Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 04 บทที่ 4 เวอร์เนียร์ (เนื้อหา)

04 บทที่ 4 เวอร์เนียร์ (เนื้อหา)

Published by jakaphankaenkijwiboon, 2017-07-12 06:18:28

Description: 04 บทที่ 4 เวอร์เนียร์ (เนื้อหา)

Search

Read the Text Version

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 168ตวั อย่างที่ 4.5 จากภาพที่ 4.49 จงอา่ นค่าเวอร์เนียร์ไฮเกจความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร B Aภาพท่ี 4.49 การอา่ นค่าสเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจ ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพที่ 4.49 การอา่ นค่าของเวอร์เนียร์ไฮเกจความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ีข้ันตอนท่ี 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด A ขีด 0 ของสเกลเลื่อน อยูร่ ะหว่างขีดที่ 9 มิลลิเมตร และ 10 มิลลิเมตร ดงั น้นั ค่าท่ีอ่านจากสเกลหลกั จึงมีค่า เทา่ กบั 9 มิลลิเมตรข้นั ตอนที่ 2 อา่ นค่าจากขีดสเกลเล่ือน ซ่ึงจากภาพท่ีจุด B เป็ นขีดของเสกลเล่ือนที่ตรงกบัขีดของสเกลหลักมากท่ีสุด ดังน้ันที่จุด B ซ่ึงเป็ นขีดที่ 43 สเกลเลื่อนจะเย้ืองกับสเกลหลัก เท่ากับ430.02 = 0.86 มิลลิเมตรข้นั ตอนท่ี 3 นาคา่ ที่ไดจ้ ากข้นั ตอนท้งั สองมารวมกนั จะไดด้ งั น้ีค่าท่ีอา่ นได้ จากสเกลหลกั ที่จุด A เท่ากบั 9 มิลลิเมตรค่าท่ีอ่านได้ จากสเกลเล่ือนท่ีจุด B เทา่ กบั 0.84 มิลลิเมตรดงั น้นั ค่าที่อา่ นได้ เทา่ กบั 9.84 มิลลิเมตร

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 169ตวั อย่างที่ 4.6 จากภาพท่ี 4.50 จงอา่ นคา่ เวอร์เนียร์ไฮเกจความละเอียด 0.001 นิ้วCA Bภาพที่ 4.50 การอ่านค่าสเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจ ความละเอียด 0.001 นิ้ว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพที่ 4.50 การอ่านคา่ ของเวอร์เนียร์ไฮเกจความละเอียด 0.001 นิ้ว มีข้นั ตอนดงั น้ีข้ันตอนท่ี 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด A ขีด 0 ของสเกลเล่ือน อยูร่ ะหว่างขีดที่ 0 นิ้ว และ 1 นิ้ว ดงั น้นั ค่าที่อ่านจากสเกลหลกั จึงมีคา่ เท่ากบั 0 นิ้วข้ันตอนที่ 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพท่ีจุด B ขีด 0 ของสเกลเล่ือน อยรู่ ะหวา่ งขีดที่ 0.375นิ้ว และ 0.400 นิ้ว ดงั น้นั ค่าที่อา่ นจากสเกลหลกั ที่จุด B จึงมีคา่ เท่ากบั 0.375 นิ้วข้นั ตอนท่ี 3 อา่ นคา่ จากขีดสเกลเลื่อนที่จุด C ซ่ึงเป็นขีดที่ 15 มีค่า เท่ากบั 0.015 นิ้วข้นั ตอนท่ี 4 นาค่าท้งั สามมารวมกนั จะไดด้ งั น้ีค่าที่อา่ นได้ จากสเกลหลกั ที่จุด A เทา่ กบั 0 นิ้วค่าที่อ่านได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด B เทา่ กบั 0.375 นิ้วคา่ ท่ีอ่านได้ จากสเกลเล่ือนที่จุด C เท่ากบั 0.015 นิ้วดงั น้นั คา่ ที่อ่านได้ เทา่ กบั 0.390 นิ้ว

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 170 4.4.4 การใช้งานเวอร์เนียร์ไฮเกจ เวอร์เนียร์ไฮเกจ สามารถใชง้ านได้ 2 ลกั ษณะ คือ 4.4.4.1 ใชส้ าหรับขีดหมายงานและร่างแบบ ดงั ภาพที่ 4.51 4.4.4.2 ใชส้ าหรับวดั ความสูง ดงั ภาพท่ี 4.52 ภาพที่ 4.51 การใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจขีดหมายงานและร่างแบบ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) ภาพท่ี 4.52 การใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจวดั ความสูง (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.4.5 ข้อควรระวงั ในการใช้งานเวอร์เนียร์ไฮเกจ เพือ่ ใหส้ ามารถใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ งผใู้ ชค้ วรระมดั ระวงั ในการใช้ ดงั น้ี 4.4.5.1 อยา่ ใหเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจตกหรือกระแทกพ้ืนโดยเด็ดขาด 4.4.5.2 ทาความสะอาดเวอร์เนียร์ไฮเกจและชิ้นงานก่อนทาการวดั ทุกคร้ัง 4.4.5.3 ตรวจสอบสภาพของตวั เล่ือนให้อยู่ในสภาพดี ไม่หลวม ไม่สะดุด หากพบวา่ไม่ปกติให้ปรับสกรูท้งั สอง (Pressing and Set Screw) ใหแ้ น่นแลว้ จึงคลายออก 1/8 รอบ หรือ 45 องศาแลว้ ทดลองเลื่อนตรวจสอบดูหากวา่ ยงั ไม่ดีใหป้ รับสกรูตามข้นั ตอนแรกอีกคร้ัง 4.4.5.4 ไมค่ วรยดึ ปากขีดให้ส้ันหรือยาวเกินไปเพราะจะมีผลตอ่ การวดั ขนาด

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 171 4.4.5.5 มุมมองในการอา่ นคา่ เวอร์เนียร์ไฮเกจควรมองใหส้ ายตาต้งั ฉากกบั สเกล 4.4.5.6 ก่อนการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจควรตรวจสอบศูนย์ และความเท่ียงตรงทุกคร้ัง 4.4.5.7 ก่อนวดั ตอ้ งมนั่ ใจวา่ พ้ืนอา้ งอิงไมม่ ีรอยนูน ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อผลการวดั 4.4.6 การเกบ็ และการบารุงรักษาเวอร์เนียร์ไฮเกจ การเก็บและการบารุงรักษาเวอร์เนียร์ไฮเกจใหถ้ ูกตอ้ งควรปฏิบตั ิดงั น้ี 4.4.6.1 การเก็บปากขีดควรวางปากขีดไวบ้ นผา้ ท่ีอ่อนนุ่ม หลงั จากใชง้ านเสร็จแลว้ 4.4.6.2 อยา่ เกบ็ เวอร์เนียร์ไฮเกจในที่ร้อนจดั หรือเยน็ จดั เกินไป 4.4.6.3 แยกเกบ็ เวอร์เนียร์ไฮเกจไวต้ า่ งหากหา้ มเก็บปนกบั เครื่องมือมีคม 4.4.6.4 หลงั การใชง้ านควรทาความสะอาดและชโลมน้ามนั ทุกคร้ัง4.5 เวอร์เนียร์วดั ลกึ เวอร์เนียร์วดั ลึก (Vernier Depth Gauge) เป็ นเวอร์เนียร์ที่ออกแบบมาสาหรับการวดั ขนาดของชิ้นงานท่ีมีลกั ษณะเป็นรูเจาะ รูควา้ น หรือบ่าของชิ้นงานโดยเฉพาะ ซ่ึงออกแบบมาสาหรับการใชง้ านที่ไม่สามารถนาไปวดั ขนาดของชิ้นงานลกั ษณะอื่นได้ เน่ืองจากจะทาให้เกิดวามผิดพลาดในการวดั ได้ดงั ภาพที่ 4.53 ภาพที่ 4.53 การวดั ชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์วดั ลึก (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.5.1 ชนิดของเวอร์เนียร์วดั ลกึ เวอร์เนียร์วดั ลึกมีหลายชนิด และแต่ละชนิดมีลกั ษณะการใช้งานท่ีแตกต่างกนั ดงั แสดงในภาพที่ 4.54 - 4.57

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 172 ภาพที่ 4.54 เวอร์เนียร์วดั ลึกแบบอ่านคา่ ดว้ ยขีดสเกลปลายตดั ตรง (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 177) ภาพที่ 4.55 เวอร์เนียร์วดั ลึกแบบอ่านคา่ ดว้ ยขีดสเกลปลายงอ (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 178) ภาพที่ 4.56 เวอร์เนียร์วดั ลึกแบบอ่านค่าดว้ ยขีดสเกลและนาฬิการวดั (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 178)ภาพท่ี 4.57 เวอร์เนียร์วดั ลึกแบบอ่านค่าดว้ ยตวั เลขดิจิตอลบนจอแอลซีดี (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 176)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 173 สาหรับเวอร์เนียร์วดั ลึกที่จะใชอ้ ธิบายในเอกสารน้ี คือ เวอร์เนียร์วดั ลึกแบบอ่านค่าดว้ ยขีดสเกลเทา่ น้นั 4.5.2 หน้าทแ่ี ละส่วนประกอบของเวอร์เนียร์วดั ลกึ ลกั ษณะโครงสร้างของเวอร์เนียร์วดั ลึกจะมีฐานยนั และแกนวดั ลึกท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ทว่ั ไปทาใหก้ ารวดั ความลึกรูควา้ น ร่องลึก หรือส่วนลดต่างระดบั สามารถทาไดส้ ะดวกรวดเร็วและเกิดความผิดพลาดไดน้ อ้ ยกวา่ การวดั ดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ทวั่ ไป ดงั ภาพที่ 4.58 สกรูลอ็ กสเกลเล่ือน สกรูลอ็ กปรับละเอียดแกนวดั ลึกผิวหนา้ อา้ งอิง สกรูปรับละเอียด สเกลหลกั บรรทดั สเกลหลกั ฐานยนั สเกลเล่ือน ภาพท่ี 4.58 แสดงส่วนประกอบของเวอร์เนียร์วดั ลึก (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากรูปท่ี 4.58 ส่วนประกอบของเวอร์เนีรยว์ ดั ลึกมีหนา้ ที่ดงั น้ี 4.5.2.1 ฐานยนั (Base) เป็นฐานสาหรับค้ายนั และบงั คบั แนวแกนของบรรทดั วดั ลึก 4.5.2.2 สเกลหลกั (Main Scale) เป็ นสเกลที่อยูบ่ นแกนของบรรทดั วดั ลึก ใช้สาหรับการอา่ นคา่ หลกั ของเวอร์เนียร์วดั ลึก 4.5.2.3 สเกลเล่ือน (Vernier Scale) เป็ นสเกลท่ีอยู่บนฐานยนั ใช้สาหรับการอ่านค่าละเอียดของเวอร์เนียร์วดั ลึก 4.5.2.4 บรรทดั สเกลหลกั (Measuring Face) ใชส้ าหรับวดั ความลึกของชิ้นงาน 4.5.2.5 ผิวหน้าอา้ งอิง (Reference Surface) ใช้สาหรับบงั คบั ให้แนวแกนของบรรทดัวดั ลึกอยรู่ ่วมกบั แนวแกนวดั ของชิ้นงาน 4.5.2.6 สกรูล็อกสเกลเลื่อน (Clamp Screw) ใช้สาหรับปรับความฝื ดของสเกลเล่ือนเพื่อใหบ้ รรทดั สเกลหลกั ไมส่ ามารถเล่ือนได้

สเกลเ ่ืลอน 0.001 ิ้นว เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 174 สเกลหลัก สแกลเ ื่ลอน 0.024.5.2.7 สกรูปรับละเอียด (Clamp Screw) ใชส้ าหรับปรับความละเอียดของสเกลเลื่อน มม.4.5.2.8 สกรูล็อกปรับละเอียด (Clamp Screw) ใช้สาหรับปรับความฝื ดของสกรูปรับละเอียด เพ่ือใหบ้ รรทดั สเกลหลกั ไม่สามารถเลื่อนปรับละเอียดได้ 4.5.2.9 แกนวดั ลึก (Clamp screw) ใชส้ าหรับป้องกนั การหนุนของครีบบริเวณมุมงานหรือรัศมีโคง้ โดยท่ีปลายของแกนบรรทดั วดั ลึกจะเวา้ มุม 4.5.3 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์วดั ลกึ สาหรับการแบ่งและการอ่านค่าสเกลของเวอร์เนียร์วดั ลึก จะมีหลกั การแบ่งและการอ่านค่าสเกลเวอร์เนียร์เช่นเดียวกบั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์และเวอร์เนียร์ไฮเกจ ตวั อยา่ งท่ี 4.7ตวั อย่างท่ี 4.7 จากภาพท่ี 4.59 จงอา่ นค่าเวอร์เนียร์วดั ลึกความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร B A ภาพท่ี 4.59 การอ่านค่าเวอร์เนียร์วดั ลึกความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 175จากภาพที่ 4.59 การอา่ นค่าเวอร์เนียร์วดั ลึกมีข้นั ตอนดงั น้ีข้ันตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพท่ีจุด A ขีด 0 ของสเกลเล่ือน อยูร่ ะหว่างขีดท่ี 29 มิลลิเมตร และ 30 มิลลิเมตร ดงั น้นั ค่าท่ีอ่านจากสเกลหลกั จึงมีค่า เทา่ กบั 29 มิลลิเมตรข้นั ตอนที่ 2 อา่ นค่าจากขีดสเกลเล่ือน ซ่ึงจากภาพที่จุด B เป็ นขีดของเสกลเลื่อนที่ตรงกบัขีดของสเกลหลักมากท่ีสุด ดังน้ันที่จุด B ซ่ึงเป็ นขีดที่ 43 สเกลเลื่อนจะเย้ืองกับสเกลหลัก เท่ากับ430.02 = 0.86 มิลลิเมตรข้นั ตอนที่ 3 นาค่าที่ไดจ้ ากข้นั ตอนท้งั สองมารวมกนั จะไดด้ งั น้ีค่าท่ีอ่านได้ จากสเกลหลกั ที่จุด A เท่ากบั 29 มิลลิเมตรค่าที่อา่ นได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด B เท่ากบั 0.86 มิลลิเมตรดงั น้นั ค่าที่อ่านได้ เทา่ กบั 29.86 มิลลิเมตรตัวอย่างท่ี 4.8 จากภาพท่ี 4.60 จงอา่ นคา่ เวอร์เนียร์วดั ลึกความละเอียด 0.001 นิ้ว สเกลเ ่ืลอน 0.001 ิ้นว สเกลหลัก สแกลเ ื่ลอน 0.02 มม. C B Aภาพที่ 4.60 การอา่ นคา่ เวอร์เนียร์วดั ลึกความละเอียด 0.001 นิ้ว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 176จากภาพที่ 4.60 การอ่านค่าเวอร์เนียร์วดั ลึกมีข้นั ตอนดงั น้ีข้ันตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด A ขีด 0 ของสเกลเล่ือน อยูร่ ะหว่างขีดที่ 1 นิ้ว และ 2 นิ้ว ดงั น้นั คา่ ท่ีอา่ นจากสเกลหลกั จึงมีคา่ เทา่ กบั 1 นิ้วข้ันตอนที่ 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด B ขีด 0 ของสเกลเลื่อน อยรู่ ะหวา่ งขีดที่ 0.150นิ้ว และ 0.175 นิ้ว ดงั น้นั คา่ ที่อ่านจากสเกลหลกั ท่ีจุด B จึงมีค่า เทา่ กบั 0.150 นิ้วข้นั ตอนท่ี 3 อา่ นค่าจากขีดสเกลเลื่อนที่จุด C ซ่ึงเป็นขีดท่ี 24 มีคา่ เทา่ กบั 0.024 นิ้วข้นั ตอนท่ี 4 นาคา่ ท้งั สามมารวมกนั จะไดด้ งั น้ีค่าท่ีอ่านได้ จากสเกลหลกั ที่จุด A เทา่ กบั 1 นิ้วค่าท่ีอ่านได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด B เทา่ กบั 0.150 นิ้วค่าท่ีอ่านได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด C เท่ากบั 0.024 นิ้วดงั น้นั คา่ ท่ีอา่ นได้ เท่ากบั 1.175 นิ้ว 4.5.4 การใช้งานเวอร์เนียร์วดั ลกึ 4.5.4.1 ก่อนทาการวดั ควรตรวจสอบสภาพชิ้นงาน โดยเฉพาะบริเวณบ่าของชิ้นงานจะตอ้ งไม่มีรอยเยนิ เนื่องจากจะทาใหก้ ารตรวจสอบเกิดความคลาดเคล่ือนได้ 4.5.4.2 วางบ่าเวอร์เนียร์วดั ลึกลงกบั บ่าของชิ้นงาน แลว้ ทาการออกแรงกดให้เหมาะสมในขณะออกแรงกดเพ่ือวางปลายกา้ นวดั ลึก ควรตรวจสอบบ่าเวอร์เนียร์อยเู่ สมอวา่ เอียงหรือไม่ 4.5.4.3 เล่ือนแกนวดั ลึกลงมาจนสมั ผสั ชิ้นงาน 4.5.4.4 อ่านค่าที่วดั ได้ หรือหากไม่สะดวกที่จะอ่านให้หมุนสกรูล็อกแลว้ จึงถอดออกมาอ่านคา่ 4.5.5 ข้อควรระวงั ในการใช้งานเวอร์เนียร์วดั ลกึ ถึงแมว้ ่าลกั ษณะสร้างของเวอร์เนียร์วดั ลึกไดอ้ อกแบบมาอยา่ งเหมาะสมแต่เพื่อลดค่าผิดพลาดตา่ งๆ แต่ขอ้ ผดิ พลาดก็อาจมาจากสาเหตุอ่ืนๆ ซ่ึงผวู้ ดั จะตอ้ งระมดั ระวงั ดงั น้ี 4.5.5.1 ตรวจสอบลกั ษณะของชิ้นงานสมบูรณ์ และถูกตอ้ งหรือไม่ ดงั ภาพที่ 4.61 ขอบของงานสูงไม่เทา่ กนั ทาใหว้ ดั ความลึกไมไ่ ด้

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 177x x/ ภาพที่ 4.61 แสดงลกั ษณะของขอบงานไมถ่ ูกตอ้ ง ระยะ ่หางเ ่ิพม ้ึขน (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)4.5.5.2 ตรวจสอบ และลบรอยเยนิ ใหเ้ รียบร้อยก่อนวดั ขนาดชิ้นงาน ดงั ภาพที่ 4.62 ครีบหรือรอยเยนิ ภาพที่ 4.62 แสดงชิ้นงานที่ไม่ไดล้ บรอยเยนิ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)4.5.5.3 ประกบฐานยนั เวอร์เนียร์วดั ลึกใหแ้ นบสนิทกบั ผวิ ของชิ้นงาน4.5.5.4 ตอ้ งใหแ้ นวแกนของเวอร์เนียร์วดั ลึกตรงกบั แนวแกนของชิ้นงาน4.5.5.5 ใชแ้ รงกดแกนวดั ลึกใหพ้ อดีเพื่อใหไ้ ดค้ า่ วดั ที่ถูกตอ้ ง4.5.5.6 ใชแ้ กนวดั ดา้ นที่เวา้ มุมเพ่ือหลบครีบ หรือรอยเยนิ ของชิ้นงาน ดงั ภาพท่ี 4.63

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 178(ก) การใชก้ า้ นวดั ถกู ตอ้ ง (ข) การใชก้ า้ นวดั ไมถ่ ูกตอ้ งภาพท่ี 4.63 แสดงการใชแ้ กนวดั ลึกดา้ นที่เวา้ มุม (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook