Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการทำเนยกรอบ

หลักสูตรการทำเนยกรอบ

Published by suttineejan977, 2021-09-07 14:19:17

Description: หลักสูตรการทำเนยกรอบ

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/ วนั ท่ี กรกฎาคม ๒๕๖๔ เรอื่ ง รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลักสตู รการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ช่วั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เรียน ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร ตามที่ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาอาเภอบางไทร ได้อนมุ ตั กิ ารจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลกั สตู รการทาเนยกรอบ จานวน ๓ ชวั่ โมง ข้าพเจ้านางสาวศุทธินี จันยะนัยตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ผู้รับผิดชอบ กิจกรรมการศึกษา ต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ช่ัวโมง วันที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ ๒ ตาบลช้างน้อย อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีเป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจในตาบลช้างน้อย จานวน ๑๐ คน จัดได้ ๑๐ คน บัดน้ีกิจกรรม/โครงการ ดังกล่าวได้ ดาเนนิ การเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว จงึ ขอรายงานผลการจัดกจิ กรรม/โครงการ ดงั เอกสารรปู เลม่ แนบทา้ ยนี้ จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวศุทธินี จนั ยะนัย) ครู กศน.ตาบล (นางสาวฐิติพร พาส)ี หวั หนา้ งานการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง  ทราบ  อ่นื ๆ ………………………….. (นางสาวมกุ ดา แขง็ แรง) ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอภาชี รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร

คานา กศน.ตาบลช้างน้อย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ช่ัวโมง เพื่อใหป้ ระชาชนผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจในการทาเนยกรอบ และเพอื่ ให้ประชาชนผู้รับบริการมีทักษะ และมองเหน็ ชอ่ งทางการทาเนยกรอบ กศน.ตาบลช้างน้อย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอบางไทร หวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่าการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสตู รการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ช่ัวโมง จะเป็นประโยชน์กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งน้ีไม่มากก็น้อย และหากการจัดโครงการในครั้งนี้มี ข้อบกพร่องประการใด ทาง กศน.ตาบลช้างน้อย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอบางไทร ต้องขออภยั ไว้ ณ ทนี่ ้ดี ้วย รายงานสรุปฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทาโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจน ประเมนิ ผลโครงการเพ่ือเป็นการเพม่ิ พนู ความรู้และเปน็ แนวทางในการจดั ทาโครงการในคร้ังตอ่ ไป ศทุ ธินี จนั ยะนัย ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔

สารบัญ หนา้ เรอื่ ง ๑ บนั ทกึ ข้อความ 9 คานา ๑1 สารบญั ๑3 บทท่ี ๑ บทนา ๑5 บทท่ี ๒ เอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง ๒4 บทท่ี ๓ สรุปผลการดาเนนิ งาน ๒5 บทท่ี ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจ ๒6 บทที่ ๕ สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ ภาคผนวก รปู ภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจบหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ือง ใบสมคั รผเู้ รียนหลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง แบบสารวจความต้องการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาต่อเน่อื ง บรรณานุกรม คณะผู้จดั ทา

บทที่ ๑ บทนา ๑. ชือ่ กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลกั สตู รการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ช่ัวโมง นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ นโยบายเร่งดว่ นเพ่อื ร่วมขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนให้มคี ุณภาพ ๓.๕ ศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน สู่ “วสิ าหกิจชมุ ชน : ชุมชนพึ่งตนเอง ทาได้ ขายเป็น” ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ต้องการของตลาดรวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ให้ชมุ ชนพึ่งพาตนเองได”้ ๒) ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้า การทาชอ่ งทาง เผยแพรแ่ ละจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ของวิสาหกจิ ชมุ ชนใหเ้ ป็นระบบครบวงจร ๔. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ๔.๕ พลกิ โฉม กศน.ตาบล สู่ “กศน.ตาบล ๔G” ขอ้ ๑) – ข้อ ๔) ๕. ยุทธศาสตรด์ ้านสง่ เสริมและจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๕.๓ สง่ เสริมให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาใช้พลงั งานทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมท้ัง ลดการใชท้ รัพยากรทสี่ ่งผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม จุดเนนการดาเนนิ งานประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. สงสรมิ การจัดการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชีวิตสาหรบั ประชาชนที่เหมาะสมกบั ทกุ ชวงวัย 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวตั กรรมและผลติ ภณั ฑท่มี ีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทนั สมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรับบรกิ าร และสามารถออกใบรบั รองความรูความสามารถเพ่ือนาไปใชในการพัฒนาอาชพี ได 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจดั การศึกษาและ การเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพ่อื ประโยชนตอการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับทุกกลุมเปาหมาย มีความ ทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผูเรียน และสภาวะการ เรียนรูในสถานการณตาง ๆ ทีจ่ ะเกิดข้นึ ในอนาคต 3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให สามารถ “เรียนรูไดอยางท่ัวถึง ทกุ ท่ี ทุกเวลา”

4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชน อยางมีคณุ ภาพ 4.1 รวมมือกับภาคเี ครือขายทงั้ ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสวนทองถน่ิ รวมท้ัง สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพท่ีเปนอัตลักษณและบริบทของ ชมุ ชนสงเสรมิ การตลาดและขยายชองทางการจาหนายเพอ่ื ยกระดับผลิตภณั ฑ/สินคา กศน. 5. พฒั นาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนา ครูใหมีทักษะความรู และความชานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการ สอนเพ่อื ฝกทักษะการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบและมีเหตุผล เปนข้นั ตอน ภารกิจตอเน่อื ง 1. ดานการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 1.3 การศกึ ษาตอเนอ่ื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอยางย่ังยืน โดยใหความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือ การมีงานทาในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการรวมถงึ การเนนอาชีพชางพ้ืนฐาน ท่ีสอดคลองกบั ศักยภาพของผูเรียน ความตองการและศักยภาพของแต ละพื้นท่มี ีคณุ ภาพไดมาตรฐานเปนทีย่ อมรบั สอดรับกบั ความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การ พัฒนาหน่ึงตาบลหน่ึงอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเม่ียม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริม และจัดหาชองทางการจาหนายสินคาและผลิตภัณฑ และใหมีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัด การศกึ ษาอาชพี เพื่อการมีงานทาอยางเปนระบบและตอเนื่อง 2. ดานหลกั สตู ร สือ่ รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวดั และประเมนิ ผลงานบริการทางวชิ าการ และ การประกันคณุ ภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลกั สูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรูและกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลกั สตู รทองถนิ่ ท่สี อดคลองกับสภาพบรบิ ทของพน้ื ทแี่ ละความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออ่ืน ๆ ที่เอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียน กล่มุ เปาหมายท่ัวไปและกลุมเปาหมายพเิ ศษ เพอ่ื ใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกที ทุกเวลา 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในทสี่ อดคลองกับบริบทและภารกจิ ของ กศน. มากขน้ึ เพื่อพรอมรบั การประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบคุ ลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาใหไดคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด

6. ดานบุคลากรระบบการบริหารจัดการ และการมสี วนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพฒั นาบคุ ลากร 1) พฒั นาบุคลากรทุกระดับทกุ ประเภทใหมสี มรรถนะสงู ข้นึ อยางตอเนื่อง ท้งั กอนและระหวางการ ดารงตาแหนงเพอ่ื ใหมเี จตคติทดี่ ใี นการปฏิบัตงิ านใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาแหนง ใหตรงกับสาย งาน ความชานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏบิ ตั งิ านและบรหิ ารจดั การการดาเนินงานของหน วยงานและสถานศึกษาไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพรวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสังกดั พฒั นาตนเองเพอื่ เล่ือนตา แหนงหรือเล่อื นวทิ ยฐานะโดยเนนการประเมินวิทยฐานะเชงิ ประจักษ 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตาบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอานวย ความสะดวกในการเรียนรูเพือ่ ใหผูเรยี นเกิดการเรียนรูท่ีมปี ระสิทธภิ าพอยางแทจริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูได อยางมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผล และการวิจยั เบอื้ งตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ให มีความรู ความสามารถและมคี วามเปนมืออาชีพในการจดั บรกิ ารสงเสริมการเรียนรูตลอดชวี ิตของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการบริหาร การดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยไดอยางมีประสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือขายท้ังในและตาง ประเทศในทุกระดับ โดยจดั ใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิม่ ประสิทธภิ าพในการทางานรวมกัน ในรปู แบบท่ีหลากหลายอยางตอเน่ืองอาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นาประสิทธภิ าพ ในการทางาน 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอมลู ใหมคี วามครบถวนถูกตอง ทันสมยั และเชือ่ มโยงกันท่ัวประเทศอยาง เป นระบบเพ่ือให หนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช เปนเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารการ วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อยางมีประสทิ ธิภาพ 2) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากบั ควบคมุ และเรงรดั การ เบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายทกี่ าหนดไว 3) พฒั นาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยง กนั ทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพ่ือประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียน และการบริหารจัดการอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังในประเทศ และตางประเทศ รวมทงั้ สงเสริมและสนบั สนนุ การมีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิดความร วมมอื ในการสงเสริม สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรูใหกับประชาชนอยางมคี ุณภาพ 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให ทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤตมิ ชิ อบ บริหารจดั การบนขอมลู และหลักฐานเชิงประจกั ษ มงุ ผลสัมฤทธ์มิ ีความโปรงใส

6.4 การกากบั นเิ ทศตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหเช่อื มโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครอื ขายทั้งระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตามและรายงาน ผลการนานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต ละเร่ืองไดอยาง มปี ระสิทธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสื่ออ่ืน ๆ ที่เหมาะสม เพ่ือการกากับนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 4) พฒั นากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการประจาปของ หนวยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานักงาน กศน.ใหดาเนินไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ เปนไปตามเกณฑ วิธกี าร และระยะเวลาทกี่ าหนด 5) ใหมีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ต้ังแต สวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป นเอกภาพในการ ใชขอมูลและการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒. หลกั การและเหตผุ ล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ (แก้ไขเพ่ิมเติมพุทธศักราช ๒๕๔๕) และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดจุดมุ่งหมายสาคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ประกอบกับการ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต ทั้งดา้ นประชากร การเมอื งการปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเช่ือมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นท่ีจะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของโลก ท้ังด้านการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะชีวติ และการพัฒนาสงั คม และชุมชน ซ่ึงจาเปน็ ต้องใชว้ ธิ ีการและรูปแบบท่หี ลากหลาย ตามความต้องการและความสนใจของประชาชน ทกุ กลุม่ วัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพือ่ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนา เพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ที่ม่ังคั่งและมั่นคง เป็นบุคคลท่ีมีวินัย เป่ียมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม เน้นการจัดการศึกษาที่ยึดพ้ืนท่ีเป็นฐาน โดยสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพ ๕ ด้าน ของแต่ละพื้นท่ี ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี และศักยภาพด้านทรัพยากรมนุษย์ และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดาเนิน ชีวิต ความต้องการ และประชาชนในภูมิภาคต่าง ๆ ที่เป็นผู้ใช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ ขอ้ มูลดังกลา่ วจะนามาสู่การกาหนดหลักสตู รอาชพี ท่ีสถานศกึ ษาจะจัดการเรียนการสอน การจัดการศึกษาของสานักงาน กศน. เพ่ือตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงต้องปรับเปล่ียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการปฏิบัติจริง มีการศึกษาดูงานเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ ในอาชีพโดยตรง ผู้สอนเป็นวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้ประกอบการใน อาชีพน้ัน ๆ ให้ความสาคัญต่อการประเมินผลการจบหลักสูตรที่เน้นทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ที่ได้ มาตรฐานออกสู่ตลาดได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพร้อมแหล่งเงินทุน และ ให้ผู้เรียนท่ีเรียนจบจากหลักสูตรอาชีพมีความมั่นใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ได้อย่างแท้จริง

จึงขอให้สถานศึกษาท่ีนาหลักสูตรที่ได้พัฒนาแล้วนั้น นามาคัดเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของพ้ืนที่ และนาไปอนมุ ัติใช้ในการจัดการเรียนการสอนต่อไป จากแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ เรอ่ื ง ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้คนทุกช่วงวัย มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เตม็ ตามศกั ยภาพในแตล่ ะชว่ งวยั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร จึงได้นานโยบาย ยุทธศาสตร์และความจาเป็นดังกล่าวสู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายแล ะ ประชาชนมรี ายไดแ้ ละมีอาชีพเสรมิ การทาเนยกรอบ สาหรบั ผทู้ ่ีสนใจควรศึกษาหาความรู้และฝึกปฏิบตั ิจนเกิด ความชานาญสามารถนาไปประกอบอาชีพให้กับตนเองได้ ดังนั้นการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย และเพ่ือตอบสนองความต้องการของ ประชาชน จึงได้จัดทาโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน หลกั สตู รการทาเนยกรอบ ให้กบั ประชาชนและผสู้ นใจให้ สามารถนาไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว ต้องการได้รับการพัฒนา และใช้เวลา ว่างให้เกดิ ประโยชน์ ๓. วัตถปุ ระสงค์ ๓.๑ เพื่อให้ประชาชนผรู้ ับบรกิ ารมีความรู้ความเขา้ ใจการทาเนยกรอบ ๓.๒ เพ่อื ให้ประชาชนผู้รบั บริการมีทักษะและมองเหน็ ช่องทางการทาเนยกรอบ ๔. กลุม่ เปา้ หมาย ๔.๑ เชิงปริมาณ ๔.๑.๑ ประชาชน และผสู้ นใจ ตาบลช้างน้อยจานวน ๑๐ คน ๔.๒ เชงิ คุณภาพ ๔.๒.๑ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทา เนยกรอบ โดยเน้นการปฏบิ ัติจรงิ ๔.๒.๒ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาเนยกรอบ สามารถ นาความร้ไู ปปรบั ใช้ในการประกอบอาชีพได้

๕. วิธีดาเนนิ การ วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พน้ื ท่ีดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรมหลกั ๑. เพ่อื ให้ ๒๔ ๑. ขนั้ วางแผน ( Plan ) ประชาชน พฤษภาคม ๑.๑ สารวจกลมุ่ เปา้ หมายและความต้องการ ผรู้ ับบรกิ ารมี 2564 ๑.๒ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมลู เพือ่ จดั ความรคู้ วาม กระบวนการเรยี นร้ใู หต้ รงตามศกั ยภาพความ เขา้ ใจการทา ต้องการของผเู้ รียน เนยกรอบ ๑.๓ ประชมุ วางแผนชีแ้ จงการปฏบิ ตั ิงาน ๒. เพื่อให้ ประชาชนและ ณ ศาลาอเนก ค่าตอบแทน - จัดทาหลกั สตู รและอนมุ ตั ิหลักสูตร ประชาชน วิทยากร - เตรียมสอื่ เอกสาร , วสั ดุ ผูร้ ับบริการมี ผสู้ นใจตาบล ประสงค์ หมู่ ๒ ๒๓ ๑,๐๐๐ บาท ๒. ขน้ั ดาเนนิ การ ( Do ) ทักษะและ มถิ นุ ายน คา่ วสั ดุ ๒.๑ ดาเนินการตามโครงการท่ีเสนอ มองเห็นชอ่ ง ช้างน้อย ตาบลชา้ งน้อย ๒๕๖๔ ๑,๐๐๐ บาท - กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง ทางการทา รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลกั สูตรการทาเนยกรอบ เนยกรอบ จานวน ๑๐ คน อาเภอบางไทร ๓. ขัน้ ตรวจสอบ ( Check ) จังหวัด ๓.๑ ประเมินความพงึ พอใจ พระนครศรอี ยุธยา ( แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ ) ๓.๒ การนิเทศติดตามผล ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ ๔. ขนั้ ปรับปรุงแกไ้ ข ( Action ) ๓๐ ๔.๑ รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู จาก มิถนุ ายน ๒๕๖๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจและแบบ ประเมนิ ผลความรู้ , แบบนิเทศการจดั กิจกรรม ๔.๒ ประชมุ คณะทางานเพอ่ื รบั ทราบผล การดาเนนิ งานที่ผา่ นมาในการจดั กิจกรรม ๔.๓ นาปญั หา/อปุ สรรคและข้อเสนอแนะ ในการจดั กิจกรรมมาเปน็ แนวทางในการ วางแผนพัฒนาในการจดั กจิ กรรมคร้งั ต่อไป ๖. งบประมาณ งบประมาณประจาปี 2564 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ โครงการขับเคล่ือนการพฒั นาการศึกษาท่ยี ั่งยืน กจิ กรรมส่งเสริมศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน งบรายจ่ายอ่ืน รหัสงบประมาณ 2000235052700019 รหัสกิจกรรมหลัก 200021400P2713 แหลง่ ของเงิน 6411500 ศูนย์ต้นทุน 2000200214 จานวนเงนิ ๒,๐๐๐ บาท (สองพันบาทถว้ น) ๑. คา่ วทิ ยากร จานวน ๕ ชวั่ โมง x ๒๐๐ บาท เป็นเงนิ ๑,๐๐๐ บาท ๒. คา่ วสั ดุ เปน็ เงิน ๑,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงนิ ท้ังส้ิน ๒,๐๐๐ บาท (สองพันบาทถว้ น) **หมายเหตุ ถัวจ่ายทุกรายการ

๗. ระยะเวลา วนั ท่ี ๒๓ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ๘. สถานที่ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมทู่ ่ี ๒ ตาบลชา้ งนอ้ ย อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ๙. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ๙.๑ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ๙.๒ กศน.ตาบลช้างน้อย ๑๐. โครงการท่ีเก่ียวข้อง ๑๐.๑ โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๐.๒ โครงการจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชน ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ๑๐.๓ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๐.๔ โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๑. หนว่ ยงานเครอื ข่าย ๑๑.๑ องค์การบริหารสว่ นตาบลกระแชง ๑๑.๒ ผู้นาชมุ ชน ๑๑.๓ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ๑๒. ผลลพั ธ์ (OUT COME) ๑๒.๑ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทาเนยกรอบ โดยเน้น การ ปฏบิ ัตจิ ริง ๑๒.๒ ผู้เรยี นมีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาเนยกรอบ สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ใน การประกอบอาชพี ได้ ๑๓. ดัชนชี ้ีวดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ ๑๓.๑ ตัวชี้วดั ผลผลิต (OUTPUT) ๑๓.๑.๑ ผเู้ รียนร้อยละ ๘๕ เกดิ กระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการทาเนยกรอบ โดยเนน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ ๑๓.๑.๒ ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทาเนยกรอบ สามารถนา ความรูไ้ ปปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ ๑๓.๒ ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์ (OUTCOME) ๑๓.๒.๑ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทาเนยกรอบ โดยเน้นการ ปฏิบัติจริง ๑๓.๒.๒ ผู้เรียนมที ักษะ และมองเห็นชอ่ งทางในการทาเนยกรอบ สามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ น การประกอบอาชีพได้

๑๔. การติดตามและประเมินผล ๑๔.๑ แบบสารวจความพึงพอใจ ๑๔.๒ แบบประเมินผลความรู้ ๑๔.๓ แบบนเิ ทศตดิ ตามงาน ๑๔.๔ แบบวดั ผลและประเมนิ ผล ๑๔.๕ ติดตามจากแบบรายงานผลการดาเนินโครงการฯ

บทที่ ๒ เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง หลักสตู รต่อเนื่อง หลกั สูตรอาชีพ การทาเนยกรอบ จานวน 5 ช่ัวโมง หลกั สตู ร อาชีพพาณิชยกรรมและบรกิ าร ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ความเปน็ มา แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่าง เหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวยั ดังนั้นการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย และเพือ่ ตอบสนองความต้องการของประชาชน จงึ ได้ จัดทาโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทาเนยกรอบ ให้กับประชาชนและผู้สนใจให้สามารถนาไป ประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว ต้องการได้รับการพัฒนา และใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ หลกั การของหลักสูตร 1. เป็นหลักสตู รทตี่ อบสนองความตอ้ งการเรียนรขู้ องประชาชนในเรอ่ื งของการทาเนยกรอบ 2. เปน็ หลักสตู รการประกอบอาชีพทส่ี ่งเสริมการมีงานทาของประชาชน จุดม่งุ หมาย 1. เพอื่ ให้ประชาชนผู้รบั บริการมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจการทาเนยกรอบ 2. เพ่ือให้ประชาชนผู้รับบริการมที กั ษะและมองเหน็ ชอ่ งทางการทาเนยกรอบ เปา้ หมาย ประชาชนและผสู้ นใจอาเภอบางไทร ระยะเวลาเรยี น ภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมง ภาคปฏิบตั ิ 4 ชวั่ โมง รวม 5 ชัว่ โมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร เรื่อง จดุ ประสงค์ เนือ้ หา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จานวนชว่ั โมง การทาเนยกรอบ 1. เพ่ือให้ผเู้ รยี นมี 1. ความสาคัญในการ 1. ความสาคัญในการประกอบ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ อาชีพการทาเนยกรอบ 14 1.1 ความปลอดภัยในการทางาน ความรู้ ความเข้าใจ ประกอบอาชีพการทา 1.2 การใช้เครื่องมือและอปุ กรณ์ 1.3 วัสดุ-อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการทาเนย ในงานพาณชิ ยกรรม เนยกรอบ กรอบ และบรกิ าร การทา 1.1 ความปลอดภัยในการ 1.4 ความรเู้ บื้องต้นในการทาเนย กรอบ เนยกรอบ ทางาน 1.5 เทคนิคการทาเนยกรอบ 1.6 การทาเนยกรอบ 1.2 การใชเ้ ครื่องมือและ 2. ความเปน็ ไปได้ในการประกอบ อาชีพ 2. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนนา อปุ กรณ์ 3. การลดต้นทนุ การผลิตแต่ คณุ ภาพคงเดิม ความรูท้ ี่ไดร้ บั ในการ 1.3 วสั ดุ-อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ น 4. ผ้เู รยี น เรยี นรูแ้ ละฝึกปฏิบัติการ ทาเนยกรอบ ทาเนยกรอบ ไปใช้ใน การทาเนยกรอบ 5. ดาเนนิ การตามกระบวนการ จดั การตลาด เชน่ การคดิ ตน้ ทุน ชวี ิตประจาวัน 1.4 ความรเู้ บ้ืองต้นในการ การผลติ การกาหนดราคาขาย และการสง่ เสริมการขาย ทาเนยกรอบ 1.5 เทคนิคการทาเนย กรอบ 2. ความเป็นไปไดใ้ นการ ประกอบอาชีพ 3. การลดตน้ ทุนการผลิต แต่คุณภาพคงเดิม ส่ือการเรียนรู้ 1. ส่อื บุคคล/วทิ ยากร 2. ส่อื ตวั อยา่ งชน้ิ งาน 3. เอกสารประกอบการเรียน/ใบความรู้ การวัดผลประเมินผล 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ 2. แบบประเมินผลการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง 3. แบบติดตามผเู้ รยี นหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง 4. แบบรายงานผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง เกณฑ์การจบหลกั สูตร 1. มเี วลาเรียนและฝึกปฎบิ ตั ิตามหลกั สูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 3. มีผลการประเมินชนิ้ งานโดยวทิ ยากร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

บทท่ี ๓ สรุปผลการดาเนนิ งาน ข้ันตอนการดาเนินงานในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทา เนยกรอบ เป้าหมาย จานวน ๑๐ คน จดั ได้ ๑๐ คน วนั ท่ี ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมูท่ ี่ ๒ ตาบลช้างนอ้ ย อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา มีดงั น้ี ๑. ข้ันวางแผน (Plan) ๑.๑ สารวจความตอ้ งการ วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ ของกลมุ่ เป้าหมาย ๑.๒ ประชมุ ชี้แจงผูเ้ ก่ียวขอ้ งและแตง่ ตั้งคณะ ดาเนินงาน ๑.๓ จัดทาหลักสูตร/ อนมุ ตั ิหลักสูตร ๑.๔ ประสานเครือขา่ ย ๒. ขน้ั ดาเนินการ (Do) ดาเนินการจัดกิจกรรม ๒.๑ จดั ฝกึ อบรม กิจกรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลกั สูตรการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ชว่ั โมง ๓. ข้นั ตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมนิ ความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ)์ ๓.๒ การนเิ ทศตดิ ตามผล ๔. ขน้ั ปรบั ปรุงแก้ไข (Action) ๔.๑ นาผลการนเิ ทศมาปรบั ปรุงพัฒนา ข้อมูลผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ เป้าหมายผู้เขา้ ร่วมโครงการจานวนทัง้ หมด ๑๐ คน จดั ได้ ๑๐ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ เพศหญิง จานวน ๑๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๑๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ ๒. อายุ คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ โดยมอี ายุเฉลย่ี ตงั้ แต่ ต่ากวา่ ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๐.๐๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๓ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑0.00 อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๓ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 00.00 อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๐.๐๐ และอายุ ๖๐ ปขี นึ้ ไป จานวน ๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๑๐ คน

๓. ระดบั การศึกษา จานวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ ตา่ กวา่ ประถมศึกษา จานวน ๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕0.00 ประถมศกึ ษา จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1๐.๐๐ มธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน ๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐.๐๐ มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ อนปุ ริญญา/ปว.ส. จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 1๐.๐๐ ปรญิ ญาตรี จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1๐.๐๐ สูงกวา่ ปริญญาตรี จานวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ ๔. ผ้เู ข้ารว่ มโครงการฯ โดยเฉล่ยี ประกอบอาชีพ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ รับราชการ จานวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๓0.00 คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ รับจา้ ง จานวน ๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ เกษตรกร จานวน ๐ คน ค้าขาย จานวน ๓ คน พ่อบา้ น/แมบ่ ้าน จานวน ๐ คน อาชพี อืน่ ๆ จานวน ๒ คน รวม จานวน 7 คน ผลการดาเนินงาน ๑. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ที่ต้ังเป้าหมายไว้ จานวน ๑๐ คน จัดได้ ๑๐ คน ประกอบอาชีพ ตามกลุม่ เปา้ หมาย ๑๐ คน ๒. วิทยากรให้ความรู้ โดยวิธีการบรรยาย วิธกี ารสาธติ และวิธีการฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากที่สุด (ตามเอกสารบทที่ ๔ แบบสอบถามความพึงพอใจ และสรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ัติงาน งบประมาณในการจดั ซือ้ วสั ดุมีจานวนจากัด วัสดุอุปกรณใ์ นการฝกึ มจี านวนจากดั ไม่เพยี งพอตอ่ จานวนผู้เรยี น จานวนหลกั สตู รบางหลักสูตรจานวนช่ัวโมงมากเกินไป ขอ้ เสนอแนะ งบประมาณจดั สรรคา่ วัสดใุ หเ้ พยี งพอต่อจานวนผ้เู รียน

บทท่ี ๔ สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ หลกั สตู ร/โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน จานวน ๕ ช่ัวโมง รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลกั สตู รการทาเนยกรอบ วนั ที่ ๒๓ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 256๔ สถานท่จี ัด ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ท่ี ๒ ตาบลชา้ งน้อย อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประเมนิ ความพงึ พอใจ คาช้ีแจง แบบประเมินความพงึ พอใจ มี ๒ ตอน ตอนท่ี ๑ ขอ้ มูลทั่วไป คาชแี้ จง โปรดใส่เครือ่ งหมาย  ลงในช่อง  ท่ีตรงกับข้อมลู ของทา่ นเพยี งช่องเดียว เพศ  ชาย  หญิง อายุ  ตา่ กวา่ ๑๕ ปี  ๑๕-๒๙ ปี  ๓๐-๓๙ ปี  ๔๐-๔๙ ปี  ๕๐-๕๙ ปี  ๖๐ ปีข้นึ ไป ระดับการศกึ ษา  ตา่ กว่าประถมศึกษา ประถมศกึ ษา  มธั ยมศกึ ษาตอนตน้  มธั ยมศึกษาตอนปลาย  อนปุ รญิ ญา/ปว.ส.  ปรญิ ญาตรี  สงู กวา่ ปริญญาตรี  อน่ื ๆ โปรดระบุ............................................................................................. ประกอบอาชีพ  ผูน้ าท้องถนิ่  อบต./เทศบาล  พนักงานรัฐวิสาหกิจ  ทหารกองประจาการ  เกษตรกร  รบั ราชการ  คา้ ขาย  รับจา้ ง  อสม.  แรงงานต่างดา้ ว  พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น  อืน่ ๆ โปรดระบุ..........................

ตอนที่ ๒ ด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผูร้ บั บรกิ าร คาชแ้ี จง โปรดใสเ่ คร่ืองหมาย  ลงในชอ่ ง  ทต่ี รงกับความคิดเหน็ ของท่านเพยี งชอ่ งเดียว ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนอ้ื หา มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ ทีส่ ดุ กลาง ท่สี ุด 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนือ้ หาปัจจบุ นั ทันสมัย 4 เนอ้ื หามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย 9 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจต่อวิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองทถ่ี า่ ยทอด 11 วทิ ยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซักถาม ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บทท่ี ๕ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ หลกั สูตร/โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน จานวน ๕ ชั่วโมง รูปแบบกลุม่ สนใจ หลกั สูตรการทาเนยกรอบ วันที่ ๒๓ เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. 256๔ สถานท่จี ัด ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๒ ตาบลชา้ งนอ้ ย อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ตอนที่ ๑ ข้อมูลทัว่ ไป ผเู้ รียนหลกั สตู รการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ชวั่ โมง เป้าหมาย ๑๐ คน จดั ได้ ๑๐ คน ๑. เพศ เพศชาย จานวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ เพศหญงิ จานวน ๑๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จานวน ๑๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ ชื่อแผนภูมิ 10 รวม 9 หญิง 8 ชาย 7 6 5 4 3 2 1 0 คน ชาย หญิง รวม

๒. อายุ โดยมีอายเุ ฉลยี่ ต้งั แต่ ต่ากว่า ๑๕ ปี จานวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๐.๐๐ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จานวน ๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑0.00 คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๐.๐๐ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จานวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ 00.00 คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จานวน ๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จานวน 0 คน และอายุ ๖๐ ปีข้ึนไป จานวน ๓ คน รวม จานวน ๑๐ คน ชื่อแผนภูมิ 10 33 4 33 10 10 33 9 0 0 0 15-29 1 0 000 60 ปีขนึ้ ไป รวม 8 0 40-49 50-59 30-39 ชาย หญิง รวม 7 6 5 4 3 2 1 000 0 ต่ากว่า 15 ปี

๓. ระดับการศึกษา จานวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ ตา่ กวา่ ประถมศึกษา จานวน ๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๕0.00 ประถมศึกษา จานวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1๐.๐๐ มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๐ มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐.๐๐ อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 1๐.๐๐ ปริญญาตรี จานวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน ๑๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม 12 10 8 6 4 2 0 ชาย หญิง รวม

๔. ผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ โดยเฉลย่ี ประกอบอาชพี รับราชการ จานวน ๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๐.๐๐ รับจา้ ง จานวน ๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ คิดเปน็ ร้อยละ ๓0.00 เกษตรกร จานวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ คา้ ขาย จานวน ๓ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พอ่ บา้ น/แมบ่ ้าน จานวน ๐ คน อาชีพอ่ืน ๆ จานวน ๒ คน รวม จานวน ๑๐ คน ชื่อแผนภูมิ 10 9 8 7 6 5 4 3 2 รวม 1 หญิง ชาย 0 ชาย หญิง รวม

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจตอ่ การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง รูปแบบกล่มุ สนใจ หลกั สูตรการทาเนยกรอบ จานวน ๓ ชวั่ โมง เปา้ หมาย ๑๐ คน จัดได้ ๑๐ คน ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ ทีส่ ุด กลาง ที่สุด 2 เนอื้ หาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนื้อหาปัจจบุ ันทนั สมัย 6๔ - - - 4 เนอ้ื หามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ 6๔ - - - ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 5๕ - - - 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 6๔ - - - 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา ๘2 - - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 6๔ - - - ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่อื งทีถ่ า่ ยทอด 6๔ - - - 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 6๔ - - - ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 6๔ -- 14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา ๗๓ - - - ๗๓ - - - ๘2 - - - ๗๓ - - - 6๔ - - - 6๔ - - - ส่วนประเมนิ ผลความพึงพอใจดว้ ยเกณฑค์ ะแนนเฉลี่ยรวม มคี า่ คะแนน ๑ คะแนนและเกณฑ์ระดบั ความพงึ พอใจเป็นน้ี มีค่าคะแนน ๒ มีค่าคะแนน ๓ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปรบั ปรงุ มคี า่ คะแนน ๔ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ พอใช้ มีค่าคะแนน ๕ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ปานกลาง ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดี ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ดีมาก

และคา่ คะแนนเฉล่ียมเี กณฑ์ดงั น้ี หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ปรบั ปรุง คะแนนเฉลีย่ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ พอใช้ คะแนนเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ปานกลาง คะแนนเฉลย่ี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ดี คะแนนเฉลีย่ ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ดมี าก คะแนนเฉลย่ี ๔.๕๐ – ๕.๐๐

สรปุ ความพงึ พอใจในภาพรวม จากการจดั กิจกรรม การจัดการศึกษาตอ่ เนือ่ ง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสตู รการทาเนยกรอบ จานวน ๕ ชว่ั โมง เป้าหมาย ๑๐ คน จดั ได้ ๑๐ คน พบวา่ แบบสอบถามทั้ง ๑๕ ขอ้ ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจในระดบั “ดมี าก” ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเน้ือหา มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ ทีส่ ดุ กลาง ทส่ี ดุ 2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนือ้ หาปจั จุบันทนั สมยั 6๔ - - - 4 เนอื้ หามปี ระโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต 6๔ - - - ๕๕ - - - 6๔ - - - 7 6 5 4 3 2 1 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ

ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม ท่ีสดุ กลาง ท่ีสดุ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา ๘2 - - - 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย 9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 6๔ - - - 6๔ - - - 6๔ - - - 6๔ -- ช่ือแผนภมู ิ 8 7 6 5 นอ้ ยท่สี ดุ 4 นอ้ ย 3 ปานกลาง 2 มาก 1 มากท่สี ดุ 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ

ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่อื งทถี่ า่ ยทอด ทีส่ ดุ กลาง ท่สี ุด 11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สือ่ เหมาะสม 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม ๗๓ - - - ๗๓ - - - 9 ๘2 - - - 8 7 6 5 4 3 2 1 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ

ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์และส่งิ อานวยความสะดวก ท่สี ุด กลาง ท่ีสุด 14 การสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา ๗๓ - - - 6๔ - - - 6๔ - - - ช่ือแผนภูมิ 7 นอ้ ยท่สี ดุ 6 นอ้ ย 5 4 ปานกลาง 3 มาก 2 1 มากท่สี ดุ 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ

ภาคผนวก

รปู ภาพการจดั การศึกษาต่อเนื่อง รปู แบบกลุ่มสนใจ หลกั สูตรการทาเนยกรอบ จานวน 5 ชวั่ โมง วนั ท่ี 23 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 สถานทจี่ ดั ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 2 ตาบลชา้ งน้อย อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา



บรรณานกุ รม ศู น ย์ ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย อ า เ ภ อ บ า ง ไ ท ร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ๒๕๖๔. หลกั สตู รการทาเนยกรอบ จานวน ๓ ชัว่ โมง.

ทีป่ รึกษา คณะผูจ้ ัดทา นางสาวมกุ ดา แข็งแรง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอภาชี นางสาววิชชุตา แกว้ โมรา รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร นางสาวหทยั รตั น์ ศิรแิ ก้ว บรรณารกั ษช์ านาญการ นางสาวฐิติพร พาสี ครู ครูผูช้ ว่ ย คณะทางาน/ผ้รู วบรวมข้อมูล/สรปุ ผล/รายงานผล/จดั พิมพร์ ูปเล่ม นางสาวศทุ ธินี จันยะนยั ครู กศน.ตาบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook