Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 04 บทที่ 4 เวอร์เนียร์ (เนื้อหา)

04 บทที่ 4 เวอร์เนียร์ (เนื้อหา)

Published by jakaphankaenkijwiboon, 2017-07-12 06:18:28

Description: 04 บทที่ 4 เวอร์เนียร์ (เนื้อหา)

Search

Read the Text Version

รหสั วชิ า 2102-2004 แผนการเรียนรู้ประจาหน่วยที่ 4 สอนคร้ังที่ 4-6หน่วยท่ี 4 จานวน 9 ช.ม. ช่ือวชิ า วดั ละเอียด ช่ือหน่วย เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แนวคิด เวอร์เนียร์คาลิเปอร์เป็ นเคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลและเล่ือนได้ นิยมใช้กนั มากในงานอุตสาหกรรมเพราะสามารถอ่านค่าวดั ได้โดยตรงและให้ค่าได้ละเอียดและเท่ียงตรงกว่าเคร่ืองมือวดัละเอียดแบบมีสเกล เช่น บรรทดั เหล็ก เป็นตน้ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์สามารถที่จะวดั ขนาดของชิ้นงานได้ท้งั ขนาดความยาว ความกวา้ ง ความโตภายนอก ความโตภายใน ความสูงหรือความต่างระดับและขนาดของความลึกของชิ้นงาน ปัจจุบนั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์จะแบง่ ออกเป็น 3 แบบ ตามลกั ษณะการใชง้ าน ไดแ้ ก่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ เวอร์เนียร์ไฮเกจ และเวอร์เนียร์วดั ลึก เน่ืองจากเวอร์เนียร์แต่ละชนิดจะมีลกั ษณะและวิธีการใช้และการบารุงรักษาท่ีแตกต่างกนั ดงั น้นั ผูใ้ ชจ้ ึงตอ้ งศึกษาหลกั การต่างๆเก่ียวกบั เวอร์เนียร์ใหเ้ ขา้ ใจก่อนการใชง้ านสาระการเรียนรู้ 1. บทนา 2. ชนิดของเวอร์เนียร์ 3. เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ 4. เวอร์เนียร์ไฮเกจ 5. เวอร์เนียร์วดั ลึกสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ตวั ชี้วดั ) สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกชนิดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายหลกั การแบง่ สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อ่านคา่ สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 119 8. บอกวธิ ีการเกบ็ และบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 10. อธิบายหลกั การแบง่ สเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 11. อา่ นค่าสเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 12. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 13. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์ไฮเกจก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 14. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 15. บอกวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 16. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 17. อ่านคา่ สเกลเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 18. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 19. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์วดั ลึกก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 20. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เก็บและบารุงรักษาเครื่องมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ื่นได้ (การทางานกลุ่ม)

กระบวนการเรียนรู้ เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 120 ประเมินความรู้เบ้ืองตน้ ประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ทดสอบก่อนการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 4 ทดสอบหลงั การเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 5 แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 6 ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 121ส่ือการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 4 3. ใบมอบหมายงาน ใบงานประจาหน่วยที่ 4 4. แบบประเมินคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์งานทม่ี อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไปการประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบมอบหมายงาน ใบงานประจาหน่วยที่ 4 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 3. แบบทดสอบประจาหน่วยที่ 4 4. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 122หน่วยท่ี 4 แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 4 สอนคร้ังที่ 4หน่วยย่อยท่ี 4 จานวน 3 ช.ม. ชื่อหน่วย เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ชื่อหน่วยย่อย เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แนวคิด เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper) เป็ นเคร่ืองมือวดั ท่ีสามารถวดั ชิ้นงานที่มีความละเอียดได้มากกว่าบรรทดั เหล็ก โดยใชห้ ลกั การของสเกลท่ีมีขนาดแตกต่างกนั สองสเกลมาทาบกนั และทาให้สเกลท้งั สองเกิดการเย้ืองกนั ทาให้สามารถอ่านค่าไดล้ ะเอียดมากยง่ิ ข้ึน เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์สามารถวดังานได้หลายลกั ษณะ เช่น วดั ขนาดความโตภายนอก ขนาดความโตภายใน และขนาดความลึก ค่าความละเอียดของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์มีอยหู่ ลายขนาด เช่น 0.1, 0.05, 0.02 มิลลิเมตร 0.001 นิ้ว และ 1 นิ้ว128สาระการเรียนรู้ 1. หนา้ ท่ีและส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ 2. การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ 3. การใชง้ านเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ 4. การตรวจสอบเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนใชง้ าน 5. ข้นั ตอนการวดั ขนาดงานดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ 6. ขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ านเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ 7. การเก็บและการบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิเปอร์สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ตวั ชี้วดั ) สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกชนิดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายหลกั การแบ่งสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อ่านค่าสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 123 7. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกวธิ ีการเกบ็ และบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เกบ็ และบารุงรักษาเครื่องมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 ครูถามคาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่บทเรียน 1.2 ครูสรุปคาตอบจากนกั ศึกษานกั ศึกษาโดยใหน้ กั ศึกษาตระหนกั ถึงความสาคญั ของ เน้ือหาท่ีกาลงั จะเรียน 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั ครูอธิบายทฤษฎีต่างๆ ในเน้ือหาวชิ า 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 ครูจดั กลุ่มใหผ้ ูเ้ รียนกลุ่มละ 4-5 คน 2.2.2 ครูสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 4 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 ครูใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 124 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป ครูสรุปผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 4 3.2 นาไปใช้ ครูสอบหมายงานให้นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 1-8 กจิ กรรมนักศึกษา 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 นกั ศึกษาตอบคาถามที่ครูถาม 1.2 นกั ศึกษาจดบนั ทึกจากสรุปของครู 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั นกั ศึกษาถามคาถามท่ีตนสงสัยและจดบนั ทึกเน้ือหาและทฤษฎีตา่ งๆ 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 นกั ศึกษารวมกลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2.2.2 สมาชิกในกลุ่มสงั เกตการสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 4 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป นกั ศึกษาบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 4 3.2 นาไปใช้ นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 1-8 ส่งก่อนเขา้ เรียนหน่ึงวนั ของสปั ดาห์ ถดั ไปสื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 1-8 3. ใบงานท่ี 4 4. ส่ือประกอบการสอน Power Point 5. สื่อของจริง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 125งานทม่ี อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 4 ขอ้ 1-8 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไปการประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 4 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 3. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 1-8บนั ทกึ หลงั การสอน....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 126หน่วยที่ 4 แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 5 สอนคร้ังที่ 5หน่วยย่อยที่ 5 จานวน 3 ช.ม. ช่ือหน่วย เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ชื่อหน่วยย่อย เวอร์เนียร์ไฮเกจแนวคดิ เวอร์เนียร์ไฮเกจ (Vernier Height Gauge) หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงวา่ “เวอร์เนียร์วดั ความสูง” เป็ นเวอร์เนียร์ที่ใช้สาหรับการร่างแบบงานเป็ นส่วนใหญ่ โดยที่ปากวดั ของเวอร์เนียร์ไฮเกจจะมีเหล็กขีดที่ใช้สาหรับขีดไปบนชิ้นงาน เวอร์เนียร์ไฮเกจจะมีลกั ษณะและส่วนประกอบต่างๆ คล้ายกับเวอร์เนียร์ทวั่ ๆไปแต่สเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์ไฮเกจน้ัน จะเคล่ือนที่ข้ึนลงในแนวด่ิง และที่ปากวดั จะทามาจากเหล็กชุบแขง็ ซ่ึงมีความแขง็ กวา่ เหลก็ เหนียวธรรมดา เพ่อื ใชส้ าหรับขีดเส้นบนชิ้นงานในการร่างแบบสาระการเรียนรู้ 1. ชนิดของเวอร์เนียร์ไฮเกจ 2. หนา้ ท่ีและส่วนประกอบของเวอร์เนียร์ไฮเกจ 3. หลกั การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์ไฮเกจ 4. การใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจ 5. การตรวจสอบเวอร์เนียร์ไฮเกจก่อนใชง้ าน 6. ขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจ 7. การเก็บและบารุงรักษาเวอร์เนียร์ไฮเกจสมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ตัวชี้วดั ) สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 2. อธิบายหลกั การแบ่งสเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อ่านคา่ สเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์ไฮเกจก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกวธิ ีการเกบ็ และบารุงรักษาเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 127 สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เกบ็ และบารุงรักษาเครื่องมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 ครูถามคาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียน 1.2 ครูสรุปคาตอบจากนกั ศึกษานกั ศึกษาโดยใหน้ กั ศึกษาตระหนกั ถึงความสาคญั ของ เน้ือหาท่ีกาลงั จะเรียน 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั ครูอธิบายทฤษฎีต่างๆ ในเน้ือหาวชิ า 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 ครูจดั กลุ่มใหผ้ เู้ รียนกลุ่มละ 4-5 คน 2.2.2 ครูสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 5 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 ครูใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป ครูสรุปผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 5

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 128 3.2 นาไปใช้ ครูสอบหมายงานให้นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 4 ขอ้ 9-15 กจิ กรรมนักศึกษา 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 นกั ศึกษาตอบคาถามท่ีครูถาม 1.2 นกั ศึกษาจดบนั ทึกจากสรุปของครู 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั นกั ศึกษาถามคาถามที่ตนสงสัยและจดบนั ทึกเน้ือหาและทฤษฎีตา่ งๆ 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 นกั ศึกษารวมกลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2.2.2 สมาชิกในกลุ่มสงั เกตการสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 5 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป นกั ศึกษาบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 5 3.2 นาไปใช้ นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 9-15 ส่งก่อนเขา้ เรียนหน่ึงวนั ของสปั ดาห์ ถดั ไปส่ือการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 4 ขอ้ 9-15 3. ใบงานที่ 5 4. สื่อประกอบการสอน Power Point 5. ส่ือของจริง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 129งานทมี่ อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึ กหดั ประจาหน่วยท่ี 4 ขอ้ 9-15 ส่งในการเรียนคร้ังตอ่ ไปการประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 5 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 3. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 4 ขอ้ 9-15บนั ทกึ หลงั การสอน....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 130หน่วยท่ี 4 แผนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 6 สอนคร้ังท่ี 6หน่วยย่อยท่ี 6 จานวน 3 ช.ม. ช่ือหน่วย เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ช่ือหน่วยย่อย เวอร์เนียร์วดั ลึกแนวคดิ เวอร์เนียร์วดั ลึก (Vernier Depth Gauge) เป็ นเวอร์เนียร์ที่ออกแบบมาเพ่ือใช้วดั ความลึกของรูเจาะความลึกของบ่างาน ร่องลึกต่างระดบั การวดั สามารถอ่านค่าจากสเกลไดเ้ ช่นเดียวกบั การใชเ้ วอร์เนียร์คาลิปเปอร์ แตกต่างกนั ท่ีการวดั สเกลหลกั จะเป็นตวั เคลื่อนท่ี ส่วนสเกลเลื่อนจะอยกู่ บั ที่สามารถอา่ นค่าไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งแมน่ ยาสาระการเรียนรู้ 1. ชนิดของเวอร์เนียร์วดั ลึก 2. หนา้ ท่ีและส่วนประกอบของเวอร์เนียร์วดั ลึก 3. การแบ่งสเกลและการอ่านเวอร์เนียร์วดั ลึก 4. การใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึก 5. ขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึกสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ตวั ชี้วดั ) สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 2. อ่านค่าสเกลเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 3. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 4. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์วดั ลึกก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 5. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 131 สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เก็บและบารุงรักษาเคร่ืองมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ื่นได้ (การทางานกลุ่ม)กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 ครูถามคาถามเพือ่ นาเขา้ สู่บทเรียน 1.2 ครูสรุปคาตอบจากนกั ศึกษานกั ศึกษาโดยใหน้ กั ศึกษาตระหนกั ถึงความสาคญั ของ เน้ือหาที่กาลงั จะเรียน 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั ครูอธิบายทฤษฎีต่างๆ ในเน้ือหาวชิ า 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 ครูจดั กลุ่มใหผ้ ูเ้ รียนกลุ่มละ 4-5 คน 2.2.2 ครูสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 6 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 ครูใหส้ มาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป 3.1.1 ครูสรุปผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 6 3.1.2 ครูใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบรายบุคคล 3.2 นาไปใช้ ครูสอบหมายงานให้นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 4 ขอ้ 16-19

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 132 กจิ กรรมนักศึกษา 1.ข้นั ตระหนกั 1.1 นกั ศึกษาตอบคาถามท่ีครูถาม 1.2 นกั ศึกษาจดบนั ทึกจากสรุปของครู 2. ข้นั เรียนรู้ 2.1 เสนอใหช้ ดั นกั ศึกษาถามคาถามที่ตนสงสยั และจดบนั ทึกเน้ือหาและทฤษฎีต่างๆ 2.2 สาธิตการปฏิบตั ิ 2.2.1 นกั ศึกษารวมกลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2.2.2 สมาชิกในกลุ่มสงั เกตการสาธิตการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 6 2.3 ปฏิบตั ิร่วมกนั 2.2.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกนั ในการทาใบงาน 3. ข้นั สรุป 3.1 สรุป 3.1.1 นกั ศึกษาบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 6 3.1.2 นกั ศึกษาทาแบบทดสอบรายบุคคล 3.2 นาไปใช้ นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 16-19 ส่งก่อนเขา้ เรียนหน่ึงวนั ของ สัปดาห์ถดั ไปสื่อการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานวดั ละเอียด 2. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 16-19 3. ใบงานท่ี 6 4. แบบทดสอบประจาหน่วยที่ 4 5. สื่อประกอบการสอน Power Point 6. สื่อของจริงงานทมี่ อบหมาย/กจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่มๆ ละ 4-5 คนทาใบงานร่วมกนั 2. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 16-19 ส่งในการเรียนคร้ังต่อไป

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 133การประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 6 2. แบบประเมินคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 3. แบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ขอ้ 16-19 4. แบบทดสอบประจาหน่วยที่ 4บันทกึ หลงั การสอน....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 134 หน่วยที่ 4 เวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์แนวคดิ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์เป็ นเครื่องมือวดั ละเอียดแบบมีสเกลและเล่ือนได้ นิยมใช้กนั มากในงานอุตสาหกรรมเพราะสามารถอ่านค่าวดั ได้โดยตรงและให้ค่าได้ละเอียดและเที่ยงตรงกว่าเครื่องมือวดัละเอียดแบบมีสเกล เช่น บรรทดั เหล็ก เป็นตน้ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์สามารถท่ีจะวดั ขนาดของชิ้นงานได้ท้งั ขนาดความยาว ความกวา้ ง ความโตภายนอก ความโตภายใน ความสูงหรือความต่างระดับและขนาดของความลึกของชิ้นงาน ปัจจุบนั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์จะแบ่งออกเป็น 3 แบบ ตามลกั ษณะการใชง้ าน ไดแ้ ก่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ เวอร์เนียร์ไฮเกจ และเวอร์เนียร์วดั ลึก เนื่องจากเวอร์เนียร์แต่ละชนิดจะมีลกั ษณะและวิธีการใช้และการบารุงรักษาที่แตกต่างกนั ดงั น้นั ผูใ้ ชจ้ ึงตอ้ งศึกษาหลกั การต่างๆเก่ียวกบั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ใหเ้ ขา้ ใจก่อนการใชง้ านสาระการเรียนรู้ 1. บทนา 2. ชนิดของเวอร์เนียร์ 3. เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ 4. เวอร์เนียร์ไฮเกจ 5. เวอร์เนียร์วดั ลึกสมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์ สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านความรู้) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. บอกชนิดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบายหลกั การแบ่งสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 4. อ่านคา่ สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 135 5. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 6. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 7. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. บอกวธิ ีการเกบ็ และบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 9. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 10. อธิบายหลกั การแบ่งสเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 11. อา่ นค่าสเกลเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 12. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 13. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์ไฮเกจก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 14. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 15. บอกวธิ ีการเก็บและบารุงรักษาเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 16. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 17. อ่านค่าสเกลเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 18. บอกวธิ ีการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง 19. บอกวธิ ีการตรวจสอบเวอร์เนียร์วดั ลึกก่อนใชง้ านไดถ้ ูกตอ้ ง 20. บอกขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ด้านทกั ษะ) เมื่อผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเน้ือหาในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์ไฮเกจไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์วดั ลึกไดถ้ ูกตอ้ ง สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์) เม่ือผเู้ รียนไดศ้ ึกษาและฝึกปฏิบตั ิตามเน้ือหาและใบงานในหน่วยน้ีแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งสามารถ 1. เก็บและบารุงรักษาเคร่ืองมือวดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบและขอ้ บงั คบั (ความมีวนิ ยั ) 3. ปฏิบตั ิงานตามที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด (ความรับผดิ ชอบ) 4. สามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ (การทางานกลุ่ม)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 1364.1 บทนา เวอร์เนียร์ (Vernier) เป็นเครื่องมือวดั ที่นิยมใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายในงานอุตสาหกรรม เน่ืองจากเวอร์เนียร์น้ันมีความละเอียดค่อนข้างมาก เมื่อเทียบกบั เครื่องมือวดั บางประเภท เช่น บรรทดั เหล็กและตลบั เมตร เป็นตน้ เวอร์เนียร์เป็ นเคร่ืองวดั ความยาวอยา่ งละเอียดที่ใชห้ ลกั ของเวอร์เนียร์สเกล โดยการแบ่งสเกลตามแนวยาวคลา้ ยไมบ้ รรทดั แต่มีการแบ่งสเกลรองโดยการใชส้ เกลเล่ือนเพื่อให้สามารถวดั ไดล้ ะเอียดมากข้ึน ซ่ึงเคร่ืองมือวดั น้ีคิดข้ึนโดย ปิ แอร์ เวอร์เนียร์ (Pierre Vernier) ชาวฝร่ังเศส เม่ือประมาณปี พ.ศ.2174 หรือ ค.ศ. 1637 ซ่ึงเดิมที่ทาการคิดเก่ียวกบั การใชง้ านสเกลเลื่อน 2 ชิ้น มาทาใหเ้ กิดระยะการเล่ือนขยาย เรียกวา่ “เวอร์เนียร์สเกล” จากน้นั นายโจเซฟ อาร์บราวน์ ไดม้ าทาการประยุกตเ์ พ่ิมปากวดั งาน(Caliper) เพื่อให้สามารถใช้งานไดด้ ีข้ึน จึงไดเ้ ปล่ียนชื่อเรียกเป็ นเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ตามช่ือของนายเวอร์เนียร์และชื่อเรียกปากวดั งาน4.2 ชนิดของเวอร์เนียร์ เวอร์เนียร์สามารถแบง่ ได้ 3 ชนิด ดงั น้ี 1) เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (Vernier Calipers) 2) เวอร์เนียร์ไฮเกจ (Vernier Height Gauge) 3) เวอร์เนียร์วดั ลึก (Vernier Depth Gauge)4.3 เวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ท่ีมีใชก้ นั ในปัจจุบนั มีหลายชนิด ซ่ึงข้ึนอยกู่ บั ผผู้ ลิต ดงั ภาพท่ี 4.1 (ก) เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบอ่านคา่ จากสเกล

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 137 (ข) เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบอ่านค่าดว้ ยนาฬิกาวดั ค) เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบอา่ นคา่ ดว้ ยระบบดิจิตอล ภาพที่ 4.1 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบต่างๆ(ที่มา : MITUTOYO CATALOG US-1001 [Online]. Available : http://www.mitutoyo.com/template1.aspx?id=170) นอกจากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ท้งั 3 แบบ ดงั กล่าวขา้ งตน้ ยงั มีเวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบพิเศษชนิดต่างๆ ที่ใชก้ บั ชิ้นงานที่มีรูปร่างซบั ซอ้ นหรือชิ้นงานท่ีมีลกั ษณะพิเศษเฉพาะอยา่ ง ดงั ภาพที่ 4.2–4.13 สกรูปรับละเอียด ภาพท่ี 4.2 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบปรับละเอียด (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 135)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 138 ป่ ุมลอ็ กสปริงภาพท่ี 4.3 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบยดึ ปากเลื่อนดว้ ยสปริงกด (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 136) จุดหมนุ ของปาก วดั ภาพที่ 4.4 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบปากหมุน (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 155) ภาพที่ 4.5 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบปากยาว (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 145)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 139 ภาพท่ี 4.6 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบปากกา (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 138) ภาพท่ี 4.7 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบปากวดั ปรับได้ (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 146)ภาพที่ 4.8 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบวดั ระยะระหวา่ งศูนย์ (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 147)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 140 ภาพที่ 4.9 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบปลายแหลม (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 149)ภาพที่ 4.10 แสดงลกั ษณะเวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบปากใบมีด (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 150) 3 มิลลิเมตร ข้ึนไป ภาพที่ 4.11 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบวดั ความหนาท่อ (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 154)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 141 ภาพที่ 4.12 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์แบบคอคอด (ที่มา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 151) ภาพที่ 4.13 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์วดั ใน (ท่ีมา : MITUTOYO CATALOG 2008 : 152)4.3.1 หน้าทแี่ ละส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์มีส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของส่วนประกอบที่สาคญั ดงั ภาพท่ี 4.14 สเกลเลื่อนระบบองั กฤษปากวดั ใน สกรูลอ็ ก สเกลหลกั ระบบองั กฤษ สเกลเลื่อนระบบเมตริก สเกลหลกั ระบบเมตริก กา้ นวดั ลึกปากวดั นอก ภาพท่ี 4.14 แสดงส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 142 จากภาพท่ี 4.14 ส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของส่วนประกอบท่ีสาคญั มีดงั น้ี 4.3.1.1 ปากวดั นอก (Outside Caliper Jaws) ใชส้ าหรับวดั ความโตดา้ นนอกของชิ้นงานโดยที่ปากวดั ขา้ งหน่ึงติดอยู่กบั ลาตวั ของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ เรียกวา่ “ปากวดั ตาย” (Fixed Jaw) และปากอีกขา้ งหน่ึงสามารถเลื่อนไปมาบนลาตวั ของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ได้ เรียกวา่ “ปากวดั เล่ือน” (Slider) ปลายปากวดั นอกถูกออกแบบใหบ้ างคลา้ ยคมมีดเพอื่ ใชว้ ดั ชิ้นงานที่มีลกั ษณะเป็นร่องแคบๆ และลดหนา้ สัมผสั กบั ชิ้นงาน 4.3.1.2 ปากวดั ใน (Inside Caliper Jaws) ใชส้ าหรับวดั ขนาดความโตดา้ นในของชิ้นงานที่ปลายของเข้ียววดั ในมีลกั ษณะคลา้ ยคมมีดและปลายแหลมเพ่อื วดั ขนาดรูหรือร่องเลก็ ๆ ได้ 4.3.1.3 กา้ นวดั ลึก (Depth Bar) ใชส้ าหรับวดั ความลึกของชิ้นงานท่ีมีลกั ษณะเป็ นร่อง หรือรู กา้ นวดั ลึกประกอบติดอยู่กบั ปากเลื่อน มีพ้ืนท่ีหน้าตดั เป็ นรูปสี่เหล่ียมผืนผา้ ปลายก้านวดั ลึกจะมีลกั ษณะเวา้ โคง้ เพื่อหลบการสัมผสั กบั ผวิ ขอบหรือมุมชิ้นงาน 4.3.1.4 สเกลหลกั (Main Scale) เป็ นขีดสเกลที่อยบู่ นดา้ มเวอร์เนียร์คาลิเปอร์มีลกั ษณะการแบ่งขีดสเกลเหมือนบรรทดัเหล็ก 2 ระบบ คือ ระบบเมตริก และระบบองั กฤษ หรืออาจมีระบบเดียวก็ได้ 4.3.1.5 สเกลเล่ือน (Vernier Scale) เป็ นขีดสเกลที่ติดอยูก่ บั ปากเล่ือน และเลื่อนไปมาพร้อมกบั ปากเล่ือน สเกลเล่ือนเป็ นขีดมาตราที่ขยายความละเอียดของสเกลหลกั ให้มากข้ึน ซ่ึงมีความละเอียดของสเกลเล่ือนมีหลายขนาดเลือกใชไ้ ดต้ ามความตอ้ งการ 4.3.1.6 สกรูล็อก (Lock Screw) ใช้สาหรับยึดปากวดั เลื่อนไม่ให้เคล่ือนท่ีหลงั จากทาการวดั ชิ้นงานแล้ว ตอ้ งการนาเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ออกจากชิ้นงานเพ่ือการอ่านค่า สกรูล็อกอาจประกอบติดอยกู่ บั ปากเลื่อนที่ดา้ นบนหรือดา้ นล่างกไ็ ด้ 4.3.2 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์โดยส่วนใหญ่จะมีสเกลวดั 2 ระบบในตวั เดียวกนั คือ ระบบเมตริกและระบบองั กฤษ ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั ผูใ้ ช้นิยมใช้แบบใดมากกว่า โดยดา้ นบนของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์จะเป็ นสเกลระบบองั กฤษ และดา้ นล่างเป็นสเกลระบบเมตริก ดงั ภาพที่ 4.15

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 143สเกลวดั ระบบองั กฤษ สเกลวดั ระบบเมตริก ภาพที่ 4.15 สเกลของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.3.2.1 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ระบบเมตริก เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบเมตริกจะประกอบดว้ ยสเกลที่ใชใ้ นการอา่ นคา่ 2 สเกล คือสเกลหลกั และสเกลเล่ือน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1) สเกลหลกั จะมีขีดสเกลแสดงค่าการวดั มีหน่วยการวดั เป็น มิลลิเมตร โดยขีดสเกลจะเริ่มตน้ จาก 0-150 มิลลิเมตร หรือตามขนาดความยาวของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ บนขีดสเกลหลกั หน่ึงขีดจะมีค่าเท่ากบั 1.00 มิลลิเมตร โดยเมื่อครบหลกั สิบขีดกจ็ ะแทนดว้ ยตวั เลข 1, 2, 3,… ซ่ึงหมายถึง 10, 20,30, … ตามลาดบั จนถึงความยาวสุดทา้ ยของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ หรือเม่ือครบหลกั สิบขีดก็จะแทนดว้ ยตวั เลข 10, 20, 30, … จนถึงความยาวสุดทา้ ยของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ดงั ภาพท่ี 4.16 สเกลหลกั ระบบเมตริกภาพท่ี 4.16 สเกลหลกั ของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบเมตริก (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 144 2) สเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์โดยทวั่ ไป จะแบ่งค่าความละเอียดออกเป็ น เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.05 และเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร ดงั ภาพที่ 4.17 0.05 mm (ก) สเกลเลื่อนของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบเมตริก ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร 0.02 mm (ข) สเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบเมตริก ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร ภาพท่ี 4.17 สเกลเลื่อนของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบเมตริก (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 3) การแบ่งสเกลและการอา่ นคา่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร มีดงั น้ี (1) สเกลหลกั แบ่งความยาว 1 เซนติเมตร ออกเป็ น 10 ช่อง แต่ละช่องมีขนาดความยาวเทา่ กบั 1 มิลลิเมตร และมีตวั เลขกากบั ทุกๆ 1 เซนติเมตร เป็น 1, 2, 3, … ฯลฯ (2) สเกลเลื่อน จะแบ่งความยาวของสเกลหลกั ขนาด 39 มิลลิเมตร ออกเป็น 20ช่องเท่าๆกนั ดงั น้นั แตล่ ะช่องของสเกลเลื่อนจะมีความยาวเท่ากบั 1.95 มิลลิเมตร ดงั ภาพท่ี 4.18

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 145 ความยาว 39 มม.2 มม. สเกลหลกั 0.05 มม สเกลเลื่อน แบ่งความยาว 20 ช่อง1.95 มม.ภาพท่ี 4.18 แสดงการแบ่งขีดสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพท่ี 4.18 เม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเลื่อนตรงกนั สามารถอธิบายหลกั การแบง่ ขีดสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร ไดด้ งั น้ี 20 ช่อง ของสเกลเลื่อนยาว = 39 มิลลิเมตร ของสเกลหลกั 1 ช่อง ของสเกลเล่ือนยาว = 39 20 = 1.95 มิลลิเมตรดงั น้ันขีดที่ 1 ของสเกลเล่ือนเย้ืองกับขีดท่ี 2 ของสเกลหลกั เท่ากับ 2-1.95 = 0.05มิลลิเมตร ซ่ึงก็คือความละเอียดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้ี และเม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั ดงั ภาพท่ี 4.19 สเกลหลกั สเกลเลื่อน1 23 20ภาพท่ี 4.19 ขีดสเกลศูนยส์ เกลหลกั และสเกลเลื่อนของเวอร์เนียร์ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 146 จากภาพท่ี 4.19 เม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั อ่านค่าไดด้ งั น้ี ขีดท่ี 1 ของสเกลเล่ือนเย้อื งกบั ขีด 2 ของสเกลหลกั = 2-1.95 = 0.05 มิลลิเมตร ขีดที่ 2 ของสเกลเล่ือนเย้อื งกบั ขีด 4 ของสเกลหลกั = 4-2(1.95) = 0.10 มิลลิเมตร ขีดที่ 3 ของสเกลเลื่อนเย้อื งกบั ขีด 6 ของสเกลหลกั = 6-3(1.95) = 0.15 มิลลิเมตร ฯลฯ ขีดท่ี 20 ของสเกลเล่ือนเย้อื งกบั ขีด 40 ของสเกลหลกั = 40-20(1.95) = 1.00 มิลลิเมตร ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ า่ ขีดท่ี 1 ของสเกลเล่ือนจึงมีคา่ = 0.05 มิลลิเมตร ขีดที่ 2 ของสเกลเล่ือนจึงมีค่า = 0.10 มิลลิเมตร ขีดที่ 3 ของสเกลเล่ือนจึงมีค่า = 0.15 มิลลิเมตร ฯลฯ ขีดท่ี 20 ของสเกลเล่ือนจึงมีค่า = 1.00 มิลลิเมตร สาหรับหลกั การอา่ นคา่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ี ข้ันตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ก่อน โดยพิจารณาจากขีด 0 ของสเกลเล่ือนเลยขีดจานวนเตม็ ของสเกลหลกั ซ่ึงมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรไปเทา่ ใด เช่น 1,2, 3, … , 150 มิลลิเมตร ข้ันตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลเลื่อน โดยพิจารณาจากขีดใดขีดหน่ึงของสเกลเลื่อนที่ตรงกบั ขีดของสเกลหลกั เช่น 0.05, 0.10, 0.15, 0.20, … , 0.95 มิลลิเมตร ข้ันตอนที่ 3 นาค่าที่ไดจ้ ากข้นั ตอนท้งั สองมารวมกนั จะเป็ นค่าท่ีอ่านได้จากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้นัตวั อย่างท่ี 4.1 จากภาพที่กาหนดให้ คา่ ที่อ่านไดม้ ีขนาดเท่าใด A B ภาพท่ี 4.20 สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 147จากภาพ 4.20 การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์มีข้นั ตอนดงั น้ีข้นั ตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพท่ีจุด A ขีด 0 ของสเกลเลื่อน อยรู่ ะหวา่ งขีดท่ี 16 และ 17 มิลลิเมตร ดงั น้นั สเกลหลกั มีค่าเท่ากบั 16 มิลลิเมตรข้นั ตอนที่ 2 อา่ นค่าจากขีดสเกลเล่ือน ซ่ึงจากภาพท่ีจุด B เป็ นขีดของเสกลเลื่อนที่ตรงกบัขีดของสเกลหลกั มากที่สุด ดงั น้นั ที่จุด B ซ่ึงเป็ นขีดที่ 5 สเกลเลื่อนจะเย้ืองกบั สเกลหลกั เท่ากบั 50.05= 0.25 มิลลิเมตรข้นั ตอนที่ 3 นาคา่ ท่ีไดจ้ ากข้นั ตอนท้งั 2 มารวมกนั จะไดด้ งั น้ี ค่าท่ีอา่ นได้ จากสเกลหลกั ท่ีจุด A เท่ากบั 16 มิลลิเมตร ค่าท่ีอ่านได้ จากสเกลเลื่อนที่จุด B เท่ากบั 0.25 มิลลิเมตร ดงั น้นั ค่าท่ีอ่านได้ เท่ากบั 16.25 มิลลิเมตร 4) การแบง่ สเกลและการอา่ นค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร มีดงั น้ี (1) สเกลหลกั แบ่งความยาว 1 เซนติเมตร ออกเป็ น 10 ช่อง แต่ละช่องมีขนาดความยาวเทา่ กบั 1 มิลลิเมตร และมีตวั เลขกากบั ทุกๆ 1 เซนติเมตร เป็น 1, 2, 3, 4, ฯลฯ (2) สเกลเล่ือน แบ่งความยาวของสเกลหลกั ขนาด 49 มิลลิเมตร ออกเป็ น 50ช่องเทา่ ๆกนั ดงั น้นั แต่ละช่องของสเกลเลื่อนจะมีความยาวเทา่ กบั 0.98 มิลลิเมตร ดงั ภาพที่ 4.21 ความยาว 49 มม. 1 มม. สเกลหลกั 0.98 มม. 0.02 มม. สเกลเลื่อน แบ่งความยาวเป็ น 50 ช่องภาพท่ี 4.21 แสดงการแบ่งขีดสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิมิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 4.21 เม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั สามารถอธิบายหลกั การแบ่งขีดสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร ไดด้ งั น้ี

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 14850 ช่อง ของสเกลเล่ือนยาว = 49 มิลลิเมตร ของสเกลหลกั1 ช่อง ของสเกลเลื่อนยาว = 49 50 = 0.98 มิลลิเมตรดงั น้ันขีดที่ 1 ของสเกลเล่ือนเย้ืองกบั ขีดที่ 1 ของสเกลหลัก เท่ากับ 1-0.98 = 0.02มิลลิเมตร ซ่ึงก็คือความละเอียดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้ี และเม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเลื่อนตรงกนั ดงั ภาพที่ 4.22 สเกลหลกั สเกลเล่ือน 1 2 3 50ภาพท่ี 4.22 ขีดสเกลศูนยส์ เกลหลกั และสเกลเลื่อนของเวอร์เนียร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพท่ี 4.22 เม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเลื่อนตรงกนั อา่ นคา่ ไดด้ งั น้ี ขีดท่ี 1 ของสเกลเล่ือนเย้อื งกบั ขีด 1 ของสเกลหลกั = 1-0.98 = 0.02 มิลลิเมตร ขีดที่ 2 ของสเกลเล่ือนเย้อื งกบั ขีด 2 ของสเกลหลกั = 2-2(0.98) = 0.04 มิลลิเมตร ขีดท่ี 3 ของสเกลเลื่อนเย้อื งกบั ขีด 3 ของสเกลหลกั = 3-3(0.98) = 0.06 มิลลิเมตร ฯลฯ ขีดที่ 50 ของสเกลเลื่อนเย้อื งกบั ขีด 50 ของสเกลหลกั = 50-50(0.98) = 1.00 มิลลิเมตร ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ า่ ขีดที่ 1 ของสเกลเลื่อนจึงมีคา่ = 0.02 มิลลิเมตร ขีดที่ 2 ของสเกลเลื่อนจึงมีค่าค่า = 0.04 มิลลิเมตร ขีดที่ 3 ของสเกลเลื่อนจึงมีคา่ คา่ = 0.06 มิลลิเมตร ฯลฯ ขีดที่ 50 ของสเกลเล่ือนจึงมีค่า = 1.00 มิลลิเมตร

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 149 สาหรับหลกั การอา่ นค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ตอนที่ 1 อา่ นคา่ จากสเกลหลกั ก่อน โดยพจิ ารณาจากขีด 0 ของสเกลเล่ือนเลยขีดจานวนเตม็ ของสเกลหลกั ซ่ึงมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรไปเท่าใด เช่น 1,2, 3, … , 150 มิลลิเมตร ข้นั ตอนที่ 2 อ่านค่าจากสเกลเลื่อน โดยพจิ ารณาจากขีดใดขีดหน่ึงของสเกลเล่ือนท่ีตรงกบั ขีดของสเกลหลกั เช่น 0.02, 0.04, 0.06, 0.08, … , 0.98 มิลลิเมตร ข้ันตอนที่ 3 นาค่าที่ไดจ้ ากข้นั ตอนท้งั สองมารวมกนั จะเป็ นค่าที่อ่านได้จากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้นัตวั อย่างที่ 4.2 จากภาพที่กาหนดให้ ค่าท่ีอ่านไดม้ ีขนาดเท่าใด A Bภาพที่ 4.23 สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพที่ 4.23 การอา่ นค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร มีข้นั ตอนดงั น้ีข้ันตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด A ขีด 0 ของสเกลเลื่อน อยรู่ ะหวา่ งขีดท่ี13 และ 14 มิลลิเมตร ดงั น้นั สเกลหลกั มีค่าเท่ากบั 13 มิลลิเมตรข้นั ตอนที่ 2 อ่านค่าจากขีดสเกลเล่ือน ซ่ึงจากภาพที่จุด B เป็ นขีดของเสกลเลื่อนที่ตรงกบัขีดของสเกลหลักมากท่ีสุด ดังน้ันที่จุด B ซ่ึงเป็ นขีดท่ี 29 สเกลเล่ือนจะเย้ืองกับสเกลหลัก เท่ากับ290.02 = 0.58 มิลลิเมตรข้นั ตอนที่ 3 นาคา่ ท่ีไดจ้ ากข้นั ตอนท้งั สองมารวมกนั จะไดด้ งั น้ีค่าท่ีอา่ นได้ จากสเกลหลกั ที่จุด A เท่ากบั 13 มิลลิเมตรค่าท่ีอา่ นได้ จากสเกลเลื่อนท่ีจุด B เทา่ กบั 0.58 มิลลิเมตรดงั น้นั คา่ ท่ีอา่ นได้ เทา่ กบั 13.58 มิลลิเมตร

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 150 4.3.2.2 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ระบบองั กฤษ การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบองั กฤษนิยมแบ่งกันใน 2ลกั ษณะ กล่าวคือ การแบ่งสเกลและการอ่านค่าแบบเศษส่วน ซ่ึงใชก้ บั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 1 นิ้ว และการแบ่งสเกลและการอ่านค่าแบบทศนิยม ซ่ึงใชก้ บั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 1128 1000นิ้ว (0.001 นิ้ว) โดยหลกั การแบง่ สเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ท้งั 2 แบบมีรายละเอียดดงั น้ี 1) การแบ่งสเกลและการอา่ นคา่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 1 นิ้ว 128 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบองั กฤษความละเอียด 1 นิ้ว ประกอบดว้ ยสเกลท่ีใชใ้ นการ 128อา่ นค่า 2 สเกล คือ สเกลหลกั และสเกลเล่ือน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี (1) สเกลหลกั มีขีดสเกลแสดงค่าการวดั มีหน่วยการวดั เป็ น นิ้ว โดยขีดสเกลจะเร่ิมต้นจาก 0-6 นิ้ว หรือตามขนาดความยาวเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ซ่ึงบนขีดสเกลหลัก 1 นิ้ว แบ่งออกเป็ น 16 ช่อง โดยแต่ละช่องมีความยาวเท่ากับ 1 นิ้ว หรือ 8 นิ้ว โดยทุกๆ 1 นิ้วจะแทนด้วย 16 128ตวั เลข 1, 2, 3 เป็นตน้ ดงั ภาพที่ 4.24 สเกลหลกั ระบบองั กฤษ 1/128 นิ้ว 1/16 นิ้ว ความยาว 1 นิ้ว แบ่งเป็ น 16 ช่อง ภาพที่ 4.24 สเกลหลกั ของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบองั กฤษความละเอียด 1 นิ้ว 128 (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) (2) สเกลเล่ือน แบ่งความยาวของสเกลหลกั 7 นิ้ว ออกเป็ น 8 ช่องเท่าๆ กนั 16ดงั น้นั แต่ละช่องของสเกลเล่ือนจะมีความยาวเท่ากบั 7 นิ้ว ดงั ภาพที่ 4.25 128

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 151 1 นิ้ว 1 แบ่งเป็ น 8 ช่อง128 8 นิ้ว สเกลเล่ือน 1/128 in 1 สเกลหลกั 16 นิ้ว 7 นิ้ว 16 ความยาว 1 นิ้วภาพท่ี 4.25 การแบง่ สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบองั กฤษความละเอียด 1 นิ้ว 128 (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 4.25 เมื่อขีดสเกลศูนย์ (0) ของสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั สามารถอธิบายหลกั การแบง่ ขีดสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 1 นิ้ว ไดด้ งั น้ี 128 8 ช่อง ของสเกลเล่ือนยาว = 7 นิ้ว ของสเกลหลกั 16 1 ช่อง ของสเกลเล่ือนยาว = 7 × 1 16 8 = 7 นิ้ว 128 ดงั น้นั ขีดที่ 1 ของสเกลเล่ือนเย้ืองกบั ขีดที่ 1 ของสเกลหลกั เท่ากบั 8 - 7 = 1 128 128 128นิ้ว ซ่ึงก็คือความละเอียดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้ี และเม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั ดงั ภาพท่ี 4.26 123 8 สเกลเลื่อน 1/128 in สเกลหลกัภาพท่ี 4.26 ขีดสเกลศูนยส์ เกลหลกั และสเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์ความละเอียด 1 นิ้ว ตรงกนั 128 (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 152 จากภาพท่ี 4.26 เมื่อขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั อ่านคา่ ไดด้ งั น้ี ขีดท่ี 1 ของสเกลเล่ือนจึงมีคา่ = 1 นิ้ว 128 ขีดที่ 2 ของสเกลเล่ือนจึงมีค่า = 2 นิ้ว 128 ขีดท่ี 3 ของสเกลเลื่อนจึงมีค่า = 3 นิ้ว 128 ฯลฯ ขีดที่ 8 ของสเกลเล่ือนจึงมีคา่ = 8 นิ้ว 128 สาหรับการอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 1 นิ้ว มีข้นั ตอนดงั น้ี 128 ข้ันตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ก่อน โดยพิจารณาจากขีด 0 ของสเกลเล่ือนเลยขีดจานวนเตม็ นิ้วของสเกลหลกั เช่น 1 นิ้ว, 2 นิ้ว, 3 นิ้ว เป็นตน้ ข้ันตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ยอ่ ย ท่ีแบ่งออกเป็ น 16 ช่องๆ ละ 1 นิ้ว โดยพิจารณา 16จากขีด 0 ของสเกลเล่ือนท่ีเลยมาแลว้ ข้ันตอนที่ 3 อ่านค่าจากสเกลเล่ือน โดยพิจารณาจากขีดใดขีดหน่ึงของสเกลเล่ือนที่ตรงกบั ขีดของสเกลหลกั ข้นั ตอนที่ 4 นาคา่ ท้งั สามมารวมกนั จะเป็นคา่ ที่อา่ นไดจ้ ากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้นัตวั อย่างท่ี 4.3 จากที่กาหนดให้ ค่าท่ีอา่ นไดม้ ีขนาดเท่าใด C AB ภาพที่ 4.27 สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 1 นิ้ว 128 (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 153จากภาพท่ี 4.27 อา่ นคา่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 1 นิ้ว มีข้นั ตอนดงั น้ี 128 ข้ันตอนที่ 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด A ขีด 0 ของสเกลเลื่อน อยู่ระหว่างขีดที่ 2 นิ้ว และ 3 นิ้ว ดงั น้นั ค่าท่ีอ่านจากสเกลหลกั จึงมีค่าเท่ากบั 2 นิ้วข้ันตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด B ขีด 0 ของสเกลเล่ือน อยูร่ ะหว่างขีดที่ 9 นิ้ว และ 10 นิ้ว ดงั น้นั ค่าท่ีอ่านจากสเกลหลกั จึงมีคา่ เทา่ กบั 9 นิ้ว16 16 16ข้นั ตอนที่ 3 อ่านคา่ จากขีดสเกลเลื่อนที่จุด C ซ่ึงเป็นขีดท่ี 4 นิ้ว 128ข้ันตอนท่ี 4 นาค่าท้งั 3 มารวมกันจะเป็ นค่าท่ีอ่านได้จากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ซ่ึงมีค่าเท่ากบั 2 + 9 + 4 = 2 76 นิ้ว16 128 128 2) การแบง่ สเกลและการอ่านคา่ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.001 นิ้ว เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบองั กฤษความละเอียด 0.001 นิ้ว ประกอบดว้ ยสเกลที่ใชอ้ ่านคา่ 2 สเกล คือ สเกลหลกั และสเกลเล่ือน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี (1) สเกลหลกั จะมีขีดสเกลแสดงคา่ การวดั มีหน่วยการวดั เป็ น นิ้ว โดยขีดสเกลเร่ิมตน้ จาก 0-6 นิ้ว หรือตามขนาดความยาวของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ โดยบนขีดสเกลหลกั 1 นิ้ว แบ่งออกเป็ น 40 ช่อง ซ่ึงแต่ละช่องจะมีความยาวเทา่ กบั 0.025 นิ้ว โดยทุกๆ 4 ช่องจะมีตวั เลขกากบั คือ 1, 2,3, 4,…,9 ดงั ภาพท่ี 4.28 สเกลหลกั ระบบองั กฤษ 1/1000 นิ้ว 0.025 นิ้ว ความยาว 1 นิ้ว แบ่งเป็ น 40 ช่องภาพที่ 4.28 สเกลหลกั ของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบองั กฤษความละเอียด 0.001 นิ้ว (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 154 (2) สเกลเล่ือนจะแบ่งความยาวของสเกลหลัก 1.225 นิ้ว ออกเป็ น 25 ช่องเทา่ ๆ กนั ดงั น้นั แต่ละช่องของสเกลเล่ือนมีความยาว เทา่ กบั 0.049 นิ้ว ดงั ภาพที่ 4.290.001 นิ้ว แบ่งเป็ น 25 ช่อง สเกลเล่ือน ความยาว 1.225 นิ้ว สเกลหลกั ภาพที่ 4.29 การแบ่งสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ระบบองั กฤษความละเอียด 0.001 นิ้ว (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 4.29 เมื่อขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั สามารถอธิบายหลกั การแบ่งขีดสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.001 นิ้ว ไดด้ งั น้ี 25 ช่อง ของสเกลเล่ือนยาว = 1.225 นิ้ว ของสเกลหลกั 1 ช่อง ของสเกลเลื่อนยาว = 1.225 / 25 = 0.049 นิ้ว ดังน้ันขีดที่ 1 ของสเกลเล่ือนเย้ืองกับขีดท่ี 2 ของสเกลหลัก เท่ากับ 0.050 - 0.049= 0.001 นิ้ว ซ่ึงก็คือความละเอียดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้ี และเม่ือขีดสเกลศูนยข์ องสเกลหลกั และสเกลเลื่อนตรงกนั ดงั ภาพที่ 4.30 1 23 25 สเกลเลื่อน สเกลหลกัภาพท่ี 4.30 ขีดสเกลศูนยส์ เกลหลกั และสเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์ความละเอียด 0.001 นิ้ว (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 155 จากภาพท่ี 4.30 เม่ือขีดสเกลศูนย์ (0) ของสเกลหลกั และสเกลเล่ือนตรงกนั อา่ นค่าไดด้ งั น้ี ขีดท่ี 1 ของสเกลเลื่อนจึงมีค่า = 0.001 นิ้ว ขีดที่ 2 ของสเกลเล่ือนจึงมีคา่ = 0.002 นิ้ว ขีดท่ี 3 ของสเกลเลื่อนจึงมีค่า = 0.003 นิ้ว ฯลฯ ขีดท่ี 25 ของสเกลเลื่อนจึงมีค่า = 0.025 นิ้ว สาหรับการอา่ นค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.001 นิ้ว มีข้นั ตอนในการอ่านค่า ดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ก่อน โดยพิจารณาจากขีด 0 ของสเกลเล่ือนเลยขีดจานวนเตม็ นิ้วของสเกลหลกั เช่น 1 นิ้ว, 2 นิ้ว, 3 นิ้ว เป็นตน้ ข้นั ตอนท่ี 2 อา่ นค่าจากสเกลหลกั ยอ่ ยของนิ้วโดยพิจารณาจากขีด 0ของสเกลเล่ือนที่เลยมาเช่น 0.025 นิ้ว, 0.050 นิ้ว, 0.075 นิ้ว, 0.100 นิ้ว เป็นตน้ ข้ันตอนท่ี 3 อ่านค่าจากสเกลเลื่อน โดยพิจารณาจากขีดใดขีดหน่ึงของสเกลเลื่อนที่ตรงกบั ขีดของสเกลหลกั เช่น 0.001 นิ้ว, 0.002 นิ้ว, 0.003 นิ้ว,…, 0.024 นิ้ว เป็นตน้ ข้นั ตอนที่ 4 นาคา่ ท้งั 3 มารวมกนั จะเป็นค่าท่ีอ่านไดจ้ ากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์น้นัตวั อย่างที่ 4.4 จากภาพที่กาหนดให้ ค่าที่อ่านไดม้ ีขนาดเท่าใด C AB ภาพที่ 4.31 สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.001 นิ้ว (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) จากภาพที่ 4.31 การอา่ นคา่ สเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.001 นิ้ว มีข้นั ตอนดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพที่จุด A ขีด 0 ของสเกลเลื่อน อยู่ระหว่างขีดท่ี 0 นิ้ว และ 1 นิ้ว ดงั น้นั ค่าที่อา่ นจากสเกลหลกั จึงมีคา่ เท่ากบั 0 นิ้ว

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 156ข้ันตอนท่ี 2 อ่านค่าจากสเกลหลกั ซ่ึงจากภาพท่ีจุด B ขีด 0 ของสเกลเล่ือน อยรู่ ะหวา่ งขีดที่ 0.300นิ้ว และ 0.325 นิ้ว ดงั น้นั คา่ ที่อา่ นจากสเกลหลกั ท่ีจุด B จึงมีค่า เทา่ กบั 0.300 นิ้วข้นั ตอนท่ี 3 อา่ นคา่ จากขีดสเกลเลื่อนที่จุด C ซ่ึงเป็นขีดที่ 12 มีค่าเท่ากบั 0.012 นิ้วข้นั ตอนที่ 4 นาค่าท้งั สามมารวมกนั จะไดด้ งั น้ีคา่ ที่อ่านได้ จากสเกลหลกั ที่จุด A เท่ากบั 0 นิ้วคา่ ที่อา่ นได้ จากสเกลเล่ือนท่ีจุด B เทา่ กบั 0.300 นิ้วคา่ ที่อ่านได้ จากสเกลเล่ือนท่ีจุด C เทา่ กบั 0.012 นิ้วดงั น้นั ค่าท่ีอา่ นได้ เทา่ กบั 0.312 นิ้ว 4.3.3 การใช้งานเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ เวอร์เนียร์คาลิเปอร์สามารถใชว้ ดั งานได้ 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. วดั ขนาดภายนอกดว้ ยปากวดั นอก การวดั ขนาดภายนอกจะใช้ปากวดั นอกของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ สามารถใช้วดั และตรวจสอบขนาดภายนอกของชิ้นงาน รูปทรงกลม สี่เหล่ียมอีกท้งั สามารถใชใ้ นการวดั ความหนาหรือความยาวไดอ้ ีกดว้ ย ดงั ภาพท่ี 4.32 ภาพท่ี 4.32 การวดั ขนาดภายนอกดว้ ยปากวดั นอกของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 2. วดั ขนาดภายในดว้ ยปากวดั ใน การวดั ขนาดภายในจะใช้ปากวดั ในของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ซ่ึงสามารถทาการวดั ขนาดภายในของชิ้นงานต่างๆ เช่น รูควา้ น รูเจาะ เป็ นตน้ แต่ท้งั น้ีขนาดความโตของชิ้นงานจะตอ้ งกวา้ งพอสาหรับการวดั ดว้ ย ดงั ภาพท่ี 4.33

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 157 ภาพที่ 4.33 การวดั ขนาดภายในดว้ ยปากวดั ในของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 3. วดั ความลึกดว้ ยกา้ นวดั ลึก การวดั ขนาดความลึกจะใช้ กา้ นวดั ลึกของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์สามารถทาการวดั ขนาดความลึกของชิ้นงานลกั ษณะต่างๆได้ โดยการวางกา้ นวดั ลึกลงไปในรูเจาะ หรือรูควา้ นท่ีตอ้ งการทาการวดั แลว้ ทาการกดลงให้ผวิ ส่วนทา้ ยของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ สัมผสั กบั ผิวของชิ้นงานในลกั ษณะต้งั ฉากดงั ภาพที่ 4.34 ภาพท่ี 4.34 การวดั ความลึกดว้ ยกา้ นวดั ลึกของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4. วดั ความตา่ งระดบั การวดั ความต่างระดับของชิ้นงานจะใช้ผิวด้านนอกของปากวดั ในของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ โดยกางเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ให้กวา้ งกวา่ ขนาดท่ีตอ้ งการวดั จากน้นั วางดา้ นหัวของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ลงกบั ผิวของชิ้นงานที่อยู่ต่ากวา่ แลว้ เลื่อนผิวดา้ นนอกของปากวดั ในของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ใหส้ ัมผสั กบั ผวิ ของชิ้นงานที่อยสู่ ูงกวา่ ดงั ภาพท่ี 4.35

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 158 ภาพท่ี 4.35 การวดั ความตา่ งระดบั ของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.3.4 การตรวจสอบเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ก่อนใช้งาน เพื่อให้เกิดความมนั่ ใจว่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ผูป้ ฏิบตั ิจะตอ้ งทาการตรวจสอบสภาพเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนใชง้ าน ดงั น้ี 4.3.4.1 ใช้ผา้ หรือกระดาษนุ่มที่ไม่เป็ นขุยหรือขนเช็ดทาความสะอาดเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนการตรวจสอบ 4.3.4.2 ตรวจสอบสภาพการเลื่อนตวั ของสเกลเลื่อนบนบรรทดั สเกลหลกั ให้อยู่ในสภาพดี มีความคล่องตวั ในการเล่ือนพอประมาณ การตรวจสอบสามารถกระทาไดโ้ ดยจบั ปลายวดั ลึกช้ีลงดิน แล้วใช้มือด้านหน่ึงจบั สเกลหลักไว้ และสังเกตดูสเกลเลื่อนไม่ควรไหลลงเองได้ เน่ืองจากน้าหนกั ตวั เอง ตอ้ งไม่ฝื ดมากจนตอ้ งออกแรงมากในการเล่ือนสเกล และหากพบวา่ สเกลเลื่อนไม่ปกติให้ปรับสกรูท้ังสอง (Pressing และ Set Screw) ให้แน่นและคลายออก 1/8 รอบ หรือ 45 องศา แล้วทดลองเลื่อนตรวจสอบอีกคร้ัง ดงั ภาพท่ี 4.36 สกรูปรับความฝื ด ภาพท่ี 4.36 ตรวจสอบการเลื่อนตวั ของเสกลเลื่อน (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 159 4.3.4.3 ตรวจสอบปากวดั ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ โดยเล่ือนเวอร์เนียร์สเกลให้ปากวดันอกเลื่อนชิดติดกนั จากน้นั ยกเวอร์เนียร์ข้ึนแลว้ ส่องดูบริเวณปากเวอร์เนียร์มีแสงสวา่ งผา่ นหรือไม่ ถา้ไม่มีแสดงว่าสามารถใชง้ านไดด้ ี กรณีที่แสงสว่างสามารถลอดผ่านได้ แสดงว่าปากวดั ชารุดไม่ควรนามาใชว้ ดั ขนาด ดงั ภาพท่ี 4.37 ไม่มีแสงสวา่ งลอดผา่ นได้มีแสงสวา่ งลอดผา่ นได้ มีแสงสวา่ งลอดผา่ นได้ ภาพท่ี 4.37 ตรวจสอบปากวดั ของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.3.4.4 ตรวจสอบขีดศูนยข์ องสเกลของเวอร์นียร์คาลิเปอร์ เป็ นการตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจวา่ เม่ือปากเวอร์เนียร์วดั นอกเลื่อนชิดติดกนั คือ ขีดศูนย์ (0) ของสเกลหลกั และสเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์ คาลิเปอร์ตรงกนั โดยเล่ือนเวอร์เนียร์สเกลให้ปากวดั นอกเล่ือนชิดติดกนั จากน้นั ดูขีดศูนย์ (0)ของสเกลหลกั และสเกลเล่ือนวา่ ตรงกนั หรือไม่ ในกรณีที่ไม่ตรงไมค่ วรนามาใชว้ ดั ขนาด ดงั ภาพท่ี 4.38ภาพที่ 4.38 ตรวจสอบขีดศูนยข์ องสเกลของเวอร์นียร์คาลิเปอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 160 4.3.5 ข้นั ตอนการวดั ขนาดงานด้วยเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ การวดั ขนาดของชิ้นงานดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ เพื่อใหไ้ ดผ้ ลการวดั ท่ีถูกตอ้ งผูว้ ดั ควรปฏิบตั ิตามข้นั ตอนดงั น้ี 4.3.5.1 ทาความสะอาดเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนใชด้ ว้ ยผา้ หรือกระดาษนุ่มที่ไม่เป็ นขน 4.3.5.2 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนการวดั 4.3.5.3 ทาความสะอาดบริเวณผวิ ของชิ้นงานท่ีตอ้ งการวดั 4.3.5.4 เลือกใช้ปากวดั งานให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะชิ้นงานท่ีตอ้ งการ เช่น ถา้ ตอ้ งการวดั ขนาดภายนอกเลือกใช้ปากวดั นอกวดั ขนาดดา้ นในชิ้นงานเลือกใชป้ ากวดั ใน ถ้าตอ้ งการวดั ขนาดชิ้นงานท่ีเป็นช่องเล็กๆ ใชบ้ ริเวณส่วนปลายของปากวดั นอก ซ่ึงมีลกั ษณะเหมือนคมมีดท้งั 2 ดา้ น 4.3.5.5 เล่ือนเวอร์เนียร์สเกลใหป้ ากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์สัมผสั ชิ้นงาน ควรใชแ้ รงกดให้พอดี เพราะถา้ ใช้แรงมากเกินไปจะทาให้ขนาดงานที่อ่านไม่ถูกตอ้ งและอาจทาให้ปากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์เสียรูปทรงได้ 4.3.5.6 ขณะอา่ นค่าสายตาตอ้ งต้งั ฉากกบั ตาแหน่งท่ีอา่ นแลว้ จึงอ่านค่า ดงั ภาพที่ 4.39ตาแหน่งการมองไม่ถูกตอ้ ง ตาแหน่งการมองไมถ่ กู ตอ้ งตาแหน่งการมองท่ีถกู ตอ้ งภาพที่ 4.39 ตาแหน่งการมองในการอา่ นเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.3.5.7 เมื่อเลิกปฏิบตั ิงาน ตอ้ งทาความสะอาดชโลมด้วยน้ามนั และเก็บรักษาไวใ้ นกล่อง ในกรณีท่ีไม่ไดใ้ ชง้ านนานๆ ควรใชว้ าสลีนทาส่วนท่ีจะเป็นสนิม

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 161 4.3.6 ข้อควรระวงั ในการใช้งานเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ การใช้เวอร์เนียร์คาลิเปอร์เพ่ือให้ไดผ้ ลการวดั ที่ถูกตอ้ งผูว้ ดั ตอ้ งมีความระมดั ระวงั ในการวดัโดยมีขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์ดงั น้ี 4.3.6.1 ตอ้ งทาความสะอาดและลบคมชิ้นงานก่อนใชเ้ ครื่องมือวดั ทุกคร้ัง 4.3.6.2 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของปากเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ก่อนวดั เสมอ 4.3.6.3 อยา่ วดั ชิ้นงานในขณะที่ชิ้นงานกาลงั หมุนอยู่ 4.3.6.4 อยา่ วดั ชิ้นงานขณะที่ชิ้นงานยงั ร้อนอยู่ 4.3.6.5 อยา่ เล่ือนหรือลากปากวดั ไป-มาบนชิ้นงาน เพราะจะทาใหป้ ากของเวอร์เนียร์คาร์ลิเปอร์สึกได้ 4.3.6.6 อยา่ ใชป้ ากวดั นอกหรือปากวดั ในขีดร่างแบบ 4.3.6.7 การวดั ขนาดภายนอก ควรจบั ชิ้นงานให้ชิดกบั ด้านในของปากจบั หรือสเกลมากที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ ดงั ภาพท่ี 4.40 และควรให้แน่ใจวา่ การจบั ชิ้นงานถูกตอ้ งดีพอแมว้ า่ ปากจบัจะสมั ผสั กบั ชิ้นงานแลว้ ก็ตามควรขยบั เลก็ นอ้ ยใหอ้ ่านไดค้ ่านอ้ ยท่ีสุด ดงั ภาพที่ 4.41(ก) ลกั ษณะการวดั ท่ีถูกตอ้ ง (ข) ลกั ษณะการวดั ท่ีไม่ถูกตอ้ งภาพท่ี 4.40 ตาแหน่งการวดั ชิ้นงานดว้ ยปากวดั นอกของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)(ก) ลกั ษณะการวดั ท่ีถูกตอ้ ง (ข) ลกั ษณะการวดั ท่ีไม่ถูกตอ้ ง

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 162(ค) ลกั ษณะการวดั ที่ถกู ตอ้ ง (ง) ลกั ษณะการวดั ที่ไมถ่ ูกตอ้ งภาพท่ี 4.41 ตาแหน่งการสมั ผสั ระหวา่ งปากวดั นอกของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์กบั ชิ้นงาน (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.3.6.8 การวดั ขนาดภายใน ปากจบั ท่ีวดั ดา้ นขนาดภายในควรวางใหล้ ึก คา่ ท่ีอา่ นได้ควรเป็ นคา่ มากท่ีสุดดงั ภาพท่ี 4.42 แตเ่ ม่ือวดั ขนาดท่ีเป็ นร่องหรือช่องควรไดค้ ่านอ้ ยท่ีสุด ดงั ภาพที่ 4.43(ก) ลกั ษณะการวดั ที่ถกู ตอ้ ง (ข) ลกั ษณะการวดั ท่ีไม่ถกู ตอ้ ง(ค) ลกั ษณะการวดั ท่ีถกู ตอ้ ง (ง) ลกั ษณะการวดั ที่ไม่ถกู ตอ้ ง(จ) ลกั ษณะการวดั ที่ถกู ตอ้ ง (ฉ) ลกั ษณะการวดั ท่ีไมถ่ ูกตอ้ งภาพที่ 4.42 ตาแหน่งการวดั ชิ้นงานดว้ ยปากวดั ในของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 163(ก) ลกั ษณะการวดั ที่ไม่ถกู ตอ้ ง (ข) ลกั ษณะการวดั ท่ีถูกตอ้ ง (ค) ลกั ษณะการวดั ท่ีไมถ่ กู ตอ้ งภาพที่ 4.43 ตาแหน่งการสมั ผสั ระหวา่ งปากวดั ในของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์กบั ชิ้นงาน (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.3.6.9 การวดั ลึก เมื่อจะทาการวดั ความลึกควรวางดา้ นล่างของตวั แท่นสเกลหลกั ให้ชิดกบั ผวิ หนา้ ชิ้นงานในลกั ษณะต้งั ฉากแลว้ จึงเล่ือนกา้ นวดั ลง โดยใหก้ า้ นวดั ลึกขนานกบั แนวแกนของชิ้นงาน ดงั ภาพที่ 4.44(ก) ลกั ษณะการวดั ท่ีถูกตอ้ ง (ข) ลกั ษณะการวดั ท่ีไม่ถูกตอ้ งภาพท่ี 4.44 ขอ้ ควรระวงั ในการวดั ลึกของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) 4.3.6.10 การวดั ตา่ งระดบั เม่ือจะทาการวดั ควรวางหวั วดั ของตวั แทน่ สเกลหลกั ให้ชิดกบั ชิ้นงานดงั ภาพท่ี 4.45 ภาพท่ี 4.45 การวดั ชิ้นงานตา่ งระดบั (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 164 4.3.7 การเกบ็ และการบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ การเก็บและการบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ให้ถูกตอ้ ง เพ่ือให้สามารถใชง้ านไดน้ านๆ ผใู้ ช้ควรปฏิบตั ิดงั น้ี 4.3.7.1 วางเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไวบ้ นผา้ หรือแผน่ ไมข้ ณะทาการวดั 4.3.7.2 อยา่ เก็บเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ในที่ร้อนจดั หรือเยน็ จดั เกินไป 4.3.7.3 ถา้ ปากวดั นอกหรือปากวดั ในเยนิ ใหข้ ดั ดว้ ยหินน้ามนั ดา้ นละเอียด 4.3.7.4 ทาความสะอาดและทาน้ามนั กนั สนิมทุกคร้ังภายหลงั การใชง้ าน 4.3.7.5 แยกเก็บเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ไวต้ า่ งหาก หา้ มเก็บปนกบั เครื่องมือมีคม 4.3.7.6 ไมน่ าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ใส่กระเป๋ าหลงั ของกางเกง เพราะอาจทาใหค้ ดงอได้4.4 เวอร์เนียร์ไฮเกจ เวอร์เนียร์ไฮเกจ หรือเรียกอีกชื่อหน่ึงวา่ “เวอร์เนียร์วดั ความสูง” เป็ นเครื่องมือสาหรับวดั หรือตรวจสอบความสูงของชิ้นงาน และใชใ้ นการร่างแบบ (Lay Out) ตามขนาด เน่ืองจากเวอร์เนียร์ไฮเกจมีหลักการแบ่งสเกลเช่นเดียวกบั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ระบบของการวดั ท่ีอยู่บนเวอร์เนียร์ไฮเกจแบ่งออกเป็ น 2 ระบบ คือ ระบบเมตริก และระบบองั กฤษ โดยมีวิธีการอ่านค่าเช่นเดียวกบั การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ สาหรับขนาดความยาวในระบบเมตริกมีหลายขนาด ไดแ้ ก่ 300, 500, 600 และ 1,000 มิลลิเมตร ซ่ึงมีความละเอียดเท่ากบั 0.02 มิลลิเมตร ขนาดความยาวในระบบองั กฤษมีหลายขนาด ไดแ้ ก่ 12, 18, 24 และ40 นิ้ว และมีความละเอียดเทา่ กบั 0.001 นิ้ว 4.4.1 ชนิดของเวอร์เนียร์ไฮเกจ เวอร์เนียร์ไฮเกจมีหลายชนิดดว้ ยกนั และแต่ละชนิดมีลกั ษณะการใชง้ านที่แตกต่างกนั ดงั แสดงในภาพที่ 4.46

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 165(ก) เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่าน (ข) เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอา่ น (ค) เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่าน ค่าดว้ ยขีดสเกล ค่าดว้ ยขีดสเกลและนาฬิกาวดั คา่ ดว้ ยตวั เลขและนาฬิกาวดั(ง) เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่านค่าดว้ ย (จ) เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอา่ นค่าดว้ ยตวั เลข ตวั เลขบนจอแอลซีดี บนจอแอลซีดีความละเอียดสูง ภาพที่ 4.46 เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบตา่ งๆ (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) สาหรับเวอร์เนียร์ไฮเกจที่จะใช้อธิบายในบทเรียนน้ี คือ เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่านค่าด้วยขีดสเกลเท่าน้นั

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 166 4.4.2 หน้าทแ่ี ละส่วนประกอบของเวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่านค่าด้วยขดี สเกล เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่านค่าดว้ ยขีดสเกลทาจากเหล็กสแตนเลสชุบแข็ง ปากขีดทาจากเหล็กกลา้คาร์ไบด์ โดยประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ท่ีสาคญั ดงั ภาพที่ 4.47 บรรทดั สเกลหลกั สเกลเลื่อน นตั ปรบั ละเอียด สกรูลอ็ กเหลก็ ขีด สกรูลอ็ กปรับละเอียด สกรูลอ็ กสเกลเล่ือน ปากขีดผวิ อา้ งอิงบรรทดั สเกลหลกั สเกลหลกั ฐาน ผวิ อา้ งอิงฐานภาพท่ี 4.47 แสดงส่วนประกอบของเวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่านค่าดว้ ยขีดสเกล (ที่มา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553)จากภาพท่ี 4.47 ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์ไฮเกจจแบบอ่านค่าดว้ ยขีดสเกลมีหนา้ ที่ต่างๆ ดงั น้ี 4.4.2.1 ฐาน (Base) เป็นฐานรองรับน้าหนกั และเคล่ือนที่ในการร่างแบบบนโตะ๊ ระดบั 4.4.2.2 บรรทดั สเกลหลกั (Column) เป็นคานท่ีกาหนดความสูง 4.4.2.3 สเกลหลกั (Main Scale) เป็นค่าสเกลหยาบท่ีอยบู่ นบรรทดั สเกลหลกั 4.4.2.4 สเกลเล่ือน (Vernier Scale) เป็นคา่ สเกลหยาบความละเอียดของสเกลหลกั 4.4.2.5 นตั ปรับละเอียด (Fine Adjustment Nut) ใชป้ รับความละเอียดของสเกลเล่ือน 4.4.2.6 ตวั เลื่อนปรับละเอียด (Slider) ใชเ้ ป็นตวั ประคองเกลียวตวั เล่ือนปรับละเอียด

เ ว อ ร์ เ นี ย ร์ ค า ลิ เ ป อ ร์ | 167 4.4.2.7 สกรูลอ็ กปรับละเอียด (Clamp) ใชล้ อ็ กตาแหน่งของตวั เล่ือนปรับละเอียด 4.4.2.8 ปากขีด (Scriber) ใชข้ ีดทาเคร่ืองหมายบนชิ้นงาน 4.4.2.9 สกรูลอ็ กปากขีด (Scriber Clamp) ใชล้ ็อกตาแหน่งของปากวดั ใหค้ งท่ี 4.4.2.10 สกรูล็อกสเกลเล่ือน (Slider Clamp) ใชล้ อ็ กตาแหน่งของสเกลเล่ือนให้คงท่ี 4.4.3 การแบ่งสเกลและการอ่านค่าเวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่านค่าด้วยขดี สเกล เวอร์เนียร์ไฮเกจแบบอ่านค่าดว้ ยขีดสเกลจะมีขีดสเกลท่ีมีหน่วยการวดั เป็ นระบบเมตริก และระบบองั กฤษ โดยหน่วยวดั ระบบเมตริกมีหน่วยเป็ นมิลลิเมตร ซ่ึงมีความยาวหลายขนาด ได้แก่ 300,500, 600 และ 1,000 มิลลิเมตร โดยขีดสเกล 1 ขีดจะมีค่าเทา่ กบั 1 มิลลิเมตร และหน่วยวดั ระบบองั กฤษจะมีหน่วยเป็ นนิ้ว มีความยาวหลายขนาด ไดแ้ ก่ 12, 18, 24, และ 40 นิ้ว ซ่ึงขีดสเกล 1 ขีดจะมีค่าเท่ากบั0.025 นิ้ว เช่น เดียวกนั กบั เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ สาหรับความละเอียดของเวอร์เนียร์ไฮเกจในระบบเมตริกมีความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร และระบบองั กฤษจะมีความละเอียด 0.001 นิ้ว ดงั ภาพท่ี 4.48ระบบองั กฤษ ระบบเมตริก ภาพที่ 4.48 สเกลของเวอร์เนียร์ไฮเกจระบบองั กฤษและระบบเมตริก (ท่ีมา : วฒั นา ขนั ธะ, 2553) สาหรับการอ่านค่าของเวอร์เนียร์ไฮเกจ จะมีวิธีการอ่านค่าเช่นเดียวกนั กบั การอ่านค่าของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร และเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ความละเอียด 0.001 นิ้ว ดงั แสดงในตวั อยา่ งที่ 4.5 และตวั อยา่ งท่ี 4.6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook