Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.เศรษฐกิจไทยท่ามกลางวิกฤติ COVID-19 ในช่วงที่ผ่านมา

1.เศรษฐกิจไทยท่ามกลางวิกฤติ COVID-19 ในช่วงที่ผ่านมา

Published by songsriooy09, 2021-12-04 12:51:35

Description: 1.เศรษฐกิจไทยท่ามกลางวิกฤติ COVID-19 ในช่วงที่ผ่านมา

Search

Read the Text Version

เศรษฐกจิ ไทยทามกลางวิกฤติ COVID-19 ในชว งทผ่ี านมา และความทา ทายระยะยาวท่เี ศรษฐกิจไทย กำลงั เผชิญอยู แมประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคมุ การระบาดภายในประเทศ ซ่งึ ตอ งขอแสดงความ ขอบคุณและชื่นชมกบั บุคลากรทางสาธารณสขุ ของประเทศ ทช่ี ว ยกันทำใหเศรษฐกิจภายในประเทศเกือบจะ กลับสภู าวะปกติ แตเราถกู บังคับใหยงั ตองจำกดั การเขาออกของคนตางชาติ เพือ่ ลดความเสยี่ งของการระบาด สงผลใหประเทศไทยตอ งขาดรายไดจากการทอ งเท่ียวจากนกั ทองเท่ียวตางประเทศ ซง่ึ เปน เครอ่ื งจกั รสำคญั ท่ี ผลกั ดนั เศรษฐกิจไทยในชว งท่ผี านมา และคิดเปน มลู คา กวารอ ยละ 12 ของเศรษฐกิจไทยในป 2019 ซ่ึง เปรยี บเสมอื นหลุมท่ีใหญมากของเศรษฐกิจไทย นอกจากน้ี เศรษฐกจิ โลกท่ชี ะลอตัวลงทำใหการสง ออกไทยไดร ับผลกระทบ การลงทนุ จากทง้ั นัก ลงทนุ ตางประเทศและนกั ลงทนุ ไทยหยุดชะงัก และผลจากการขาดรายไดทำใหเ ศรษฐกิจในประเทศชะลอตวั ลง ซึง่ ท้งั หมดสรางผลกระทบตอเศรษฐกิจ รายได การจา งงาน และกระแสเงินสดของธุรกิจอยางรุนแรงและ คาดวาเศรษฐกจิ ไทยในปน ้ีอาจจะจะหดตัวถึงเกือบรอ ยละ 9 ซงึ่ เปนการหดตวั ทรี่ นุ แรงท่ีสุดตัง้ แตวิกฤติตม ยำ กุงในป 1997 และเศรษฐกิจไทยอาจจะหดตัวรนุ แรงมากที่สดุ ประเทศหนึ่งในกลุม ประเทศอาเซียน และมี แรงงานทไี่ ดร บั ผลกระทบจากปญหา COVID เกอื บสามลานคน เศรษฐกจิ ไทยนา จะไดผานจดุ ทเี่ ลวรา ยท่ีสดุ ไปแลวในไตรมาสทสี่ อง แตเศรษฐกิจไทยอาจจะเติบโต แบบต่ำกวาระดบั ศักยภาพไปอีกสกั ระยะ จากการหายไปของอุปสงคโ ดยรวม ปญหากระแสเงินสดในหลาย กลมุ ธรุ กิจ โดยเฉพาะธรุ กิจทีเ่ กีย่ วเนอ่ื งกบั การทอ งเท่ยี วและบริการ จะยงั คงมคี วามเส่ียงตอ ความอยูรอดของ ธรุ กจิ การจา งงาน และความสามารถในการจายคืนหนขี้ องธรุ กจิ และครัวเรอื น แมเราจะไดย ินขาวดีของการพฒั นาวัคซนี แตกวา ท่ีเราจะมวี ัคซนี ทใี่ ชไดด แี ละปลอดภยั และสามารถ กระจายวคั ซีนไปไดอ ยา งกวา งขวาง จนการทอ งเทีย่ วและเศรษฐกจิ เร่ิมกลับมาฟน ได คาดวาจะเกิดข้ึนอยางเรว็ ทสี่ ุดในชว งกลางหรือครงึ่ หลงั ของปห นา นน่ั หมายถงึ สถานการณ COVID-19 นา จะยังคงสรางปญหาทาง เศรษฐกจิ ไทยตอไปอีกอยางนอ ย 2-3 ไตรมาส และการฟน ตัวของเศรษฐกิจไทยคงเปน ไดอ ยา งชา ๆ ตามการ ฟน ตัวของการทอ งเท่ยี ว และอาจจะใชเวลาถึง 2-3 ป กวาทร่ี ะดบั ของ GDP จะกลับไปสูระดับกอน COVID แมว าปญ หาจากวิกฤติ COVID จะเปน “ปญหาชั่วคราว” ทเ่ี ช่ือไดวา นาจะคอยๆ กลับสสู ภาพปกตไิ ด เมอื่ ปญ หาโรคระบาดไดรบั การควบคุม แตป ญหาชว่ั คราวน้กี ำลงั สรางรอยแผลเปนท่รี ุนแรงใหกับเศรษฐกจิ โลก และเศรษฐกิจไทย และวิกฤติ COVID-19 ไดส ะทอนใหเราเหน็ ปญ หาของเศรษฐกจิ ไทยหลายเรือ่ ง ประการแรก วกิ ฤติ COVID-19 สะทอนใหเ หน็ ถงึ ความเปราะบางทางโครงสรางเศรษฐกิจและ ตลาดแรงงานของไทยในหลายมิติ จากการขาดการกระจายตัวของการเตบิ โตทางเศรษฐกิจในชวงที่ผา นมา การพง่ึ พาการเตบิ โตจากภายนอก อนั ไดแก ภาคการทอ งเท่ยี วและภาคการสงออก ขาดแรงขับเคลอ่ื นจาก ภายใน เชน การบรโิ ภคและลงทนุ ภาคเอกชน ทแ่ี ขง็ แกรงพอท่ีจะสรางแรงขบั เคลอ่ื นทดแทนกนั ได เศรษฐกิจ

ไทยจึงไดร ับผลกระทบอยา งหนักเมอื่ เจอกบั วกิ ฤติทีท่ ำใหก ารทอ งเที่ยวหยุดชะงกั และการคาระหวางประเทศ หดตวั ลงอยา งรนุ แรง ประการที่สอง ปญ หา COVID สะทอ นใหเหน็ ถงึ ปญ หาความไมเทา เทยี มกันดา นเศรษฐกจิ ท่ีมอี ยแู ลว ท้งั ในระดบั ครวั เรือนและระดับธรุ กจิ รวมถงึ ความไมเทาเทยี มกัน ดา นการเขาถงึ โอกาสทางการศกึ ษา การ ทำงาน และการเขา ถงึ แหลงเงนิ ทุน วกิ ฤติคร้งั นย้ี ่ิงทำใหป ญหาความเหลอ่ื มล้ำในสงั คมไทย ทวคี วามรนุ แรงขึ้น มาตรการการควบคมุ การ ระบาด ทง้ั มาตรการปดเมอื ง มาตรการรกั ษาระยะหาง และภาวะเศรษฐกจิ ทซ่ี บเซายาวนานของไทย สงผล กระทบหนกั ตอ กลมุ คนท่เี ปราะบาง โดยเฉพาะกลมุ แรงงานทักษะต่ำและมีรายไดนอ ย ขาดเงนิ ออม มีภาระหน้ี สงู และไมมคี วามพรอมในดานเทคโนโลยี ซงึ่ เปน กลมุ ทม่ี ขี อจำกดั ในการเขาถึงวธิ ีการรบั มือกับวกิ ฤติ และการ ปรับตวั ตอการเปลีย่ นแปลงมากกวากลุม อนื่ ๆ ประการท่สี าม COVID กำลังสรา งปญ หาหน้ที มี่ แี นวโนมเพม่ิ สงู ขึน้ อยูแลวใหสงู ขนึ้ ไปอกี ทัง้ หนี้ ครัวเรือน หนธ้ี รุ กจิ เอกชน และหนภ้ี าครัฐ จากการหยดุ ชะงักของกระแสเงินสด ซึง่ อาจทำใหความสามารถใน การรับผลกระทบดานเศรษฐกจิ ของครวั เรือนและธุรกจิ ในอนาคตลดลง ความเสีย่ งท่จี ะเกิดการผิดนัดชำระหน้ี มสี งู ข้ึน จนสรางความเสีย่ งตอเสถยี รภาพและการทำหนา ท่ีของระบบการเงนิ อยางไรก็ตาม วิกฤติในครงั้ นี้ ก็ไดส รางโอกาสใหมๆ จากการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผบู รโิ ภค เชน การเรงเปล่ยี นผา นและเพ่ิมการใชเทคโนโลยี เรง ใหเกดิ ธุรกิจแบบแพลตฟอรมและธรุ กิจเกยี่ วเนือ่ งอน่ื ๆ แนวโนมการทำงานจากบา นทำใหความตองการใชอปุ กรณอิเลก็ ทรอนกิ สและการปรบั ปรุงท่อี ยูอาศัยมมี ากขึ้น ขณะเดยี วกนั กอ็ าจจะทำใหบ างธรุ กิจ เชน พ้นื ทสี่ ำนักงาน พืน้ ทใ่ี หเ ชาเพ่อื การพาณิชย ไดร ับผลกระทบจาก พฤติกรรมของผบู รโิ ภคท่ีเปลยี่ นไป ปญ หาเชงิ โครงสราง นอกจากผลกระทบระยะสนั้ จากสถานการณ COVID แลว ประเทศไทยยังกำลงั เจอกับปญหาเชิง โครงสรา งท่กี ระทบตอ ความสามารถในการแขงขันของประเทศในระยะยาว ทอี่ าจกลา วไดว า ประเทศไทยได ใช “บุญเกา ” ไปคอ นขา งมากกับการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ในรอบสามสิบปทผ่ี า นมา และเรากำลังเผชิญกบั ความทา ทายท่ีสำคัญที่จะตัดสินอนาคตของเศรษฐกิจไทย ปญ หาเหลานี้เริ่มแสดงอาการตัง้ แตกอ นจะมีปญ หา COVID และวิกฤติทเี่ รา กำลงั เผชิญอยกู ำลงั ตอกยำ้ วา หากเราไมจ ดั การกบั ปญหาเหลา นี้ เราอาจจะเจอกบั ปญหาทใ่ี หญก วาในอนาคต ประการท่ีหนึ่ง ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปญหาโครงสรางประชากรทรี่ นุ แรงทสี่ ุดในภมู ภิ าค นอกจากจำนวนผูส ูงอายกุ ำลงั จะเพ่ิมข้ึนอยางรวดเรว็ แลว จำนวนประชากรวัยทำงานก็ไดผ า นจดุ สงู สดุ ไปแลว และกำลงั คอยๆ ลดลง ซ่งึ หมายถึงจำนวนแรงงานกำลังจะมนี อ ยลงเรือ่ ยๆ ในอนาคต และขนาดของเศรษฐกิจ

คงจะคอยๆ โตชาลง ถายังคงเราดำเนนิ ธุรกิจและใชร ะบบเศรษฐกิจแบบเดิมๆ โดยไมเพ่ิมคุณภาพและผลติ ภาพของแรงงาน ประการท่ีสอง ประเทศไทยกำลงั เผชญิ กับปญหาความสามารถในการแขงขันทร่ี ุนแรง ในขณะที่ คา แรงงานเราสงู ขนึ้ จนไมสามารถแขงขนั กับการผลิตท่ีใชแ รงงานราคาถูกไดแ ลว โลกมกี ารพฒั นาดาน เทคโนโลยอี ยางรวดเรว็ จนเกิดกระแส disruption ตางๆ มากมาย แตป ระเทศไทยยงั ขาดความพรอ มเรือ่ ง ทักษะแรงงาน และความสามารถในการรับมือกบั การแขงขันทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป แมวา ประเทศไทยจะมีรายไดจ ากการสง ออกคอ นขา งมาก แตการสงออกสนิ คาหลายชนิดเปนการ “รับจางผลติ ” จากเงนิ ลงทนุ จากตา งชาติ ในขณะที่เรากำลังสูญเสียเสนหและความนา สนใจในการเปน เปา หมายท่ีสำคญั ของการลงทนุ จากทีเ่ ราเคยมีสัดสว นของเงนิ ลงทุนจากตางประเทศในอาเซยี นสงู ถึง 44% ในชว งป 2001-2005 สดั สว นนีล้ ดลงเหลือเพยี ง 14% ในป 2016-2018 และเราเรมิ่ เหน็ การยา ยฐานการผลิต ของนกั ลงทนุ ตา งประเทศไปประเทศอนื่ เพ่ิมมากข้นึ ทง้ั จากตน ทุนคา แรงงานท่สี งู ขึน้ ในขณะทเี่ รายังไม สามารถสรางความนาสนใจในการเปน ฐานการผลิตของสนิ คาที่ใชเทคโนโลยีสูงข้ึนและมีมูลคา เพมิ่ มากข้นึ ได การขาดการลงทุนและการถายทอดเทคโนโลยที ำใหเ รายง่ิ เสียเปรยี บในเรอื่ งความสามารถในการแขง ขนั มาก ขึน้ ไปอีก ประเทศไทยสญู เสียตำแหนงของเปา หมายหลักของการลงทนุ จากตางประเทศในอาเซียน นอกจากนี้ ภูมิทัศนด านการคาระหวางประเทศกำลังทำใหประเด็นเรอื่ งเขตการคา เสรีเปน ประเด็นทีม่ ีความสำคัญมากขึ้น เมอื่ ประเทศคูแขงสำคญั ของเรา อยางเวียดนาม มีขอ ตกลงทางการคาเสรกี ับประเทศคูคาสำคญั เกอื บหมดแลว แตป ระเทศไทยยงั ไมม ีขอ ตกลงการคา กับประเทศคคู า ใหญอยา งสหรัฐอเมริกาและสหภาพยโุ รป จนอาจสงผล ความสามารถในการแขงขันของสนิ คาสง ออก และการตัดสนิ ใจของนักลงทุนตา งชาตไิ ด ประเทศไทยอาจตองเริม่ กระบวนเจรจาอยางจริงจัง รวบรวมผลกระทบตอภาคสว นตางๆ เพ่ือหา ทิศทางและกลยุทธทีเ่ หมาะสมกบั สถานะประเทศ และหากระบวนการชดเชยและลดผลกระทบตอภาคสวนท่ี ไดรับผลกระทบ ประการท่ีสาม ประเทศไทยมีการพ่งึ พาพลงั งานนำเขาในระดับสูง และพลงั งานจากกาซธรรมชาติ จากแหลงภายในประเทศ ที่ทำใหป ระเทศไทยสามารถแขง ขนั กบั ตา งประเทศไดด ว ยตน ทนุ พลงั งานท่ตี ่ำ ในชว ง ท่ีผา นมา กำลังมีแนวโนมจะลดลงในอนาคต ซึ่งจะทำใหไ ทยตอ งพึ่งพาการนำเขาพลงั งานมากข้นึ วกิ ฤติ COVID-19 เปนสญั ญาณเตือนภยั ทชี่ ใี้ หเราเห็นวาเราตอ งปรบั ตัวอยตู ลอดเวลา และในขณะที่ เรากำลงั เตรยี มการเพอ่ื รบั มือกบั สถานการณท ผ่ี ลกระทบรุนแรงในระยะสั้น เพ่อื “เอาตัวรอด” เราไมส ามารถ ลมื ภาพใหญและประเดน็ เชงิ โครงสรางทีก่ ำลังเกิดขึ้นได และทกุ ภาคสว นจำเปนตอ งเตรียมตวั เพือ่ รับมือกับ ความทาทายในระยะยาวท่ีกำลงั เกดิ ขึน้ และสรา งความสามารถในการแขง ขนั อยางจรงิ จัง ประเทศไทยยังมจี ุดแข็งในหลายเร่ือง เชน ความพรอ มดา นการเกษตร จุดแขง็ ดานการบริการ การ ทองเทย่ี ว และการแพทย และความพรอมของหวงโซอ ุปทานในหลายๆ อตุ สาหกรรม เราจำเปน ตองแนใ จไดว า

เรายังรกั ษาจดุ แขง็ เหลานท้ี ามกลางความทา ทายระยะยาวท่ีกำลงั เกดิ ขน้ึ ประเดน็ สำคัญท่ีเราควรตองคิดกนั คอื ทามกลางขอจำกดั ท้ังในระยะสนั้ และระยะยาว เราจะยกระดับ ความสามารถในการแขงขนั ระยะยาวของประเทศอยา งไร เราจะเตรยี มตวั ใหพรอ มเพอื่ แขง ขนั และใช ประโยชนจากการพัฒนาดานเทคโนโลยีและนวตั กรรมตา งๆ ไดอ ยางไร และเราทุกคนจะเพมิ่ มลู คา เพ่มิ และ ผลิตภาพของธรุ กิจ เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ เพม่ิ โอกาส และลดความเหลื่อมลำ้ เพื่อกาวขามขอจำกัดและ ความทา ทายตอเศรษฐกจิ และธรุ กจิ ไดอ ยางไร รัฐบาลตองมีบทบาทในการสนบั สนนุ ภาคเอกชนใหสามารถแขง ขนั ไดอยางเต็มที่ ทงั้ การปฏิรูป การศกึ ษาใหแรงงานมคี วามพรอมในการเขาสูแรงงาน และมีทักษะทเ่ี ปนทตี่ องการของภาคเอกชน ปรบั ปรงุ กฎระเบยี บใหเ ปน อุปสรรคตอการแขง ขนั ใหน อยทสี่ ุด ปฏริ ปู ภาครัฐใหม ปี ระสิทธิภาพสงู ขึ้น ลดขนาดและ หนาท่ีท่ีไมจำเปน เพิม่ คุณภาพของโครงสรางพ้นื ฐาน ลดความไมแนน อนดานนโยบาย สรา งแรงจูงใจในการ ลงทนุ ของภาคเอกชน สนบั สนุนการพฒั นานวตั กรรม และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของการผลติ และยกระดับ ศักยภาพของเศรษฐกิจไทยใหสามารถเตบิ โตไดอยา งยัง่ ยืนในระยะยาว เราจะสามารถผา นวกิ ฤตคิ ร้ังนไ้ี ปดวยกัน บททดสอบครงั้ นจ้ี ะทำใหเราแขง็ แกรง ขึน้ เรียนรหู ลายส่ิง หลายอยางมากข้ึน ส่งั สมประสบการณ และทส่ี ำคัญ คือ ทำใหเราตระหนักรูถึงความสำคัญของการตง้ั อยูใน ความไมประมาท การบรหิ ารความเส่ยี ง การเตรยี มความพรอ ม การวางแผนและปรับตัวเพอื่ รบั มือสำหรับ สถานการณที่เราไมคาดคิด และกาวไปขา งหนาอยางมั่นคงทามกลางความทา ทายและโอกาสใหมๆ ท่ีกำลังรอ เราอยู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook