมนวัตกรจากศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชุมชนลาปาง เจา้ หน้าที่จากสานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดเชียงราย ซึ่งนอกเหนือจากทีมนวัตกร ซ่ึงเป็น นักวชิ าการแลว้ ในการน้ี พัฒนาการจงั หวดั เชยี งราย พรอ้ ม ด้วยผู้อานวยการกลุ่มฯ ได้ เดินทางมาร่วมให้กาลังใจ แลกเปลยี่ นแนวคิดรว่ มกัน ตลอดจนให้แนวทางการทางาน ที่เน้นกระบวนการมีส่วนรว่ มจากทุกภาคส่วน คณะจาก อาเภอเมืองเชยี งราย และรว่ มด้วยทีมนวัตกรจากอาเภอเมืองเชยี งราย พรอ้ มด้วยพัฒนาการอาเภอเมือง เชยี งราย นักวชิ าการพัฒนาชุมชน และผู้นาชุมชน ตลอดจนตัวแทนกลุ่ม องค์กร และแกนนาในกิจกรรม ต่าง ๆ ในการประชุมเป็นการเตรยี มความพรอ้ ม สาหรบั การทดสอบนวัตกรรม ซง่ึ มีที่มาจากการความต้องการ ของคนในพ้ืนที่ บ้านเมืองรวง ที่ต้องการที่จะพัฒนาในด้าน การท่องเที่ยวของชุมชนบ้านเมืองรวง โดยเฉพาะอย่างย่ิง สาหรบั นักท่องเท่ียวทั่วไป และเป็นการท่องเที่ยวท่ีเน้นด้าน สุขภาพเพ่ือรบั มือกับวถิ ีใหม่แบบ Next Normal ซึ่งเป็นท่ี ทราบกันดีว่า การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจโลกอย่างรุนแรงและเป็นวงกว้าง ทาให้ โลกเข้าสู่ภาวะถดถอยอย่างมาก ในส่วนของบ้านเมืองรวงนั้น ก็ได้รบั ผลกระทบไปด้วย หากสามารถ ปรบั ตัวได้จะยังคงอย่รู อดและสามารถเติบโตต่อไป และหลงั จากผ่านพน้ วกิ ฤตนี้ไป จะทาให้เกิดสิ่งใหม่ท่ี เรยี กว่า “New Normal” หรอื New Norm ข้ึน ซ่งึ ก็หมายถึง “ความปกติใหม่” นั่นคือ การปรบั เปลี่ยน พฤติกรรมของผู้คนในการใชช้ วี ติ ประจาวันจากวถิ ีการใช้ชวี ติ ของมนุษย์ได้แปรเปล่ียนไปจากปกติ หนึ่ง สัญญาณท่กี าลงั บอกให้เราได้รบั รคู้ ือ ผคู้ นกาลงั ตระหนักถึงเรอ่ ื ง สุขภาพ เพม่ิ มากข้ึนกวา่ เดิม

15 สืบเน่ืองจากการประชุมตามกิจกรรมที่ผ่านมา บ้านเมืองรวง ต.แม่กรณ์ อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงรายมีความ ต้องการในการพัฒนาต้นแบบด้านการท่องเที่ยวชุมชน และคน ในชุมชนพรอ้ มท่ีจะเข้ามามีส่วนร่วม พรอ้ มรบั การพื้นตัวของ นักทอ่ งเทย่ี ว ท่ีปจั จุบนั จะเน้นการทอ่ งเท่ียวเชงิ สุขภาพมากยิง่ ข้นึ สอดคล้องกับการอ้างอิงจากคาพูดของนายกรด โรจนเสถียร นายกสมาคมการส่งเสรมิ สุขภาพไทย ที่กล่าวว่าโจทย์สาคัญท่ี ประเทศต้องมองนอกจากภาคท่องเที่ยวจะฟ้ ืนตัวแล้ว ต้องใช้ เวลานีท้ บทวนปรบั โครงสรา้ งการทอ่ งเทย่ี วของไทยด้วย ส ถ า น ก า ร ณ์ ใ น ข ณ ะ นี้ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมแล้ว การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพจะได้รบั ค ว า ม นิ ย ม ม า ก ขึ้ น แ ล ะ นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว เ ชิง สุ ข ภ า พ เ ป็ น นักท่องเที่ยวท่ีมีความรบั ผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม จะส่งเสรมิ การ ท่องเที่ยวอย่างไรให้ดูแลและรกั ษาไวซ้ งึ่ มรดกทางธรรมชาติรว่ ม ด้วยโลกใหม่ new normal ต้องมามองว่าผู้คนในโลกจะเน้นไป ท่ี สุ ข ภ า พ แ ล ะ สุ ข อ น า มั ย เ พิ่ ม ขึ้ น ก า ร ร ะ บ า ด โ ค ว ดิ ก า ลั ง ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมของนักเดินทางให้อยู่ในระยะใกล้มากข้ึน และปรบั ไปสู่การท่องเท่ียวจากเดิมเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ เป็นกรุป๊ ทัวร์ กลายเป็นการท่องเที่ยวแบบพิเศษ เฉพาะตัว ดังนั้นต้องหาวธิ กี ารให้เกิดการขยายกลุ่ม/ ความถี่ของนักท่องเที่ยว กระจายรายได้ของการ ท่องเทยี่ วทงั้ 3 กลมุ่

16 คือ 1.การท่องเท่ยี วเชงิ สุขภาพ 2.การทอ่ งเทย่ี วทไ่ี ด้สัมผสั วถิ ีชวี ติ คนท้องถ่ิน และ 3.การ ท่องเทย่ี วทเี่ กี่ยวกับการทางานนอกจากนัน้ ให้แพลตฟอรม์ ด้านการท่องเทย่ี วเป็น one stop service บ้านเมืองรวง ได้มีความต่ืนตัว กับการปรบั ตัว ให้สอดรบั กับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ซง่ึ หากมองจากจาก เทรนด์ท่องเที่ยวปี 65 อ้างอิงจากสถาบันด้านสุขภาพสากล มี แนวโน้มในการกลับมาอีกครง้ั ของ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ดังนั้น ในการวเิ คราะห์เพื่อทาการทดสอบนวัตกรรมในเบ้ืองต้น จงึ นาแนวคิดที่ได้จากการประชุมรว่ มกันในครงั้ ก่อนของกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรยี นรูพ้ ้ืนที่ต้นแบบ ประกอบกับการประชุมผ่าน ระบบออนไลน์รว่ มกันกับคณะที่ปรกึ ษาและผู้นาชุมชน สู่แผนผัง ประสบการณ์ ท่ใี ชส้ าหรบั การวางแผนการดาเนนิ กิจกรรม ต่อไป ๒. ในข้ันตอนของการทบทวนปฏิทิน ท้ัง ๑๒ เดือน สาหรับการออบแบบกิจกรรมการท่องเท่ียว เป็นการ ผสมผสานระหว่างแผนผังประสบการณ์(ในประเด็นในด้านการ ส่งเสรมิ การท่องเท่ียวชุมชน) บนพื้นฐานแก่นแท้ ของความเป็น ไทย วถิ ีชีวติ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ศิลปวัฒนธรรม ที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ส่งผลให้ชุมชนได้มีโอกาสรอ้ ื ฟ้ ืนและเห็นคุณค่าของวถิ ี ชีวติ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่กาลังจะเลือนหายไปในสังคมปัจจุบัน ตลอดจนส่งผ่านความภาคภูมิใจสู่รุน่ ลูกรุน่ หลาน จากแผนผัง ประสบการณ์ ได้มีการรว่ มกันทบทวนวเิ คราะห์ในแต่ละประเด็น โดยสามารถจาแนกตามลาดับ ได้เป็น เรอ่ ื งการดึงดูดให้คนสนใจ มาท่องเที่ยวด้วยภาพทรงพลัง มีโลโก้พญาลวง กิจกรรมแชะชม ชมิ การสรา้ งแรงจูงใจ ด้วยแพคเกจ โปรโมชน่ั และเมนูอาหาร สุขภาพ การสรา้ งปฏิสัมพันธ์ระหว่างการใช้บรกิ าร ด้วยการให้ นักท่องเท่ียวมีส่วนรว่ มในกิจกรรม ท้ังพากิน พาทา และพาเที่ยว มีการสรา้ งความประทับใจให้นักท่องเท่ียว ด้วยการมอบของที่ละ ลึก และมกี ิจกรรมการทาบญุ ตักบาตร มบี รกิ ารหลังการท่องเทย่ี ว ทาให้เกิดความคิดถึง บอกต่อ และกลับมาสู่การใชบ้ รกิ ารอกี ครงั้

17 ๒.๑ เดือนมกราคม ได้พัฒนาปฏิทินรว่ มกัน โดยมี กิจกรรมสาคัญ สาหรบั นักท่องเท่ียวสามารถเข้ารว่ มกิจกรรมได ได้แก่ กิจกรรมตานข้าวใหม่ซึง่ เป็นกุศโลบายของคนโบราณสอน ลูกหลานให้มคี วามกตัญญกู ตเวทีต่อผ้มู ีพระคุณ โดยอาศัยฤดูเกี่ยว ข้าวเป็นช่วงทาบุญ วางแผนในการเชื่อมโยงแหล่งท่องเท่ียวแอ่ง ใหญ่ เน่ืองจากอยู่ใกล้สถานที่สาคัญ ได้แก่ วัดรอ่ งขุ่น และสิงห์ ปารค์ ตลอดจนกิจกรรมการทาแนวกันไฟ เนื่องจากบ้านเมืองรวงมี ป่าชุมชนที่สามารถให้นักท่องเท่ียวเข้าไปสัมผัส การทาแนวกันไฟ เพือ่ ยับย้งั ไฟปา่ และเปน็ แนวตั้งรบั ในการดับไฟปา่ ๒.๒ เดือนกุมภาพันธ์ มีกิจกรรมสาคัญได้แก่ การ เชื่อมโยงโฮมสเตย์กับเทศกาลบอลลูนสิงห์ปารค์ (หรอื เทศกาล บอลลูนแห่งความรกั ) เป็นการอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว ซงึ่ จะมปี รมิ าณมาก และต้องการหาทพ่ี กั ซง่ึ บา้ นเมืองรวง ก็พรอ้ มที่ จะอานวยการด้านโฮมสเตย์เพ่ือรองรบั นักท่องเท่ียว ที่มางาน ดังกลา่ ว ในชว่ งท่ีสามารถจดั กิจกรรมได้ ๒.๓ เดือนมีนาคม มีกิจกรรมสาคัญได้แก่ การเดิน ขึ้นดอย และชม จุดชมววิ ซ่ึงแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติของ ชุมชนบ้านเมืองรวง คือ บรรยากาศทุ่งนา ตามธรรมชาติ ซ่ึง นักท่องเท่ียวสามารถป่ ันจกั รยานเย่ียมชมและรบั บรรยากาศแบบ ท้องทุ่งในยามเชา้ ตรู่ หรอื ยามเย็น เพอ่ื ชมวถิ ีชวี ติ และรบั บรรยากาศ แบบธรรมชาติ บนท้องไรท่ ้องนาในแบบวถิ ีชวี ติ ของคนบ้านเมืองรวง

18 ๒.๔ เดือนเมษายน มีกิจกรรมสาคัญได้แก่กบ พลอดรกั (กบรอ้ ง) ประเพณสงเคราะห์บ้าน เป็นประเพณีทช่ี าวบ้าน ทาการทอดกันมายาวนาน เนือ่ งจากพิธสี ืบชะตาหมู่บา้ น ณ ใจกลาง ของหมบู่ า้ น หรอื เส้ียวบา้ น โดยมลี กั ษณะเปน็ อาคารอเนกประสงค์ ของหมู่บ้าน หลักเมืองหรอื ศาลเจา้ บรรพบุรุษ ทากันก่อนประเพณี สงกรานต์ ผู้ดาเนินพิธคี ือ ส่วนใหญ่เป็นผู้ชายสูงอายุซ่ึงประกอบ พธิ นี ้ีเปน็ ประจาทุกปี ตลอดจนการเก็บเห็ดและแมงมัน ๒.๕ เดือนพฤษภาคม มีกิจกรรมสาคัญ ได้แก่ การให้นักท่องเที่ยว ได้รว่ มกัน หาของป่า การเก็บเห็ด ซงึ่ เป็นชว่ งฤดูที่เห็ดจะเจรญิ เติบโตได้ดี มีการหาหน่อไม้(หากเป็นฤดูฝนจะสามารถหาได้ดี) สัมผัสวถิ ีชวี ติ แบบชาวบ้าน การขุดปู(ในหน้าหนาวปูนาจะเรม่ ิ เข้าอยู่ในรู หรอื เรยี กว่าจาศีล) และการหา ปลา ด้วยวธิ กี ารทไ่ี มเ่ บยี ดเบียนธรรมชาติ ๒.๖ เดือนมิถุนายน มีกิจกรรมสาคัญ ได้แก่ ประเพณีสรงน้าถ้าพระ(ภายในถ้าพระมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็น พระประธาน และยังมีพระพุทธรูปบูชาอีกหลายองค์) และกิจกรรม ดิ่งพสุธา (หาเขียด, หาอ่ึง) ซง่ึ เป็นชว่ งฤดูฝน ของป่าจะสามารถหา ได้ง่าย และนักท่องเท่ียวก็จะได้รว่ มสัมผัสไปด้วยกันกับคนใน ชุมชน

19 ๒.๗ เดือนกรกฎาคม มีกิจกรรมสาคัญ ได้แก่ กิจกรรมลงแขกดานา อนุรกั ษ์ประเพณี แบบวถิ ีชวี ติ พ้ืนบ้าน สืบ สานวัฒนธรรมไทย นักท่องเท่ียวจะได้รว่ มกันลงแขกซง่ึ แสดงให้ เห็นถึงความมนี ้าใจ หรอื การชว่ ยเหลือเกื้อกูลซงึ่ กันและกัน พรอ้ ม ทั้ ง ยั ง เ ป็ น ก า ร ส ร ้า ง ค ว า ม ส า มั ค คี กั น ภ า ย ใ น ห มู่ บ้ า น อี ก ด้ ว ย กิจกรรมน้ายาปูสด และกิจกรรมซอ้ นอฮี วก ๒.๘ เดือนสิงหาคม มีกิจกรรมสาคัญ คือการ รว่ มกันทาอาหาร ด้วยเมนูจากกบ และนักรอ้ งใต้ดิน สาหรบั ผู้รกั สุขภาพแล้ว กบจดั ว่าเปน็ อาหารที่ดีต่อรา่ งกายโดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ผทู้ อ่ี อกกาลงั กายเพอื่ สรา้ งกล้ามเนื้อหรอื ผู้ที่กาลังควบคุมน้าหนัก เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง แคลอร่แี ละไขมันต่า นอกจากน้ียังมี สรรพคุณทางยา อ้างอิงจากคณะนักวทิ ยาศาสตรท์ ่ีมหาวทิ ยาลัย แห่งหนึง่ ในไอรแ์ ลนค์ ้นพบโปรตีนหรอื เปบไทด์ 2 ชนดิ จากยางใน หนังกบ ซึ่งโปรตีนน้ีมีคุณสมบัติในการยับย้ังและป้องกันเส้น เลือดงอกเอง โดยปกติแล้วก้อนเนอื้ มะเรง็ จาเป็นต้องมเี ส้นเลือด เพื่อนาเลือด ออกซเิ จนและสารอาหารมาหลอ่ เลยี้ งให้ก้อนเนื้องอกเจรญิ เติบโต การท่ีสามารถยับยั้งการ งอกและเจรญิ เติบโตของเส้นเลือดงอกอาจจะใชร้ กั ษาโรคมะเรง็ ได้ในอนาคต นอกจากน้ีผิวหนังของกบยังสามารถผลิตสารท่ีมีคุณสมบัติในการฆ่าเชอ้ื รา ต่อต้านเช้ือ โรคและไวรสั ต่างๆ ซง่ึ เป็นค้นพบท่ีต่อเน่ืองมาจากการทดลงในกบซงึ่ สามารถรกั ษาแผลตัวเองได้อย่างดี โดยไม่มีการติดเชอ้ื ใด ปัจจุบันจงึ สารชนิดนี้จงึ ถูกนามาศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นยาฆ่าท่ีสามารถใชก้ ับคนได้ นั่นเอง ๒ . ๙ เ ดื อ น กั น ย า ย น มี กิ จ ก ร ร ม ส า คั ญ นอกเหนือจากเมนูจากกบซง่ึ สามารถทาได้ต่อเนื่อง ในลักษณะ เดียวกับเดือนสิงหาคมแล้ว ยังมีกิจกรรม การเพาะกล้าผักตาม ฤดูกาล ผักสวนครวั อาทิ ผักชี ผักกาดหอม คะน้า และกิจกรรม การจอ่ มเบ็ด หรอื การตกปลานั่นเอง ใชอ้ ุปกรณ์จากธรรมชาติ กินงา่ ย อยงู่ า่ ยจากธรรมชาติ

20 ๒.๑๐ เดือนตุลาคม มีกิจกรรมสาคัญ โดยเฉพาะกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอันดี งาม ได้แก่ ประเพณีออกพรรษา ซึ่งพุทธศาสนิกชนถือ เป็นโอกาสอันดีที่จะเข้าวัดเพื่อบาเพ็ญกุศลแก่พระสงฆ์ท่ี ต้ังใจจาพรรษาและตั้งใจปฏิบตั ิธรรมมาตลอดจนครบไตร มาสพรรษากาลในวนั นี้ นอกจากนี้พุทธศาสนิกชนยังนยิ ม รว่ มกันทอดกฐนิ ในระยะเวลา 1 เดือนหลงั ออกพรรษา มี ทั้ง จุลกฐนิ มหากฐนิ และการเทศน์มหาชาติ และการตัก บาตรเทโวการ ซึ่งเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่าง ยาวนาน หรอื เรยี กว่า การตักบาตรเทโวโรหณะ ซงึ่ คาว่า \"เทโว” ย่อมาจาก \"เทโวโรหณะ” แปลว่า การเสด็จจากเท วโลก การตักบาตรเทโวจงึ เป็นการระลึกถึงวันท่ีพระพุทธ องค์เสด็จกลับจากการโปรดพระพุทธมารดาในเทวโลก ประเพณีการทาบุญกศุ ลเน่อื งในวันออกพรรษาน้ี ๒.๑๑ เดือนพฤศจกิ ายน กิจกรรมสาคัญ ได้แก่ งานประเพณีลอยกระทงยี่เป็ง ซง่ึ เปน็ ประเพณีลอย กระทงแบบล้านนาโดยคาว่า ย่ี แปลว่า สอง ส่วน เป็ง แปลวา่ เพญ็ หรอื คืนพระจนั ทรเ์ ต็มดวง การเล้ียงผีขุนนา้ ซงึ่ การเลีย้ งผขี นุ นา้ คือ การทาพิธสี ังเวยผีหรอื เทวดาอารกั ษ์ ผู้เป็นหัวหน้าของผี อารกั ษ์ท้ังหลายที่ทาหน้าที่ ปกปักรกั ษาป่าไม้อันเป็นต้น น้าลาธาร เพื่อเป็นการขอบคุณเทวดาท่ีบันดาลให้มีน้าใช้ ในการเกษตรกรรม อีกท้ังยังมีกิจกรรมปลูกดอกไม้ตาม ฤดูกาล ปลูกดอกเก๊กฮวย ดอกคอสมอส ป้ ิงพิซซ่าคน เมือง(ขนมป้ ิงแบบพื้นเมือง) ตลอดจนการอานวนความ สะดวกด้านที่พักแบบโฮมสเตย์ รองรบั การเชื่อมโยง แหล่งท่องเท่ียวทีส่ าคัญระหวา่ งสิงห์ปารค์ ในชว่ งเทศกาล

21 ๒.๑๒ เดือนธันวาคม มีกิจกรรมสาคัญได้แก่ การชมววิ สุดงดงามของทุ่งดอกบัวตอง ซ่ึงชอบขึ้นในพื้นท่ีท่ีมี อากาศเย็น จะออกดอกสวยงามท่ีสุดบนยอดดอย โดยจะออก ดอกในช่วงระหว่างเดือน พฤษจิกายน ถึงต้นเดือน ธันวาคม เท่านั้น เป็นดอกไม้อีกชนิดหนึ่งท่ีเรยี กได้ว่าอวดโฉมบานโต้ลม หนาวก่อนใคร และกิจกรรมตามรอยประเพณียีเ่ ป็งพรอ้ มผงิ ไฟ เผาข้าวหลาม เป็นกิจกรรมที่ทารว่ มกันได้ทั้งครอบครวั ท้ังยังได้ สัมผสั กับเรอ่ ื งราวตามประเพณีทลี่ ้าค่าของพนื้ ถิ่น อีกทั้ง ยังมีกิจกรรมทน่ี ักท่องเท่ียว สามารถรว่ ม ทากิจกรรมได้ตลอดท้ังปี ไม่จากัดฤดูกาล ได้แก่ การพักโอมส เตย์ การปลูกผักตามฤดูกาล ตลาดสุดสายยายกอง ซ่ึงมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อ ง ชุ ม ช น ไ ว้ จ า ห น่ า ย แ ก่ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ทุ ก วั น เ ส า ร ์ กิจกรรมธรรมชาติบาบัดด้วยการปลูกสับปะรดสี การทาน้าแสน ดอก(น้าผึ้ง) ความหวานจากธรรมชาติที่ใครหลายคนบอกว่า ประโยชน์ของน้าผ้ึงมีดีหลายอย่าง และนอกจากน้าผึ้งจะช่วย รกั ษาสิว บารุงผิว และบารุงความงามได้แลว้ สรรพคุณของนา้ ผง้ึ ยังรกั ษาโรคได้ด้วย และการทาตุ๊กตาสมุนไพร ซงึ่ นักท่องเที่ยว สามารถเข้าไปมีส่วนรว่ มในการลงมือปฏิบัติ พรอ้ มรบั ของท่ีละลึก ได้อกี ด้วย เหมาะสาหรบั นักทอ่ งเทยี่ วทกุ เพศวัย

22 ๓ . ร่ว ม กั น ห า แ น ว ท า ง เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ร มิ ก าร ท่องเท่ียวรว่ มกันสาหรบั นักท่องเที่ยวที่มาใชบ้ รกิ าร ได้แก่ การ กาหนดโปรโมชั่นพิเศษ เมื่อซ้ือสินค้าชุมชนครบตามกาหนด 100 บาท ก็จะได้รบั ของสมนาคณุ พเิ ศษ สามารถไปรบั ได้ ณ จุด บรกิ าร ตลอดจน การใช้นักท่องเท่ียวมีส่วนร่วมในการรวี วิ กิจกรรมไฮไลท์ เชคอนิ แล้วสามารถรบั ของที่ละลึกได้อกี ด้วย ๔. ดาเนินการทดสอบนวัตกรรม ใน ๔ กิจกรรม ไฮไลท์ ดังนี้ ๔.๑ กิจกรรมสุดสายยายกอง ถนนวัฒนธรรม “สุดสาย ยายกอง” ตลาดนัดสินค้าเกษตรปลอดภัย และ ผลติ ภัณฑช์ ุมชนบา้ นเมืองรวง โดยทุกเชา้ วนั เสาร์ ต้ังแต่เวลา ๐๖.๐๐ น. เป็น ต้นไป ซงึ่ ชาวบ้านจะนาสินค้าหรอื ผลิตภัณฑ์ของตน นามาราย เรยี งเพื่อจาหน่ายตลอดเส้นทางถนนของชุมชนให้แก่คนใน ชุมชน และชุมชนใกล้เคียง สุดสาย = สุดถนน ยาย = เรยี ง กอง = ถนน/ซอย โดยในการทดสอบนั้น ได้มีการเตรยี มการ สาหรบั กิจกรรมรว่ มทาบุญตักบาตรชว่ งเชา้ เดินชมสวนและ เลือกซ้ือผักผลไม้ปลอดสารพิษได้ด้วยตนเอง ตลอดจนมี กิจกรรมในการให้นักท่องเท่ียวสามารถเก็บผักจากแปลงด้วยตนเองได้อกี ด้วย สาหรบั ประเภทของอาหารที่นามาจาหน่าย จะเป็นอาหารพ้ืนบ้านสุขภาพท่ีหลากหลาย และอาหารปรุงสกที่ทาใหม่ ๆ มีพิซซา่ คนเมืองแสนอรอ่ ย ตลอดจนสามารถเลอื กซอ้ื ของฝาก ของทล่ี ะลึก ที่ถกู ใจ

23 ๔.๒ กิจกรรมธรรมชาติบาบดั ปลูกสับปะรดสี ชุบชีวที ี่เมืองรวง การดูแลรักษา กาย ใจ โดยขบวนการ ธรรมชาติ ต้ังอยู่บนหลักว่าโรคทุกชนิด ทั้งรา่ งกายและจิตใจ ของคนเรา สามารถเยียวยารกั ษาตัวเองได้ ถ้ารา่ งกายอยู่ใน สภาพสมดุลปกติ โรคร้ายต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจานวนมาก เช่น มะเรง็ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เส้นเลือดหัวใจตีบตัน ภูมิแพ้ หืดหอบ ฯลฯ เกิดจากการดาเนินชีวติ ที่ผิดธรรมชาติ โดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมืองใหญ่ๆ และ รบั ประทานอาหารท่ีมี สารเคมีปนเป้ ือน เช่น เน้ือสัตว์ที่เลี้ยงด้วยฮอรโ์ มนเรง่ การ เจรญิ เติบโต ยาปฏิชวี นะ หรอื รบั ประทานยาหรอื ฉีดยาที่ทา จากสารเคมี สารเหล่าน้ีจะตกค้างอยู่ในรา่ งกายมาก หรอื การ ใชช้ วี ติ ท่ีเครยี ดเกินไป หักโหมเกินไป กังวลเกินไป การปลูก และสัมผัสกับสับปะรดสี จะชว่ ยผ่อนคลายจติ ใจ ปรบั สมดุล ให้รา่ งกายได้ฟ้ ืนฟูตนเอง ในกิจกรรมการทดสอบได้มีการเตรยี มการสาหรบั ให้นักท่องเท่ียวได้ฝึกปฏิบัติในการ ขยายพนั ธสุ์ ับปะรดสีรว่ มกัน มีการเล่าความเปน็ มา การคัดเลอื กสับปะรดสีในการขยายพนั ธใุ์ นกระถาง ซงึ่ นักท่องเท่ียวจะได้มสี ่วนรว่ มในการลงมือปฏิบัติในทกุ ขน้ั ตอนตามความสะดวก ตลอดจนได้รบั สับปะรดสีท่ี ปลกู เองกลบั บา้ นอีกด้วย ๔.๓ กิจกรรมน้าแสนดอก หรอื น้าผ้ึง เป็น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ ท่ี เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ อ ย่ า ง ห นึ่ ง ข อ ง บ้านเมืองรวง สรรพคุณของน้าผ้ึงในทางยานั้นมากมายเรยี ก ได้ว่าเป็นยาอายุวัฒนะได้เลย มีมาต้ังแต่สมัยโบราณจวบจน ปัจจุบัน และเป็นท่ียอมรบั ไปท่วั โลกเลยก็ว่าได้ ว่าเป็นอาหาร อันทรงคุณค่ามากที่สุดชนิดหนึ่ง น้าผึ้งสามารถช่วยขับ สารพิษตกค้างต่าง ๆ ออกจากรา่ งกาย ตลอดจนมีสรรพคุณ ทางยา อาทิช่วยบรรเทาอาการหวัด ลดความเส่ียงการเกิด โรคหัวใจ และหลอดเลือด ช่วยยับย้ังการเจรญิ เติบโตของ เชอ้ื แบคทีเรยี ที่ไม่ดีในรา่ งกาย

24 ในการทดสอบนั้น นักท่องเที่ยวจะได้เรยี นรใู้ นการ เลี้ยงผึ้งและการเก็บน้าผึ้ง ก่อนท่ีจะมาเป็นน้าผ้ึงที่เราเห็น ได้ลงมือทาเครอ่ ื งดื่มจากน้าแสนดอก และส่วนผสมของ สมุนไพรด้วยตนเอง ได้ลิ้มรสชาติ หอมหวาน ช่ืนใจ ก่อน นากลับบ้านเป็นของท่ีละลึก เป็นน้าผึ้งจากธรรมชาติท่ีมี ท่ีมาจากดอกไมป้ า่ นานาพรรณ ๔.๔ กิจกรรมทาตุ๊กตาสมุนไพร เป็นงานฝีมือท่ีทา ขึ้นโดยการผสมผสานองค์ความรูใ้ นสมุนไพร และงาน หัตถกรรมเข้าด้วยกัน ตุ๊กตาสมุนไพร ประกอบด้วยส่วนที่ เป็นตุ๊กตาผ้า และบรรจุด้านได้ด้วยสมุนไพรหอมระเหยไว้ ด้วยกัน สามารถนาไปไว้ในทต่ี ่าง ๆ ตามต้องการ สรรพคณุ ของสมุนไพรหอมระเหยนั้น นอกจากจะชว่ ยให้รูส้ ึกสดชน่ื จากธรรมชาติ ต่างจากการใช้น้าหอมแล้ว ยังช่วยปรบั สมดุลของรา่ งกายได้อีกด้วย ซ่งึ นักท่องเที่ยวจะได้รว่ มลง มือทาไปพรอ้ ม ๆ กัน และรบั ตุ๊กตาจากผมี ือตนเอง ๕. หลังจากเสรจ็ ส้ินการทดสอบทุกกิจกรรมแล้ว ทีมนวัตกรและผู้มีส่วนได้เสียในหมู่บ้านได้ประชุมถอด บทเรยี นรว่ มกัน และหาแนวทางการพัฒนากิจกรรม ใน การเตรยี มการทดสอบนวัตกรรมในครง้ั ต่อไป ได้แก่ การ ปรับโปรโมชั่นที่น่าสนใจใหม่ จัดเตรยี มคนประจาฐาน เตรยี มส่ิงอานวยความสะดวก ตลอดจนมาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดของ COVID ๑๙

25 ๖. มีการประชาสัมพันธ์ ในการทดสอบ นวัตกรรมแก่นักท่องเที่ยวในหลากหลายช่องทาง อาทิ Facebook แฟนเพจบ้านเมืองรวง Line ตลอดจนเสียงตามสาย โดยได้รบั ความรว่ มมือจากท้ังกล่มุ ผูน้ า และสมาชกิ ในหมบู่ ้าน ในการส่งต่อขา่ วสารในกิจกรรมครงั้ น้ีเป็นอยา่ งดี วนั ท่ี ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ มีการทากิจกรรม ในรายละเอยี ด ดังน้ี ๑. นานักท่องเท่ียวลงทะเบียนและเข้าจุด คัดกรอง เพื่อเข้ารว่ มกิจกรรม ไฮไลท์ทั้ง ๔ กิจกรรม ตาม โปรโมชนั่ ทนี่ ักท่องเที่ยวได้รบั ซงึ่ ได้จากการทีน่ ักท่องเทยี่ ว รว่ มทากิจกรรมภายในตลาด สุดสายยายกอง ตลอดจน จับจ่ายครบจานวน ๑๐๐ บาท (ซ่ึงจะได้รบั คูปองท่ีแต่ละ รา้ นในตลาดทาการจดให้) นักท่องเท่ียวสามารถรบั ของ สมนาคุณได้ ในส่วนนักท่องเท่ียวท่ีทาการ จับจ่าย สินค้าครบจานวน ๒๐๐ บาท จะสามารถเข้ารว่ มกิจกรรม ไฮไลท์ ทั้ง ๔ กิจกรรมได้ และยังสามารถลงทะเบียนเข้า รว่ มการฝึกปฏิบัติ และรบั ของที่ละลึก จากฝีมือตนเองได้ อีกด้วย ในการน้ี ได้มีการจัดกิจกรรมพิเศษ ในการให้ นักท่องเท่ียว ได้ทาบุญตักบาตรชว่ งเชา้ อ่ิมอก อ่ิมใจอิ่ม บุญ รว่ มกัน

26 ๒. อานวยความสะดวกแก่นักท่องเท่ียว เรม่ ิ ต้นท่ีการมีจุดให้บรกิ ารลงทะเบียนและคัดกรอง ตั้งอยู่ บรเิ วณทางเข้าหมู่บ้าน สาหรบั นักท่องเท่ียวท่ีจะเข้าร่วม กิจกรรม ในการนี้ มีทีมงานทาหน้าที่ประสานงานระหว่างจุด กิจกรรมต่าง ๆ และให้ขอ้ มลู เบอื้ งต้นแก่นักท่องเที่ยวท่จี ะเขา้ รว่ มกิจกรรมตามความต้องการของตนเอง มีส่ิงอานวยได้แก่ จกั รยานไว้บรกิ ารเพ่ือไป ยงั กิจกรรมท่นี ักทอ่ งเทยี่ วเลือกด้วยตนเอง และนักท่องเทย่ี ว ได้เขา้ รว่ มทากิจกรรม อันได้แก่ ตลาดสุดสาย ยายกอง, ปลูก สับปะรดสี ชุบชีวที ี่เมืองรวง, ทาน้าแสนดอก, และรว่ มทา ตุ๊กตาสมนุ ไพร กิจกรรม ภาพกิจกรรม สุดสาย ยายกอง สาหรบั ประเภทของอาหารที่นามาจาหน่าย จะ เป็นอาหารพื้นบ้านสุขภาพที่หลากหลาย และอาหารปรุงสกท่ีทา ใหม่ ๆ ตลอดจนสามารถเลือกซอ้ื ของฝาก ของท่ีละลกึ ท่ถี ูกใจ ปลูกสับปะรดสี ชุบชีวที ี่เมืองรวง นักท่องเที่ยวได้ฝึกปฏิบัติใน การขยายพันธุ์สับปะรดสีร่วมกัน มีการเล่าความเป็นมา การ คัดเลือกสับปะรดสีในการขยายพันธุใ์ นกระถาง ตลอดจนได้รบั สับปะรดสีท่ีปลกู เองกลบั บา้ นอีกด้วย ทาน้าแสนดอก เรยี นรใู้ นการเล้ยี งผึ้งและการเก็บนา้ ผ้ึง ได้ลงมอื ทาเครอ่ ื งด่ืมจากน้าแสนดอก และส่วนผสมของสมุนไพรด้วย ตนเอง ได้ล้ิมรสชาติ หอมหวาน ชนื่ ใจ ก่อนนากลับบ้านเป็นของ ท่ีละลึก เป็นน้าผ้ึงจากธรรมชาติท่ีมีที่มาจากดอกไม้ป่านานา พรรณ ทาตุ๊กตาสมุนไพร เป็นงานฝีมือที่ทาข้ึนโดยการผสมผสานองค์ ความรใู้ นสมนุ ไพร และงานหัตถกรรมเข้าด้วยกัน ตุ๊กตาสมุนไพร ประกอบด้วยส่วนที่เป็นตุ๊กตาผ้า และบรรจุด้านได้ด้วยสมุนไพร หอมระเหยไว้ด้วยกันนักท่องเที่ยวได้รว่ มลงมือปฏิบัติ และรบั ตุ๊กตากลับเป็นของทล่ี ะลกึ

27 ๓ . ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึง พอใจข อง นักท่องเท่ียว เพื่อนาไปปรบั ปรุงการจดั กิจกรรมใน ครงั้ ต่อไป โดยได้มีการสอบถามความคิดเห็นต่อการ จัดกิจกรรม ซึ่งนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ ตอบรบั และ พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ กิ จ ก ร ร ม ใ น ท า ง ที่ ดี ม า ก แ ต่ มี ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนา ว่าอยากให้มีกิจกรรมท่ี หลากหลายขึ้น โดยการร่วมมือกันจัดกิจกรรม ระหว่างหลาย หมู่บ้าน และชอบที่หมู่บ้านมีความ สามัคคี ๔. สรุปบทเรยี นรว่ มกัน แลกเปลย่ี น เรยี นรู้ หาทางพัฒนางานในลาดับต่อไป ตลอดจน หารอื เตรยี มความพรอ้ ม สาหรบั การนาเสนอ โดยใน ประเด็นการถอดบทเรยี นจากการทดสอบนวัตกรรม นั้น จาแนกได้เป็น ๔ ประเด็นใหญ่ ที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาท่ีต้องการแก้ไข ส่ิงที่เกิดข้ึน สิ่งที่จะทาต่อไป และรว่ มวางแผนการทางานหลงั จากกิจกรรมทดสอบ นวัตกรรมเสรจ็ ส้ินลง

28 ประเด็นสาคัญ สรุปการถอดบทเรยี นรว่ มกัน ๑. ปญั หาทีต่ ้องการแก้ไข การจดั กิจกรรมทอ่ี าจไมส่ อดคล้องกับเวลาของนกั ทอ่ งเทยี่ ว ที่ ชอบมาชว่ งสาย นักท่องเทย่ี วบางส่วนไม่รสู้ ถานทต่ี ิดต่อ การจดั ๒. สิ่งทเ่ี กิดข้นึ ๓. สิ่งท่จี ะทาต่อไป กิจกรรมในบ้าน คนอาจไม่กลา้ เขา้ ๔. วางแผนการทางานหลงั จาก ทดสอบนวตั กรรมกับนักทอ่ งเทย่ี วท่วั ไปท่มี าใชบ้ รกิ าร ให้ กิจกรรม นักทอ่ งเที่ยวได้มสี ว่ นรว่ มในทุกกิจกรรม จดั ตั้งจุดศูนยก์ ลางสาหรบั บรกิ ารนักทอ่ งเท่ยี ว ปรบั ปรงุ ปฏิทิน การท่องเท่ียว ปรบั ชว่ งเวลารบั นักทอ่ งเทยี่ วให้เหมาะสม พฒั นาชอ่ งทางประชาสัมพันธ์ การตลาด ส่งเสรมิ การพฒั นาคน รนุ่ ใหม่ และความรว่ มมอื ระหวา่ งหมู่บา้ น

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook