ค�ำ ศพั ทท์ เ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
คำ� ศัพทท์ ่เี กย่ี วเนอ่ื งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร กระทรวงวฒั นธรรม โดยกรมศลิ ปากร 1
2
ค�ำน�ำ เนอ่ื งในงานพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ปรากฏค�ำศัพท์ท่ีเกยี่ วเน่ืองในการพระราชพิธเี ปน็ จ�ำนวนมากซง่ึ สะทอ้ นมรดก ภูมิปัญญาทางด้านภาษาและวัฒนธรรมทั้งท่ีเกี่ยวกับราชประเพณี เครื่องประกอบพระราชพิธี ศลิ ปกรรม สถาปตั ยกรรม กระนัน้ อาจมีประชาชนที่ไม่ทราบถึงความหมาย รวมถึงรายละเอียด ของค�ำศพั ทท์ ป่ี รากฏตามสอื่ ตา่ ง ๆ ดว้ ยเหตนุ ี้ คณะกรรมการฝา่ ยจดั สร้างพระเมรมุ าศ สิง่ ปลกู สร้างประกอบพระเมรุมาศ และบูรณปฏิสังขรณ์ราชรถ และพระยานมาศ งานพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จงึ มอบหมายใหก้ ระทรวงวฒั นธรรมโดยกรมศลิ ปากร คน้ ควา้ และเรยี บเรยี งคำ� ศพั ทท์ เ่ี กย่ี วเนอื่ ง กบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เพ่อื สร้างความรู้และความเขา้ ใจเบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั โบราณราชประเพณีดงั กลา่ ว และเพ่ือนำ� องค์ ความรู้ดงั กลา่ วไปใช้ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม การรวบรวมคำ� ศพั ทต์ า่ ง ๆ ในครงั้ นี้ ไดค้ ดั เลอื กเฉพาะคำ� ศพั ทท์ แี่ สดงใหเ้ หน็ ภาพรวม ของงานพระราชพิธีพระบรมศพตั้งแต่การบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ณ พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท กระทั่งถึงการถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง รวมถึงค�ำศัพท์ ที่ปรากฏในการพระราชพิธีตามสื่ออยู่เสมอ เช่น การอ่านพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลแต่ละช่วงเวลา พระพธิ ธี รรม การประโคมยำ่� ยาม นอกจากนี้ ยงั ไดค้ ดั เลอื กคำ� ศพั ทท์ เี่ ปน็ ประโยชนใ์ นการศกึ ษา โบราณราชประเพณี รวมถงึ คตคิ วามเชอ่ื ทไ่ี มป่ รากฏแลว้ ในพระราชพธิ ปี จั จบุ นั อาทิ พระเมรทุ อง การทงิ้ ทานต้นกลั ปพฤกษ์ การเดินสามหาบ เปน็ ตน้ คณะกรรมการฝ่ายจัดสร้างพระเมรุมาศฯ จึงหวังว่าหนังสือ “ค�ำศัพท์ที่เก่ียวเน่ือง กับงานพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร” ฉบับพิมพค์ รง้ั ท่ี ๓ น้ี จะอำ� นวยประโยชน์แก่ผู้เกยี่ วขอ้ งตลอดจนผปู้ ฏบิ ัตงิ าน สามารถใช้ค�ำศัพท์ในพระราชพิธีได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้ เพ่ือถวายเป็นพระเกียรติยศแด่ พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ตลอดจนเป็นการสืบสานมรดกภูมิปัญญา ทางดา้ นภาษา วฒั นธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณสี ืบไป พลเอก (ธนะศกั ด์ิ ปฏมิ าประกร) รองนายกรฐั มนตรี ประธานคณะกรรมการฝา่ ยจัดสรา้ งพระเมรุมาศ สงิ่ ปลกู สร้างประกอบพระเมรมุ าศ และบรู ณปฏสิ ังขรณ์ราชรถ และพระยานมาศ งานพระราชพธิ ถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร 3
สารบัญ การอ่านพระปรมาภไิ ธย ๗ สวรรคต เสดจ็ สวรรคต ๘ สวรรคาลยั ๘ พระบรมฉายาลักษณ์ พระบรมรปู พระบรมรูปถ่าย ๘ พระบรมสาทสิ ลกั ษณ์ พระบรมฉายาสาทิสลกั ษณ์ พระบรมรูปเขียน ๘ สตั ตมวาร ๑๐ ปณั รสมวาร ๑๐ ปญั ญาสมวาร ปณั ณาสมวาร ๑๐ สตมวาร ๑๐ พระที่น่งั ดสุ ติ มหาปราสาท ๑๐ พระทน่ี ง่ั พมิ านรัตยา ๑๒ พระชฎาห้ายอด ๑๒ พระสพุ รรณแผ่นจำ� หลกั ปริมณฑลฉลองพระพกั ตร์ ๑๓ เครื่องพระสุกำ� ๑๓ พระโกศ และพระลอง ๑๔ พระโกศจนั ทน ์ ๑๗ ถวายพระเพลงิ พระบุพโพ พระราชทานเพลงิ พระบุพโพ ๑๗ ริ้วขบวนพระบรมราชอสิ ริยยศ พระราชอสิ รยิ ยศ พระอิสรยิ ยศงานพระเมรุ ๑๘ นาลิวนั ๑๙ มณฑลพธิ ี ๑๙ พระเมรมุ าศ ๒๐ พระเมรทุ อง ๒๒ พระเบญจา ๒๒ พระจิตกาธาน ๒๒ ซ่าง สา้ ง สรา้ ง หรือ ส�ำซา่ ง ๒๔ หอเปล้อื ง ๒๕ พระท่นี ่งั ทรงธรรม ๒๖ ศาลาลกู ขนุ ๒๗ คด ๒๗ ทับเกษตร ๒๘ ทิม ๒๘ พลับพลายก ๒๙ ราชวตั ิ ๓๐ กรนิ ทรปกั ษา ไกรสรคาวี ดรุ งคไกรสร 4
เกย หรอื เกยลา ๓๐ ฉากบังเพลงิ ๓๑ ชาลา ๓๑ สัตว์หมิ พานต ์ ๓๒ พระมหาพชิ ัยราชรถ ๓๓ เวชยันตราชรถ ๓๔ ราชรถน้อย ๓๕ ราชรถรางปืน และราชรถปนื ใหญ ่ ๓๖ เกรนิ บันไดนาค ๓๗ พระยานมาศสามลำ� คาน พระยานมาศสามคาน ๓๘ พระทน่ี ัง่ ราเชนทรยาน ๓๙ พระเสลี่ยงกลบี บวั ๔๐ พระเสล่ียงแว่นฟ้า ๔๑ ฉตั ร ๔๒ นพปฎลมหาเศวตฉัตร ๔๓ สวดศราทธพรต ๔๓ เปิดเพลงิ ๔๔ เกบ็ พระบรมอฐั ิ พระอฐั ิ ๔๕ การเก็บรักษาพระบรมอัฐิ พระอฐั ิ ๔๖ พระโกศพระบรมอฐั ิ พระอัฐิ ๔๗ เดินสามหาบ ๔๘ พระบรมราชสรีรางคาร พระราชสรรี างคาร พระสรรี างคาร ๔๙ การลอยพระบรมราชสรีรางคาร พระราชสรีรางคาร พระสรรี างคาร ๔๙ การบรรจพุ ระบรมราชสรรี างคาร พระราชสรีรางคาร พระสรรี างคาร ๕๐ ศลิ าหน้าเพลิง ๕๐ พระภษู าโยง ๕๑ สดบั ปกรณ ์ ๕๑ พระพธิ ีธรรม ๕๑ การประโคมยำ่� ยาม ๕๓ วงปพี่ าทยน์ างหงส ์ ๕๔ เครอ่ื งสงั เค็ด ๕๔ ต้นกลั ปพฤกษ ์ ๕๕ คำ� ศัพท์ภาษาไทย - องั กฤษ และการอา่ นออกเสยี ง ๕๖ กหิ มี ไกรสรนาคา ไกรสรวาริน 5
6
คำ� ศัพทท์ เ่ี กี่ยวเน่อื งกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร การอา่ นพระปรมาภไิ ธย พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร ส�ำนักงานราชบัณฑติ ยสภา อธิบายวา่ สามารถอ่านได้ ๓ แบบ คือ อา่ น ตามจงั หวะหนกั เบาในภาษาไทย ซึ่งใชใ้ นราชส�ำนกั มาแต่โบราณ ๒ แบบ คือ ๑. พฺระ-บาด-สม-เด็ด-พฺระ-ปอ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด ม ะ - หิ ด - ต ะ - ล า - ทิ - เ บ ด - ร า - ม า - ทิ - บ อ - ดี จั ก - กฺ รี - น ะ - รึ - บ อ - ดิ น สะ-หยฺ า-มิน-ทฺรา-ทิ-ราด บอ-รม-มะ-นาด-บอ-พิด ๒. พฺระ-บาด-สม-เด็ด-พฺระ-ปะ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด ม ะ - หิ ด - ต ะ - ล า - ทิ - เ บ ด - ร า - ม า - ทิ - บ อ - ดี จั ก - กฺ รี - น ะ - รึ - บ อ - ดิ น สะ-หฺยา-มิน-ทฺรา-ทิ-ราด บอ-รม-มะ-นาด-บอ-พดิ หรอื จะอา่ นพระปรมาภไิ ธยตามหลกั การอา่ นคำ� สมาสในภาษาบาลี - สนั สกฤต ๓. พรฺ ะ-บาด-สม-เดด็ -พรฺ ะ-ปะ-ระ-มนิ -ทรฺ ะ-มะ-หา-พ-ู ม-ิ พน-อะ-ดนุ -ยะ-เดด ม ะ - หิ ด - ต ะ - ล า - ทิ - เ บ ด - ร า - ม า - ทิ - บ อ - ดี จั ก - กฺ รี - น ะ - รึ - บ อ - ดิ น สะ-หยฺ า-มิน-ทฺรา-ทิ-ราด บอ-รม-มะ-นาด-บอ-พิด 7 7
ค�ำศัพท์ที่เกย่ี วเนอ่ื งกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร สวรรคต เสดจ็ สวรรคต (สะ-หฺวัน-คด, สะ-เด็ด-สะ-หฺวัน-คด) มาจากค�ำว่า สวรรค์ (โลกของเทวดา, เมืองฟ้า) และ คต (ถึงแล้ว, ไปแล้ว) แปลวา่ ไปส่สู วรรคแ์ ล้ว ส่วนคำ� วา่ เสด็จ แปลวา่ ไป เปน็ ค�ำราชาศัพทใ์ ช้ ในความหมายวา่ “ตาย” ใชแ้ กพ่ ระมหากษัตริย์ สมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จ พระบรมราชินี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช พระบรมวงศ์ชั้น สมเด็จเจ้าฟ้าท่ีทรงได้รับพระราชทานเศวตฉัตร ๗ ชั้น หรือผู้ท่ีทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ เปน็ การเฉพาะ สวรรคาลยั (สะ-หวฺ ัน-คา-ไล) ตามรปู ศพั ท์ แปลวา่ ท่ีอย่ใู นแดนสวรรค์ มาจากคำ� วา่ “สวรรค์” (โลกของ เทวดา, เมืองฟา้ ) และ “อาลยั ” (ทอี่ ยู่, ท่พี ัก) เป็นการประกอบศัพทเ์ ช่นเดยี วกับค�ำ วา่ “เทวาลัย” “วิทยาลัย” ซึ่งราชาศัพท์เรียกการเสดจ็ สวรรคตของพระมหากษตั ริย์ และเจ้านายชัน้ สูงวา่ “เสด็จสู่สวรรคาลยั ” มีความหมายว่า เสด็จสแู่ ดนสวรรค์ อนึง่ พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ใหค้ วามหมายคำ� วา่ “สวรรคาลยั ” หมายถึง ตาย (ใชแ้ ก่เจา้ นายชั้นสูง) พระบรมฉายาลักษณ์ พระบรมรูป พระบรมรูปถ่าย หมายถงึ รปู ถา่ ยพระมหากษตั รยิ ์ พระบรมสาทสิ ลักษณ์ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ พระบรมรปู เขยี น หมายถงึ รูปเขยี นพระมหากษตั ริย์ อนง่ึ นายภาวาส บนุ นาค ไดเ้ คยอธบิ ายความหมายและทมี่ าของคำ� พระบรม ฉายาลกั ษณ์ และพระบรมฉายาสาทิสลกั ษณ์ วา่ “ทนี ้คี นทร่ี ู้ศัพท์แล้วมาคิดแตง่ ตัว ค�ำว่ารูปถ่ายเสียใหม่เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ ซ่ึงเพราะและเหมาะท้ังความหมาย ทงั้ ขนาดคำ� ใครฟงั กเ็ ขา้ ใจโดยไมต่ อ้ งเปดิ อภธิ านศพั ท์ แตท่ วา่ เมอ่ื พดู จากนั ตามธรรมดา กย็ งั พดู วา่ พระบรมรปู อยู่ ตอ่ มาในสมยั รชั กาลที่ ๖ มกี ารไปคน้ เอาคำ� สาทสิ ทแี่ ปลวา่ ความแมน้ ความเหมอื น ความคล้าย มาเติมเขา้ ใหเ้ พริศพริ้งย่ิงขนึ้ เป็นพระบรมฉายา สาทสิ ลกั ษณ.์ ..” 8 8
พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร 9
ค�ำศัพท์ที่เกย่ี วเน่ืองกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร สัตมวาร สตั ตมวาร (สัด-ตะ-มะ-วาน) วนั ท่คี รบ ๗, การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลครบ ๗ วนั ในการเสดจ็ สวรรคต ปณั รสมวาร (ปนั -นะ-ระ-สะ-มะ-วาน) วันทคี่ รบ ๑๕, การบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลครบ ๑๕ วนั ในการเสดจ็ สวรรคต ปัญญาสมวาร (ปัน-ยา-สะ-มะ-วาน) ปณั ณาสมวาร (ปนั -นา-สะ-มะ-วาน) วนั ที่ครบ ๕๐, การบำ� เพ็ญพระราชกศุ ลครบ ๕๐ วันในการเสดจ็ สวรรคต สตมวาร (สะ-ตะ-มะ-วาน) วนั ทคี่ รบ ๑๐๐, การบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลครบ ๑๐๐ วนั ในการเสดจ็ สวรรคต พระท่นี งั่ ดุสิตมหาปราสาท ตง้ั อยทู่ างดา้ นทศิ ตะวนั ตกของพระราชฐานชนั้ กลาง ในพระบรมมหาราชวงั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขน้ึ เปน็ ปราสาท ยกพื้นสงู รูปจตั ุรมุข หลังคาทรงปราสาท มมี ขุ ลด ๔ ชัน้ ท้งั ๔ ด้าน ยกเวน้ ดา้ นหน้า มมี ขุ เดจ็ เปน็ มขุ ลดอกี ชนั้ รวมดา้ นหนา้ เปน็ ๕ ชน้ั แตล่ ะชน้ั มงุ ดว้ ยกระเบอ้ื งเคลอื บสี พ้นื เขยี วขอบส้ม ประดบั ดว้ ยช่อฟา้ ใบระกา และนาคเบือนแทนหางหงส์ พระบัญชร และพระทวารมีซุ้มยอดมณฑปทุกองค์ ส่วนหน้าบันที่มุขทั้ง ๔ ทิศ เป็นไม้จ�ำหลัก ลายลงรักปิดทองรูปพระนารายณ์ทรงสุบรรณ บนพ้ืนกระจกสีน�้ำเงินล้อมรอบด้วย ลายกระหนกก้านขดเทพนม มุขด้านใต้ของพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาทเชื่อมต่อกับพระท่ีนั่งพิมานรัตยา ดว้ ยมขุ กระสัน ส่วนมขุ ดา้ นทศิ ตะวนั ออกมที างเดนิ เชอื่ มกบั พระทนี่ งั่ อาภรณพ์ โิ มกข์ ปราสาท และมขุ ด้านทศิ ตะวนั ตกมีทางเดินเชอ่ื มกับศาลาเปลอื้ งเครื่อง มีอฒั จันทร์ ทางขน้ึ พระทนี่ ง่ั สองขา้ งมขุ เดจ็ และทางขนึ้ ดา้ นทศิ ตะวนั ออกและทศิ ตะวนั ตกดา้ นละ ๑ แห่ง ซง่ึ สร้างเพิ่มเติมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว 10 10
คำ� ศัพท์ท่ีเก่ียวเนอ่ื งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทนี้ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นท่ีเสด็จออกว่าราชการ ตอ่ มาเม่ือพระบรมวงศ์ฝา่ ยในชั้นสูงส้ินพระชนมจ์ งึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหน้ �ำ พระศพมาตั้งประดิษฐานไว้บนพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาทเพ่ือบ�ำเพ็ญพระราชกุศล เชน่ สมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยาเทพสดุ าวดี สมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟา้ กรมพระศรสี ดุ ารกั ษ์ และสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงศรสี นุ ทรเทพ เป็นต้น คร้ันเม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต ได้เชิญพระบรมศพมาประดิษฐานบนพระมหาปราสาทแห่งนี้ ภายหลังจึงเป็น ธรรมเนยี มในการประดษิ ฐานพระบรมศพพระมหากษตั รยิ พ์ ระองคต์ ่อ ๆ มา รวมท้งั พระอัครมเหสี และบางโอกาสก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ ตง้ั พระบรมศพ พระศพพระบรมวงศช์ ั้นสูงบางพระองค์ดว้ ย 11 11
คำ� ศัพทท์ เ่ี กีย่ วเนอื่ งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร พระทน่ี ่ังพิมานรัตยา ตง้ั อยทู่ างทศิ ใตข้ องพระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท โดยเชอ่ื มตอ่ ดว้ ยมขุ กระสนั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อม กับพระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท เป็นอาคารทรงไทยยกพ้ืนสูง ก่ออิฐถือปูนทาสีขาว ตวั อาคารทอดยาวตามทศิ เหนอื - ใต้ มเี ฉลยี งรอบ ๓ ดา้ น คอื เฉลยี งดา้ นทศิ ตะวนั ออก และทิศตะวันตกอยู่ในระดับพื้นดิน พื้นปูด้วยกระเบื้องดินเผาสีแดง ส่วนเฉลียง ด้านทิศใต้ยกพ้ืนสูงต่อกับชานหน้าเรือนจันทร์ ท่ีเฉลียงน้ีปูพ้ืนด้วยหินอ่อน หลังคา ลด ๓ ชั้น มุงดว้ ยกระเบ้ืองเคลือบสีเขียว ประดบั ชอ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุง้ และเชงิ ชาย เดิมพระที่นั่งพิมานรัตยาเป็นที่บรรทมของพระมหากษัตริย์และเจ้านาย ชนั้ สงู ในบางโอกาส ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ใชเ้ ปน็ สถานท่ี ส�ำหรับชุมนุมสมาคม และพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยยศแก่พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพารฝ่ายใน และใช้เป็นที่สรงน�้ำพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ปน็ ทส่ี รงนำ้� พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร มหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้ สมเดจ็ พระนางเจา้ รำ� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ใี นรชั กาลที่ ๗ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และพระศพสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคตก็ได้มีการสรงน�้ำพระบรมศพ ณ พระทีน่ ่งั องค์น้ีตามโบราณราชประเพณี พระชฎาหา้ ยอด เป็นพระชฎาส�ำหรับพระมหากษัตริย์ทรงในโอกาสส�ำคัญแทน พระมหาพชิ ยั มงกฎุ ซง่ึ ในพระราชพธิ พี ระบรมศพพระมหากษตั รยิ บ์ างพระองคไ์ ดเ้ ชญิ พระชฎาน้ีถวายทรงพระบรมศพ ภายหลังจากเชิญพระบรมศพประดิษฐานใน พระลองใน หรือวางไวข้ า้ งพระเศียรในกรณีท่ีประดษิ ฐานพระบรมศพลงในหบี 12 12
ค�ำศพั ทท์ ี่เกีย่ วเน่ืองกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร อนง่ึ ในจดหมายเหตพุ ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ระบุว่า “ทรงพระมาลาสุกร�ำตาดทองมีระบายสองชั้น” ส�ำหรับการพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เจา้ พนกั งานไดถ้ วาย พระชฎาหา้ ยอดแดส่ มเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราช กมุ าร เพอ่ื ทรงวางขา้ งพระเศียรพระบรมศพ แลว้ พระราชทานคืนเจา้ พนกั งาน สว่ น การพระศพพระบรมวงศานุวงศล์ งมาถึงศพผไู้ ดร้ บั พระราชทานโกศจะพระราชทาน “ชฎาพอก” ซึ่งท�ำจากผ้าหรือกระดาษลักษณะอย่างลอมพอก ประดับดอกไม้ไหว ทำ� ด้วยทองคำ� หรอื เงนิ ตามฐานันดรศักด์ิ พระสพุ รรณแผน่ จ�ำหลักปรมิ ณฑลฉลองพระพกั ตร์ เป็นค�ำที่ปรากฏในจดหมายเหตุ พ ร ะ บ ร ม ศ พ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ เลิศหล้านภาลัย หมายถึง แผ่นทองค�ำดุน ส�ำหรับถวายปิดพระพักตร์พระบรมศพ พระศพก่อนเชิญพระบรมศพ พระศพ ประดษิ ฐานในพระโกศพระบรมศพ พระโกศ พระศพ หีบพระบรมศพ หีบพระศพ ซึ่ ง ใ น พ ร ะ ร า ช พิ ธี พ ร ะ บ ร ม ศ พ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระปรมินทรมหา ภ“แูมผิพ่นลทออดงุลคยำ� เจดำ� ชหลบกั รลมายนปาถดิ บพพระิตพรกั ตเรรีย์”กว่าทใ่ี ช้ในกแารผพน่ รทะอบงรคมำ� ศจพ�ำหสลมกัเดล็จาพยประดิ นพารงะเจพา้ ักรต�ำรไพ์ พรรณี พระบรมราชนิ ีในรชั กาลท่ี ๗ เครอื่ งพระสุกำ� เป็นเคร่ืองประกอบ เช่น ผ้าขาว ด้ายดิบ กระดาษฟาง ที่เจ้าพนักงาน ภูษามาลาใช้ในการถวายพระสุก�ำ (การห่อและมัดตราสัง) พระบรมศพ พระศพ กอ่ นเชิญประดษิ ฐานในพระบรมโกศ พระโกศ 13 13
ค�ำศพั ทท์ ี่เก่ียวเนอื่ งกับงานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัวประดษิ ฐาน เหนอื พระแทน่ สุวรรณเบญจดล (พระแท่นเบญจา) บนพระที่นง่ั ดสุ ิตมหาปราสาท พระโกศ และพระลอง เปน็ ภาชนะเครอื่ งสงู มรี ปู ทรงเปน็ ทรงกรวยยอดแหลมใชบ้ รรจพุ ระบรมศพ พระศพ ศพ เรียกว่า “พระบรมโกศ” “พระโกศ” “โกศ” “พระลอง” และ “ลอง” มี ๒ ชัน้ ในสมยั อยุธยาเรยี กช้ันนอกวา่ “ลอง” สว่ นในสมยั รัตนโกสนิ ทรถ์ งึ รชั สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เรียกชั้นนอกว่า “โกศ” และกลับมาเรียก วา่ “ลอง” อีกครงั้ หน่ึง ภาชนะทบี่ รรจพุ ระบรมศพ พระศพ ศพ ช้ันนอกนี้ ทำ� ด้วย โครงไม้หุ้มทองปิดทอง ประดับกระจกและอัญมณี ส่วนช้ันใน เรียกสลับไปมากับ ชนั้ นอกดงั กลา่ วขา้ งตน้ ทำ� ดว้ ยเหลก็ ทองแดง หรอื เงนิ ปดิ ทอง อยา่ งไรกด็ ี ในบางครงั้ เรียกรวมกันท้ังชั้นนอกและช้ันใน ว่า “โกศ” ซ่ึงมีขนาดและรูปทรงต่างกันไปตาม ล�ำดับของพระอิสรยิ ยศ เชน่ พระโกศทองใหญ่ พระโกศทองนอ้ ย พระโกศไมส้ บิ สอง โกศแปดเหลย่ี ม เปน็ ต้น ปจั จบุ ันเรยี กช้นั นอกวา่ พระโกศ ช้ันในเรยี กว่า พระลอง, พระลองใน 14 14
พระโกศทองใหญป่ ระดษิ ฐานเหนือพระแท่นสุวรรณเบญจดล (พระแท่นเบญจา) ในพระราชพิธพี ระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร บนพระท่นี ั่งดสุ ิตมหาปราสาท 15
พระโกศจนั ทนใ์ นงานพระราชพิธีพระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สริ ิโสภาพณั ณวดี 16
ค�ำศัพทท์ ่ีเกยี่ วเนอ่ื งกบั งานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระโกศจนั ทน์ สร้างจากไม้จันทน์เพื่อใช้ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระราชทาน เพลิงพระศพ เม่ือเชิญพระโกศพระบรมศพ พระศพ ส่วนนอกเปล้ืองออกเหลือแต่ พระลองใน เจา้ พนกั งานจะนำ� พระโกศจนั ทนเ์ ขา้ ประกอบพระลองใน ซง่ึ ประดษิ ฐาน บนตะแกรงเหล็กช่วงรัดเอวของพระจติ กาธานเพอื่ ถวายพระเพลิง ถวายพระเพลงิ พระบพุ โพ พระราชทานเพลิงพระบพุ โพ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติในข้ันตอนของการพระราชพิธีพระบรมศพและ พระศพ ตง้ั แตอ่ ดตี มา คอื การถวายพระเพลงิ พระราชทานเพลงิ พระบพุ โพ (นำ�้ หนอง หรือน�้ำเหลือง) ตลอดจนเคร่ืองพระสุก�ำพระบรมศพ พระศพที่เจ้าพนักงานถวาย ชำ� ระกอ่ นการออกพระเมรุ โดยจดั ขน้ึ ทพ่ี ระเมรพุ ระบพุ โพซง่ึ สรา้ งขนึ้ เปน็ การเฉพาะ ณ พระอารามตา่ ง ๆ เชน่ วดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎ์ิ วดั สระเกศ วดั ราชาธวิ าส เปน็ ตน้ ขน้ั ตอนการถวายพระเพลงิ พระราชทานเพลงิ พระบพุ โพ คอื การตงั้ กระทะขนาดใหญ่ เคยี่ วพระบพุ โพตลอดจนเครอ่ื งพระสกุ ำ� พรอ้ มกบั ใสเ่ ครอื่ งหอมตา่ ง ๆ จนกระทงั่ แหง้ ไป ธรรมเนียมดังกล่าวได้ถูกยกเลิกในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ดว้ ยพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มพี ระราชดำ� ริ ว่าธรรมเนียมดังกล่าวเป็นส่ิงล้าสมัย อย่างไรก็ตาม การถวายพระเพลิงพระบุพโพ ของพระมหากษัตริย์ตามแบบโบราณยังปรากฏในงานพระเมรุพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธบิ ดินทร ครนั้ ตอ่ มาในงานพระบรมศพสมเดจ็ พระนางเจา้ รำ� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ในรชั กาลท่ี ๗ ไดเ้ ชญิ พระบพุ โพตลอดจนเครอื่ งพระสกุ ำ� มาถวายพระเพลงิ ทเ่ี มรหุ ลวง หน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส แทนการสร้างพระเมรุผ้าขาวแบบ โบราณ การพระราชทานเพลงิ พระบพุ โพครงั้ หลงั สดุ จดั ขน้ึ ในพระราชพธิ พี ระราชทาน เพลิงพระศพสมเด็จพระเจา้ ภคินีเธอ เจ้าฟา้ เพชรรตั นราชสุดา สริ โิ สภาพัณณวดี 17 17
คำ� ศพั ทท์ ีเ่ กยี่ วเนอื่ งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ร้ิวขบวนพระราชพิธพี ระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินเี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสดุ า สิริโสภาพณั ณวดี ร้ิวขบวนพระบรมราชอิสริยยศ พระราชอิสริยยศ พระอิสริยยศ งานพระเมรุ รว้ิ ขบวนพระบรมราชอิสริยยศ พระราชอสิ ริยยศ พระอิสริยยศเปน็ เคร่อื ง ประกอบส�ำคัญยิ่งของการพระราชพิธีออกพระเมรุ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ หรือพระราชทานเพลิงพระศพ ตลอดการพระราชพิธีมีการจัดริ้วขบวนหลายช่วง ส่วนประกอบหลักของแต่ละช่วงคือ ราชรถ ราชยาน ที่ใช้ในโอกาสและหน้าที่ แตกต่างกันไป รูปแบบและล�ำดับขบวนแห่ในงานออกพระเมรุพระบรมศพ ทใ่ี ชใ้ นปจั จบุ นั ยดึ ตามแบบแผนครงั้ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ล�ำดับของรวิ้ ขบวนแห่มี ๖ ขบวน ดงั น้ี ขบวนทห่ี นง่ึ เชญิ พระโกศจากพระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาทเพอ่ื ไปประดษิ ฐาน บนพระมหาพิชัยราชรถทห่ี น้าพลับพลายกวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม ขบวนทส่ี อง เชญิ พระโกศทองใหญจ่ ากหนา้ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ไปยังพระเมรุมาศ มณฑลพิธที ้องสนามหลวง 18 18
ค�ำศัพทท์ เี่ กยี่ วเนื่องกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ขบวนท่ีสาม เชิญพระโกศเวียนพระเมรุมาศ โดยเชิญพระบรมศพ ลงจากพระมหาพิชัยราชรถมาประดิษฐานบนราชรถปืนใหญ่ หรือพระยานมาศ สามล�ำคาน เพ่ือเข้ามาแหเ่ วยี นรอบพระเมรุมาศ ๓ รอบ ขบวนที่ส่ี เชิญพระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารจากพระเมรุมาศ ณ มณฑลพธิ ที อ้ งสนามหลวงเข้าสู่พระบรมมหาราชวงั โดยพระบรมอัฐทิ รงพระทน่ี ัง่ ราเชนทรยาน พระบรมราชสรีรางคารทรงพระที่นั่งราเชนทรยานน้อยองค์รอง มขี บวนพระบรมราชอสิ รยิ ยศเตม็ เหมือนขบวนทีห่ นง่ึ ขบวนทห่ี า้ เชญิ พระบรมอฐั จิ ากพระทน่ี งั่ ดสุ ติ มหาปราสาทขนึ้ ประดษิ ฐาน ณ พระวมิ าน พระที่น่งั จักรมี หาปราสาท โดยพระบรมอฐั ทิ รงพระทนี่ ัง่ ราเชนทรยาน ขบวนพระบรมราชอสิ ริยยศเหมอื นดังขบวนทสี่ ่ีแต่แบบอยา่ งยอ่ ขบวนท่หี ก เชญิ พระบรมราชสรรี างคารไปบรรจุ ณ สถานที่ที่ไดก้ ำ� หนดไว้ นาลิวัน หมายถึง พราหมณ์สยายผมเดนิ ตามขบวนเชญิ พระบรมศพ พระศพ มณฑลพธิ ี หมายถงึ บรเิ วณทใี่ ชป้ ระกอบพระราชพธิ ี พธิ ี ซงึ่ มสี ญั ลกั ษณ์ หรอื สงิ่ กอ่ สรา้ ง เปน็ เครอื่ งหมายแสดงอาณาบรเิ วณหรอื ขอบเขตทแ่ี นช่ ดั เชน่ มณฑลพธิ ที อ้ งสนามหลวง ใชใ้ นการประกอบพระราชพธิ ตี า่ ง ๆ รวมทงั้ พระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ และ พระราชทานเพลงิ พระศพ มาตงั้ แตค่ รง้ั รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช จงึ เรยี กวา่ “ทงุ่ พระเมร”ุ โดยองคป์ ระกอบของสถาปตั ยกรรมและสงิ่ ปลกู สรา้ งภายในมณฑลพธิ พี ระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ และพระราชทานเพลงิ พระศพมดี งั น้ี องคพ์ ระเมรมุ าศหรอื พระเมรสุ รา้ งขนึ้ ตรงกลางของมณฑลพธิ ตี ามคติ การเปน็ ศนู ยก์ ลางของโลกและจกั รวาล รายลอ้ มดว้ ยพระทน่ี งั่ ทรงธรรม ศาลาลกู ขนุ พลบั พลายก หอเปลอื้ ง ซา่ ง ทบั เกษตร ทมิ คด และประดบั สตั วห์ มิ พานต์ กนิ นร กนิ รี รอบพระเมรมุ าศหรอื พระเมรุ ชน้ั นอกสดุ ลอ้ มรอบดว้ ยราชวตั ซิ ง่ึ เปน็ แนวรว้ั กำ� หนด ขอบเขตมณฑลพธิ ี ประดบั ตกแตง่ ดว้ ยฉตั รและธงเปน็ ระยะ 19 19
คำ� ศพั ทท์ เี่ กย่ี วเน่อื งกบั งานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รปู แบบพระเมรมุ าศพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระเมรุมาศ (พรฺ ะ-เม-รุ-มาด) คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราวสร้างขึ้นบริเวณท้องสนามหลวง เพื่อใช้ ในการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระมหากษัตริย์และเจ้านายชั้นสูง สว่ นของพระบรมวงศานวุ งศ์เรียกว่า “พระเมร”ุ (พฺระ-เมน) และของสามัญชนเรียก วา่ “เมร”ุ (เมน) การสร้างพระเมรมุ าศสร้างขน้ึ ตามความเช่ือเรอ่ื งโลกและจักรวาล ลกั ษณะโดยรวมของพระเมรมุ าศ คอื มหี ลงั คาเปน็ ยอด มรี ว้ั ลอ้ มรอบ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ์ ทรงพระวนิ จิ ฉัยวา่ ““เมรุ” เห็นจะได้ช่ือมาแต่ปลูกปราสาทอันสูงใหญ่ขึ้นท่ามกลาง ปลกู ปราสาทนอ้ ยขนึ้ ตามมมุ ทกุ ทศิ มโี ขลนทวาร (โคปรุ ะ) ชกั ระเบยี งเชอื่ ม ถึงกัน ปักราชวัติล้อมเป็นชั้น ๆ มีลักษณะดุจเขาพระสุเมรุ ต้ังอยู่กลาง มสี ตั ตบริภณั ฑ์ล้อม จงึ เรียกว่า พระเมรุ ทีหลงั ทำ� ย่อลง แม้ไมม่ ีอะไรล้อม เหลอื แตย่ อดแหลม ๆ กค็ งเรียกวา่ เมร”ุ 20 20
พระเมรุในการพระราชพธิ ีพระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจา้ ภคนิ ีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสดุ า สริ ิโสภาพณั ณวดี 21
คำ� ศัพท์ท่ีเกย่ี วเน่ืองกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร พระเมรทุ อง (พฺระ-เมน-ทอง) ต้ังอยู่ภายในพระเมรุมาศ สร้างเป็นรูปบุษบกสวมพระเบญจา อาจจะท�ำ ด้วยดบี กุ ทองอังกฤษ ทองน้�ำตะโก ลงรักปดิ ทอง หรือหุม้ ดว้ ยทองค�ำจริง ใชใ้ นการ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นคร้ังสุดท้ายตามโบราณราช ประเพณี พระเบญจา เปน็ พระแทน่ ทำ� เปน็ ฐานซอ้ นขน้ึ ไป ๕ ชนั้ บางครงั้ ทำ� เปน็ ๒ ชน้ั ๓ ชน้ั หรอื ๔ ชน้ั ขนึ้ อยกู่ บั ขนาดทตี่ ง้ั โดยทวั่ ไปมกั ทำ� ขนึ้ ๔ ชนั้ เมอ่ื นบั รวมทง้ั ฐานหรอื ทต่ี งั้ ดว้ ย จึงเปน็ ๕ ชนั้ ใชว้ างพระบรมโกศ พระโกศ หรอื วางเครอ่ื งประกอบพระราชอสิ รยิ ยศ เจา้ นายชนั้ สงู และพระสงฆท์ รงสมณศกั ดิ์ หรอื สำ� หรบั ประดษิ ฐานบษุ บกพระพทุ ธรปู พระจติ กาธาน หมายถึง แท่นทีเ่ ผาศพ ทั่วไปเรยี กว่า “เชงิ ตะกอน” ใชเ้ ปน็ ทส่ี ำ� หรับถวาย พระเพลงิ พระบรมศพบนพระเมรุมาศ หรอื พระราชทานเพลงิ พระศพบนพระเมรุ 22 22
พระจติ กาธานทปี่ ระดับเคร่ืองสดเรียบรอ้ ยแล้วในงานพระราชพิธพี ระราชทานเพลิงพระศพ สมเดจ็ พระเจา้ ภคินเี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สริ ิโสภาพณั ณวดี 23
คำ� ศพั ทท์ ีเ่ กย่ี วเนอ่ื งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ซา่ งในบรเิ วณพระเมรุ งานพระราชพิธพี ระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจา้ พีน่ างเธอ เจ้าฟา้ กลั ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ซา่ ง ส้าง สร้าง หรือ ส�ำซ่าง เป็นส่ิงปลูกสร้างรูปทรงส่ีเหล่ียมดาดหลังคา สร้างข้ึนตามมุมท้ังส่ีของ พระเมรุมาศ พระเมรุ ใช้เป็นที่ส�ำหรับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมตลอดงาน พระเมรุ นับต้ังแต่พระบรมศพ พระศพประดิษฐานบนพระจิตกาธาน จนกว่า จะถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระราชทานเพลงิ พระศพแลว้ เสรจ็ โดยมพี ระพธิ ธี รรม ๔ ส�ำรับ นั่งอยูป่ ระจำ� ซ่าง และจะผลัดกนั สวดทลี ะซา่ งเวยี นกันไป 24 24
ค�ำศพั ท์ท่ีเกี่ยวเน่อื งกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร หอเปลอ้ื งในบริเวณพระเมรุ งานพระราชพธิ ีพระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจา้ ฟ้ากลั ยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ หอเปลือ้ ง เปน็ สงิ่ ปลกู สรา้ งขนาดเลก็ ชน้ั เดยี วหลงั คาจว่ั เปน็ ทเ่ี กบ็ พระโกศพระบรมศพ พระโกศพระศพ และเครอื่ งประกอบ หลังจากที่เปลอ้ื งพระโกศพระบรมศพ พระศพ ออกจากพระลองขึ้นประดิษฐานบนพระจิตกาธานแล้ว และเป็นที่เก็บเคร่ืองใช้ เบ็ดเตล็ด เช่น ฟืน ดอกไมจ้ นั ทน์ ขันนำ�้ ซ่ึงจะตอ้ งตั้งน�ำ้ ส�ำหรบั เลีย้ งเพลิงเมื่อเวลา ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระราชทานเพลิงพระศพ 25 25
คำ� ศัพทท์ เี่ กย่ี วเนื่องกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร พระที่น่งั ทรงธรรมในบริเวณพระเมรุ งานพระราชพธิ ีพระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินเี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สริ ิโสภาพัณณวดี พระทนี่ ง่ั ทรงธรรม เปน็ ทสี่ ำ� หรบั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และพระบรมวงศานวุ งศป์ ระทบั ทรงธรรมในพระราชพิธีบ�ำเพ็ญพระราชกุศลออกพระเมรุพระบรมศพ พระศพ และเป็นท่สี ำ� หรับคณะองคมนตร ี คณะรฐั มนตรี ขา้ ราชการช้นั ผู้ใหญ่ท้ังฝา่ ยทหาร พลเรอื น สมาชิกรฐั สภา ตลอดจนคณะทตู านุทตู เฝา้ ทลู ละอองธุลพี ระบาท 26 26
คำ� ศพั ทท์ ี่เก่ยี วเนือ่ งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ศาลาลกู ขนุ ในบริเวณพระเมรุ งานพระราชพธิ ีพระราชทานเพลงิ พระศพ สมเดจ็ พระเจา้ ภคินีเธอ เจา้ ฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สิรโิ สภาพัณณวดี ศาลาลูกขนุ เป็นสิ่งปลูกสร้างลักษณะโถงทรงไทยช้ันเดียว ใช้เป็นที่ส�ำหรับข้าราชการ ชั้นผใู้ หญเ่ ฝ้าฯ รับเสดจ็ และรว่ มพระราชพิธี คด สร้างขึ้นเพ่ือแสดงขอบเขตมณฑลพิธี มักสร้างเป็นระเบียงล้อมรอบ พระเมรมุ าศ พระเมรุ ใชเ้ ป็นที่น่ังของเจา้ หน้าท่ผี ้มู าร่วมงาน 27 27
คำ� ศัพทท์ เ่ี กย่ี วเนอ่ื งกับงานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทับเกษตรในบรเิ วณพระเมรุ งานพระราชพิธพี ระราชทานเพลงิ พระศพ สมเดจ็ พระเจ้าภคนิ เี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สริ โิ สภาพัณณวดี ทบั เกษตร เป็นอาคารโถง หลังคาจั่ว ประดับตกแต่งลวดลายไทย ใช้เป็นท่ีนั่งพัก สำ� หรบั ข้าราชการท่มี าเฝ้าฯ รบั เสดจ็ และร่วมพระราชพธิ ี ทมิ เปน็ ทพ่ี กั ของพระสงฆ์ แพทยห์ ลวง เจา้ พนกั งาน และเปน็ ทปี่ ระโคมปพ่ี าทย์ ประกอบพิธี สร้างติดแนวร้ัวราชวัติทั้ง ๔ ทิศ มีลักษณะเป็นส่ิงปลูกสร้างชั้นเดียว ดา้ นหนา้ เปดิ โล่ง หลังคาแบบปะร�ำคอื หลังคาแบน 28 28
คำ� ศัพทท์ ีเ่ ก่ยี วเน่อื งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พลับพลายก เป็นพลับพลาโถงใช้ส�ำหรับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงรอรับส่งพระบรมศพ พระศพ ข้ึนราชรถ ท้ังนี้มีการสร้างพลับพลายกหน้า วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ตง้ั อยมู่ มุ กำ� แพงวดั เยอ้ื งหนว่ ยบญั ชาการรกั ษาดนิ แดน พลับพลายกหน้าพระที่น่ังสุทไธสวรรย์ปราสาท และพลับพลายกสนามหลวง ดา้ นหน้าทางเข้ามณฑลพิธีทอ้ งสนามหลวง พลบั พลายกท้องสนามหลวงในบริเวณพระเมรุ งานพระราชพธิ พี ระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจา้ ภคินเี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพัณณวดี 29 29
คำ� ศัพทท์ เี่ ก่ยี วเนอื่ งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ราชวัติ เป็นแนวรั้วก�ำหนด ข อ บ เข ต ป ริ ม ณ ฑ ล ข อ ง พระเมรุมาศและพระเมรุทั้ง ๔ ด้าน สร้างต่อเน่ืองไปกับ ทิมและทับเกษตร ตกแต่ง ด้วยฉัตรและธง บางทีเรียก รวมกันว่า “ราชวตั ฉิ ัตรธง” ราชวตั ใิ นบรเิ วณพระเมรุ งานพระราชพธิ พี ระราชทานเพลงิ พระศพ สมเดจ็ พระเจ้าภคนิ ีเธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา เกย หรอื เกยลา สริ ิโสภาพณั ณวดี เป็นแท่นฐานยกพื้นสี่เหลี่ยมย่อมุม มีรางเล่ือนส�ำหรับเชิญพระโกศ พระบรมศพ หรือพระโกศพระศพขึ้นประดิษฐานบนพระยานมาศ ต้ังอยู่ด้านหน้า ประตูก�ำแพงแก้ว ด้านทิศตะวันตกของพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาทในพระบรม มหาราชวัง มีบันไดขึ้นลง ๓ ด้าน คือ ด้านตะวันออกเป็นท่ีเชิญพระบรมโกศ พระโกศจากพระที่น่ังดุสิตมหาปราสาทขึ้นเกย ด้านเหนือและด้านใต้ส�ำหรับ เจ้าพนักงาน ส่วนด้านตะวันตกเป็นท่ีเทียบพระยานมาศสามล�ำคาน เพ่ือเชิญ พระบรมโกศ หรือพระโกศขนึ้ ประดิษฐาน เกยลาหน้าประตูกำ� แพงแก้วดา้ นทิศตะวันตก พระทีน่ ่ังดุสิตมหาปราสาทในงานพระราชพธิ ี พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสดุ า สิริโสภาพณั ณวดี 30 30
คำ� ศัพท์ท่เี ก่ยี วเน่อื งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ฉากบงั เพลิงประดับอฒั จันทรท์ างขึ้นลงพระเมรุ งานพระราชพธิ พี ระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ ฉากบงั เพลิง เป็นเคร่ืองกั้นทางข้ึนลงพระเมรุมาศ พระเมรุ ในงานพระบรมศพ พระศพจะเขียนเป็นรูปเทวดา มีลักษณะเป็นฉากพับได้ติดไว้กับเสาทั้ง ๔ ด้าน บริเวณบันไดข้ึนลงพระเมรุมาศ พระเมรุ เพื่อบังตาขณะปฏิบัติการถวายพระเพลิง พระบรมศพ พระศพ และใชค้ วบคมุ ทศิ ทางลม ชาลา ส่วนของพื้นดินท่ียกระดับและปูพ้ืนผิวเรียบด้วยวัสดุปูพ้ืน ชาลามักท�ำ เป็นบริเวณกว้างและเช่ือมต่อกับอาคาร หรืออยู่ระหว่างหมู่อาคาร บางครั้งเรียกว่า “ชาน” 31 31
ค�ำศพั ท์ท่ีเก่ียวเน่ืองกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สัตวห์ มิ พานต์ เป็นรูปสัตว์ท่ีประดับตกแต่ง รายรอบพระเมรุมาศ พระเมรุ ตามคติ เรื่องโลกและจักรวาล ซึ่งมีเขาพระสุเมรุ เป็นศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยเขา สัตบริภัณฑ์ และดาษด่ืนด้วยสิงสาราสัตว์ นานาพรรณ สมัยก่อนจึงจัดท�ำรูปสัตว์ รายรอบพระเมรุมาศและพระเมรุ รวมทั้ง มกี ารผกู หนุ่ รปู สตั วเ์ ขา้ ขบวนแหพ่ ระบรมศพ และพระศพไปสพู่ ระเมรมุ าศ พระเมรดุ ว้ ย ดุรงคไกรสร เปน็ หนึ่งในสตั วห์ ิมพานต์ประดับพระเมรุ สมเดจ็ พระเจา้ ภคินเี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพณั ณวดี กินนร กนิ รี ประดบั พระเมรุ สมเด็จพระเจา้ ภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสดุ า สิรโิ สภาพณั ณวดี 32 32
คำ� ศพั ทท์ ่ีเกี่ยวเน่อื งกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร พระมหาพชิ ัยราชรถ เกบ็ รกั ษาอยู่ในโรงราชรถ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร พระมหาพชิ ยั ราชรถ เป็นราชรถ ท�ำด้วยไม้สักแกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก ใช้ก�ำลังพลฉุด พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๒๓๓๘ เพ่ือเชิญพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ออกพระเมรุในการถวายพระเพลิงเม่ือ พ.ศ. ๒๓๓๙ จากนั้นจึงถือเป็นราช ประเพณที ีใ่ ชพ้ ระมหาพิชัยราชรถเชญิ พระบรมศพพระมหากษตั รยิ ์ พระราชนิ ี และ พระบรมวงศ์ช้ันเจา้ ฟ้า 33 33
คำ� ศพั ท์ท่ีเก่ยี วเน่อื งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เวชยนั ตราชรถ เก็บรักษาอยใู่ นโรงราชรถ พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร เวชยนั ตราชรถ เปน็ ราชรถ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างข้ึนและใช้เชิญพระศพสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ คู่กับพระมหาพิชัยราชรถซึ่งเชิญพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรม พระยาเทพสุดาวดี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๒ หลังจากน้ันจึงใช้เวชยันตราชรถเป็นราชรถ รองในการพระราชพิธีพระบรมศพพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อมาจนถึงงาน พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังเมื่อพระมหา พิชัยราชรถเกิดช�ำรุด จึงใช้เวชยันตราชรถเป็นราชรถทรงพระบรมศพ ในงาน พระเมรุพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และสมเด็จพระนางเจ้า ร�ำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ โดยออกหมายก�ำหนดการเรียกว่า “พระมหาพิชยั ราชรถ” และไมม่ รี าชรถรองในรวิ้ ขบวน 34 34
คำ� ศพั ท์ทเี่ ก่ยี วเน่ืองกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ราชรถน้อย เป็นราชรถ มีลักษณะคล้ายพระมหาพิชัยราชรถ และเวชยันตราชรถ คือมีส่วนองค์ราชรถทแี่ กะสลกั ลงรกั ปิดทองประดับกระจก คานทยี่ ่ืนออกมาเปน็ รปู นาคราช บนราชรถมีบุษบกตง้ั อยู่เช่นเดียวกนั เพียงแตม่ ขี นาดเล็กกว่า ราชรถนอ้ ย องคท์ ห่ี นง่ึ ใชเ้ ปน็ ราชรถทสี่ มเดจ็ พระสงั ฆราชประทบั ทรงอา่ นพระอภธิ รรมนำ� ขบวน พระมหาพชิ ยั ราชรถ ราชรถองคท์ สี่ อง เปน็ ราชรถโยงพระภษู าจากพระโกศพระบรมศพ จากน้ันเป็นราชรถน้อยองค์ที่สาม ใช้เป็นราชรถส�ำหรับพระบรมวงศ์ผใู้ หญป่ ระทบั เพื่อทรงโปรยทานพระราชทานแก่ประชาชนท่ีมาเฝ้าถวายบังคมพระบรมศพ ตามทางสพู่ ระเมรมุ าศ ราชรถนอ้ ย เก็บรักษาอยู่ในโรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร 35 35
ค�ำศพั ทท์ เ่ี ก่ยี วเนอื่ งกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ราชรถรางปืน และราชรถปนื ใหญ่ เป็นราชรถท่ีเชิญพระโกศพระบรมศพ พระศพ ของพระมหากษัตริย์และ พระบรมวงศ์ ที่ทรงรับราชการทหารเม่ือคร้ังด�ำรงพระชนม์ชีพ แทนพระยานมาศ สามล�ำคานตามธรรมเนียมเดิม จากพระบรมมหาราชวังหรือวังของพระบรมวงศ์ พระองคน์ นั้ ๆ สพู่ ระเมรมุ าศหรอื พระเมรุ และแหอ่ ตุ ราวฏั รอบพระเมรมุ าศ ๓ รอบ ซึ่งเป็นธรรมเนียมใหม่เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการพระราชพิธพี ระราชทานเพลงิ พระศพจอมพล พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวง นครไชยศรีสุรเดช เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๙ เปน็ คร้ังแรก และคร้ังหลงั สดุ ในการพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดินทร เมอื่ พ.ศ. ๒๔๙๓ ในหมายก�ำหนดการพระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพ เรียกราชรถน้ี ว่า “ราชรถปืนใหญ่รางเกวียน” ส่วนในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพเรียก วา่ “รถปืนใหญ่” “เกวียนรางปืน” “รถปืนใหญร่ างเกวียน” “รางเกวียนปืนใหญ่” ขบวนเชญิ พระโกศทองน้อยทรงพระศพ สมเดจ็ พระอนชุ าธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวธุ กรมหลวงนครราชสมี า ด้วยรถรางเกวียนปืนใหญ่ 36 36
คำ� ศพั ทท์ เี่ กย่ี วเน่ืองกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เกรนิ บนั ไดนาค เก็บรกั ษาอยูใ่ นโรงราชรถ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เกรินบนั ไดนาค คือ อุปกรณ์ที่ใช้เชิญพระโกศพระบรมศพขึ้นหรือลงจากราชรถ และ พระเมรุมาศแทนการใช้น่ังร้านไม้ต่อยกสูงแบบสมัยโบราณ ที่ใช้ก�ำลังคนยกขึ้นลง ซ่ึงมีความยากล�ำบาก ไม่สะดวก เกรินมีลักษณะเป็นรางเล่ือนข้ึนลงด้วยกว้านหมุน โดยมีแท่นที่วางพระโกศเพื่อสะดวกในการเคล่ือนย้ายขึ้นหรือลง ลักษณะเป็นแท่น สี่เหลี่ยม ขอบฐานแกะสลักลายปิดทองประดับกระจก ท้ายเกรินเป็นพ้ืนลดระดับ ลงมา ซึ่งเป็นที่ส�ำหรับเจ้าพนักงานภูษามาลาขึ้นน่ังประคองพระโกศพระบรมศพ มีลักษณะคล้ายท้ายส�ำเภา ด้านข้างบุผ้าตาดทอง มีราวทั้ง ๒ ข้างตกแต่งเป็นรูป พญานาค จึงเรียกว่า “เกรินบันไดนาค” คิดค้นโดยสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรม พระศรีสุดารักษ์ สร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๒๓๕๔ ใช้ครั้งแรกในงานพระเมรุพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พ.ศ. ๒๓๕๕ 37 37
ค�ำศพั ท์ทเี่ ก่ียวเน่อื งกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร พระยานมาศสามลำ� คาน พระยานมาศสามคาน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเพ่ือใช้เชิญ พระโกศพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็นคร้ังแรก เปน็ พระราชยานทม่ี คี านหามขนาดใหญ่ ทำ� ดว้ ยไมจ้ ำ� หลกั ลวดลายลงรกั ปดิ ทอง มพี นกั โดยรอบ ๓ ดา้ น และมีคานหาม ๓ คาน จงึ เรยี กว่า พระยานมาศสามล�ำคาน หรือ พระยาศมาศสามคาน คนหามมี ๒ ผลัด ผลัดละ ๖๐ คน ใช้ส�ำหรับเชิญพระโกศ พระบรมศพจากพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาทในพระบรมมหาราชวงั ไปประดษิ ฐานบน พระมหาพชิ ยั ราชรถทจี่ อดเทยี บรออยใู่ กลพ้ ลบั พลายกวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม เมื่อพระมหาพิชัยราชรถเชิญพระโกศพระบรมศพไปถึงพระเมรุมาศแล้ว ก็จะใช้ พระยานมาศสามล�ำคานนี้เชิญพระโกศพระบรมศพจากพระมหาพิชัยราชรถ เวยี นรอบพระเมรมุ าศ ณ ทอ้ งสนามหลวง อกี ครง้ั หนงึ่ ในกรณที มี่ ไิ ดใ้ ชร้ าชรถปนื ใหญ่ เวยี นพระเมรุมาศ พระยานมาศสามลำ� คาน เกบ็ รกั ษาอยใู่ นโรงราชรถ พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร 38 38
ค�ำศพั ท์ท่เี กย่ี วเนอื่ งกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร พระท่นี ั่งราเชนทรยาน เก็บรกั ษาอยูใ่ นโรงราชรถ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระทน่ี งั่ ราเชนทรยาน เปน็ พระราชยานทสี่ รา้ งขนึ้ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช ลักษณะเป็นทรงบุษบกย่อมุมไม้สิบสอง หลังคาซ้อน ๕ ช้ัน สร้างด้วยไม้ แกะสลกั ลงรักปดิ ทองประดบั กระจก พนักพงิ และกระจงั ปฏญิ าณแกะสลักเปน็ ภาพ เทพนมไว้ตรงกลาง และมีรูปครุฑยุดนาคประดับที่ฐาน มีคานส�ำหรับหาม ๔ คาน ใชค้ นหาม๕๖คนแตเ่ วลาปกตจิ ะคงคานประจำ� ไว้๒คานใชใ้ นการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยขบวนแหอ่ ย่างใหญ่ทเี่ รียกวา่ “ขบวนสส่ี าย” เช่น ในพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก จะเสด็จพระราชด�ำเนินจากพระราชมณเฑียรไปถวายสักการะพระพุทธมหา มณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากนี้ ยังใช้ในการเชิญ พระโกศพระบรมอฐั พิ ระมหากษตั รยิ ์ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี และพระอฐั พิ ระบรมวงศ์ ชน้ั เจา้ ฟา้ จากพระเมรมุ าศ พระเมรุ ทอ้ งสนามหลวง ไปยงั พระบรมมหาราชวงั อกี ดว้ ย 39 39
ค�ำศัพทท์ ีเ่ กี่ยวเน่ืองกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสล่ียงกลบี บัวสำ� หรบั พระราชาคณะนั่งอา่ นพระอภธิ รรมน�ำพระโกศพระศพ พระเสลีย่ งกลบี บัว เป็นพระราชยานท่ีใช้ก�ำลังพลหามจ�ำนวน ๑๖ คน ส�ำหรับสมเด็จ พระสงั ฆราชประทบั หรอื พระราชาคณะนง่ั อา่ นพระอภธิ รรมนำ� พระโกศพระบรมศพ พระศพ จากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทออกจากพระบรมมหาราชวังไปยังพระมหา พชิ ยั ราชรถทวี่ ดั พระเชตพุ นฯ และนำ� ขบวนพระบรมราชอสิ รยิ ยศ พระราชอสิ รยิ ยศ พระอสิ รยิ ยศเมอ่ื เชญิ พระโกศพระบรมศพ พระศพเวยี นรอบพระเมรมุ าศ พระเมรุ สรา้ งดว้ ยไมป้ ดิ ทองประดบั กระจกทงั้ องค์ มคี านหาม ๒ คาน ลำ� คานทำ� ดว้ ยไม้ กลงึ กลมทาสแี ดงเรยี บ ปลายคานประดบั หวั เมด็ ปดิ ทองประดบั กระจก แทน่ พระเสลยี่ ง มลี กั ษณะเปน็ ฐานสงิ หบ์ วั ลกู แกว้ หนา้ กระดานลา่ งปดิ ทองเรยี บ เหนอื เสน้ ลวดประดบั กระจงั ตาออ้ ยปดิ ทองประดบั กระจก หนา้ เทา้ สงิ หป์ ดิ ทองเรยี บ ใตท้ อ้ งฐานประดบั ฟนั สงิ หป์ ดิ ทองประดบั กระจก บวั อกไกแ่ กะสลกั ลายรกั รอ้ ยปดิ ทองประดบั กระจก ขอบ ลกู แกว้ ประดบั กระจงั ฟนั ปลาปดิ ทองทง้ั ดา้ นบนดา้ นลา่ ง ทอ้ งไมท้ าสแี ดงเรยี บ ลวดบวั ประดบั กระจงั ฟนั ปลาปดิ ทอง บวั หงายแกะสลกั ลายบวั รวนปดิ ทองประดบั กระจกซอ้ น เสน้ ลวดเดนิ เสน้ ทอง หนา้ กระดานบนประดบั ลายประจำ� ยามกา้ มปู ประดบั เสน้ ลวดเดนิ เสน้ ทอง เหนอื หนา้ กระดานบนประดบั กระจงั ตาออ้ ยซอ้ นลายกลบี บวั ปดิ ทองประดบั กระจก ๓ ดา้ น ขอบบนเหนอื ลายกลบี บวั ทำ� เปน็ ราวพนกั พงิ กลม ตดิ ซล่ี กู กรงโปรง่ ปดิ ทองเรยี บ ประดบั กระจงั ปฏญิ าณใหญร่ ปู กลบี บวั ดา้ นนอกปดิ ทองประดบั กระจก สว่ นดา้ นในปดิ ทองเรยี บ ๓ ดา้ น พนกั พงิ หลงั ซงึ่ ซอ้ นอยใู่ นกระจงั ปฏญิ าณ ดา้ นหนา้ ปิดทองเรียบ ด้านหลังแกะสลักลายปิดทองประดับกระจก ถ้าสมเด็จพระสังฆราช ประทบั จะออกนามวา่ พระเสลย่ี ง แตถ่ า้ สมเดจ็ พระราชาคณะหรอื พระราชาคณะนงั่ จะออกนามวา่ เสลย่ี ง 40 40
คำ� ศัพท์ท่เี กีย่ วเนื่องกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระเสล่ยี งแวน่ ฟ้า ใชเ้ ชญิ พระลองในพระราชพิธี พระราชทานเพลงิ พระศพสมเด็จพระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สิรโิ สภาพัณณวดี พระเสลย่ี งแวน่ ฟ้า เป็นพระราชยานขนาดเล็ก ใช้ก�ำลังพลหามจ�ำนวน ๘ คน ส�ำหรับเชิญ พระลองในพระบรมศพ พระศพทเ่ี ชญิ ลงมาจากพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาทไปยงั เกยเทยี บ พระยานมาศสามลำ� คานทนี่ อกกำ� แพงแกว้ พระทน่ี งั่ ดสุ ติ มหาปราสาทดา้ นทศิ ตะวนั ตก มลี กั ษณะเปน็ ฐานแทน่ ไมส้ เ่ี หลย่ี มสลกั ลาย ปดิ ทองประดบั กระจกทงั้ องค์ ตวั แทน่ ฐาน เปน็ ฐานสงิ หป์ ากบวั หนา้ กระดานลา่ งลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจกลายดอกประจำ� ยาม ฐานสิงห์สลักลายปิดทองประดับกระจก บัวหลังสิงห์ปิดทองประดับกระจก เสน้ ลวดเดนิ เสน้ ทองซอ้ นประดบั ดว้ ยลายเมด็ ประคำ� พน้ื พระเสลยี่ งลาดดว้ ยพรมสแี ดง ทง้ั สม่ี มุ ตดิ หว่ งเหลก็ ทาสแี ดง คานหามทงั้ ๒ คานทาสแี ดงเรยี บ ปลายคานเปน็ หวั เมด็ ทรงมัณฑ์ปิดทองเรียบ ระหว่างคานทั้งสองทั้งด้านหน้าและด้านหลัง คล้องเชือก มนลิ าหมุ้ ผา้ แดง ส�ำหรับเจา้ พนกั งานใช้คล้องคอขณะยกพระเสล่ียง 41 41
ค�ำศพั ทท์ เี่ กี่ยวเน่ืองกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ฉตั ร เป็นเครื่องสูง มีรูปร่างคล้ายร่ม ที่ซ้อนกันขึ้นไปเป็นช้ัน ๆ โดยชั้นบนมี ขนาดเล็กกว่าชั้นล่าง มีทั้งประเภทแขวน ปัก ตั้ง หรือเชิญเข้าขบวนแห่ เพ่ือเป็น พระเกียรตยิ ศ ได้แก่ ฉัตรแขวนหรอื ปัก แบง่ ออกเปน็ ๔ ชนิด คือ เศวตฉัตร (นพปฎลมหา เศวตฉัตร สัปตปฎลเศวตฉัตร เบญจปฎล เศวตฉัตร และเศวตฉัตร ๓ ช้ัน) ฉัตรขาว ลายทอง ฉัตรตาด (ฉัตรตาดขาว ๕ ช้ัน ฉัตรตาดเหลือง ๕ ช้ัน) ฉัตรโหมด (ฉัตร โหมดขาว ๕ ช้ัน ฉตั รโหมดเหลอื ง ๕ ช้นั นพปฎลมหาเศวตฉัตร ประดษิ ฐานเหนอื ฉัตรโหมดทอง ๕ ชนั้ ฉัตรโหมดเงนิ ๕ ชัน้ พระแท่นราชบัลลังก์ประดับมุก ฉตั รโหมดทอง ๓ ชั้น) ภายในพระทีน่ ่งั ดสุ ิตมหาปราสาท ฉัตรท่ีใช้ประดับบนยอดพระโกศที่บรรจุพระบรมอัฐิ พระอัฐิ แบ่งเป็น ๔ ชนิด คือ ฉัตรปรุทองค�ำกรุผ้าขาว ๙ ช้ัน ฉัตรทองค�ำลงยา ๗ ชั้น ฉัตรทองค�ำลายโปร่ง ๗ ช้ัน ไม่บุผ้าขาวส�ำหรับพระอัฐิสมเด็จพระบวรราชเจ้า ฉัตรทองค�ำลายโปร่ง ๗ ช้ัน ไม่บุผ้าขาว ส�ำหรับพระอัฐิพระรัชทายาท หรือ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอท่ีได้รับการสถาปนาพระเกียรติยศข้ึนเป็นสมเด็จ พระอนชุ าธิราชเทียบเท่าสมเดจ็ พระรัชทายาท ฉัตรปักพระเบญจา หมายถึงฉัตรทองทรงกระบอกลายสลักโปร่ง ๕ ช้ัน หน่ึงสำ� รับมี ๘ องค์ ตัง้ แต่งมมุ พระเบญจาทัง้ ๔ มุม ฉตั รสำ� หรบั ตงั้ ในพธิ ีหรอื เชญิ เขา้ ขบวนแหเ่ ปน็ เกยี รตยิ ศแบง่ เปน็ ๖ชนดิ คอื พระมหาเศวตฉตั รกรรภริ มย์ (มี ๓ องค์ คอื พระเสนาธปิ ตั ย์ พระฉตั รชยั พระเกาวพา่ ห)์ ทใ่ี ชเ้ ฉพาะในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระอภริ มุ ชมุ สาย (พระอภริ มุ ชมุ สายปกั หกั ทองขวาง พระอภริ มุ ชมุ สายทองแผล่ วด) ฉตั รเครอื่ งสงู วงั หนา้ ฉตั รเครอ่ื ง ฉตั รเบญจา ฉัตรราชวัติ 42 42
ค�ำศพั ท์ทีเ่ ก่ยี วเนือ่ งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร นพปฎลมหาเศวตฉัตร (นบ-พะ-ปะ-ดน-มะ-หา-สะ-เหฺวด-ตะ-ฉัด) หรอื เศวตฉัตร ๙ ช้นั ส�ำหรับพระมหากษัตริย์ท่ีทรงรับพระบรมราชาภิเษกตามโบราณราช ประเพณีแล้ว ลักษณะเป็นฉัตรผ้าขาว ๙ ชั้น แต่ละช้ันมีระบายขลิบทองแผ่ลวด ซ้อน ๓ ช้ัน ฉัตรชั้นล่างสุดห้อยอุบะจ�ำปาทอง เศวตฉัตรแบบน้ีใช้แขวนหรือ ปักในสถานทแี่ ละโอกาสต่าง ๆ คอื • ใช้ปักเหนือราชบัลลังก์ในท้องพระโรง ในพระที่น่ัง พระมหาปราสาท ในพระมหามณเฑียร • ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ ร ใชป้ กั เหนอื พระทนี่ ั่งภัทรบฐิ เมือ่ ครั้งทรงรบั พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก • ใช้แขวนเหนือพระแทน่ ราชบรรจถรณภ์ ายในพระมหามณเฑยี ร • ใชแ้ ขวนเหนอื พระโกศพระบรมศพ ณ ทปี่ ระดษิ ฐานพระบรมศพ • ใช้ปักยอดพระเมรุมาศ • ใช้ปักบนพระยานมาศสามล�ำคาน หรือพระยานมาศสามคาน ในการเชญิ พระบรมศพโดยขบวนพระบรมราชอิสรยิ ยศ • ใชัปักเหนือเกรินขณะเชิญพระโกศพระบรมศพขึ้นสู่พระมหาพิชัย ราชรถ และเชิญขึน้ ประดิษฐานบนพระเมรุมาศ • ใช้แขวนเหนอื พระจิตกาธานเม่อื สุมเพลงิ และเกบ็ พระบรมอัฐิ สวดศราทธพรต (สวด-สาด-ทะ-พฺรด) คอื บทสวดในการบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลถวายพระบรมศพ พระศพ เมอ่ื ครบ รอบวันต่างๆ ตามแต่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ในการบ�ำเพ็ญพระราชกุศลออก พระเมรุ (คืนก่อนวันถวายพระเพลิง พระราชทานเพลิง ๑ วัน) และในวันถวาย พระเพลงิ พระบรมศพ พระราชทานเพลงิ พระศพ หรอื พระศพสมเดจ็ พระสงั ฆราชและ ศพพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เรยี กบทสวดน้วี ่า “ศราทธพรตคาถา” ซึ่งเป็นธรรมปัจฉมิ โอวาทของพระพุทธเจา้ ทีใ่ หต้ ั้งอยูใ่ นความไมป่ ระมาทเพราะสังขารทงั้ หลายไม่เทยี่ ง 43 43
คำ� ศพั ทท์ ่เี ก่ียวเน่อื งกบั งานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ในการบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลออกพระเมรใุ นชว่ งเยน็ วนั สดุ ทา้ ยทปี่ ระดษิ ฐาน พระบรมศพ พระศพ ณ พระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวงั กอ่ นเชญิ พระบรมศพ พระศพไปยังพระเมรมุ าศ พระเมรุ ในวันรุง่ ข้ึน มีธรรมเนียมให้พระสงฆ์ ทรงสมณศักดิ์หรือพระราชาคณะ ๓๐ รูป สวดศราทธพรตรับเทศน์ เพ่ือเป็นการ เจริญอัปปมาทธรรม คอื ใหต้ ั้งอย่ใู นความไม่ประมาท จากน้นั พระมหากษตั ริยห์ รือ ผู้แทนพระองค์ถวายไทยธรรมบูชากัณฑ์เทศน์ และทรงทอดผ้าไตรถวายพระสงฆ์ ทเ่ี ทศนแ์ ละสวดศราทธพรต พระสงฆส์ ดบั ปกรณ์ บรรพชติ จนี นกิ ายและอนมั นกิ าย สวดมาติกา สดับปกรณ์ พระสงฆ์สวดพระอภิธรรมตลอดท้ังคืน รุ่งข้ึนจึงเชิญ พระบรมศพ พระศพ ไปยังพระเมรุมาศ พระเมรุ ณ ท้องสนามหลวง ก่อนการ ถวายพระเพลิง พระราชทานเพลิง พระมหากษัตริย์ถวายพัดรองที่ระลึก สมเด็จ พระสงั ฆราชหรอื พระสงฆท์ รงสมณศกั ดทิ์ ที่ รงอาราธนาขน้ึ ถวายเทศน์ หรอื พระราชาคณะ จ�ำนวน ๕๐ รูป สวดศราทธพรตรับเทศน์ พระมหากษัตริย์ถวายเคร่ืองไทยธรรม ทรงทอดผา้ ไตร จากนนั้ จงึ เสดจ็ ฯ ข้นึ ถวายพระเพลิง พระราชทานเพลงิ ตามล�ำดบั เปิดเพลงิ การถวายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระราชทานเพลิงพระศพตั้งแต่สมัย อยธุ ยามกั กระทำ� ใหเ้ สรจ็ ภายในครงั้ เดยี ว ทำ� ใหม้ ขี อ้ ขดั ขอ้ งเรอื่ งกลนิ่ อนั ไมพ่ งึ ประสงค์ ปลายรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เจา้ พนกั งานจงึ ไดห้ าวธิ ไี มใ่ ห้ เกิดความเดอื ดร้อนแก่ผมู้ าร่วมงาน จึงเป็นท่มี าของการ “เผาพิธ”ี และ “เผาจริง” ซงึ่ ได้ยดึ ถอื มาถงึ ปจั จบุ นั ในหมายกำ� หนดการจงึ แบง่ การถวายพระเพลงิ หรอื พระราชทานเพลงิ ออก เป็น ๒ ช่วงเวลาคือ ช่วงบ่ายถึงเย็น และช่วงดึก ดังในพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีการถวายพระเพลิงในเวลา ๑๘ นาฬิกา ๑๕ นาที (๖.๑๕ ล.ท.) ครั้งหนง่ึ และในเวลา ๒๓ นาฬกิ า (๑๑.๐๐ ล.ท.) ครั้งหน่ึง เรียกการถวายพระเพลิงในช่วงเวลาท่ีสองน้ีว่า “การเปิดเพลิง” ทง้ั นี้ ตงั้ แตง่ านพระราชพธิ พี ระราชทานเพลงิ พระศพสมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์เป็นต้นมาได้เปลี่ยนการเปิดเพลิงท่ี พระจิตกาธานมาทีเ่ ตาสมุ เพลงิ พระศพแบบสมยั ใหม่ 44 44
ค�ำศัพท์ทีเ่ กีย่ วเน่ืองกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร อน่ึง ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั นบั เปน็ คราวแรกทไ่ี ดค้ ดั เลอื กประชาชนขน้ึ ถวายพระเพลงิ ตลอดจนนำ� ธปู เทยี นของราษฎรมาประกอบการถวายพระเพลงิ ดว้ ย โดยธปู เทยี นทเ่ี หลอื เจา้ พนกั งาน ภษู ามาลาไดน้ ำ� มาจดุ ทร่ี าวเทยี นรอบพระเมรมุ าศเพอ่ื เปน็ การถวายสกั การะพระบรมศพ เกบ็ พระบรมอัฐิ พระอฐั ิ เปน็ พธิ ที ก่ี ระทำ� ขึ้นหลังจากการถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระราชทาน เพลิงพระศพเสร็จส้ินแล้ว โดยประกอบพิธี ณ พระจิตกาธาน เมื่อเสด็จขึ้น พระเมรุมาศ พระเมรุ เจ้าพนักงานภูษามาลาเปิดผ้าคลุมพระบรมราชสรีรางคาร พระราชสรีรางคาร พระสรีรางคาร ทรงสรงพระบรมอัฐิ พระอัฐิด้วยน้�ำพระสุคนธ์ เจ้าพนักงานแจงพระบรมอัฐิ พระอัฐิ โดยเชิญพระบรมอัฐิ พระอัฐิ พระบรมราช สรีรางคาร พระราชสรรี างคาร พระสรรี างคาร เรียงเปน็ ลำ� ดบั ให้มีลักษณะเหมือน รูปคน หันพระเศียรไปทางทิศตะวันตก จากนั้นหันพระบรมอัฐิ พระอัฐิ พระบรม ราชสรีรางคาร พระราชสรีรางคาร พระสรีรางคารท่ีแจงไว้มาทางทิศตะวันออก เรียกว่า แปรพระบรมอัฐิ พระอัฐิ แล้วจึงถวายคลุมด้วยผ้า เช่น พระราชพิธีถวาย พระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถวายคลุมด้วยผ้า ๓ ชั้น คอื แพรขาว ผา้ ตาด และผา้ กรองทอง ทรงจดุ เทยี นเครื่องนมสั การทองน้อย ทรงกราบถวายบังคมพระบรมอัฐิ แล้วเสด็จลงมาประทับพระท่ีน่ังทรงธรรม ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้เหล่าราชนกิ ลุ ข้าราชการ เดนิ สามหาบ ต่อมาเปลย่ี น เป็นการท�ำส�ำรับภัตตาหารสามหาบต้ังถวาย พระสงฆ์สดับปกรณ์พระบรมอัฐิ ทรงจุดธปู เทียนเครือ่ งนมสั การทองนอ้ ย ทรงทอดผ้าไตร สมเดจ็ พระราชาคณะและ พระราชาคณะสดบั ปกรณ์ ทรงโปรยเหรยี ญทองเหรยี ญเงนิ พระราชทาน เจา้ พนกั งาน ภูษามาลาเปิดผ้าคลุมพระบรมอัฐิ ทรงเก็บพระบรมอัฐิลงสรงในขันพระสุคนธ์ การเก็บพระบรมอัฐิจะเลือกเก็บแตล่ ะสว่ นของพระสรรี ะอยา่ งละเลก็ นอ้ ย พรอ้ มกนั นนั้ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระบรมวงศานวุ งศฝ์ า่ ยหนา้ ฝา่ ยในทไ่ี ดร้ บั พระบรม ราชานญุ าตขนึ้ รบั พระราชทานพระบรมอฐั ไิ ปสกั การบชู า แลว้ ทรงประมวลพระบรม อัฐิบรรจุพระโกศ หลังจากน้ันเชิญพระโกศพระบรมอัฐิไปยังพระที่น่ังทรงธรรม ทรงประกอบพธิ บี ำ� เพญ็ พระราชกศุ ลถวาย สว่ นพระบรมราชสรรี างคารเชญิ ลงบรรจุ ในพระผอบโลหะปิดทองประดิษฐานบนพานทองสองช้ันคลุมผ้าตาดพักรอไว้บน พระเมรุมาศ 45 45
คำ� ศพั ทท์ เ่ี กี่ยวเน่อื งกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร การเกบ็ รักษาพระบรมอัฐิ พระอฐั ิ การเชญิ พระบรมอฐั ิ พระอฐั ิ ของพระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศท์ ถ่ี วาย พระเพลงิ พระราชทานเพลิงแล้ว บรรจลุ งพระบรมโกศ พระโกศขนาดเล็ก ไปเก็บ รักษาน้ัน ในสมัยอยุธยามีธรรมเนียมการสร้างพระสถูปเจดีย์เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิ และพระอฐั ติ รงทถ่ี วายพระเพลงิ พระราชทานเพลิง และสถานทอ่ี ่ืน ๆ ตอ่ มาได้เชญิ พระบรมอฐั ไิ ปบรรจไุ ว้ ณ ทา้ ยจระนำ� พระวหิ ารหลวงวดั พระศรสี รรเพชญ์ สว่ นพระอฐั ิ กเ็ ชิญบรรจุไว้ในเจดียร์ ายวดั พระศรสี รรเพชญ์ และวดั แห่งอื่นในกรงุ ศรอี ยธุ ยา ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกประดิษฐานไว้ ณ หอพระธาตุมณเฑียร ในพระบรมมหาราชวัง ในรัชกาลต่อ ๆ มาจึงโปรด เกล้าฯ ให้เชิญพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุพการีประดิษฐาน ณ สถานท่ี เดียวกัน รวมท้ังพระอัฐิพระบรมราชวงศ์ชั้นสูงบางพระองค์ ส่วนพระบรมวงศ์ ฝ่ายในท่ีทรงศักด์ิเสมอพระองค์เจ้าลูกหลวงท่ีไม่มีเจ้าพี่เจ้าน้องท่ีออกวังเป็น ส่วนพระองค์ โปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระอัฐิประดิษฐาน ณ หอพระนาก ในบริเวณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระบรมอัฐิของพระบรมชนกนาถจากหอพระธาตุมณเฑียรมาประดิษฐาน ณ พระทน่ี ่งั มหศิ รปราสาท ในรชั กาลต่อมาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญกลับไปประดิษฐาน ณ หอพระธาตมุ ณเฑยี รตามเดมิ ครน้ั เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างพระท่นี ัง่ จกั รมี หาปราสาท จึงโปรดเกล้าฯ ให้จดั ชั้นบนภายใต้ ยอดปราสาทองค์กลางเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุพการี ภายหลังจึงเป็นที่ประดิษฐานพระบรมอัฐิของรัชกาลต่อ ๆ มา รวมทั้งพระบรมอัฐิ สมเด็จพระอคั รมเหสีในรชั กาลที่ ๔ รัชกาลที่ ๕ และรชั กาลท่ี ๗ สว่ นชัน้ บนภายใต้ ยอดปราสาทองค์ตะวนั ตกเป็นที่ประดษิ ฐานพระอฐั พิ ระบรมวงศช์ ั้นเจา้ ฟา้ 46 46
ค�ำศัพท์ทเี่ กี่ยวเน่อื งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร พระโกศพระบรมอัฐิ พระอฐั ิ คือ ภาชนะส�ำหรับใช้ บรรจุพระบรมอัฐิ พระอัฐิ องค์ พระโกศ หรือโกศ จะมีลักษณะ และขนาดต่าง ๆ กัน ตามอิสริยยศ ประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ๕ ส่วน คอื สว่ นฐานพระโกศ ส่วนองค์พระโกศ สว่ นฝาพระโกศสว่ นยอดพระโกศและ เครือ่ งประดบั พระโกศ ซึ่งบางคราว อาจจะการมถี อดผลดั เปลยี่ นเครอื่ ง ประดบั พระโกศเม่อื เชญิ ออกประดษิ ฐานในพระราชพิธี นอกจากนี้ ภายในพระโกศ พระบรมอัฐิ พระอัฐิ ยังมพี ระถำ้� ศิลาทรงพระบรมอัฐิ พระอฐั อิ ีกชนั้ หนง่ึ ตามราชประเพณี หลงั เสรจ็ สน้ิ งานถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระราชทาน เพลิงพระศพแล้ว จะมีการเก็บพระบรมอัฐิ พระอัฐิ หรือพระบรมราชสรีรางคาร พระราชสรีรางคาร พระสรีรางคาร น�ำไปบ�ำเพ็ญพระราชกุศล พระกุศลอีกครง้ั หนง่ึ กอ่ นจะนำ� ไปเกบ็ รกั ษาบชู า ณ สถานทอี่ นั สมควร เพอ่ื แสดงความเคารพ และ ความกตญั ญู สำ� หรบั พระบรมอฐั ิ พระอฐั ิ และพระบรมราชสรรี างคาร พระราชสรรี างคาร พระสรรี างคาร สว่ นทเ่ี หลอื มกั นำ� ไปลอยในแมน่ ำ�้ ตามคตคิ วามเชอื่ ลทั ธฝิ า่ ยพราหมณ์ เพ่อื ใหไ้ ด้ไปสู่สรวงสวรรค์ พระโกศพระบรมอัฐิพระมหากษัตริย์ และสมเด็จพระอัครมเหสี ท�ำด้วยทองค�ำลงยาราชาวดี บางส่วนประดับเพชร บางส่วนประดับพลอย เช่น ท่ีเฟื่อง พุ่มยอด และเคร่ืองประดับอ่ืน ๆ ส่วนพระโกศพระอัฐิของพระบรมวงศ์ ช้ันสมเด็จเจ้าฟ้าลงมาถึงพระองค์เจ้าต่างกรมช้ันสมเด็จกรมพระยา ท�ำด้วยทองค�ำ ลงยา ทงั้ น้ี ในการสรา้ งพระโกศพระบรมอฐั ิ พระอัฐิ มกั มีการจ�ำลองแบบตามอย่าง ที่เคยสรา้ งกนั สบื มาตามราชประเพณี โดยอาจแตกตา่ งกันในสว่ นรายละเอยี ด 47 47
คำ� ศัพท์ทเี่ ก่ยี วเน่อื งกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ภตั ตาหารคาวหวานสามหาบ เดนิ สามหาบ เป็นค�ำท่ีปรากฏในเอกสารเก่าในหมายก�ำหนดการถวายพระเพลิง พระบรมศพ พระราชทานเพลิงพระศพ รวมท้ังในงานปลงศพของสามัญชน ในอดีตก่อนการเก็บพระบรมอัฐิ พระอัฐิ ได้จัดพระบรมวงศานุวงศ์ และ ข้าราชการฝ่ายหน้า ท�ำหน้าท่ีถือและหาบสิ่งของต่าง ๆ คนที่หน่ึงถือ ผ้าไตร (ผ้าไตรสามหาบ) น�ำหน้า คนท่ีสองหาบสาแหรกซ่ึงวางตะลุ่มและเตียบ บรรจุภัตตาหารถวายพระสงฆ์ (ภัตตาหารสามหาบ) คนที่สามถือหม้อข้าว เชิงกรานซึ่งเป็นเตาไฟส�ำหรับตั้งหม้อหุงต้มในสมัยโบราณ ในหม้อใส่ข้าวสาร พริก หอม กระเทียม กะปิ ฯลฯ เดินเวียนรอบพระเมรุมาศ พระเมรุโดยอุตราวัฏ (เวียนซ้าย) ๓ รอบ จากน้ันพระมหากษัตริย์เสด็จฯ ขึ้นบนพระเมรุมาศ พระเมรุ ทรงทอดผา้ ไตรสามหาบบนผา้ ทถี่ วายคลมุ พระบรมอฐั ิ พระอฐั ิ สมเดจ็ พระราชาคณะ พระราชาคณะขน้ึ สดบั ปกรณบ์ นพระเมรุมาศ พระเมรุ จากนนั้ ทรงเก็บพระบรมอฐั ิ พระอัฐิเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว เสด็จฯ ยังพระท่ีนั่งทรงธรรม ทรงประเคนภัตตาหาร สามหาบแด่สมเด็จพระราชาคณะ พระราชาคณะที่สดับปกรณ์ผ้าไตร เม่ือรับ พระราชทานฉนั เสรจ็ แลว้ พระสงฆท์ ง้ั นนั้ ถวายอนโุ มทนา ถวายอดเิ รก 48 48
คำ� ศัพท์ทเ่ี ก่ียวเนอ่ื งกับงานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ท้ังนี้ในพระราชพิธีปัจจุบันยกเลิกการเดินสามหาบรอบพระเมรุมาศ พระเมรุ คงไว้แต่เพียงการถวายผ้าไตรสามหาบก่อนเก็บพระบรมอัฐิ พระอัฐิ และ ถวายภตั ตาหารสามหาบเมอ่ื เชญิ พระโกศพระบรมอฐั ิ พระอฐั มิ าประดษิ ฐานบนบษุ บก เหนือพระแท่นแว่นฟ้าทอง ณ พระท่ีนั่งทรงธรรม โดยภัตตาหารสามหาบจัดตาม พระเกยี รตยิ ศคอื พระมหากษตั รยิ ์ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี จดั ๓ ชดุ (เกา้ สำ� รบั ) ชนั้ เจา้ ฟา้ จดั ๒ ชดุ (หกส�ำรับ) ชัน้ พระองค์เจ้าจดั ๑ ชดุ (สามส�ำรบั ) พระบรมราชสรรี างคาร พระราชสรีรางคาร พระสรรี างคาร คือ เถ้าถ่านท่ีปะปนกับพระบรมอัฐิองค์เล็กองค์น้อยของพระบรมศพ พระศพ พระมหากษตั ริย์ สมเด็จพระบรมราชินี พระบรมวงศ์ ท่ถี วายพระเพลิงแลว้ เรียกว่า พระบรมราชสรีรางคาร พระราชสรีรางคาร พระสรีรางคาร และเรียกว่า องั คาร ส�ำหรบั สามัญชน การลอยพระบรมราชสรรี างคาร พระราชสรีรางคาร พระสรีรางคาร หมายถงึ การเชญิ พระบรมราชสรรี างคาร พระราชสรรี างคาร พระสรรี างคาร (เถ้าถ่านของพระบรมศพ พระศพ ที่ถวายพระเพลิง พระราชทานเพลิงแล้ว) น�ำไปลอยในแมน่ ้ำ� สันนิษฐานวา่ เปน็ คติการปลงศพดง้ั เดิมของชาวฮนิ ดูในประเทศ อินเดียที่นิยมท้ิงธาตุลงในแม่น�้ำใหญ่หรือทะเล ซึ่งไทยรับอิทธิพลความเชื่อน้ีมา โดยเฉพาะธรรมเนยี มฝา่ ยราชสำ� นกั มาแตค่ รง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ อยา่ งนอ้ ย และปฏบิ ตั ิ สบื มาในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ โดยหลงั จากถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระราชทานเพลงิ พระศพ และเกบ็ พระบรมอฐั ิ พระอฐั แิ ลว้ เจา้ พนกั งานจะเชญิ พระบรมราชสรรี างคาร พระราชสรีรางคาร พระสรีรางคาร ลงในถุงผ้าสีขาวประดิษฐานบนพาน แต่เดิมมี การเตรียมก้อนศิลา ๓ ก้อนลงรักปิดทอง เงิน และนาก ใส่ในถุงลอยเพ่ือถ่วงให้ จมลง ทงั้ น้ี ขนั้ ตอนการเตรยี มอปุ กรณน์ ้ี ปรบั เปลยี่ นไปตามกาลสมยั เมอ่ื บรรจพุ ระบรม ราชสรรี างคาร พระราชสรรี างคาร พระสรรี างคาร ลงในถงุ และวางบนพานแลว้ เสรจ็ จะมีพิธีเชิญซึ่งอาจเป็นขบวนใหญ่แห่ทางสถลมารคจากพระเมรุมาศ พระเมรุสู่เรือ พระท่ีน่ัง หรืออาจเป็นขบวนขนาดย่อมตามแต่กรณี อน่ึง ในสมัยอยุธยานิยมเชิญ พระบรมราชสรีรางคาร พระราชสรีรางคาร พระสรีรางคารลอยท่ีวัดพุทไธสวรรย์ หรือวัดไชยวัฒนาราม ส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์น�ำไปลอยที่วัดปทุมคงคา หรือวัดยานนาวา สันนิษฐานว่าเนื่องจากนามของวัดทั้งสองเป็นสิริมงคลและ สอดคล้องกับคติธรรมเนียมเดิม 49 49
Search