Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การตอบสนองของพืช

การตอบสนองของพืช

Published by sahaila.muno, 2020-09-23 02:45:31

Description: การตอบสนองของพืช

Keywords: การตอบสนองของพืช

Search

Read the Text Version

ใบความรทู้ ี่ 7.1 เรอ่ื ง การตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าของพชื ส่ิงเร้า (Stimulus) คือ ส่ิงที่ส่งผลหรือมีอิทธิผลต่อการตอบสนองของพืช ซ่ึงสามารถแบ่ง ออกได้ 2 กลมุ่ คอื สงิ่ เรา้ จากภายนอก และ สิ่งเร้าจากภายใน การตอบสนองต่อส่ิงเร้า หมายถึง การกระทาต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ช่วยให้ส่ิงมีชีวิตน้ันๆ สามารถดารงชวี ิตอยใู่ นสภาพแวดล้อมนั้นๆได้ มีดงั นี้ การตอบสนอง มีหลายประเภท 1. การเคล่อื นไหวท่มี ีทิศทางสัมพันธก์ ับทิศทางของสง่ิ เร้า หรอื การเบน (Tropism) สามารถ แบ่งได้หลายอย่างตามชนิดของสิ่งเร้า เช่นการเบนตามแสง การเบน เน่ืองจากความโน้มถ่วง การเบนเน่ืองจากสารเคมี การเบนเน่ืองจากการสัมผัส การโน้ม ตอบสนองความร้อน การเบนตอบสนอง ความช้นื การเบนตามต าแหนง่ ดวงอาทติ ย์ 2. การเคลื่อนไหวของพืชแบบไม่สัมพันธ์ต่อสิ่งเร้า (nastic movment) สามารถ แบ่งได้ดังน้ี การบาน กลางวัน การหุบกลางคืน การบานเม่ืออุ่น การหุบเพราะสัมผัส การหุบ เพราะขาดน้า การตอบสนองของพชื ต่อสงิ่ เรา้ มดี ังนี้ 1. การตอบสนองตอ่ แสง แสงเป็นสิ่งเร้า จะทาให้ปลายยอดของพืชเอนเข้าหาแสง ส่วนปลายรากของ พืชเจรญิ ในทิศทางหนีแสง ดอกไม้บางชนิดเช่น ดอกทานตะวันจะทันไปทางดวงอาทิตย์ข้ึนเพื่อ รับแสง

พืชทดี่ อกจะบานในเวลากลางวนั และหุบในเวลากลางคนื เชน่ ดอกคณุ นายตนื่ สาย ดอกบวั ดอกเพรเซ่ียวไฮ้ ภาพท่ี 7.1 ดอกคุณนายตน่ื สาย ภาพท่ี 7.2 ดอกทานตะวัน ท่ีมา : ถา่ ยโดย สุไฮลา หล๊ะติหม๊ะ ท่ีมา : ถา่ ยโดย สุไฮลา หละ๊ ติหมะ๊ เมอ่ื วันท่ี 12 มกราคม 2558 เมอ่ื วนั ท่ี 12 มกราคม 2558 นอกจากน้ีพืชท่ีจะกางใบในเวลากกลางวันและหุบใบในเวลากลางคืน เช่น ก้ามปู จามจุรี ต้นแค กระถนิ มะขาม เปน็ ตน้ ภาพที่ 7.3 ใบแค ภาพที่ 7.4 ใบมะขาม ทีม่ า : ถ่ายโดย สไุ ฮลา หล๊ะติหม๊ะ ทมี่ า : ถ่ายโดย สไุ ฮลา หละ๊ ติหม๊ะ เมอื่ วันท่ี 12 มกราคม 2558 เม่ือวนั ที่ 12 มกราคม 2558

2. การตอบสนองต่อการสัมผสั พืชที่ตอบสนองต่อการสัมผัส เช่น ต้นไมยราบ ต้นผักกระเฉด โดยจะ หุบใบทนั ที เม่อื ได้รับการสมั ผัส ภาพท่ี 7.5 ต้นไมยราบ ภาพที่ 7.6 ตน้ ผกั กระเฉด ที่มา : ถา่ ยโดย สไุ ฮลา หล๊ะติหม๊ะ ที่มา : ถ่ายโดย สุไฮลา หละ๊ ติหม๊ะ เมอื่ วันที่ 12 มกราคม 2558 เม่อื วันที่ 12 มกราคม 2558 ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง หยาดน้าค้าง จะหุบดักแมลงเม่ือ ได้รบั การสัมผัสจากแมลง ทงั้ นเี้ พอ่ื นาธาตุอาหารทไ่ี ดจ้ ากแมลงไปใชต้ อ่ ไป ภาพท่ี 7.7 หมอ้ ข้าวหม้อแกงลงิ ภาพท่ี 7.8 กาบหอยแครง ทมี่ า : ถา่ ยโดย สไุ ฮลา หละ๊ ติหม๊ะ ท่มี า : https://www.matichon.co.th/news/24317 เมื่อวนั ท่ี 13 มกราคม 2558 วนั ที่ค้นข้อมูล 13 มกราคม 2558

3. การตอบสนองตอ่ เสียง พืชบางชนิดสามารถเคลื่อนไหวได้เมื่อเกิดการตอบสนองต่อเสียง เช่น ต้น ชอ้ ยนางรา สามารถขยบั โคนของยอดใบออ่ นไดเ้ ม่ือมเี สยี งเกดิ ขึน้ ภาพท่ี 7.9 ต้นชอ้ ยนางรา ท่มี า : : http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx? วนั ท่ีค้นข้อมูล 13 มกราคม 2558 ผลการทดลองยังสรุปว่าเสยี งเบาๆ จะทาใหพ้ ชื เจรญิ เตบิ โตงอกงามดี และเสยี งทด่ี งั มากจะทา ให้พชื แคราะแกรน ไมเ่ จริญเตบิ โต ค่ะเพือ่ นๆ

4. การตอบสนองต่อน้า รากพืชจะเคลอ่ื นไหวเขา้ หาบริเวณท่ีมีความชื้นสูง การดีดตวั แตกออกของ เมลด็ ตอ้ ยตง่ิ เมื่อถูกน้า นอกจากนก้ี ารลดชนาดของใบพชื ใหเ้ ป็นหนาม เพอ่ื ลดการสญู เสียน้าของต้น กระบองเพชร ภาพท่ี 7.10 ต้นกระบองเพชร ทีม่ า: ถ่ายโดย สไุ ฮลา หล๊ะติหมะ๊ เมอื่ วันที่ 13 มกราคม 2558 5. การตอบสนองตอ่ อณุ หภูมิ พืชบางชนดิ ดอกสามารถเปลี่ยนทีไ่ ปตามอุณหภมู ิ เช่นดอกพุดตาน เวลาเช้า เวลาเที่ยง เวลาเยน็ ภาพท่ี 7.11 ดอกพตุ ตาน ทมี่ า : ถ่ายโดย สุไฮลา หละ๊ ติหมะ๊ เมอื่ วันที่ 13 มกราคม 2558

4. การตอบสนองตอ่ แรงโน้มถว่ งของโลก รากพชื จะเจรญิ เข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก ส่วนยอดพืชจะเจรญิ ในทิศทาง ตรงกันขา้ มกับแรงโนม้ ถว่ งของโลก ภาพที่ 7.12 รากพชื เข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก ท่ีมา: : http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx? วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู 13 มกราคม 2558 นอกจากนี้ดอกไมข้ องพืชบางชนดิ จะเจรญิ เข้าหาแรงโนม้ ถว่ งของโลก เชน่ บวบดอกราช พฤกษ์ ดอกพวงแสด เป็นต้น ผลบางชนิด เชน่ ถัวฝักยาว เป็นตน้ ภาพที่ 7.13 ดอกราชพฤกษ์ ทม่ี า: : ถ่ายโดย สุไฮลา หล๊ะติหม๊ะ เมือ่ วันท่ี 13 มกราคม 2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook