Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบเสียง

ระบบเสียง

Description: ระบบเสียง

Search

Read the Text Version

ระบบเสยี งใน เสยี งสระ ภาษาไทย เสยี งพยญั ชนะ เสยี งวรรณยกุ ต์

ระบบเสียงในภาษาไทย ระบบเสยี งสําคญั ในภาษาไทยที่ได้จากการวเิ คราะห์ คณุ สมบตั ิของเสยี ง มี ๓ ระบบ ได้แก่ - ระบบเสียงพยญั ชนะ - ระบบเสยี งสระ - ระบบเสยี งวรรณยกุ ต์

เสียงสระ มี ๒๑ เสียง สระเด่ยี ว/สระแท้ สระประสม สระเกนิ มี ๑๘ เสียง มี ๓ เสียง

เสียงสระ เสียงสระ หรือ เสียงแท้ มีลกั ษณะและหน้าท่ี ดงั นี ้ ๑. เป็นเสียงท่ีลมผา่ นออกมาได้โดยสะดวกไมถ่ กู อวยั วะใน ปากกกั ทางลม ๒. อวยั วะท่ีชว่ ยให้เสยี งสระตา่ งกนั ได้แกล่ นิ ้ และริมฝี ปาก ๓. เสียงสระออกเสยี งได้ยาวนาน ๔. เสยี งสระมีทงั้ เสยี งสนั้ และเสยี งยาว ๕. เสียงสระเป็นเสยี งที่ชว่ ยให้พยญั ชนะออกเสียงได้

๑. เสียงสระแท้ หรือ สระเด่ียว สระแท้ หรือ สระเด่ยี ว มี ๑๘ เสียง ดงั นี ้ สระเด่ยี ว หมายเหตุ สระสัน้ (รัสสระ) สระยาว(ทฆี สระ) ระดับลิน้ ส่วนของลิน้ อะ อา ต่าํ กลาง อิ อี สงู ปลาย อึ อื สงู กลางลนิ ้ เอะ เอ กลางสงู ปลายลนิ ้

๑. เสียงสระแท้ หรือ สระเด่ียว (ต่อ) สระเด่ยี ว หมายเหตุ สระสัน้ (รัสสระ) สระยาว(ทฆี สระ) ระดับลิน้ ส่วนของลิน้ แอะ แอ กลางต่าํ ปลายลนิ ้ โอะ โอ กลางสงู โคนลนิ ้ เอาะ ออ กลางตํ่า โคนลนิ ้ เออะ เออ กลางสงู กลางลนิ ้

๒. เสียงสระเล่ือน หรือ สระประสม สระเล่ือน หรือ สระประสม เกิดจากการเล่ือนของลนิ ้ ในระดบั สงู ลดลงสรู่ ะดบั ตา่ํ ดงั นนั้ จงึ เรียกอกี ช่ือหนงึ่ วา่ \"สระเลอ่ื น\" ในบางตาํ รา จะเพิ่ม สระเลือ่ นเสยี งสนั้ มกั เป็ นคําเลยี นเสียงธรรมชาติ หรือไม่ ก็เป็ นคําท่ียืมมาจาก ภาษาอ่ืนมี ๓ คู่ ๖ เสียง คทู่ ี่ ๑ สระเอียะ เกิดจาก สระอิ + สระอะ สระเอีย เกิดจาก สระอี + สระอา คทู่ ี่ ๒ สระเอือะ เกิดจาก สระอึ + สระอะ สระเอือ เกิดจาก สระอื + สระอา คทู่ ่ี ๓ สระอวั ะ เกิดจาก สระอุ + สระอะ สระอวั เกิดจาก สระอู + สระอา

๒. เสียงสระเล่ือน หรือ สระประสม (ต่อ) หลักการจาสระเล่ือน หรือ สระประสม ให้ใช้หลกั การจํา “สระ ประสม มี ๓ คู่ ๖ เสยี ง คู่ท่ี ๑ ค่เู มีย - สระเอียะ เกิดจาก สระอิ + สระอะ - สระเอีย เกิดจาก สระอี + สระอา คู่ท่ี ๒ คู่ผัว - สระเอือะ เกิดจาก สระอึ + สระอะ - สระเอือ เกิดจาก สระอื + สระอา ค่ทู ่ี ๓ คู่เพ่อื น- อวั ะ เกิดจาก สระอุ + สระอะ - สระอวั เกิดจาก สระอู + สระอา * สระประสม คือ เมีย ผัว และ เบ่อื

๒. เสียงสระเล่ือน หรือ สระประสม (ต่อ) ปัจจบุ นั นกั ภาษาศาสตร์ ถือวา่ สระประสมมีเพียง ๓ หน่วย คือ เอีย เอือ อวั เพราะ ไมม่ ีคเู่ ทยี บเสียงระหวา่ งเสยี งสนั้ และเสียงยาว แตแ่ บง่ หนว่ ยเสียงยอ่ ย คอื เสียงยอ่ ยสนั้ และเสยี งยอ่ ยยาว เน่ืองจาก - สระเอียะ ที่ไม่มีตวั สะกด ท่ีพบในภาษาไทย มีเพยี งคาํ วา่ เดียะ เพยี ะ เปี๊ ยะ (พิณ) เผียะ - สระอวั ะ ทไ่ี มม่ ีตวั สะกด ในคาวา่ ผวั ะ พวั ะ - สระเออื ะ ท่ีไมม่ ีตวั สะกด ไม่มีที่ใช้ ดงั นนั้ สระประสมเสียงสนั้ สว่ นใหญ่ก็อาศยั รูป เอีย เออื อวั เช่น เรียก เสอื ก พวก ใช้รูปสระเสยี งยาว

๓. เสียงสระเกนิ สระเกิน คือ สระที่มีเสยี งซํา้ กบั เสียงสระแท้ และมีเสียง พยญั ชนะประสมอยดู่ ้วย มี ๘ รูป คอื ฤ(รึ) ฤา(รื) ฦ(ลึ) ฦๅ(ลื) -ำา(อา) ไ-(ไอ) ใ-(ใอ) และ เ-า(เอา) ลาดบั สระ เสียง สาเหตกุ ารเกดิ เสียง ๑ฤ ร + อึ เกิดจากเสยี งพยญั ชนะ ร.เรือ ผสมกบั เสียงสระอ)ึ ๒ ฤๅ ร + อือ เกิดจากเสยี งพยญั ชนะ ร.เรือ ผสมกบั เสยี งสระอื) ๓ฦ ล + อึ เกิดจากเสียงพยญั ชนะ ล.ลงิ ผสมกบั เสยี งสระอ)ึ ๔ ฦๅ ล + อือ เกิดจากเสยี งพยญั ชนะ ล.ลงิ ผสมกบั เสยี งสระอื) ถดั ไป

๓. เสียงสระเกนิ (ต่อ) ลาดบั สระ เสียง สาเหตกุ ารเกิดเสียง ๕ -ำํา อะ + ม เกิดจากเสียงสระอะ ผสมกบั เสยี งพยญั ชนะ ม.ม้า ๖ ไ- อะ + ย เกิดจากเสยี งสระอะ ผสมกบั เสยี งพยญั ชนะ ย.ยกั ษ์ ๗ ใ- อะ + ย เกิดจากเสยี งสระอะ ผสมกบั เสียงพยญั ชนะ ย.ยกั ษ์ ๘ เ-า อะ + ว เกิดจากเสียงสระอะ ผสมกบั เสียงพยญั ชนะ ว.แหวน ข้อสังเกต อา ไอ ใอ เอา เป็น สระเกิน คือ สระท่ีมีเสยี งพยญั ชนะประสมอยดู่ ้วย ดงั นนั้ สระเกินเหลา่ นี ้จงึ ไม่สามารถมีตวั สะกดได้อีก ยอ้ น หนา้ หลกั

เสียงพยญั ชนะ พยญั ชนะต้น พยญั ชนะท้าย มี ๒๑ เสียง มี ๘ เสียง พยญั ชนะต้นเด่ียว พยัญชนะต้นคู่

เสียงพยัญชนะ เสียงพยญั ชนะ หรือ เสียงแปร คือ เสียงที่เปลง่ ออกมา จากลําคอ แล้วกระทบกบั อวยั วะสว่ นใดสว่ นหนง่ึ ในปาก เช่น คอ ป่ มุ เหงือก ฟัน ริมฝี ปาก ซงึ่ ทําให้เกิดเป็นเสยี งต่าง ๆ กนั โดย พยญั ชนะไทยมี ๒๑ เสียง ๔๔ รูป ดงั ตอ่ ไปนี ้ ลาดับ เสียงพยัญชนะ ๒๑ เสียง รูปพยญั ชนะ ๔๔ รูป ๑ก ก ๒ค ขฃคฅฆ ๓ง ง ถดั ไป

เสียงพยญั ชนะ (ต่อ) รูปพยัญชนะ ๔๔ รูป จ ลาดับ เสียงพยัญชนะ ๒๑ เสียง ๔จ ชฌฉ ๕ช ซศสษ ๖ซ ๗ด ดฎ ๘ต ตฏ ๙ท ทธฑฒถฐ ๑๐ น นณ

เสียงพยญั ชนะ (ต่อ) รูปพยญั ชนะ ๔๔ รูป บ ลาดับ เสียงพยญั ชนะ ๒๑ เสียง ป ๑๑ บ ๑๒ ป พภผ ๑๓ พ ฟฝ ๑๔ ฟ ม ๑๕ ม ญย ๑๖ ย ร ๑๗ ร ลฬ ๑๘ ล

เสียงพยัญชนะ (ต่อ) ลาดบั เสียงพยัญชนะ ๒๑ เสียง รูปพยัญชนะ ๔๔ รูป ๑๙ ว ว ๒๐ ห หฮ ๒๑ อ อ หน้าท่ขี องพยัญชนะ ๑. เป็นพยญั ชนะต้น ๒. เป็นพยญั ชนะท้ายพยางค์ (ตวั สะกด) ๓. เป็นอกั ษรควบ (ควบแท้ และ ควบไมแ่ ท้)

เสียงพยัญชนะ (ต่อ) หน้าท่ขี องพยญั ชนะ (ต่อ) ๔. เป็นอกั ษรนํา อกั ษรตาม ๕. เป็นสระ (อ ว ย ร) ๖. เป็นตวั การันต์ ข้อสังเกตเก่ียวกับเร่ืองเสียงพยัญชนะ ๑. เสียงพยญั ชนะมี ๒๑ เสยี ง แตแ่ ทนด้วยรูปพยญั ชนะ ๔๔ รูป จงึ มีปัญหาเก่ียวกบั การเขยี น ยอ้ น ถดั ไป

เสียงพยญั ชนะ (ต่อ) ข้อสังเกตเก่ียวกับเร่ืองเสียงพยญั ชนะ (ต่อ) ๒. รูปพยญั ชนะมีลกั ษณะผกู พนั กบั เสียงวรรณยกุ ต์ การที่จดั อกั ษรสงู อกั ษรกลาง และอกั ษรต่าํ แสดงวา่ ตวั พยญั ชนะไทย เมื่อผสมสระ แล้วจะเกิดเสยี งวรรณยกุ ต์ติดตามมา ๓. รูปพยญั ชนะบางตวั ไมอ่ อกเสียง ได้แก่ - พยญั ชนะท่ีมีเคร่ืองหมายทณั ฑฆาตกํากบั เช่น สงฆ์ วงค์ จนั ทร์ - พยญั ชนะที่ตามหลงั พยญั ชนะสะกดบางคํา เช่น สมทุ ร พทุ ธ - ร ซงึ่ เป็นสว่ นหนงึ่ ของอกั ษรควบไมแ่ ท้ เช่น ทรง ทราบ ทรวง ยอ้ น ถดั ไป

เสียงพยัญชนะ (ต่อ) ข้อสังเกตเก่ียวกับเร่ืองเสียงพยญั ชนะ (ต่อ) - ร หรือ ห ท่ีนําหน้าพยญั ชนะสะกดบางคาํ เชน่ ปรารถนา พรหม - ห หรือ อ ท่ีนําอกั ษรเดี่ยว เช่น หลาย หลาก อยา่ อยู่ ๔. ตวั อกั ษรเรียงกนั ๒ ตวั บางครัง้ ออกเสยี งควบ บางครัง้ ออกเสียง สระแทรก เช่น จมปลกั ปรักหกั พงั ๕. ตวั \"ว\" ทําหน้าท่ีได้หลายอยา่ ง เชน่ สระอวั เชน่ กลวั รวย - พยญั ชนะควบ เช่น ควาย ขวาด พยญั ชนะต้น วบู วาบ - อกั ษรนํา เช่น หวนั่ ไหว พยญั ชนะท้าย เช่น ราว ร้าว ยอ้ น หนา้ หลกั

๑. พยัญชนะต้น เสียงพยญั ชนะต้น คอื เสยี งของพยญั ชนะตวั แรกที่ประสมกบั เสยี งสระ เป็นเสียงของทกุ เสยี งของพยญั ชนะไทย เชน่ ก้าน ของ ครอบ หลาย กด วูบ กรรม อ่าน อกั ษรท่ีพิมพ์ตัวหนาสีแดงคอื พยญั ชนะต้น คา พยัญชนะต้น เสียงในภาษาไทย วรรณยุกต์ สระ ตัวสะกด - - ก้าน ก -า น ของ ข -อ ง หนา้ ถดั ไป

๑. พยัญชนะต้น (ต่อ) คา พยัญชนะต้น เสียงในภาษาไทย วรรณยุกต์ สระ ตวั สะกด - - โกรธ ก โ ด - หรู หร -ำู - รวย ร -ำัว ย พยญั ชนะทใ่ี ชแ้ ทนเสยี งพยญั ชนะตน้ ดูไดท้ ่ี เสยี งพยญั ชนะ พยญั ชนะต้น แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คือ พยญั ชนะต้นเดี่ยว และ พยญั ชนะต้นคู่ (พยญั ชนะควบ)

๑.๑ พยญั ชนะตน้ เด่ยี ว เสียง รูป เสียง รูป เสียง รูป /ก/ ก /ย/ ย ญ อยฺ หฺย /ป/ ป /ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ /พ/ ผพภ /ง/ ง หฺญ /ฟ/ ฝฟ /จ/ จ /ด/ ฎ ด ฑ /ม/ ม หฺม /ช/ ฉ ช ฌ /ต/ ฏ ต /ร/ ร หฺร /ซ/ ซ ส ศ ษ ศฺร /ท/ ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ /ล/ ล หฺล /น/ น ณ หฺน /ว/ ว หว ซฺร ทรฺ /บ/ บ /อ/ อ /ห/ ห ฮ

๑.๑ พยญั ชนะตน้ เด่ยี ว (ต่อ) เสยี งพยญั ชนะจากตารางข้างต้น ใช้เป็นพยญั ชนะต้นได้ทงั้ หมด *ข้อสังเกต/ข้อควรจา* - เสยี งพยญั ชนะต้นเดี่ยว จะพบใน รูปพยัญชนะทกุ ตวั รวมถงึ อกั ษร นํา(ห นํา ตํา่ เดีย่ ว อ นํา ย) คาํ ควบไม่แท้ (ทร ออกเสียงเป็น ซ, จร ร ไม่ออกเสยี ง เช่น จริง สร ศร ร ไมอ่ อกเสียง เชน่ สร้อย) ยกเว้น พยญั ชนะต้นทีเ่ ป็นคําควบกลาํ ้ แท้

๑.๒ พยญั ชนะตน้ คู่/พยญั ชนะตน้ ควบ เสยี งพยญั ชนะควบ คือ เสยี งพยญั ชนะสองเสียงทีอ่ อกมาพร้อม กนั ในภาษาไทยมเี สียง /ร/ /ล/ /ว/ ทใี่ ช้เป็นเสียงควบกบั เสียงอนื่ เชน่ - กร ขร คร เช่น กรุ้มกร่ิม ขรุขระ ครืน้ เครง - ตร เชน่ ตรวจตรา - ปร เชน่ ปราบปราม - พร เชน่ พร้อมเพรียง - กล ขล คล เช่น กลิง้ กลอก ขลาด คลาคลํา่ - ปล เช่น เปลี่ยนแปลง

๑.๒ พยญั ชนะตน้ คู่/พยญั ชนะตน้ ควบ (ตอ่ ) - พล เชน่ โพล้เพล้ - กว ขว คว เช่น แกวง่ ไกว ขว้างขวาน เคว้งคว้าง * ข้อควรระวงั * - อกั ษรนํา ร ล ว เชน่ หรูหรา หลาย หวาน ไม่ใช่ คาควบ กลา้ และ ไม่ใช่พยัญชนะต้นคู่ เพราะ ไมไ่ ด้ออกเสียงพยญั ชนะต้น สองเสยี งพร้อมกนั (หร ออกเสียง ร / หล ออกเสยี ง ล / หว ออกเสียง ว) - คําท่อี อกเสยี ง อะ กง่ึ เสยี ง แตม่ ีรูปคล้าย คาํ ควบกลํา้ แตค่ ํา เหลา่ นีไ้ มใ่ ชค่ วบควบกลํา้ และไมใ่ ชพ่ ยญั ชนะต้นคู่ เชน่ เปรียญ อา่ นวา่ ปะ-เรียน ปลดั อา่ นวา่ ปะ-หลดั หนา้ หลกั

คาํ ควบไมแ่ ท้ คําควบกลาํ ้ ไมแ่ ท้ท่ีมีพยญั ชนะตวั หน้าเป็น ซ ศ ส พยญั ชนะตวั หลงั เป็น ร ให้ ออกเสยี งเฉพาะพยญั ชนะ ตวั หน้า เชน่ เสร็จ อา่ นวา่ เสด็ จริง อา่ นวา่ จิง ปราศรัย อา่ นวา่ ปรา – ไส คําควบกลาํ ้ ไมแ่ ท้ท่ีมีพยญั ชนะตวั หน้าเป็น ท พยญั ชนะตวั หลงั เป็ น ร ให้ออก เสยี ง ทร เป็น ซ ทราย อา่ นวา่ ซาย ทรัพย์ อา่ นวา่ ซบั ทราบ อา่ นวา่ ซาบ

อกั ษรนํา อกั ษรนํา คือ พยญั ชนะ 2 ตวั เรียงกนั ประสมสระเดยี ว พยญั ชนะ ตวั แรกของคํา จะอา่ นออกเสยี ง อะ กง่ึ เสยี ง พยญั ชนะตวั หลงั จะ อา่ นออกเสยี งตามสระท่ีประสม และอา่ นออเสยี งวรรณยกุ ต์ติดตาม มาพยญั ชนะตวั แรก เช่น ขยบั อา่ นวา่ ขะ - หยบั ฉลาม อา่ นวา่ ฉะ - หลาม ข้อควรจํา อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก เป็นอกั ษรนํา

๒. พยญั ชนะท้าย เสียงพยญั ชนะท้าย หรือ พยญั ชนะตวั สะกด มี ๘ เสียง คือ เสียง ของพยญั ชนะท่ีใช้บงั คบั เสยี งท้ายคํา เมอื่ พิจารณาเสียงพยญั ชนะท้าย กบั มาตราตวั สะกดของไทย ได้ดงั นี ้ เสียงพยญั ชนะท้าย มาตราตวั สะกด พยัญชนะท่ใี ช้แทนเสียง ตวั อย่าง /ก/ แม่ กก ก ข ค ฆ นก มขุ ภาค เมฆ /ต/ แม่กด ดจชฎฏฐฑฒต นดั ดา มจั ฉา นชุ ถ ท ธ ศ ษ และ ส นาฏ อํานาจ พธุ เพศ โสต ฯลฯ /ป/ แม่กบ บ ป ฟ พ ภ ธปู กราฟ โลภ หนา้ ถดั ไป

๒. พยัญชนะท้าย (ต่อ) เสียงพยัญชนะท้าย มาตราตวั สะกด พยญั ชนะท่ีใช้แทนเสียง ตัวอย่าง /ง/ กง ง สอง /น/ กน ญณนรลฬ บญุ ญาณ มาร พาล วิรุฬห์ /ม/ กม ม ส้ม /ย/ เกย ย รวย /ว/ เกอว ว เขียว - แม่ ก กา - - ยอ้ นกลบั หนา้ ถดั ไป

๒. พยัญชนะท้าย (ต่อ) เสยี งพยญั ชนะท้าย หรือ พยญั ชนะตวั สะกด มี ๘ เสียง คือ /ก/ /ป/ /ต/ /ม/ /น/ /ง/ /ย/ และ /ว/ *ข้อควรจา* นอกจากคําที่มรี ูปตวั สะกดจากตารางข้างต้นแล้ว ยงั มีคําที่ ประสมด้วย สระเกนิ ท่มี ีเสยี งพยญั ชนะท้ายด้วย เพราะสระเกินเกิด จากเสียงสระแท้ คือ สระ -ะ รวมกบั เสยี งตวั สะกด เชน่ - รํา ประสมด้วย สระ -ำํา (-ะ + ม) มีเสยี งพยญั ชนะท้ายเสียง /ม/ - ไป ประสมด้วย สระ ไ- (-ะ + ย) มีเสียงพยญั ชนะท้ายเสยี ง /ย/

๒. พยัญชนะท้าย (ต่อ) - ใน ประสมด้วย สระ ใ- (-ะ + ย) มีเสียงพยญั ชนะท้ายเสยี ง /ย/ - เกา ประสมด้วย สระ เ-า (-ะ + ว) มีเสียงพยญั ชนะท้ายเสยี ง /ว/ ตัวอย่าง เขาถอนมนั สาปะหลังในไร่ มีพยางค์ทม่ี เี สยี งพยางค์ท้าย ดงั นี ้ - เขา มีเสยี งพยางค์ท้าย /ว/ หรือ มาตราตวั สะกด แมเ่ กอว - ถอน มีเสียงพยางค์ท้าย /น/ หรือ มาตราตวั สะกด แมก่ น - มนั มีเสยี งพยางค์ท้าย /น/ หรือ มาตราตวั สะกด แมก่ น - สํา มเี สียงพยางค์ท้าย /ม/ หรือ มาตราตวั สะกด แมก่ ม

๒. พยัญชนะท้าย (ต่อ) ตวั อย่าง เขาถอนมันสาปะหลงั ในไร่ (ต่อ) มีพยางค์ทีม่ ีเสยี งพยางค์ท้าย ดงั นี ้ - หลงั มีเสียงพยางค์ท้าย /ง/ หรือ มาตราตวั สะกด แมก่ ง - ใน มีเสียงพยางค์ท้าย /ย/ หรือ มาตราตวั สะกด แม่เกย - ไร่ มีเสยี งพยางค์ท้าย /ย/ หรือ มาตราตวั สะกด แมเ่ กย *หมายเหตุ* พยญั ชนะที่ไม่ใช้เป็นตวั สะกด คอื “ฃ ฅ ฉ ฒ ผ ห อ ฮ” ยอ้ นกลบั หนา้ หลกั

เสียงวรรณยุกต์ เสียง และ ฝึ กผนั เสียง รูปวรรณยุกต์

ลกั ษณะของเสยี งดนตรี หรอื เสยี งวรรณยกุ ต์ 1. เสยี งวรรณยุกต์ ไมส่ ามารถเกดิ ตามลาพงั จะเกดิ พรอ้ มกบั เสยี งสระ 2. เสยี งสระเป็นเสยี งกอ้ ง จงึ ช่วยทาใหเ้สยี งวรรณยุกตเ์ กิดระดบั สูงตา่ คลา้ ย เสยี งดนตรี ถา้ เสน้ เสยี งสนั่ สะเทอื นมาก จะมเี สยี งสูง เสน้ เสยี งสนั่ สะเทือนนอ้ ย จะมเี สยี ง ตา่ 3. เสยี งวรรณยุกต์ ทาใหค้ ามคี วามหมายแตกต่างกนั ออกไป เช่น ปา ป่า ป้า ป๊ า ป๋า, เสอื เสอ่ื เส้อื 4. วรรณยุกต์ มี 5 เสยี ง 4 รูป ดงั น้ี

เสยี งวรรณยกุ ต์ รูปวรรณยกุ ต์ ระดบั เสยี ง ตวั อยา่ ง หมายเหตุ สามญั - กนิ ทอง ลมื ยา ไมม่ รี ูปวรรณยุกตแ์ ทนเสยี ง ปานกลาง มี เอก ระดบั เสยี งคงท่ี โท ่่ ตา่ สุด มเี สยี งคงทส่ี มา่ เสมอ เก่ง ผ่า หนกั สุข บางคาไมม่ รี ูปวรรณยุกต์ ่้ ตอนตน้ เป็นเสยี งสูงปลายเสยี ง ใกล้ ขา้ ค่า ช่าง มาก บางคามรี ูปวรรณยุกต์ ่่ เปลย่ี นระดบั เป็นเสยี งตา่ นาบ กากบั แต่มเี สยี งวรรณยกุ ตโ์ ท บางคาไมม่ รี ูปวรรณยุกตก์ ากบั ตรี ่๊ สูง โตะ๊ จะ๊ กกั ๊ รกั คิด นอ้ ง บางคามรี ูปวรรณยุกตก์ ากบั ไว้ ใช้ และบางคาใชร้ ูปวรรณยุกต์ ่้ แต่มเี สยี งวรรณยุกตต์ รี จตั วา ่๋ ตอนตน้ เสยี งตา่ ตอนปลายเสยี ง แจว๋ กว๋ ยเตยี๋ ว เหลอื ง บางคาไมม่ รี ูปวรรณยุกตก์ ากบั สูงข้นึ เขยี ว

เสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ คอื เคร่ืองหมายสาํ หรับบอกระดบั เสยี ง ใช้เขยี นไว้ ข้างบนพยญั ชนะหรือข้างบนสระ ทาํ ให้คํามีความหมายแตกตา่ งกนั ไป เช่น เสือ เสื่อ เสือ้ เสียงวรรณยุกต์ หรือ เสยี งดนตรี ก็คือ เสยี งสระ หรือเสียง พยญั ชนะ ซงึ่ เวลาเปลง่ เสียงแล้วเสียงจะมีระดบั สงู ต่ํา เหมือนกบั เสยี งดนตรี สาํ หรับเสยี งวรรณยกุ ต์ทีใ่ ช้ในภาษาไทยมี ๕ เสียง รูปวรรณยกุ ต์ มี ๔ รูป คือ – เอก) – โท) –ำ (ตรี) –ำ (จตั วา) เสียงวรรณยกุ ต์ มี ๕ เสยี ง คือ สามญั เอก โท ตรี และ จตั วา

เสียงวรรณยุกต์ (ต่อ) รูปวรรณยุกต์ และเสียงวรรณยุกต์ไม่จาเป็ นต้องตรงกันเสมอไป สงั เกตตารางตอ่ ไปนี ้ พยญั ชนะ เสียง เสียง เสียงโท เสียงตรี เสียง หมายเหตุ ต้น สามญั เอก จตั วา กจดตฎ กา ก่า/ ก้า/ กา/ กา/ คําเป็นพืน้ เสียงเป็นเสยี งสามญั ฏบ ปอ กาบ ก้าบ กาบ กาบ คําตายพืน้ เสียงเป็นเสยี งเอก ขฃฉฐถ - ขา่ ข้า - ขา คําเป็นพืน้ เสยี งเป็นเสียงจตั วา ผฝศษ ขะ ข้ะ คําตายพืน้ เสยี งเป็นเสยี งเอก สห ยอ้ นกลบั ถดั ไป

เสียงวรรณยุกต์ (ต่อ) พยัญชนะ เสียง เสียง เสียงโท เสียงตรี เสียง หมายเหตุ ต้น สามญั เอก จตั วา คฅฆช คา่ ค้า คําเป็นพืน้ เสียงเป็นเสยี งสามญั ซฌฑฒ คะ่ คะ ทธฟภย คา คาด ค้ะ หากผนั ร่วมกบั อกั ษรสงู จะผนั พฮญล ได้ครบ ๕ เสยี ง เช่นคา ข่า คา่ ณนมรฬ (ข้า) ค้า ขา งว * คาเป็ น ยอ้ นกลบั หนา้ หลกั ** คาตาย

พยญั ชนะ

พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ดังนี้ ... ๑. ก ๒. ข ฃ ค ฅ ฆ ๓. ง หง ๔. จ จร ๕. ฉ ช ฌ ๗. ญ ย อย หย หญ ๖. ซ ส ศ ษ สร ศร ซร ทร ๙. ฏ ต ๘. ฎ ด ๑๐. ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ

๑๑. ณ น หน ๑๒. บ ๑๓. ป ๑๔. ผ พ ภ ๑๕. ฝ ฟ ๑๖. ม หม ๑๗. ร หร ๑๘. ล ฬ หล ๑๙. ว หว ๒๐. ห ฮ ๒๑. อ

พยญั ชนะแบง่ เป็น ๓ พวก เรียกวา่ ไตรยางศ์ ๑. อักษรสูง ๒. อักษรกลาง ๓. อักษรต่า

อักษรสูง อักษรสูง มี ๑๑ ตัว คือ ... ขฃฉถฐผฝศษสห หลักการท่องจา ผีฝากถุงข้าวสารให้ฉัน

อกั ษรกลาง อกั ษรกลาง มี ๙ ตัว ดังนี้ … กจฎฏดตบปอ หลักการท่องจา ไก่จกิ เดก็ ตาย(ฎฏ)บนปากโอ่ง

อกั ษรต่า อักษรต่า มี ๒๔ ตวั ดังนี้ ... คฅฆงชซฌญฑฒณท ธนยรลวพมฟภฬฮ หลักการท่องจา คอฅนฆ่างชู ูโซ่เฌอหญงิ โฑเฒ่าเณรทาธนู ย่ารู้แล้วว่าพม่าฟันสาเภาเฬาแฮ

อกั ษรต่าแบ่งเป็ น 2 ชนิด อักษรต่าเด่ียว อักษรต่าคู่

อักษรเด่ยี ว อกั ษรเด่ยี ว คือ อกั ษรต่ําท่ีไมม่ ีเสียงคกู่ บั อกั ษร สงู มี ๑๐ ตวั ดงั นี ้... งญนยณรวมฬล หลักการท่องจา งใู หญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬีโลก

อักษรคู่อกั ษรคู่ คอื อกั ษรตา่ ทม่ี เี สยี งคู่กบั อกั ษรสูง มี ๑๔ ตวั ดงั น้ี ... คฅฆชซฌฑ ฒทธพภฟฮ หลักการท่องจา พ่อ ค้า ฟัน ทอง ซือ้ ช้าง ฮ่อ

พยางค์เปิ ดและพยางค์ปิ ด พยางค์เปิ ด คอื พยางค์ท่ไี มม่ ีตวั สะกด เชน่ เหเ่ รือ เปล หรือ ฯลฯ พยางค์ปิ ด คือ พยางค์ทม่ี ีตวั สะกด เชน่ ใครห้าม ทําไม

คาเป็น คาตาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook