Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุและครอบครัว

การดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุและครอบครัว

Published by art.jung4545, 2020-06-08 02:34:07

Description: คู่มือการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุและครอบครัว

Keywords: ผู้สูงอายุ

Search

Read the Text Version

เรอื่ งท่ี 1 ความรพู้ ืน้ ฐานเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ การดูแลสุขภาพเบ้ืองตน้ การดแู ลสุขภาพเบอ้ื งต้น ทุกคน ทุกวัยควรรักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ และสร้างภูมิคุมกนั โรค ดว้ ยการรกั ษาความสะอาดใน รา่ งกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์หรือให้ครบห้า หมู่ ออกก าลังกายเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ พยายามลดความเครียด ลดการสูบบุหร่ี และด่ืมแอลกอฮอล์ ถา้ ทกุ ท่านปฏบิ ัติได้ตามนีจ้ ะปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆ มีสุขภาพรา่ งกายแขง็ แรงตลอดไป โดยธรรมชาติของมนษุ ย์ เมื่อเกิดปญั หาต่างๆ ขน้ึ ในชีวติ ก็จะพยายามหาทางแกป้ ัญหาด้วยตวั เอง เป็นอันดับแรก เมอื่ ร้วู า่ ไม่สามารถแกป้ ญั หาได้เอง ก็จะแสวงหาความช่วยเหลือจากผู้อน่ื ในเร่ืองความ เจบ็ ปุวย หรอื ปัญหาสุขภาพก็เชน่ เดยี วกนั ทกุ คนตอ้ งการทจ่ี ะดูแลตนเอง ใหม้ ีสขุ ภาพดีอยู่เสมอ ดังนนั้ กล่าวได้วา่ \"การดแู ลสขุ ภาพตนเอง เปน็ กจิ กรรมที่บุคคลแต่ละคนปฏิบัติ และยึดเป็นแบบแผนในการปฏิบัติ เพือ่ ให้มีสขุ ภาพดี\" อาจแบง่ ขอบเขตการดูแลสุขภาพตนเอง เป็น 2 ลักษณะคอื *************************** 1. การดแู ลสุขภาพตนเองในสภาวะปกติ เปน็ การดแู ลสุขภาพตนเอง และสมาชิกในครอบครวั ใหม้ ี สุขภาพแขง็ แรง สมบรู ณอ์ ยู่เสมอ ไดแ้ ก่ การดูแลส่งเสริมสขุ ภาพ เพ่อื ให้สุขภาพแข็งแรง สามารถดําเนินชวี ิต ไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ เชน่ การออกกาํ ลงั กาย การสรา้ งสุขวิทยาส่วนบคุ คลทดี่ ี ไม่ด่ืมสุรา ไม่สบู บุหรี่ หลีกเลี่ยงจาก สง่ิ ทีเ่ ป็นอันตรายตอ่ สุขภาพ การปอู งกนั โรค เพอื่ ไม่ให้เจบ็ ปุวยเปน็ โรค เชน่ การไปรับภูมิคุม้ กนั โรคตา่ งๆ การ ไปตรวจสขุ ภาพ การปูองกันตนเองไม่ใหต้ ิดโรค 2. การดแู ลสุขภาพตนเองเมอ่ื เจบ็ ปวุ ย ไดแ้ ก่ การขอคําแนะนาํ แสวงหาวามรู้จากผรู้ ู้ เชน่ อาสาสมัคร สาธารณสขุ ตา่ งๆ ในชมุ ชน บุคลากรสาธารณสุข เพ่อื ใหไ้ ดแ้ นวทางปฏบิ ัติ หรอื การรกั ษาเบอ้ื งตน้ ให้หาย จาก ความเจ็บปุวย ประเมนิ ตนเองได้ว่า เม่อื ไรควรไปพบแพทย์ เพ่อื รักษาก่อนท่จี ะเจบ็ ปวุ ยรุนแรง และปฏิบตั ติ าม คาํ แนะนําของแพทย์ หรือบคุ ลากรสาธารณสขุ เพ่ือบรรเทาความเจบ็ ปวุ ย และมสี ขุ ภาพดดี ังเดิม การท่ี ประชาชนท่ัวไปสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้นน้ั จําเปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ ึความเข้าใจในเร่อื ง การดแู ลสุขภาพ ตง้ั แตย่ ังไม่เจ็บปวุ ย เพ่อื บาํ รุงรกั ษาตนเอง ใหส้ มบูรณแ์ ขง็ แรง รจู้ ักทจ่ี ะปูองกนั ตัวเอง มใิ ห้เกดิ โรค และเม่ือ เจ็บปวุ ยกร็ ู้วธิ ที ่จี ะรกั ษาตัวเอง เบื้องตน้ จนหายเป็นปกติ หรอื รูว้ ่า เมือ่ ไรต้องไปพบแพทย์ หรือเจา้ หน้าที่ สาธารณสขุ การปฏิบัตติ นในชีวิตประจาวัน สุขภาพของคนเราจะดหี รือเสอ่ื มนน้ั ขนึ้ อยู่กบั ความสมบรู ณแ์ ข็งแรง ของอวัยวะตา่ งๆ เช่น ผิวหนงั ตา หู จมูก และฟนั ซง่ึ เป็นอวยั วะภายนอกร่างกาย ที่เราควรดูแลรกั ษาใหอ้ ยใู่ นสภาพทีด่ ี และแขง็ แรง เพราะถา้ เส่ือมโทรม หรอื ผิดปกติ จะสง่ ผลกระทบตอ่ อวยั วะสว่ นอ่นื ๆ ได้ ดังนนั้ เราตอ้ งระวงั รกั ษาส่วนตา่ งๆ ของ ร่างกายให้สะอาด ตลอดจนการออกกาํ ลังกาย และการพักผอ่ น เพอ่ื ทําให้รา่ งกายมคี วามสมบรู ณ์ แขง็ แรง และมผี ลทาํ ให้จิตใจเบกิ บาน แจ่มใส สามารถดํารงชวี ิตอยู่ในสังคมได้ อยา่ งมีความสขุ การดูแลสุขภาพตนเอง ให้มีสุขภาพสมบรู ณ์ และแขง็ แรงอยู่เสมอ จะตอ้ งปฏิบัตกิ จิ กรรม ในด้านการสง่ เสริม สุขภาพอย่างสมํ่าเสมอ ในชีวิตประจาํ วนั โดยยึดหลักสุขบญั ญตั ิ 10 ประการ และสํารวจสุขภาพตนเอง ดงั นี้ 1. ดแู ลรกั ษารา่ งกาย และของใชใ้ หส้ ะอาด 1) อาบนาํ้ ทุกวัน อย่างนอ้ ยวนั ละ 2 ครั้ง การอาบน้ําให้สะอาด จะตอ้ งใช้สบู่ฟอกทุกสว่ นของ รา่ งกายใหท้ ่วั และมกี ารขดั ถขู ไ้ี คล บริเวณลําคอ รกั แร้ แขนขา งา่ มนวิ้ มือ งา่ มน้ิวเทา้ ขาหนีบ โดยเฉพาะ คมู่ อื การดแู ลสุขภาพสาหรบั ผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว อ. โชติกา ชัยชนะ 1

อวยั วะเพศ ต้องรักษาความสะอาดเปน็ พิเศษ หลังจากน้นั ล้างด้วยนาํ้ และเชด็ ตัวใหแ้ หง้ ด้วยผ้าท่ีสะอาด จะ 2 ช่วยใหร้ า่ งกายสะอาด และสดช่ืน 2) สระผม อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 2 ครงั้ การสระผมช่วยใหผ้ สม และหนงั ศีรษะสะอาด ไม่สกปรก หรอื มีกล่ินเหม็น โยใชส้ บู่ หรือแชมพูสระผมจนสะอาด แล้วเชด็ ผมให้แหง้ หรอ้ มทงั้ หวีผมให้เรียบร้อย การ หม่นั หวีผม จะชว่ ยนวดศีรษะใหเ้ ลือดมาเลยี้ งศีรษะมากข้นึ และตอ้ งลา้ งหวี หรอื แปรงให้สะอาดเสมอ การไม่ สระผม หรือสระผมไม่สะอาด ทําให้เป็นชนั นะตุ รังแค และเกิดอาการคัน เกิดโรคผวิ หนงั และเชือ้ ราบนหนงั ศีรษะ ทําให้เกดิ ผมร่วง และเสยี บุคลิกภาพ 3) การรกั ษาอนามยั ของดวงตา ดวงตาเป็นอวยั วะสาํ คัญ เราควรหวงแหน และให้ความเอาใจใส่ ควร ปฏิบตั ิดังนี้  อ่าน หรือเขียนหนังสอื ในระยะหา่ งประมาณ 1 ฟตุ โดยมีแสงสว่างเพียงพอ แสงเข้าทางดา้ น ซ้าย หรอื ตรงขา้ มกบั มือที่ถนัด หากร้สู กึ เพลียสายตา ควรพักผอ่ นสายตา โดยการหลับตา หรือมองไปไกลๆ ชัว่ ครู่  ดูโทรทศั นใ์ นระยะหา่ งอย่างน้อย 1 เมตรคร่งึ  บาํ รุงสายตาดว้ ยการรับประทานอาหารทม่ี คี ุณค่า เชน่ มะละกอสุก ฟักทอง ผักบุง้ เปน็ ต้น  ใส่แวน่ กันแดด ถ้าจําเปน็ ต้องมองในทีๆ่ มแี สงสวา่ งมากเกินไป  ตรวจสายตาอย่างนอ้ ยปลี ะ 1 คร้ัง โดยแผน่ ทดสอบสายตา (E-Chart) ถ้าสายตาผดิ ปกติ ให้ พบจกั ษแุ พทย์ เพอื่ ตรวจสอบ และประกอบแว่นสายตา 4) การรักษาอนามัยของหู หูเป็นอวยั วะทส่ี าํ คญั อย่างหนึ่งของร่างกาย ทจี่ ะต้องเอาใจใส่ดูแลให้ ถูกตอ้ ง ดังนี้  เชด็ บริเวณใบหู และรหู ู เท่าท่ีน้วิ จะเขา้ ไปได้ ห้ามใชข้ องแข็งแคะเขย่ี ใบหู รูหู  คนทีม่ ีประวตั วิ า่ มีการอกั เสบของหู ตอ้ งระวงั ไม่ใหน้ าํ้ เขา้ หเู ด็ดขาด  หากมนี ้าํ เขา้ หู ใหเ้ อียงหขู ้างนัน้ ลง น้าํ จะคอ่ ยๆ ไหลออกมาได้เอง หรอื ใช้ไมพ้ นั สําลีเชด็ บรเิ วณช่องหูดา้ นนอก  ถา้ เป็นหวัด ไมค่ วรสั่งน้ํามูกแรงๆ เพราะจะทําให้เช้อื โรคจากจมกู หรอื คอ ถกู ดนั เขา้ ไปในหู ชนั้ กลาง ทาํ ใหเ้ กิดการติดเชือ้ และเกดิ เป็นโรคหนู ้ําหนวก  เม่ือมแี มลงเข้าหู อย่าพยายามแคะ ใหใ้ ช้น้ํามันมะกอก หรือนํา้ มันพชื หยอดหทู ง้ิ ไว้ชัว่ ขณะ แมลงจะเคลอื่ นไหวไม่ได้ และตายในทีส่ ุด ควรพบแพทยเ์ พอ่ื เอาแมลงออก  หลกี เล่ียงจากการถูกกระทบกระแทกหโู ดยแรง หรือการตบหู เพราะจะทําให้แกว้ หู และ กระดกู ภายในหหู ลุด เกิดการสูญเสยี การได้ยนิ ตามมา รวมทงั้ การหลเี ล่ยี งเสียงอึกทกึ และ เสยี งดงั มากๆ อาจทําให้หพู กิ ารได้  ตอ้ งรู้จักสังเกตอาการผดิ ปกติของหู และการได้ยินอยู่เสมอ หากมีอาการผิดปกติ เชน่ รู้สึก ปวดหู เจ็บหู คนั หู หอู อื้ มนี าํ้ หรือหนองไหลจากหู เวียนศีรษะ มเี สียงดงั รบกวนในหู การได้ ยนิ เสยี งนอ้ ยลง หรือได้ยนิ ไม่ชดั ต้องรีบไปพบแพทยเ์ ฉพาะทาง หู คอ จมกู ทันที 5) การรกั ษาอนามยั ของจมูก ข้อควรปฏิบตั ิดงั น้ี  ไม่ถอนขนจมกู เพราะจะทาํ ให้จมกู อกั เสบได้  ถ้าเป็นหวัดเรอื้ รัง หรอื มีเลอื ดกาํ เดาออกบอ่ ยๆ ต้องพบแพทยเ์ พื่อตรวจรักษา  ห้ามใส่เมล็ดผลไม้ หรือส่งิ แปลกปลอมอนื่ เข้าไปในรูจมกู คูม่ อื การดูแลสขุ ภาพสาหรบั ผู้สงู อายุและครอบครัว อ. โชตกิ า ชัยชนะ

 การไอหรือจาม ตอ้ งใชผ้ ้าเช็ดหน้าปิดปาก จมูก เพ่อื ปูองกนั การแพรก่ ระจายของเชอ้ื โรคใน อาการ เปน็ ผลให้ผู้อ่นื ติดโรคได้  ต้องสง่ั นํ้ามกู ใสใ่ นผ้า หรือกระดาษเช็ดหน้าทีส่ ะอาด 6) ตดั เล็บมือเล็บเท้าให้สน้ั อยู่เสมอ มือและเทา้ เป็นสว่ นหน่ึงของร่างกายท่ีสําคัญ ต้องมกี ารดูแลรักษา ไม่ปลอ่ ยให้เล็บมอื เล็บเท้ายาว การปลอ่ ยใหเ้ ล็บยาว โดยไมด่ ูแลความสะอาด จะทําใหเ้ ชอื้ โรคที่สะสมอยู่ตาม ซอกเล็บ ตดิ ไปกับอาหาร เปน็ การนาํ เชือ้ โรคเข้าสู่ร่างกายทาปากโดยตรง ทําให้เกดิ โรคอุจจาระรว่ ง ก่อน และ หลงั รบั ประทานอาหาร และหลงั จากเข้าส้วมแลว้ ต้องลา้ งมือด้วยสบ่ใู ห้สะอาดทกุ ครง้ั และต้องสวมรองเท้า เมอื่ ออกจากบา้ น 7) ถ่ายอุจจาระเปน็ เวลาทุกวัน ควรฝกึ ขบั ถ่ายอจุ จาระใหเ้ ปน็ เวลาทกุ วนั ในตอนเชา้ อย่าใหท้ อ้ งผกู บ่อยๆ เพราะจะทําให้เกิดโรครดิ สีดวงทวาร และเปน็ มะเร็งในลําไสใ้ หญไ่ ด้ 8) ใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ไมอ่ ับช้นื และใหค้ วามอบอุ่นเพยี งพอ การรักษาความสะอาดของเสือ้ ผา้ เครื่องนงุ่ หม่ และเครื่องนอนเป็นสง่ สาํ คญั เสอื้ ผ้าทใี่ ช้แลว้ ทงิ้ ชั้นนอกและชัน้ ใน ต้องมีการทาํ ความสะอาดด้วย สบู่ หรือผงซกั ฟอกทกุ คร้งั นาํ ไปผ่งึ หรือตากแดดให้แห้ง ประการสาํ คญั การสวมเสื้อผา้ ตอ้ ใช้ให้เหมาะสมกบั สภาพอากาศ ไม่ใสเ่ สือ้ ผา้ ซา้ํ ๆ หรือซักไม่สะอาด อับชืน้ เพราะจะทาํ ให้เกิดโรคผวิ หนงั ได้ 2. รักษาฟันใหแ้ ข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง แปรงฟนั อยา่ งนอ้ ยวันละ 2 คร้งั หลีกเลยี่ งขนมหวาน เช่น ลกู อม แปรงฟนั หรือบว้ นปากหลัง รบั ประทานอาหาร ไม่ใช้ฟันขบเคยี้ วของแขง็ 3. ล้างมือให้สะอาดก่อนรบั ประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย ควรล้างมือใหส้ ะอาดทุกคร้ัง ก่อนและหลังการปรุงอาหาร รวมทงั้ ก่อนรับประทานอาหาร และหลงั การขับถ่าย เปน็ การปอู งกนั การแพรเ่ ชอื้ และติดเช้ือโรคได้ ควรล้างมอื ให้ถูกวิธี ดังน้ี  ใหม้ อื เปียกน้ํา ฟอกสบู่ ถูให้ทว่ั ฝุามอื ด้านหน้า และดา้ นหลงั มอื 3  ถตู ามงา่ มนวิ้ มือ และซอกเล็บให้ทว่ั เพื่อให้สิ่งสกปรกหลดุ ออกไป พร้อมทัง้ ถูกข้อมอื  ล้างน้ําใหส้ ะอาด แล้วเช็ดมอื ให้แหง้ ด้วยผา้ ที่สะอาด 4. รับประทานอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลกี เลย่ี งอาหารรสจดั สีฉดู ฉาด  เลือกซื้ออาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ โดยคํานึงถงึ หลัก 3 ป. คอื ประโยชน์ ปลอดภยั ประหยดั  ปรงุ อาหารทีถ่ ูกสุขลกั ษณะ และใช้เครอ่ื งปรงุ รสท่ถี กู ตอ้ ง โดยคาํ นงึ ถึงหลกั 3 ส. คือ สงวน คณุ ค่า สุกเสมอ สะอาดปลอดภัย  รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพยี งพอตอ่ ความต้องการของร่างกาย  รบั ประทานอาหารปรุงสักใหม่ และใชช้ ้อนกลางในการรับประทานอาหารร่วมกัน  หลีกเลีย่ งการรบั ประทานอาหารสกุ ๆ ดบิ ๆ อาหารรสจัด อาหารใส่สีฉูดฉาด  ดืม่ นา้ํ สะอาดอย่างนอ้ ยวนั ละ 8 แกว้ 5. งดบหุ ร่ี สรุ า สารเสพยต์ ิด การพนนั และการสาส่อนทางเพศ  ไม่เสพสารเสพย์ติดทุกชนิด เชน่ บุหร่ี สุรา ยาบ้า กญั ชา กาว ทนิ เนอร์  งดเลน่ การพนนั ทุกชนดิ  ไม่มวั่ สมุ ทางเพศ คู่มือการดูแลสขุ ภาพสาหรบั ผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว อ. โชตกิ า ชยั ชนะ

6. สรา้ งความสัมพนั ธ์ในครอบครัวใหอ้ บอนุ่  ทุกคนในครอบครวั ชว่ ยกันทํางานบ้าน  มีการปรึกษาหารือ และแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกัน  การเผ่อื แผน่ า้ํ ใจซ่งึ กนั และกัน  การทําบญุ และไดท้ าํ กิจกรรมสนกุ สนานรว่ มกัน 7. ป้องกันอุบัติเหตดุ ้วยความไม่ประมาท  ดแู ล ตรวจสอบ และระมดั ระวงั อุปกรณเ์ ครอ่ื งใช้ภายในบา้ น เช่น ไฟฟูา เตาแก๊ส ของมีคม ธูปเทียนที่จดุ บูชาพระ และไม้ขดี ไฟ  ระมดั ระวงั เพือ่ ปูองกนั อบุ ตั ิภยั ในทีส่ าธารณะ เช่น การใช้ถนน โรงฝกึ งาน สถานทกี่ อ่ สรา้ ง และชุมชนแออัด เป็นต้น 8. ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ และตรวจสุขภาพประจาปี การออกกาํ ลังกายชว่ ยใหร้ ่างกายแข็งแรง เจรญิ เตบิ โตสมวัย กระตุ้นใหก้ ระดกู ยาวขึน้ และเขง็ แรง ข้ึน ทําให้สูงสง่า บุคลิกดี และยังชว่ ยผ่อนคลายความเครยี ด จากการทาํ งาน ตลอดจนเพ่มิ ภมู ิต้านทานแก่ รา่ งกาย โดย  ออกกําลังกายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วนั คร้งั ละ 20-30 นาที  ออกกาํ ลงั กาย และเลน่ กฬี าใหเ้ หมาะสมกบั สภาพร่างกาย และวยั  ตรวจสอบสุขภาพประจาํ ปีอยา่ งนอ้ ยปลี ะคร้งั 9. ทาจติ ใจใหร้ ่าเรงิ แจ่มใสอยเู่ สมอ  พักผอ่ น และนอนหลับใหเ้ พียงพอ  จัดสิง่ แวดลอ้ มทัง้ ในบา้ น และนอกบา้ นให้น่าอยู่  มองโลกในแงด่ ี ใหอ้ ภยั และยอมรับขอ้ บกพร่องของคนอืน่  เม่อื มีปัญหาไมส่ บายใจ ควรหาทางผอ่ นคลาย ในทางท่ถี ูกต้องเหมาะสม 10. มสี านึกตอ่ ส่วนรวม รว่ มสรา้ งสรรค์สงั คม ใช้ทรัพยากร เช่น นํ้า ไฟ อย่างประหยดั หลกี เลีย่ งการใช้วัสดุ อุปกรณท์ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ พษิ ต่อ ส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ ถุงพลาสติก โฟม ตลอดจนการรว่ มมือกนั รักษาความสะอาด และเปน็ ระเบยี บของสถานที่ ทาํ งาน และทพ่ี กั เป็นต้น สาเหตุ กลไกการเกิดการหายของโรค กลไกการเกิดและการหายของโรค อาการเจ็บปุวย คือ เมื่อมีต้นเหตุอย่างน้อย ข้อใดข้อหนึ่ง เกิดข้นึ ทเ่ี ป็นพิษ อันตราย ระคาย ไม่สบายในร่างกาย เช่น เมอื่ รา่ งกายกระทบอันตรายจากภาวะร้อนหรือเย็น เกิน ตามหลักวิทยาศาสตรก์ ็จะเกิดการทําลายโครงสร้างและโครงรูปของเซลล์ เซลล์ก็จะทําหน้าท่ีผิดปกติจาก เดิม อาจทําหน้าที่มากไปหรือน้อยไปหรือไม่ทําหน้าท่ีหรือทําหน้าท่ีผิดเพ้ียนไปจากปกติ ประกอบกับ ประสาทไขสันหลังอัตโนมัติกระตุ้นให้เกิดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ (รีเฟล็กซ์) เพื่อหนีพิษหรือขับพิษ การ เกร็งตวั ของกลา้ มเนื้อจะยงิ่ รนุ แรงมากขึน้ ตามความรุนแรงของพิษ อนั ตราย สงิ่ ระคาย ส่งิ ไม่สบายนั้นๆ ถ้าพิษ มากเกินจนไม่สามารถขับออกได้หมด จะเกิดการเกร็งตัวค้าง เลือดลมไหลเวียนไม่สะดวก สารอาหารและ คู่มอื การดูแลสขุ ภาพสาหรบั ผูส้ งู อายแุ ละครอบครวั อ. โชติกา ชยั ชนะ 4

พลังงานทีเ่ ปน็ ประโยชนไ์ หลเวียนเขา้ เซลลไ์ มไ่ ด้ ของเสียไหลเวียนออกจากเซลลไ์ มไ่ ด้(เซลล์ทํางานตลอดเวลา จะเกดิ ของเสียตลอดเวลา) ทําให้เซลลเ์ ส่ือม ประกอบกบั เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวซ่ึงทําหนา้ ท่ีในกลไกฟาโกไซโตซสี คอื กลไกการโอบมะเร็ง เน้ืองอก เซลล์ ท่ีผิดปกติ เช้ือโรคและพิษต่างๆ แล้วหล่ังเอนไซม์/น้ําย่อยต่างๆ มาสลาย แล้วขับออกจากร่างกาย โดยกลไก รีเฟล็กซ์ของเซลล์ ซ่ึงทําให้เราไม่เจ็บปุวย เม่ือเม็ดเลือดขาวและเซลล์ต่างๆ ถูกทําลายจากพิษร้อนเย็นไม่สมดุล หรือถกู ทําลายด้วยพิษอ่ืนๆ ทําให้โครงสร้างและโครงรูปของเซลล์เสีย เซลล์ก็จะเสียหน้าท่ี ไม่สามารถกําจัดพิษ ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พิษต่างๆ ก็จะสะสมค้างอยู่ในร่างกาย ทําให้เซลล์เส่ือมและตายก่อนเวลาอันควร การทํางานของอวัยวะต่างๆก็เส่ือม จึงทําให้เกิดโรคได้ ทุกโรคหรือเกิดอาการเจ็บปุวยได้ทุกอาการหรือเกิด ความเส่ือมได้ทุกเซลล์ทุกอวัยวะของร่างกาย จุดใดท่ีอ่อนแอ และมีพิษมากก็จะเกิดอาการก่อน แล้วค่อย ลุกลามไปจดุ อน่ื ๆ ถ้าไมไ่ ด้รับการแกไ้ ข โดยท่อี กุศลและความกงั วล จะทําให้โรคและความเส่อื มรุนแรงย่งิ ข้นึ ดังนนั้ ถา้ เรามีวธิ กี ารระบายส่งิ ทพ่ี ิษรอ้ นหรือเยน็ เกินนน้ั ออก พรอ้ มกบั การไมเ่ พ่ิมพิษรอ้ นหรือเย็นเกนิ น้ันเข้าไป เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวและเซลลต์ ่างๆ ก็จะมีโครงสร้างและโครงรปู ตามปกติ ทําหน้าที่ได้ตามปกติ อย่าง มีกาํ ลงั และประสิทธิภาพมากข้ึนในการสลายพิษตามกลไกฟาโกไซโตซีสและเกร็งตัวขับพิษต่างๆ ออกไปจาก ร่างกาย เมื่อพิษถูกกําจัดออกจากร่างกายจนทุเลาเบาบางลงหรือหมดไป พร้อมกับการไม่เพิ่มพิษเข้าไป กล้ามเนื้อก็จะคลายตัว เพราะไม่ต้องบีบ ไม่ต้องเกร็งตัวขับพิษออก เลือดลมก็จะไหลเวียนสะดวก สารอาหารและพลงั งานทเี่ ป็นประโยชน์สามารถเขา้ ไปหลอ่ เลี้ยงเซลล์ไดแ้ ละของเสยี ระบายออกจากเซลล์ได้ ย่ิง ถ้าทําพร้อมกับการ ละบาป บําเพ็ญกุศลและฝึกสะสมใจไร้กังวล ก็จะช่วยทําให้โรคและอาการเจ็บปุวยต่างๆ ทเุ ลาหรอื หายไป ส่งเสริมให้รา่ งกายและจิตใจมีสุขภาวะทด่ี ยี ง่ิ ขึ้น สาเหตขุ องการมอี ายุส้ัน อายยุ ืน โรคมาก และโรคนอ้ ย อาการร้อนหรือเย็นเกินใดที่มีลักษณะเด่นซ้ํากัน เวลาวินิจฉัยแยกภาวะร้อนเย็น ให้สังเกตอาการ อ่ืนๆ ท่ีแตกต่างกันประกอบการวินิจฉั ย หรือวินิจฉัยจากพฤติกรรมร้อนเย็นยิ่งถูกต้องที่สุด พระพทุ ธเจ้าตรัสข้อความสําคัญท่ีเก่ียวกับสาเหตุของการมีโรคน้อยว่า “เป็นผู้มีอาพาธน้อย มีทุกข์ น้อย ประกอบด้วยเตโชธาตุอันมีวิบากเสมอกัน ไม่เย็นนัก ไม่ร้อนนัก เป็นอย่างกลางๆ ควรแก่ ความเพียร ฯ” (พระไตรปิฎก เลม่ 11 ข้อท่ี 293) แสดงว่า พระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบวา่ การปรับสมดุลร้อนเย็น จะทําให้มีโรคน้อย มีทุกข์น้อย ส่งผล ใหม้ สี ภาพร่างกายพร้อมทจี่ ะประกอบความเพียร ซ่งึ กค็ ือร่างกายที่แข็งแรงนนั้ เอง พระไตรปิฎก เล่ม 11 ข้อ 131 พระพทุ ธเจา้ ตรัสว่า ดูกรภิกษุทง้ั หลาย ตถาคตเคยเป็นมนุษย์ในชาติ กอ่ น ภพกอ่ น กําเนดิ กอ่ น เป็นผู้มีสมาทานมั่นในกุศลธรรม มีสมาทานไม่ถอยหลังในกายสุจริต ในวจีสุจริต ในมโนสจุ ริต ในการบําเพ็ญทาน ในการสมาทานศีล ในการรักษาอุโบสถ(ปฏิบัติศีลท่ีสูงข้ึน) ในการปฏิบัติดีใน มารดา ในการปฏิบัติดีในบิดา ในการปฏิบัติดีในสมณะ ในการปฏิบัติดีในพรหม ในความเป็นผู้เคารพต่อ ผใู้ หญ่ในสกลุ และในธรรมเปน็ อธิกุศลอ่ืนๆ วนิ ิจฉัยอาการป่วยจากพฤตกิ รรมก่อโรค ดงั นน้ั การท่จี ะมสี ขุ ภาพดีหรอื ทําให้ความเจบ็ ปุวยลดนอ้ ยลง จงึ ตอ้ งแกป้ ัญหาทต่ี ้นเหตุ คอื ลดละเลิก พฤติกรรมทท่ี าํ ให้ภาวะร้อนเยน็ ของรา่ งกายไมส่ มดลุ และทําพฤติกรรมทท่ี ําใหภ้ าวะรอ้ นเยน็ ของรา่ งกาย สมดุล ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ ค่มู อื การดูแลสขุ ภาพสาหรับผสู้ งู อายุและครอบครวั อ. โชติกา ชัยชนะ 5

อาการเจบ็ ป่วย การเจบ็ ปวุ ยแบ่งไดเ้ ป็น 5 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1. อาการของภาวะรอ้ นเกิน อาการเด่นท่มี กั เกิดเม่ือมีภาวะร้อนเกนิ ได้แก่ ปากคอแห้ง กระหายน้ํา ปวด บวม แดง ร้อน ตงึ แขง็ มนึ ชา แผลพุพอง ผนื่ คนั ปัสสาวะเข้มปริมาณนอ้ ย อจุ จาระแข็ง กาํ ลงั ตก ชพี จรเต้นแรง ไฟไหม้ นํา้ รอ้ น ลวก แมลงสตั ว์กัดตอ่ ย เรมิ งูสวดั การติดเช้อื ตามอวัยวะต่างๆ เปน็ ต้น เม่อื มภี าวะรอ้ นเกิน ใหแ้ ก้ด้วยการใช้ สิ่งที่มฤี ทธ์ิเยน็ เท่าที่รสู้ ึกสบาย ลดหรืองดสิง่ ท่มี ฤี ทธริ์ ้อนเทา่ ที่รูส้ ึกสบาย 2. อาการภาวะเยน็ เกนิ อาการเด่นทีม่ กั เกดิ เมอ่ื มีภาวะเยน็ เกิน ไดแ้ ก่ ปากคอช่มุ ไม่กระหายนํา้ รสของน้ําจดื ผิดปกติ ปวด เหย่ี ว ซีด เยน็ ตึง แข็ง มึน ชา ทอ้ งอดื หัวตอื้ มอื เยน็ เทา้ เยน็ หนาวสนั่ ปัสสาวะใสปริมาณมาก อุจจาระเหลว กําลังตก ชพี จรเต้นเบา ถา้ มีภาวะเย็นเกนิ ให้แก้ดว้ ยการใช้ส่ิงที่มฤี ทธิ์รอ้ นเทา่ ทรี่ ู้สกึ สบาย ลดหรืองดส่ิงท่ีมฤี ทธเ์ิ ยน็ เท่าท่ี รู้สึกสบาย 3. อาการรอ้ นเกนิ และเย็นเกนิ ทีเ่ กิดขน้ึ พรอ้ มกนั มีไข้สูง ร่วมกบั เย็นมอื เยน็ เท้าหรือหนาวสั่น ปวดศรี ษะ ตวั ร้อนรว่ มกบั ทอ้ งอืด ในรา่ งกายมี บางส่วน ปวด บวม แดง รอ้ น บางส่วน ปวด เหีย่ ว ซดี เยน็ เป็นตน้ วิธแี ก้ทงั้ ภาวะร้อนและเยน็ เกิดขึน้ พรอ้ มกนั คอื ใช้สง่ิ ท่มี ีฤทธ์เิ ยน็ โดยผ่านไฟหรอื กดนา้ํ รอ้ นใส่ หรอื อาจผสม สิง่ ทีม่ ีฤทธ์ิร้อนเทา่ ทร่ี ู้สึกสบาย ลดหรืองดส่ิงท่มี ีฤทธ์ิเย็นสดเทา่ ที่รู้สึกสบาย 4. อาการของภาวะร่างกายท่ีมสี าเหตุเกิดจากรา่ งกายรอ้ นเกนิ ตีกลบั เปน็ อาการเยน็ เกิน (เย็นหลอก) สาเหตุจากรอ้ นแตม่ ีสภาพตกี ลับจนเกิดอาการเย็นเกนิ เมอ่ื ใช้ส่งิ ทม่ี ฤี ทธ์ริ อ้ นแก้ อาการจะยิ่งแย่ไป กวา่ เดมิ แต่พอใช้สิ่งที่มฤี ทธิเ์ ยน็ กลับรู้สึกสบาย กใ็ หใ้ ช้ส่งิ ท่ีมีฤทธเ์ิ ยน็ เพราะตน้ เหตุเกิดจากร้อน ดงั ที่ พระพุทธเจา้ ตรสั วา่ ละเหตุทกุ ขไ์ ดเ้ ป็นสขุ ในท่ีท้ังปวง (พระไตรปฎิ ก เล่มที่ 25 ข้อ 59) ละทุกขท์ งั้ ปวงได้ เปน็ ความสุข (พระไตรปิฏก เลม่ ท่ี 25 ขอ้ 33) จะเหน็ ได้วา่ พระพทุ ธเจา้ พบว่า การดบั ทุกข์ท่ีตน้ เหตุจะทําให้ทุกข์ ดับและเกิดความสขุ ข้นึ 5. อาการของภาวะร่างกายท่มี ีสาเหตุเกิดจากร่างกายเย็นเกนิ ตีกลับเปน็ อาการร้อนเกิน (ร้อนหลอก) คือ ตน้ เหตุจากเย็นแต่มสี ภาพตกี ลบั จนเกิดอาการรอ้ นเกนิ เมื่อใชส้ ง่ิ ทีม่ ฤี ทธิ์เยน็ แก้ อาการจะยง่ิ แย่ ไปกว่าเดมิ แตพ่ อใช้สง่ิ ท่ีมฤี ทธร์ิ อ้ นกลับรู้สึกสบาย ก็ให้ใช้สง่ิ ทม่ี ฤี ทธิ์ร้อน เพราะต้นเหตุเกิดจากเยน็ การดับ ทุกขท์ ี่ต้นเหตุจะทาํ ใหท้ ุกขด์ ับและเกิดความสุขข้นึ พฤติกรรม รอ้ นเกิน สมดุลรอ้ น-เย็น เยน็ เกนิ 1. อารมณ์ ความเครียด ความเร่งรีบ เรง่ รัด เรง่ ร้อน ละบาป บําเพญ็ บุญ อารมณเ์ ฉยๆ ดูดาย ไม่ คดิ ไม่พดู ไมท่ ําอะไร ความ ความวติ กกงั วล ความไม่โปร่ง ไม่ เพ่ิมพนู ใจไร้กงั วล มากเกนิ จนเกดิ อาการไม่ สบาย โล่ง ไม่สบายใจ ความไมพ่ อใจ ความมุ่ง ไม่กลวั ตาย ไม่กลัว รา้ ย อาฆาต พยาบาท ความโลภ โกรธ โรค ไมเ่ ร่งผล ไม่ หลง ยดึ เกิน เอาแตใ่ จตวั เอง ฟงุู ซา่ น กังวล คูม่ อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรับผสู้ งู อายุและครอบครวั อ. โชติกา ชัยชนะ 6

พฤตกิ รรม รอ้ นเกนิ สมดุลร้อน-เยน็ เย็นเกิน 2. อาหาร - มีสารพษิ - ไรส้ ารพษิ -ไม่ปรงุ รสเลย - มีเนอื้ สัตว์ - รสจดั - ไม่มีเน้ือสัตว์ -กินอาหารกลมุ่ เยน็ มาก - กินอาหารกลมุ่ รอ้ นมากเกิน - เคย้ี วไมล่ ะเอียด - ปรงุ รสเล็กนอ้ ย เกิน เทา่ ทพ่ี ลงั ชีวิตเตม็ -เคยี้ วละเอยี ดนานเกนิ - จดั สดั ส่วนของ พอดี อาหารกลุ่มรอ้ นและ “จนเกิดอาการไม่ เยน็ เทา่ ทีพ่ ลังชวี ิต สบาย” เตม็ - เค้ียวละเอยี ดดี 3. การออก - ออกกําลงั ท่ีใช้แรงมากเกินจนเกดิ - ออกกําลังกายทใี่ ช้ - ไม่ออกกาํ ลงั กายจน กาํ ลังกาย อาการไม่สบาย กายบริหาร - กลั้นลมหายใจมากไปจนเกดิ อาการไม่ แรงเทา่ ท่ีพอดพี ลงั เกดิ อาการไมส่ บาย และอิริยาบถ สบาย ชวี ิตเต็ม - ปล่อยลมหายใจออก (ลักษณะการ - ใช้อวัยวะของร่างกายทาํ งานแล้ว - กดจดุ ลมปราณ ทางปาก จมกู มากเกิน ทํางาน) ไม่คลาย ไมด่ ดั กล้ามเน้ือให้เขา้ สภาพเดมิ จนเกิดอาการไม่สบาย โยคะ กายบรหิ าร พอดจี นเกดิ อาการ - ปรบั การหายใจเข้า ไม่สบาย และผ่อนลมหายใจ - ใช้อวัยวะของรา่ งกาย ออก เหมาะกบั สภาพ ทาํ งานแลว้ คลาย/ดดั รา่ งกายเท่าท่ีพอดี กล้ามเน้ือมากเกนิ พอดี สบาย จนเกิดอาการไมส่ บาย - ใช้อวัยวะของ ร่างกายทํางานแลว้ คลาย/ดัดกลา้ มเน้อื ให้เขา้ สภาพเดมิ 4. การสมั ผัส - ส่งิ แวดล้อม ดนิ น้ํา อากาศมีสารพษิ มี - สิ่งแวดล้อม ดิน - สิง่ แวดล้อม ดนิ นํา้ มลพิษตา่ งๆ พลังร้อนมากจนเกิดอาการไมส่ บาย นํา้ อากาศ อากาศมพี ลงั เย็นมากจน ไรส้ ารพิษ เมอ่ื สัมผัส เกดิ อาการไมส่ บาย แล้วรู้สกึ สบาย หรือ ปรบั สมดุลร้อน-เยน็ ของสงิ่ แวดลอ้ มให้ ร่างกายรสู้ กึ สบาย หรือปรับรา่ งกายให้ รู้สกึ สบายเม่อื สัมผัส ส่งิ แวดล้อมนน้ั ๆ ค่มู ือการดูแลสุขภาพสาหรับผู้สงู อายุและครอบครวั อ. โชติกา ชยั ชนะ 7

พฤตกิ รรม รอ้ นเกิน สมดลุ รอ้ น-เยน็ เย็นเกนิ - ไมก่ ารสมั ผสั - ส่งิ แวดลอ้ ม ดิน นํ้า 5. การสัมผัส - การสัมผัสเคร่อื งยนต์ เคร่ืองไฟฟาู เครอ่ื งยนต์ เครื่อง อากาศมีพลงั เยน็ มากจน เครื่องยนต์ เครื่องอิเลคโทรนคิ ส์ มากเกินความ ไฟฟูา เคร่ืองอเิ ลค เกิดอาการไมส่ บาย เคร่อื งไฟฟาู สมดลุ จนเกดิ อาการไม่สบาย โทรนิคส์ หรือ เครอื่ งอเิ ลค จดั สรรเวลาเม่ือ - การระบายพิษหรอื ลด โทรนคิ ส์ จาํ เปน็ ตอ้ งสัมผัส พิษในรา่ งกาย ด้วยวธิ ีที่ มลพิษดงั กลา่ วเท่าที่ ทาํ ให้ร่างกายเย็นลง 6. การระบาย - การระบายพษิ หรอื ลดพษิ ในรา่ งกาย ร้สู ึกสบาย หรอื ปรบั จนเกิดอาการไม่สบาย พษิ หรอื ลด (ใชย้ าเม็ดท่ี ๑-๖) ดว้ ยวิธที ่ที าํ ใหร้ า่ งกาย สมดลุ รอ้ นเยน็ ของ รา่ งกายใหร้ ู้สึกสบาย พษิ ในร่างกาย รอ้ นขนึ้ จนเกิดอาการไม่สบาย เม่ือสัมผัสมลพษิ -เพียรมากเกนิ พกั นอ้ ยเกนิ จนเกดิ ดังกล่าว อาการไมส่ บาย - การระบายพิษหรอื ลดพษิ ในรา่ งกาย ดว้ ยการปรบั สมดุล ร้อนเย็นตามสภาพ รา่ งกาย ณ ปจั จบุ นั เทา่ ท่ีสบาย 7. การเพียร -ไมถ่ อนพษิ รอ้ นหรือไมพ่ ักผอ่ นหลบั นอน -การเพียรเต็มท่ี การ เพยี รนอ้ ยเกิน พักมาก การพัก ในช่วงไฟกาํ เรบิ ( 4 ทมุ่ ถึงตี 2 ) พกั พอดี -เพยี รใหห้ นัก พกั ให้ เกนิ จนเกดิ อาการไม่ พอ “เทา่ ทีพ่ ลังชีวิต สบาย เตม็ ” -ถอนพิษร้อนหรือ พกั ผ่อนหลบั นอน ในชว่ งไฟกําเริบ ( 4 ทุ่มถึงตี 2 ) คูม่ อื การดูแลสุขภาพสาหรับผู้สงู อายแุ ละครอบครัว อ. โชติกา ชัยชนะ 8

พฤตกิ รรม ร้อนเกนิ สมดลุ รอ้ น-เย็น เยน็ เกิน 8. บาป/ -ไมป่ ฏบิ ตั ศิ ลี 5 (ไม่ละบาป -ปฏบิ ัตศิ ีล 5 -ไมป่ ฏบิ ตั ศิ ีล 5 อกศุ ล บุญ/กุศล ไม่บําเพญ็ บญุ ไม่เพ่มิ พนู ใจไร้กงั วล) (ละบาป บาํ เพ็ญบุญ (ไมล่ ะบาป ไมบ่ าํ เพญ็ เพิ่มพนู ใจไรก้ งั วล) บญุ ไมเ่ พ่มิ พนู ใจไร้กงั วล) -ไมป่ ฏิบตั ศิ ลี 5 (ไม่ละบาป 1. ไมฆ่ า่ สตั ว์ ไม่กนิ -ไม่ปฏิบัติศลี 5 (ไมล่ ะ ไม่บําเพญ็ บญุ ไมเ่ พิ่มพนู ใจไร้กังวล) สตั ว์ ไมค่ ้าขายมิจฉา บาปไม่บาํ เพ็ญบุญ ไม่ วณชิ า 5 เพ่มิ พนู ใจไร้กังวล) บรู ณาการองคค์ วามรู้ในการแกป้ ญั หา 2. ไมล่ กั /ไม่ขโมย/ไม่ สขุ ภาพ ไปสกู่ ารแก้ปัญหาทีป่ ลายเหตุ(ไม่ ฉ้อโกง บูรณาการองคค์ วามรใู้ น ถกู สมดลุ รอ้ นเย็น ณ สภาพปัจจุบนั ทั้ง ลดความโลภด้วยการ การแกป้ ญั หาสุขภาพ ด้านรปู ธรรมและนามธรรม โดยโตง่ ไป รู้จกั ให้ทานแบ่งปัน ไปสกู่ ารแกป้ ัญหาที่ ในทางร้อนเกนิ จนเกิดอาการไมส่ บาย) ขา้ วของ/แรงกาย/ ปลายเหตุ(ไมถ่ กู สมดุล ใช้สง่ิ ทร่ี าคาแพง หาไดย้ าก ทาํ ไดย้ าก ความรู้ รอ้ นเยน็ ณ สภาพ และแต่ละคนทําเอาเองไมไ่ ด้ ต้องพ่ึงผูอ้ น่ื ให้ผู้อืน่ ปัจจุบนั ทัง้ ด้านรูปธรรม เป็นหลัก 3. ไมป่ ระพฤติผดิ ใน และนามธรรม โดยโตง่ กามคุณ 5 คอื ลด/ ไปในทางเย็นเกนิ จนเกดิ ละ/เลกิ ในรปู รส อาการไมส่ บาย) ใช้ส่งิ ท่ี กล่ิน เสียง สัมผัสท่ี ราคาแพง หาได้ยาก ทาํ เปน็ ภัย รวมถึงการ ไดย้ าก และแตล่ ะคนทํา สัมผสั ผัวเขา เมียใคร เอาเองไม่ได้ ต้องพ่ึงผู้อนื่ ลกู ใคร และลดละ เป็นหลัก เลิกการสมสู่(เมถนุ ) 4. ไม่ใช้วาจาทไ่ี มด่ ี 5. ไมม่ วั เมาในส่งิ ที่ เป็นภยั ตอ่ ชวี ิต กรณที ่มี ภี าวะรอ้ นเกินและเยน็ เกนิ เกดิ ขึ้นพรอ้ มกนั ให้กดนาํ้ ร้อนใสน่ ํ้าสมนุ ไพรฤทธิ์เย็น หรอื นําไปต้มให้เดือดก่อนดื่ม หรอื อาจนําสมุนไพรฤทธิร์ ้อนมาผสมก่อนด่ืม ก็ได้ เช่น นา้ํ ตม้ ขมนิ้ นา้ํ ตม้ ขิง ตะไคร้ กระชาย กระเพราะมาผสม เป็นต้น กรณที ่มี ีภาวะเย็นเกินอยา่ งเดยี ว ใหง้ ดสมนุ ไพรฤทธ์ิเยน็ รับประทานสมนุ ไพรฤทธ์ริ อ้ นในปริมาณทีส่ มดุลพอดี อาจรบั ประทานสด แห้งหรือ นาํ ไปตม้ กไ็ ดเ้ พอ่ื แกภ้ าวะเยน็ เกนิ เชน่ ขม้นิ ขงิ ข่า ตะไคร้ กระชาย กระเพรา พรกิ พริกไทย กระเทียม หัว หอม เคร่ืองเทศ พืชทีม่ กี ลิน่ ฉนุ หรือมรี สเผด็ เป็นต้น ยาเม็ดที่ 2 กัวซาหรอื ขดู ซาหรือขดู พษิ หรอื ขูดลม คมู่ อื การดูแลสขุ ภาพสาหรับผู้สงู อายแุ ละครอบครวั อ. โชติกา ชยั ชนะ 9

เร่ืองท่ี 2 การปรับสมดลุ ของรา่ งกายด้วยอาหารและสมนุ ไพร การรับประทานอาหารปรับสมดลุ ร่างกาย พระพทุ ธเจ้า ตรัสไว้วา่ \" อาหารเป็นหนง่ึ ในโลก \" อาหารทสี่ มดลุ ก็จะได้สุขภาพดที ่ีหนงึ่ อาหารไม่สมดลุ กจ็ ะได้สุขภาพเสียท่ีหน่งึ ตวั อยา่ งอาหารท่ีมีผลต่อสุขภาพ ผปู้ ว่ ยมะเรง็ กระเพาะปสั สาวะ ทา่ นหน่ึงอยู่ภาคเหนอื มีอาการ ปัสสาวะเปน็ เลือด ไดไ้ ปจท้ี ่โี รงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึง เสียค่ารกั ษาพยาบาล 5 หมื่นบาท เม่ือผา่ นไประยะหนงึ่ เลอื ดกอ็ อกมาอกี ในขณะท่ีผ้ปู ุวยกําลงั เดินทาง มาเข้าค่ายที่ผู้เขียนจัดผ้ปู ุวยไดป้ รึกษามาทมี งานสขุ ภาพ จงึ ไดแ้ นะนําวา่ เป็น ภาวะรอ้ นเกนิ ให้หาสิ่งทมี่ ฤี ทธิ์เย็นรบั ประทานผปู้ ุวยไดเ้ ฉากว๊ ยซง่ึ มีฤทธ์ิเย็นมารับประทาน ปรากฏว่า จาก ปสั สาวะเป็นเลือดสีน้าํ ล้างเนอ้ื กค็ ่อย ๆ ใสข้ึนเรื่อย ๆ จนเป็นปกติ (เลอื ด หยุดไหล) ภายใน 4 ชัว่ โมง จะเหน็ ได้ ว่า การไปจ้ีทโ่ี รงพยาบาลเสยี ค่ารักษาพยาบาล 5 หมืน่ บาท แตก่ ารรู้อาหารรอ้ น-เย็นแลว้ ปรับสมดุลตวั เสีย ค่าใช้จ่ายซอ้ื เฉากว๊ ยแค่ 5 บาท ลกู ศษิ ย์ของผเู้ ขียนท่านหนึ่งเปน็ พยาบาลวชิ าชพี มอี าการปวดศรีษะ เมื่อรวู้ ่าเกดิ จากภาวะรอ้ น เกิด แตไ่ ม่อยากรักประทานยาแก้ปวดเพราะ ร้วู ่ายาแกป้ วดทุกชนิดท่ีเปน๋็ เคมพี ษิ ตอ่ ร่างกาย จึงไปเอามงั คดุ ซึง่ มี ฤทธ์เิ ยน็ มารับประทาน ประมาณ 6 ลูก อาการปวดศรษี ะกห็ ายไป ผ้ปู ว่ ยเอดส์ มีต่มุ หนองเรมิ งสู วดั ข้ึนท้ังตัว หมอทา่ นหน่งึ ทด่ี แู ลผปู้ วุ ยอยู่ ได้โทรมาปรกึ ษาผเู้ ขียน ผเู้ ขียนจึงบอกวา่ เป็นภาวะร้อนเกนิ ใหถ้ อนพิษรอ้ น ชว่ งเวลาต่อมา หมอท่านนน้ั ไดม้ ากลา่ วคําขอบคุณผู้เขียน และบอกว่าหลังจากที่ปฎิบัติแค่ 2 วนั อาการดังกล่าวกย็ บุ ลง ผู้เขยี นจงึ ถามวา่ ทําอยา่ งไร หมอท่านน้ันตอบว่า ตม้ ฟัก ตม้ ถัว่ เขียวให้รบั ประทาน (ฟกั และถั่วเขียว มฤี ทธ์ิเยน็ ) อกี กรณี มีอยู่ครั้งหนึง่ ผเู้ ขียนไปรับประทานจับฉ่าย (ซ่งึ มฤี ทธิ์รอ้ นมาก จากนาํ้ มันและการอุน่ ซํ้า ๆ) เกดิ อาการหูอ้อื (หดู ับตับไหม้/ตบั ร้อน) ผเู้ ขียนจงึ แกไ้ ขดว้ ยการเอาสม้ ตาํ รสไม่จดั (มฤี ทธิเ์ ยน็ ) มารบั ประทาน อาการทเุ ลาและหายภายใน 5 นาที จากนน้ั ผูเ้ ขยี นก็รบั ประทานจับฉ่ายอกี อาการหูอ้อื กก็ ับมาอีก พอรบั ประทานส้มตาํ แก้ อาการหอู ้ือก็หายไปอีก แต่ถ้าเปน็ เรอื้ รังอาจตอ้ งใช้เวลาบ้าง การปรับสมดุลดว้ ยก็มักจะทเุ ลาหรอื หายไปอยา่ งรวดเร็ว แตถ่ ้าเป็นเร้อื รงั อาจตอ้ งใช้เวลาบ้าง การปรับสมดุล ดว้ ยอาหาร จึงเปน็ สิ่งจาํ เป็นท่ีสําคัญมากอีกอย่างหนึง่ ท่นี า่ ฝึกฝนเรียนรู้ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1. เพิ่มการรบั ประทาน ผกั ผลไมท้ ่ไี มห่ วานจัด และโปรตนี จากถว่ั หรอื ปลา (สําหรับผู้ทไ่ี ม่สามารถงด 10 เนอ้ื สัตว์) คมู่ อื การดแู ลสุขภาพสาหรบั ผูส้ งู อายแุ ละครอบครวั อ. โชติกา ชัยชนะ

2. ควรปรงุ อาหารด้วยการต้มหรือนึง่ ปรงุ รสไม่จัดจนเกินไป ถา้ เปน็ ไปได้ ควรปรุงรสอยูใ่ นระดบั ประมาณ 10-30 % ของที่เคยปรุง อาจปรุงมากหรอื นอ้ ยกว่านี้ตามความสมดลุ พอดขี องร่างกาย ณ ปจั จบุ ันน้ัน ๆ ซ่ึงตัวช้ีวัดของความสมดลุ พอดี คอื ความรู้สึกสบายเบากาย มกี ําลัง หรอื ถ้าผู้ที่ตดิ รสจดั มาก ก็คอ่ ย ๆ ลดรส จัดของอาหารลง ให้มากท่ีสุด เท่าทจ่ี ะพอรับประทานได้โดยไม่ลําบากนกั 3. งดหรอื ลดการรบั ประทานอาหารทหี่ วานจัด เช่น ของหวาน น้าํ หวาน นํ้าอดั ลม เครือ่ งบํารุงกาํ ลงั ผลไมห้ รอื นํา้ ผลไมท้ ่ีหวานจัดอาหารท่ีเค็มจัด เช่น ปลาร้า ผักดอง เนื้อเคม็ ไขเ่ คม็ อาหารทปี่ รงุ เคม็ มาก และ อาหารทีม่ ผี งชูรสมาก (มีการวิจยั ของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า อาหารทมี่ โี ซเดยี มมากเกนิ เค็มจดั หรอื มผี งชู รสมากทาํ ให้เกดิ ความดันโลหติ สงู หวั ใจโตนา้ํ หนกั เพมิ่ ไตเสือ่ ม ภมู ิต้านทานลด และรหสั พันธุกรรมผิดปกติ) อาหารท่มี ีไขมันสงู เชน่ อาหารผัดทอด เนื้อสัตว์ที่มีไขมนั สูง ได้แก่ เน้ือหมู ววั ควาย ไก่พันธเ์ุ นื้อ อาหารทะเล เป็นต้น และอาหารทปี่ รุงรสอน่ื ๆ จดั เกนิ ไป เชน่ เผด็ เปร้ียว ขม ฝาด เปน็ ต้น ลด ละ เลกิ การสบู บหุ รีแ่ ละเครื่องดืม่ ทม่ี แี อลกอฮอล์ ชา กาแฟ นาํ้ อัดลม เคร่อื งดม่ื เกลอื แร่ เครื่องด่ืมบาํ รุงกําลงั ต่าง ๆ นาํ้ หมกั ข้าวหมาก รวมถึงอาหารท่ีมีวติ ามนิ น้อย แตม่ โี ซเดยี มหรอื ไขมันสูงเกนิ ได้แก่ อาหารแปรรูปหรอื สําเรจ็ รูปตา่ ง ๆ เชน่ บะหมก่ี ึง่ สาํ เรจ็ รปู ขนมอมขนมกรบุ กรอบ ขนมปัง อาหาร กระป๋อง ไสก้ รอก หมูยอ กนุ เชยี ง ปลาเค็ม เนือ้ เค็ม ไขเ่ ค็ม ของหมักดอง อาหารทะเล (จะมีทงั้ ไขมนั และ โซเดยี มสงู ) เปน็ ตน้ 4. หลักปฎบิ ัติ 4 อยา่ ง ในการรับประทานอาหาร เพ่อื สุขภาพท่ีดี 1. ฝึกรับประทานอาหารตามลาํ ดับ 2. เคยี้ วอาหารให้ละเอียดกอ่ นกลนื 3. รบั ประทานในปรมิ าณท่พี อดีรูส้ กึ สบาย 4. กลืนลงคอให้ได้ เพราะอาหารสุขภาพมกั จะไมอ่ ร่อย ยกเว้น ผ้ทู ม่ี ีบุญบารมมี ากหรือผู้ที่ฝกึ รับประทานบ่อย ๆจะรู้สึกอรอ่ ยไปเอง เทคนคิ ทสี่ าคญั ในการรับประทานอาหารให้อรอ่ ย คอื **รอให้ร้สู ึกหวิ มาก ๆ ก่อนแลว้ ค่อยลงมอื รับประทาน **หม่ันระลึกถงึ ประโยชนข์ องอาหารสขุ ภาพให้มาก **หมั่นระลกึ ถงึ ผลเสยี ของอาหาร ทไ่ี ม่สมดลุ หรอื เป็นพิษใหม้ าก กรณีทมี่ ภี าวะร้อนเกนิ ในมอ้ื หลกั 1 มือ้ ใน 1 วนั อาจเป็นชว่ งเช้าหรอื เท่ยี งก็ได้ มเี ทคนคิ การรบั ประทาน 11 อาหารตามลําดับ คือ ลําดบั ท่ี 1 ดมื่ น้ําสมนุ ไพรปรบั สมดลุ เชน่ น้ํายา่ นาง ฯลฯ ลําดับท่ี 2 รับประทานผลไม้ฤทธิเ์ ย็น เชน่ กลว้ ยน้าํ ว้า แก้วมงั กร กระท้อน สับปะรด ส้มโอ ชมพู่ มงั คุด แตงโม แตงไทย ฯลฯ ลาํ ดับที่ 3 รับประทานผักฤทธ์เิ ย็นสด เชน่ ออ่ มแซบ(เบญจรงค)์ ผักบุ้ง แตง กวา้ งตงุ้ สายบัว ผกั กาด ฮ่องเต้ ผกั กาดขาว ผักสลัด ลาํ ดบั ท่ี 4 รับประทานข้าวจ้าวพร้อมกบั ข้าว โดยรบั ประทานข้าวกลอ้ งหรอื ข้าวซ๋อมมือ ควรงดหรอื ลดคาร์ โบไฮเดรท ทม่ี ีฤทธิร์ อ้ นมาก เชน่ ข้าวเหนยี ว ขา้ วแดง ขา้ วดาํ ข้าวอาร์ซี ข้าวสาลี ข้าบาเลย์ เผอื ก มนั กลอย ลําดบั ท่ี 5 รบั ประทานตม้ ถ่วั หรอื ธัญพืชฤทธเ์ิ ย็น เช่น ถัว่ ขาว ถว่ั เขยี ว ถ่วั เหลอื ง ถวั่ ลันเตา ถว่ั โชเล่ย์ ขาว ลูกเดือย คมู่ อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผู้สงู อายแุ ละครอบครวั อ. โชตกิ า ชัยชนะ

กรณที ี่มีภาวะเยน็ เกนิ แทรกข้ึนมา ใหก้ ดนาํ้ รอ้ นใส่สมนุ ไพรฤทธิ์เย็นหรอื ตั้งไฟใหร้ อ้ นกอ่ นรับประทาน ลดหรอื งดสง่ิ ทม่ี ฤี ทธ์เิ ย็น รับประทานผักหรืออาหารผ่านไฟให้มากขึ้น เพ่มิ สิ่งทีม่ ีฤทธิ์รอ้ นเขา้ ไป ตามสภาพรา่ งกายท่ี รบั ประทานแลว้ รสู้ กึ สบาย การรบั ประทานสมนุ ไพรปรบั สมดลุ กรณีทมี่ ีภาวะรอ้ นเกนิ ด่มื น้ําสมุนไพรฤทธิ์เยน็ หรอื ท่ีเรียกวา่ นา้ํ คลอโรฟลิ ด์สดจากธรรมชาต/ิ น้ํา เขียว นาํ้ ย่านาง วิธที าทาน้าสมนุ ไพรท่มี ีฤทธเ์ิ ยน็ 1. ใบยา่ นางเขียว 5 - 20 ใบ 2. ใบเตย 1 - 3 ใบ 3. บวั บก คร่ึง - 1 กํามอื 4. หญา้ ปกั ก่งิ 3 - 5 ต้น 5. ใบออ่ มแซบ (เบญจรงค)์ ครึง่ - 1 กํามอื 6. ผักบ้งุ ครึง่ - 1 กาํ มอื 7. ใบเสลดพงั พอน ครงึ่ - 1 กํามือ 8. หยวกกลว้ ย ครง่ึ - 1 คบื 9. วา่ นกาบหอย 3 - 5 ใบ จะใชอ้ ย่างใดอย่างหน่ึงหรอื หลายอยา่ งรวมกนั ก็ได้ โขลกให้ละเอยี ดหรือ ขย้ีผสมกับนํ้าเปล่า 1-3 แก้ว (บางครงั้ อาจผสมนํ้ามะพรา้ ว นาํ้ ตาล นา้ํ มะนาว นาํ้ มะขาม (เพ่ือทาํ ให้ดม่ื ได้งา่ ยในบางคน) กรองผ่านกระชอน เอาน้ําทไี่ ด้มาดื่ม คร้ังละประมาณ คร่ึง-1 แก้ว วันละ 1-3 ครั้ง ก่อนอาหารหรือ ตอนท้องว่างหรือด่ืมแทนน้ํา ตอนท่รี ู้สกึ กระหายนํ้า ปริมาณการดื่มและความเข้มข้นของสมุนไพร อาจมากหรือ น้อยกว่าน้ีก็ได้ ตามความ ต้องการของร่างกาย ณ เวลานั้น ๆ โดยดูความ พอดีได้จาก ความรู้สึกท่ีกลืนง่าย ไม่ฝืดไม่ฝืนไม่พะอืดพะอม และความสบายตัว กรณีที่ด่ืมน้ําสมุนไพรฤทธิ์เย็นสดแล้วรู้สึกไม่สบาย ให้กดนํ้าร้อนใส่นํ้าสมุนไพรฤทธ์ิเย็น หรือนําไปต้มให้เดอื ด ก่อนดม่ื หรอื อาจนําสมุนไพรฤทธิ์ร้อนมาผสมก่อนด่ืมก็ได้ เช่น นํานํ้าต้มขม้ิน ขิง ตะไคร้ มาผสม เปน็ ตน้ หรอื อาจดื่มสมุนไพรฤทธิ์ร้อนอยา่ งเดยี วก็ได้ ถ้าดื่มแล้วรู้สกึ สบาย กลไกการถอนพิษจากร่างกายด้วยสมุนไพรฤทธ์เิ ย็นคือร่างกายถกู ทําลายจากความรอ้ นด้วยสาเหตหุ ลัก 5 ประการ หรอื จากสาเหตอุ ื่น ๆ เม่ือเรารบั ประทานสมุนไพรฤทธ์ิเย็นเข้าไปตามหลกั วิทยาศาสตร์ พิษร้อนในรา่ งกายก็จะ แผ่มาที่สมนุ ไพรฤทธิ์เย็นและความเยน็ จากสมุนไพรก็จะแผ่ไปท่ีเซลล์เน้ือเย่ือของรา่ งกาย ทําให้เส้นประสาทและเซลล์ เน้ือเยอ่ื ของร่างกายท่ถี ูกเผาจนปวดแสบปวดรอ้ น ตงึ แขง็ (เหมอื นเนื้อนม่ิ ๆ ทถ่ี กู ตม้ หรอื ย่างจนแข็ง) ผดิ รูปไปจากปกติ เมอ่ื ถูกเผามาก ๆ ก็จะผพุ ัง ไม่สามารถทําหนา้ ทีไ่ ด้ตามปกติ จงึ เกิดโรคภยั ต่าง ๆ นนั้ เรม่ิ เยน็ ลง เม่ือร่างกายเย็นลง ไมม่ ีความรอ้ นทมี่ ากเกนิ เผาทําลาย เสน้ ประสาทกไ็ ม่ปวด ไมแ่ สบไม่ร้อน เซลล์เนือ้ เยอ่ื กไ็ ม่ ถกู ทําลาย เซลล์เนอ้ื เย่ือของกล้ามเนอื้ ก็คลายตวั เข้าสู่ภาวะปกติ เมด็ เลือดขาวก็แขง็ แรง เพราะไมถ่ ูกความร้อนเผาทํา ร้าย จึงสามารถทําหน้าที่ขบวนการฟาโกไซโตซีสได้อย่างมีประสิทธิภาพ คอื เม็ดเลอื ดขาวไปโอบเชื้อโรค สง่ิ แปลกปลอม และเซลล์ทห่ี มดสภาพหรือผิดปกติในร่างกาย แลว้ หล่ังเอม็ ไซม์(น้ํายอ่ ย)ออกมายอ่ ยสลาย จากนั้นกข็ บั ออกจากร่างกาย ทางช่องระบายของเสีย ทําให้โรคภัยไข้เจ็บลดน้อยลงหรอื หายไป คมู่ อื การดูแลสขุ ภาพสาหรับผสู้ งู อายุและครอบครัว อ. โชติกา ชัยชนะ 12

เรือ่ งท่ี 3 การระบายพิษทางผิวหนงั ดว้ ยวธิ กี ัวซา กัวซา เปน็ การแพทยด์ งั้ เดมิ ของชาวไทยภเู ขา ชาวจนี พม่า ลาว เวียดนาม กัมพชู า มาเลเซยี และประเทศในแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ มปี ระสิทธภิ าพโดดเด่นในการเอาพิษออกจากรา่ งกาย โดยระบายพลงั งาน ทีเ่ ปน็ พษิ จากเลือดท่ถี กู กระตุ้นให้เคลอื่ นทม่ี าระบายพิษทผี่ ิวหนงั ทาํ ให้ สามารถบรรเทาอาการไม่สบายไดอ้ ย่างรวดเร็ว ประโยชน์ของการกวั ซา - เรียนรงู้ ่าย สามารถทําได้ด้วยตนเอง ทําไดท้ ุกเวลา ทกุ สถานท่ี ไมม่ ผี ล แทรกซ้อนใด ๆ ทง้ั สิ้น - ชว่ ยลดอาการปวดหวั ตวั รอ้ น เปน็ ไข้ เป็นหวัด ไอเฉยี บพลัน/เรอ้ื รงั - ลดอาการเจ็บปวดมนึ ชาตามส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย - เพิ่มประสทิ ธิภาพระบบภูมคิ ุ้มกนั ในร่างกาย สร้างความแขง็ แรงใหเ้ ซลล์โดยการเพ่ิมออกซิเจน และระบายของเสียในเซลล์ ทั้งเซลลข์ องเม็ดเลอื ดและเซลล์อื่น ๆ ของร่างกาย โดยระบายพลังงาน ที่เปน็ พิษออกมาพร้อมกบั เลอื ดทีถ่ ูกกระตุ้นให้เคลอ่ื น มาระบายพษิ ที่ผวิ หนัง วิธีกวั ซา - ควรทําการกวั ซาในสถานท่ีโลง่ โปร่ง และลมไมโ่ กรกจัด - ใชข้ ้ผี ง้ึ ยา่ นาง ขผ้ี งึ้ เสลดพงั พอน ขผ้ี งึ้ แกห้ วดั ยาหมอ่ งดํา นํ้ามนั เขยี ว น้ํามนั เหลอื ง น้ํามันพชื นํ้า สมุนไพรฤทธ์เิ ยน็ หรอื นํา้ เปล่า อย่างใดอย่างหน่งึ ทาบนผวิ หนังกอ่ นขดู ซา ในบริเวณทีร่ ูส้ กึ ไม่สบายหรือบรเิ วณ ทถ่ี อนพษิ จากร่างกาย ไดด้ ี เชน่ บรเิ วณหลัง แขน ขา เป็นตน้ แม้ไมม่ สี มนุ ไพรทาเลย ก็สามารถขดู ซาได้เลย โดยท่ไี มต่ ้องทาอะไร ก็ช่วยถอนพษิ ได้ (ถ้ารู้สึกหนาวเยน็ ควรใช้นา้ํ อุ่น น้ํามันพืช หรอื ขีผ้ ึง้ ทีไ่ ม่เยน็ เกินไป ทา ก่อนขูดซาหรอื ขูดซา โดยที่ไมต่ ้องทาอะไรเลยก็ได้) - ใช้อุปกรณ์เรยี บง่าย เช่น ชอ้ น ชาม เหรียญ ไมข้ อบเรียบหรือ วสั ดุขอบเรยี บต่าง ๆ ขดู ได้ทง้ั ทผี่ วิ หนังตรง ๆ หรือจะขดู ผา่ นเสื้อผ้ากไ็ ด้ - การกวั ซาควรเริม่ จากด้านซ้ายก่อนเสมอ ยกเวน้ เกิดอาการไมส่ บายเดน่ ชัดทีด่ ้านขวา มากกวา่ ดา้ นซ้ายก็ให้ขดู ดา้ นขวากอ่ น คู่มอื การดูแลสุขภาพสาหรับผ้สู งู อายุและครอบครวั อ. โชติกา ชยั ชนะ 13

- การขดู แตล่ ะครงั้ ใหล้ งนํ้าหนกั แรงพอสบายไมแ่ รงเกิน ไม่เบาเกินความแรงทไี่ ด้ผลดนี นั้ ให้ลงน้าํ หนกั ไปค่อนข้าง แรงหน่อยเทา่ ทจ่ี ะ ไม่เจบ็ /ไม่ทรมารมากเกนิ ไป อาจไม่ รู้สึกเจ็บเลยหรอื รสู้ ึกเจ็บเล็กนอ้ ยใน ขีดทท่ี นได้ โดยไมย่ ากไม่ลาํ บากก๋็ได้ลงลงนํา้ หนกั สมาํ่ เสมอ - การขูดท่พี อดีคอื ขูดให้ผวิ มีสแี ดง จนกวา่ จะไม่แดง ไป กว่านั้นหรอื ขดู จดุ ละประมาณ10-50 ครงั้ อาจขดู มาก หรอื น้อยกว่านกี้ ไ็ ด้เทา่ ที่รู้สึกสบาย - หลังทํากวั ซา ควรเกนิ 4-8 ช่วั โมงขน้ึ ไปจึงสามารถ อาบนา้ํ ได้ ถา้ จําเป็นท่จี ะต้องอาบนํา้ ทันทีหลังกัวซา ก็ ควรอาบนํา้ อ่นุ หรอื เช็ดตวั ด้วยนา้ํ อุ่นหรือจาํ เปน็ ที่จะต้อง อาบน้าํ อาจอาบนํา้ ธรรมดา หลังกัวซาอย่างน้อย 30 นาที เพือ่ ใหเ้ ลือดทเี่ คลอ่ื นมาบริเวณ ผิวหนังมีเวลา ระบายพิษออกไปได้มากถา้ เรารีบอาบน้ําเยน็ เรว็ เกินไป เสน้ เลอื ดจะหดตัวบีบเลือด ทยี่ ังระบายพิษได้ไม่มา กลับคืนไปสู่เซลลเ์ นื้อเยอ่ื และอวัยวะภายในของเรา ทํา ใหร้ ะบายพษิ ได้นอ้ ย ทศิ ทางของการกัวซา ขูดศรีษะ ขดู จากกลางศรษี ะจนถึงตีนผม จนทวั่ ศรษี ะ ขูดใบหนา้ บรเิ วณใบหนา้ ให้เอากึ่งกลางระหว่างควิ้ เป็น จุดศนู ยก์ ลาง แล้วขูดออกไปเป็นรศั มวี งกลมทกุ ทิศทกุ ทางหรอื ขูดออกดา้ นขา้ งก็ไดส้ าํ หรับบริเวณตาให้หลับตา ลง แล้วขดู เบา ๆจากหัวตามาหางตาและใหท้ ว่ั บริเวณรอบตาท้งั หมด ลงนาํ้ หนักและปริมาณการขูดแค่พอร้สู ึก สบาย ค่มู อื การดแู ลสุขภาพสาหรับผูส้ งู อายแุ ละครอบครวั อ. โชติกา ชยั ชนะ 14

ขูดแผ่นหลัง สว่ นทชี่ ิดกระดกู สนั หลัง ขูดต้ังแต่ตน้ คอยาวลงมาจนถึงเอว ฟนื้ ที่แผ่นหลงั สว่ นที่เหลือให้ขูดออกขา้ ง ขดู บริเวณลาตวั ดา้ นหน้า เร่มิ จากกลางหน้าอกให้ขดู ลง ใตไ้ หล่ดา้ นหน้าให้ขูดออกขา้ ง หรอื ขูดลงกไ็ ด้ ใตร้ าว นมขูดตามรอ่ งซโ่ี ครงเฉียงเขา้ หาสะดือ บริเวณท้องขูดลงหรือขดู เขา้ หาสะดือก็ได้ ขดู คอ แขน มอื สะโพก ขา เท้าและจดุ ทไ่ี มส่ บายอืน่ ๆ หรือจุดท่ีจาทศิ ทางการขูดไมไ่ ด้ ให้ขูดลงหรอื ขูด ตามทิศที่เราขูดแล้วรสู้ กึ สบาย เพราะสภาพท่เี กิดการบาํ บัดรักษาคือ สภาพทีร่ สู้ ึกสบายตามหลักปฎิบัติเพอ่ื ความแข็งแรงอายุยนื ในพระไตรปิฎก อนายสุ สสตู ร ขอ้ ท่ี 1 การรจู้ กั ทําความสบายแก่ตนเอง ขอ้ ควรรขู้ องการกัวซา 1. การใชแ้ รงขดู ควรสมํ่าเสมอ ควรขดู จนเหน็ รอย จดุ แดงปรากฎข้นึ มาจนกวา่ จะไมแ่ ดงไปกวา่ นนั้ (หากขดู สักพกั แลว้ ไมแ่ ดงก็ย้ายจุดขดู ได้) หรอื ขูดจนบรเิ วณท่ขี ดู น้ันรู้สกึ สบายข้ึน จากน้ันจงึ ขดู ตําแหน่งอื่น ต่อไป 2. บางครงั้ หลงั จากขูดแล้ว 2-3 วัน ตําแหน่งทข่ี ดู อาจจะมีอาการระบมปรากฎขึน้ ซ่ึงถือวา่ เปน็ เรือ่ ง ปรกติ หลงั ขดู จนเกิดรอยแดง ณ จดุ น้นั ๆ ออกมาแลว้ เราสามารถแปลผลได้ดงั นี้ 1. สีชมพหู รอื สีแดงเรอ่ื ๆ แสดงว่า ดี 2. เปน็ ป้นื แสดงวา่ พษิ เรม่ิ สะสม 3. เป็นจาํ้ เหมอื นไข้เลอื ดออก แสดงว่า พิษสะสมนานแลว้ ในทางแพทยท์ างเลือก เรียกว่า ลมแตก 4. ถา้ เป็นลกั ษณะชํ้า แสดงวา่ มพี ษิ สะสมมาก ยิ่งถ้าช้ําจนถึงขน้ั สมี ว่ งหรือสดี ํา ในทางแพทย์ทางเลือกถือว่า มพี ิษมากถึงข้ันมะเรง็ ซึ่งการตรวจ 15 ในทางการแพทย์แผนปจั จุบนั อาจพบว่าเป็นมะเร็งหรอื ไมก่ ไ็ ด้ ซึ่งจากประสบการณข์ องผเู้ รยี บเรียงพบวา่ คู่มือการดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผสู้ งู อายุและครอบครัว อ. โชติกา ชยั ชนะ

ผู้ปวุ ยท่แี พทยแ์ ผนปัจจุบนั วนิ จิ ฉัยว่าเปน็ มะเรง็ มากกว่า รอ้ ยละ 80 มกั ขูดซาพบสมี ว่ งหรอื สีดาํ การกวั ซาจึง เป็นทงั้ การวนิ ิจฉยั โรคและการรกั ษาโรค ไปพร้อมกนั สว่ นใหญไ่ มเ่ กิน 7 วัน รอยแดงนนั้ มักจะยุบหายไป มักจะมีคาํ ถามวา่ เมอ่ื กัวซาแลว้ จะกวั ซาอกี ครง้ั เมอ่ื ไหร่ คาํ ตอบกค็ อื เม่ือร้สู กึ ไม่สบายอกี ครัง้ ถ้าเปน็ ผปู้ วุ ยหนัก อาจจะกวั ซาทุกวนั หรอื กวั ซาวันละหลายครง้ั กไ็ ด้ ถา้ การกวั ซานั้นทําให้ผ้ปู ุวยรสู้ ึกสบายตวั ข้นึ 3. ไม่ควรขูดในจุดที่เป็นแผลฝหี นองหรือจุดที่เมอ่ื ถูกขดู แล้วร้สู กึ ไมส่ บายเจ็บปวดแสบร้อน ทรมานมากเกินไป แตส่ ามารถขดู ตรงข้ามกบั จุดท่ีไมส่ บายน้ัน ๆ กส็ ามารถรกั ษาจุดทไี่ มส่ บายนั้นได้ คมู่ ือการดูแลสขุ ภาพสาหรับผู้สงู อายุและครอบครวั อ. โชตกิ า ชยั ชนะ 16

เรอ่ื งท่ี 4 การระบายพิษด้วยการสวนล้างลาไสใ้ หญ่ การสวนล้างลาไส้ใหญ่ (ดที อกซ)์ เป็นการปรับสมดลุ ดว้ ยการล้างพษิ 3 อย่าง ออกจากลําไส้ใหญ่ ได้แก่ 1. พษิ ของเนือ้ อจุ จาระทหี่ มกั หมม 2. น้ําทีเ่ ป็นพิษอนั เกดิ จากทุกอวยั วะใน ร่างกายสง่ สิ่งที่เปน็ พิษมากําจดั ท่ีตับ ตับกร็ ะบายส่งไป ท่ีลําไสเ้ ลก็ แล้วก็ส่งต่อไปลาํ ไสใ้ หญ่ 3. พษิ ของพลงั งานความร้อนทีเ่ ป็นของเสีย จากทกุ อวัยวะในรา่ งกาย ซ่ึงส่งมาระบายที่ลําไส้ใหญ่ มากกว่าทีอ่ ่ืน ๆ จะเหน็ ไดว้ ่าหมอแผนปจั จบุ นั ถ้าวัด ไขท้ างทวาร เมอื่ วดั อณุ หภมู ิไดเ้ ทา่ ไหร่ จะต้องลบออก 0.5 องศาเซลเซียส ในขณะทก่ี ารวดั ไขใ้ นทีอ่ นื่ ๆ ไม่ลบ ออก เพราะที่ลําไสใ้ หญม่ ีความรอ้ น มากกว่าทอ่ี น่ื ใน ร่างกายถงึ 0.5 องศาเซลเซียส แม้หมอจีน ไมว่ า่ ผปู้ วุ ย จะเป็นโรคอะไร กน็ ิยมฝังเข็ม หรือกดจุดที่ จุดเหอกู่ ตรงบรเิ วณกงึ่ กลางระหวา่ งนวิ้ โปงู กบั นว้ิ ช้ขี องมอื วดั เข้ามาด้านหลังมือจาก งา่ มมือหนึ่งขอ้ นวิ้ โปงู เปน็ จดุ ระบายพิษจาก ลําไส้ใหญ่ทีด่ มี าก ซึ่งมักจะทําใหอ้ าการไม่สบาย ในรา่ งกายไม่ว่าจะเป็นอวัยวะใดกต็ ามลดลง อย่างรวดเรว็ ผูป้ วุ ยทอ่ี าการหนกั ทาํ วันละ 1-2 ครง้ั สว่ นคนทวั่ ไปทาํ สปั ดาหล์ ะ 1-3 ครงั้ หรอื เท่าทีร่ า่ งกายรู้สกึ สบาย พิษท้ังสามประการนั้น จะเกิดขึ้นเป็นธรรมชาติของร่างกายทุกวัน ถ้าไม่รีบระบายออก หรือมีการ หมักหมม สะสมมากเกินไป ก็จะถูกดูดซึมกลับหรือแพร่กระจายกลับไปทําลาย ทุกอวัยวะในร่างกาย ทําให้ ร่างกายทรุดโทรม และเจ็บปุวย ในทางตรงกันข้ามการสวนล้างสําไส้ใหญ่(ดีทอกซ์)น้ันจะสามารถขับและ ระบายพษิ ท้งั สามประการออกจากรา่ งกายได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว และพลังงานของสมุนไพรที่ถูก กันที่เราใส่เข้าไปใน ลําไส้ใหญ่ ก็จะเคล่ือนไปดับพิษปรับสมดุล ทุกอวัยวะในร่างกายได้อย่างรวดเร็ว จึงเป็น ส่วนหน่งึ ท่ที าํ ให้ร่างกายแข็งแรงขึน้ อย่างรวดเร็ว วิธีทา เลอื กสมุนไพรที่เหมาะสม คือ เม่ือใชท้ าํ ดีท๊อกซแ์ ล้วรู้สกึ สดชื่นโปร่งโล่งสบาย ตัวอยา่ งสมนุ ไพร เชน่ - ใบเตย 1 ใบ - อ่อมแซบครึง่ กํามือ - ยา่ นาง 1-3 ใบ - น้าํ มะนาว ครง่ึ -1 ชอ้ นโต๊ะ - น้าํ มะขามครง่ึ กํามอื - มะขามเปยี ก 1-3 ฝกั - ใบสม้ ปุอยครงึ่ กํามอื - กาแฟ 1 ช้อนชา - บอระเพ็ด 1 ข้อนิ้วมือ - ลูกใตใ้ บ 1 ต้น - ฟาู ทะลายโจร 1 ยอด (ยาวคร่งึ -1 คืบ) เป็นต้น ค่มู อื การดูแลสุขภาพสาหรบั ผ้สู งู อายุและครอบครัว อ. โชตกิ า ชยั ชนะ 17

ให้เลือกใช้สมนุ ไพรอย่างใดอยา่ งหน่งึ ทถ่ี ูกกบั รา่ งกายเรา คือ พอทําดีทอกซ์แล้วรู้สึกสดช่ืน โปร่ง โล่ง เ บ า ส บ า ย ตั ว ถ้ า ใ ช้ แ ล้ ว ไ ม่ ส บ า ย ก็ แ ส ด ง ว่ า ไ ม่ ถู ก กั บ ค น น้ั น ณ เ ว ล า นั้ น ค ว ร ง ด เ สี ย นําสมุนไพรตม้ ในน้ําเปล่า เดือดประมาณ 5-10 นาที แล้วผสมน้ําธรรมดาให้อุ่นหรือใช้ใบสมุนไพรสด ขยก้ี บั น้ําเปลา่ กรองผา่ นกระชอน นาํ น้ําท่ีได้ ไปใส่ขวดหรอื ถงุ ทเี่ ป็นชุดสวนล้างลําไส้ โดยทั่วไปใช้น้ําสมุนไพร 500-1,500 ซ.ี ซ.ี เปดิ น้ําให้วิง่ ตามสายเพ่ือไล่อากาศออกจากสายแล้วล็อคไว้ จากน้ัน นําเจลหรือวาสลีนหรือ นํ้ามนั พชื หรอื วา่ นหางจระเขท้ าที่ปลายสายสวน ประมาณ 1 ซม. เพือ่ หล่อลื่น หรืออาจใช้ปลายสายสวนจุ่มใน น้ําก็ได้ ต่อจากน้ันค่อย ๆ สอดปลายสายสวน เข้าไปท่ีรูทวารหนัก สอดให้ลึกเข้าไป ประมาณเท่าน้ิวมือเรา (ประมาณ 3-5 นว้ิ ฟุต) ยกหรือแขวนขวดสมุนไพรสูงจากทวารประมาณ 2 ศอก ค่อย ๆ ปล่อยนํ้าสมุนไพรให้ ไหลเข้าไปในลําไส้ใหญ่ของเรา โดยใส่ ปริมาณน้ําเท่าท่ีร่างกายเรารู้สึกสบายที่ทนได้ โดยไม่ยากไม่ลําบาก เกินไป แล้วใช้มือนวดคลึงที่ท้อง พอปวดอุจจาระก็ไปถ่ายระบายออกในขณะที่ทําดีทอกซ์ เราสามารถนอน (ส่วนใหญ่นิยมนอนทํา) น่ังหรือยืนทําก็ได้ตามความเหมาะสมของสภาพร่างกายและสถานท่ี ในกรณีท่ีคนกลั้นได้เก่ง เม่ือรู้สึกปวดถ่ายครั้งแรกให้กล้ันไว้ก่อน เพ่ือให้ลําไส้บีบตัว ส่ิงสกปรกที่ติด บรเิ วณผนังลําไส้จะได้หลดุ ออกมาทน่ี ้าํ ดที อกซ์ ซึ่งสว่ นใหญ่มักไมเ่ กนิ ครึง่ นาทกี จ็ ะหายปวด พอปวดอีกครั้งก็ไป ถ่ายออกจะทําให้พิษถูกระบายออกได้ดี ส่วนผู้ที่ไม่มีกําลังกล้ัน พอปวดคร้ังแรกก็ให้ไปถ่ายระบายออกเลย โดยไม่ต้องคํานึงถึงระยะเวลาการกลั้น เฉลี่ยไม่ควรเกิน 20 นาที************************ สําหรับผู้ปุวยท่ีอาการหนัก อาจทําดีทอกซ์ วันละ 1-2 คร้ัง อาจมากหรือน้อยกว่า ตามสภาพของ ร่างกาย คือ ทําเท่าที่รู้สึกสบาย ส่วนคนท่ัวไป ทําดีทอกซ์เฉลี่ย สัปดาห์ละ 1-3 คร้ัง หรือตามสภาพร่างกาย คอื ทําเทา่ ท่ีรู้สึกสบาย****************************************************************************** สาหรับกรณีท่ีมีการผ่าตัดสาไส้ ควรรอให้แผลหายดีอย่างน้อยหลังผ่าตัด 3 เดือนข้ึนไป จึงค่อยทํา ดีทอกซ์ โดยครง้ั แรก ๆ ให้ใช้นํา้ ดีทอกซน์ อ้ ย ๆ แค่พอรู้สกึ ปวดระบายถา่ ยท้องก่อน พอลําไส้ปรับสภาพดีแล้ว จงึ คอ่ ยเพม่ิ น้ําดที อกซ์ในปริมาณทร่ี ู้สึกสบาย (ทนได้โดยไม่ยากไม่ลําบาก)******************************** ถ้าทาดีทอกซ์แลว้ รสู้ ึกไมส่ บายมักเกิดจาก 1. สมนุ ไพรนั้นไม่ถูกกับร่างกายเรา เช่น บางคนเวลาใช้กาแฟทําดีทอกซ์แล้วจะรู้สึกใจส่ันอ่อนเพลีย ก็แสดงว่าคนนั้นไม่ถูกกับกาแฟ ถ้าใช้กาแฟทําดีทอกซ์แล้วรู้สึกสบาย ก็แสดงว่าคนน้ันถูกับกาแฟ 2. ใชส้ มนุ ไพรเข้มขน้ เกนิ ไป ทาํ ให้สมุนไพรเคลื่อนเข้าร่างกายเร็วและมากเกินไป เพราะช่องทางของ ลําไสใ้ หญ่นน้ั เปน็ เส้นทางลมปราณที่สําคัญมาก เนื่องจากเป็นช่องทางท่ีพลังงานจะเคลื่อนเข้า-ออกเร็วมาก ดังน้ันช่องทางน้ี ควรใชส้ มุนไพรเจือจางแค่พอดสี บายจะดีท่สี ุด 3. เลือกใชน้ ํ้าไมถ่ กู กนั ณ เวลานั้น บางคนถกู กบั นํ้าอ่นุ บางคนถูกกับนาํ้ อุณหภูมิธรรมดา ใหด้ ูที่ ความร้สู กึ สบายเปน็ หลัก 4. ปรมิ าณนํ้ามากเกนิ ไป ใหใ้ ส่นํา้ ในปริมาณทร่ี ู้สึกสบายหรือทนได้โดยไมย่ ากไมล่ ําบาก 5. แขวนขวดสูงเกินไป ปล่อยนํ้าเข้าไปในลําไส้ แรงและเร็วเกินไป มักจะทําให้ปวดท้อง คล่ืนไส้ อาเจยี นหรือเวยี นศรษี ะไดง้ า่ ย ดังน้ัน ควรค่อย ๆ ปล่อยนํ้าเข้าไปในลําไส้ช้า ๆ เท่าท่ีรู้สึกสบาย กรณีท่ีแขวนขวดสูง ควรใช้เทคนิค การบบี หรอื หักสายดที อกซ์ แล้วค่อย ๆ ปล่อยน้ําเขา้ ไปในลาํ ไสช้ ้า ๆ ในปรมิ าณท่ีเรารสู้ ึกสบาย 6. กลั้นอจุ จาระนานจนรู้สึกทรมานเกินไป ให้กลั้นในจุดทเ่ี รารู้สึกทนได้โดยไมย่ ากไมล่ าํ บากเกินไป คูม่ ือการดูแลสขุ ภาพสาหรับผ้สู งู อายแุ ละครอบครัว อ. โชติกา ชัยชนะ 18

เรอ่ื งท่ี 5 การระบายพิษทางมอื เท้า และส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย การแชม่ ือแชเ่ ท้าในนา้ สมุนไพร ให้ใช้สมุนไพรฤทธเิ์ ยน็ ประมาณ ครึ่ง- 1 กํามือ เชน่ - ใบเตย - เบญจรงค(์ อ่อมแซบ) - ผักบงุ้ - บวั บก - ยา่ นาง - รางจดื - ใบมะขาม - ใบสม้ ปุอย - กาบหรอื ใบหรือหยวกกล้วย เปน็ ตน้ จะใชส้ มุนไพรอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ หรอื หลายอย่างรวมกนั กไ็ ด้ ต้มกบั นํ้า 1 ขัน (ประมาณ 1 ลิตร)เดอื ดประมาณ 5-10 นาที แล้วผสมน้ําธรรมดาใหอ้ นุ่ แค่พอ รู้สกึ สบาย ถ้าไมม่ สี มุนไพรเลย ก็ใชน้ ้ําเปล่าต้มให้เดือดแล้วผสมนาํ้ ธรรมดาให้อนุ่ ก็ได้ จากน้ันแช่มือแชเ่ ท้า แค่พอทว่ มข้อมือขอ้ เท้า 3 นาที แล้วยกขน้ึ จากนํ้าอ่นุ 1 นาที ทาํ ซ้ําจนครบ 3 รอบ โดยทําวันละประมาณ 1-2 คร้งั ถ้าไมค่ อ่ ยมเี วลาทาํ เฉลี่ย สปั ดาห์ละ 1-3 ครัง้ ถา้ ใช้สมนุ ไพรฤทธเิ์ ยน็ ต้มแล้วรู้สกึ ไม่สบายก็ปรับใช้สมนุ ไพรฤทธ์ิรอ้ นต้ม ถา้ ร้สู ึกสบายกว่า ในกรณที ่ี แช่นา้ ตม้ สมนุ ไพรแล้วมีอาการไมส่ บาย กใ็ หง้ ดเสีย แสดงว่าสภาพร่างกายตอนนนั้ ไมถ่ กู กับน้ําอนุ่ นํา้ รอ้ น อาจแชน่ ํา้ ธรรมดาหรือนา้ํ สมนุ ไพรสดทีไ่ ม่ผา่ นความร้อนแทน ถา้ ทาํ แล้วรสู้ ึกสบาย โดยแช่ นาน เทา่ ทร่ี ูส้ กึ สบาย กลไกการถอนพิษกค็ อื รา่ งกายมีธรรมชาตขิ องการระบายพลังงานที่เปน็ พษิ จาํ นวนมากออกทางมอื เท้าอย่แู ลว้ จะเหน็ ไดว้ ่าแพทยโ์ บราณหลายประเทศมีการกดจุดหรอื ขูดระบายพษิ จากมอื และเท้า เม่ือคนเราใช้ มอื และเทา้ ในกิจวัตรประจําวนั กล้ามเนอื้ เสน้ เอน็ ท่ีมือและเทา้ ก็จะเกดิ สภาพแข็งแรงเกรง็ คา้ ง ทาํ ให้ขวาง เสน้ ทางการระบายพิษจากร่างกาย การแช่ในน้าํ อุ่นจะชว่ ยให้กลา้ มเนื้อเสน้ เอ็นท่แี ขง็ แกร่งคา้ งคลายตัว พลังงานทีเ่ ปน็ พิษในรา่ งกายจงึ จะระบายออกได้ดี ทาํ ให้สขุ ภาพดขี นึ้ จากการเกบ็ สถติ ิ ณ ปัจจบุ นั พบวา่ เม่อื แช่ในนํ้าอุ่นพลังงานพษิ ทอี่ ดั อยใู่ นร่างกายจะเคล่ือนออก ภายใน 3 นาที หลังจากนัน้ พษิ ของนาํ้ อนุ่ น้ําร้อนจะเคลอ่ื นเขา้ ไปทํารา้ ยรา่ งกายเมอ่ื แช่นา้ํ อุ่นนานเกนิ 3 นาที จึงมกั จะพบวา่ มีอาการออ่ นเพลียหรือไมส่ บายในร่างกาย หลายคนท่เี คยมีประสบการณไ์ ปแชน่ า้ํ ดโปุง เดอื ด หรือน้าํ พุรอ้ นถ้าแชน่ านเกนิ 3 นาที พอขึน้ มาจากการแช่ ก็มกั จะมอี าการออ่ นเพลยี หรอื ไม่สบายต่าง ๆ เพราะ พิษจะเคลอื่ นออกไดแ้ คป่ ระมาณ 3 นาที จากนั้นพษิ ของน้าํ อุ่นจะเคลื่อนเขา้ ทํารา้ ยร่างกาย ดังน้ัน คนท่ีมีความรูก้ จ็ ะแชน่ ํ้าอนุ่ แค่ 3 นาที แล้วขน้ึ จากนํ้าอุน่ 1 นาที เมอ่ื รา่ งกายเยน็ ดแี ลว้ พลังงานพิษร้อนในรา่ งกายกจ็ ะเคล่อื นสวนทางกบั ความเย็น เมอ่ื เราแชใ่ นนํ้าอุ่นอีกครั้ง กลา้ มเนอ้ื กจ็ ะคลายตัว พลงั งานพษิ ร้อนกจ็ ะเคล่ือนออกจากรา่ งกายได้มาก ผู้เขยี นพบว่า พษิ สามารถเคล่อื นออกไดม้ ากเพียง 3 รอบ หลังจากนนั้ ถา้ เรายงั แช่นํา้ อุ่นต่ออีก พษิ นา้ํ อุ่นก็จะเคลื่อนเข้าไปทําร้ายรา่ งกาย คมู่ อื การดูแลสขุ ภาพสาหรับผ้สู งู อายแุ ละครอบครวั อ. โชตกิ า ชัยชนะ 19

การระบายพษิ ด้วยวิธนี าสมนุ ไพรมาสมั ผสั กับร่างกาย การพอก ทา หยอด ประคบ อบ อาบ ด้วยสมนุ ไพรท่ถี กู กนั คอื เมื่อ ใช้แล้วรู้สึกสบาย เชน่ พอกด้วยกากสมุนไพรฤทธิ์เย็น หรือพอกทาด้วยผงถ่านที่ใช้ก่อ ไฟทวั่ ไปผสมกบั นํ้าสมนุ ไพรฤทธ์ิเย็น (อาจผสมดินสอพองหรือน้ําปัสสาวะด้วย ก็ได้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการถอนพิษได้ดียิ่งข้ึน) โดยพอกทาทุก 4-6 ชั่วโมงหรืออาจพอกทาท้ิงไว้ทั้งคืนก็ได้ ถ้าใช้สมุนไพรฤทธิ์เย็นแล้วรู้สึกไม่ สบายก็ปรับใช้สมุนไพรฤทธ์ิร้อน ถ้ารู้สึกสบายกว่า********************** ก ร ณี ที่ มี ภ า ว ะ ร้ อ น เ กิ น * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * การถอนพิษด้วยการพอก/ทาด้วยสมุนไพรฤทธิ์เย็น โดยนําสมุนไพรฤทธ์ิเย็น เช่น ใบเตย เบญจรงค์(อ่อมแซบ) ผักบุ้ง บัวบก ย่านาง รางจืด วุ้นว่านหาง จระเข้ ใบมะขาม ใบส้มปุอย กาบหรือใบหรือหยวกกล้วย เป็นต้น จะใช้อย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง รวมกนั ก็ได้ มาห่ันหรือโขลกให้แตกพอประมาณ อาจใช้กากสมุนไพรท่เี หลือจากการทาํ นา้ํ สมุนไพรฤทธ์ิเย็นก็ได้ อาจใชผ้ ้าชบุ น้าํ สมนุ ไพรฤทธ์ิเย็นก็ได้ อาจใชด้ ินคลกุ กบั นา้ํ ให้เหลวเหมอื นตมก็ได้ อาจใช้นํา้ สมนุ ไพรฤทธ์ิเย็นสด คลุกกับดินสอพองหรือปูนเค้ียวหมากหรือ แปูงฝุนท่ีใช้ทาหน้าทาผิว ให้พอเหลวก็ใช้ได้ อาจใช้นํ้าสกัดด้วย การกล่นั สมนุ ไพรฤทธ์ิเย็น นํ้ามนั เขยี ว น้ํามนั เหลอื ง น้ํามันพมิ เสนการบรู เมนทอล ข้ีผ้ึงยา่ นาง-เบญจรงค์ ขี้ผึ้ง เสลดพังพอน ขี้ผ้ึงแกห้ วดั ยาหม่องดํา ก็สามารถใช้ได้************************************************** กรณที ีม่ ีภาวะรอ้ นเกนิ และเย็นเกินเกิดขึ้นพร้อมกัน*************************************************** ให้ใช้สมุนไพรฤทธิ์เย็นผ่านไฟ หรือสมุนไพรท้ังร้อนแล้วเย็นผ่านไฟ เช่น นําสมุนไพรฤทธ์ิเย็นหรือ สมุนไพรท้ังร้อนและเย็น ต้มให้เดือด 5-10 นาที แล้วผสมน้ําธรรมดาให้อุ่น ใช้อาบหรือนําผ้าชุบบิดให้หมาด วางประคบบริเวณท่ีไม่สบาย หรืออาจนาํ สมนุ ไพรฤทธ์ิเยน็ หรอื สมนุ ไพรทัง้ ร้อนและเย็น หัน่ ใหเ้ ล็กหรือโขลกพอ แตก ห่อเป็นลูกประคบ น่ึงให้ร้อน วางประคบ บริเวณที่ไม่สบาย ถ้ารู้สึกร้อนเกินไปก็ใช้ผ้ารองท่ีผิวหนังก่อน ประคบก็ได้ กรณีท่มี ีภาวะเยน็ เกินอยา่ งเดยี ว ให้พอก ทา ประคบหรอื อบด้วยสมนุ ไพรฤทธิ์ร้อน เชน่ ขมิ้น ขิง ขา่ ตะไคร้ ไพล ใบมะกรดู เกลือ นา้ํ มนั พืช นํ้ามนั สตั ว์ชนิดต่าง ๆ ขี้ผง้ึ ขมิน้ ขผี้ ึ้งไพล ขผี้ ้ึงนํา้ มนั งา ขีผ้ ้ึงน้าํ มนั ระกาํ เป็นต้น คู่มอื การดูแลสขุ ภาพสาหรับผ้สู งู อายุและครอบครัว อ. โชติกา ชยั ชนะ 20

เรือ่ งที่ 6 การดแู ลสุขภาพจิต การสร้างเสริมสุขภาพจติ วัยผใู้ หญแ่ ละผู้สงู อายุ 10 วิธีบรหิ ารจิต เพอ่ื คุณภาพชวี ิตทยี่ อดเยี่ยม เรียนรูว้ ิธีบริหารสมองและจิตใจให้แจ่มใสและเตรียมพรอ้ มสําหรบั ทุกวนั เพ่อื อารมณท์ ่ีสดใสและสมอง ท่ีปลอดโปร่ง การท่จี ะมีสุขภาพกายใจที่แขง็ แรงและแจม่ ใสนน้ั ไมใ่ ชเ่ พราะการออกกําลังกายทางร่างกายเพียงอย่าง เดียว แต่ยังหมายถึงการบริหารจิตอีกด้วย ซ่ึงวิธีการบริหารจิตก็ไม่ใช่เร่ืองยาก อย่างเช่นท่ี นพ.สุรเกียรติ อาซานานุภาพ ได้เปิดเผยเอาไว้ในหนังสือหมอชาวบ้าน ขอบอกเลยว่าแต่ละวิธี ง่ายและดีต่อสุขภาพกายใจ การบริหารจิตมีผลต่อสุขภาพกาย สมอง และจิตใจพอ ๆ กับการบริหารกาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงมีผลต่อการ พัฒนาสมองด้วยการกระตุ้นให้เกิดการงอกใหม่และการปรับวงจรใหม่ของเซลล์สมอง ซึ่งมีผลต่อการพัฒนา จติ ใจให้สมบูรณ์ และมคี วามสขุ สงบเย็นอกี ต่อหนึง่ การบรหิ ารจติ ควรทาใหเ้ ปน็ กจิ วัตรในชวี ติ ประจาวนั ซึง่ พอรวบรวมไว้ 10 วธิ ี ดงั น้ี 1. ออกกาลังกาย เช่น ว่ิงเหยาะ เดินเร็ว ปั่นจักรยาน ว่ายน้ํา เต้นแอโรบิก ฝึกช่ีกง รํามวยจีน (ไท่เกก๊ ) ฝกึ โยคะ เป็นต้น ในการออกกําลังกายสามารถบริหารจิตไปในตัว โดยการใช้สติระลึกรู้อยู่กับจังหวะ การเคล่อื นไหว ในช่วงแรกอาจใชว้ ธิ นี ับ (เชน่ นับซ้าย-ขวา นับ 1-2 หรือ 1 ถึง 10 กับจังหวะก้าว) เป็นตัวช่วย จนสติมั่น กไ็ ม่ต้องนบั 2. นอนหลบั ให้เพยี งพอ ประมาณ 6-8 ชัว่ โมง การ น อ น หลับดีมีผลต่อ ก าร พัฒ น าสมอ ง หลีกเลีย่ งการอดนอนและการมีอารมณเ์ ครียดติดต่อกันนาน ๆ เพราะมีผลลบต่อร่างกาย สมองและจติ ใจ 3. บรโิ ภคอาหารสุขภาพตามหลักธงโภชนาการ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การลดหวาน มัน เค็ม หันมากิน ปลา กนิ ผักและผลไม้ใหม้ าก ๆ ไขมนั โอเมก้า 3 ในปลา (เช่น ปลาดุก ปลาซ่อน) มีผลดีต่อการสร้างเซลล์สมอง ใหม่ และหลีกเลี่ยงการบริโภคสุรา ยาสูบ และสารเสพติด****************************************** 4. หมั่นเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ โดยการอ่าน การฟัง การค้นคว้า การหาประสบการณ์ใหม่ ๆ การคิด ใคร่ครวญ การถาม การบันทึกตามหลัก \"สุ. จิ. ปุ. ลิ.\" ควบคู่กับการฝึกใช้ความคิดเป็นประจํา เช่น การฝึก แก้ปัญหา การเลน่ ไพ่ การเล่นเกมต่าง ๆ 5. ฝึกสมาธิ เช่น ฝึกอานาปานสติ สวดมนต์ ไหว้พระ เดินจงกรม ทําละหมาด อธิษฐานจิตวันละ อย่างน้อย 1-2 คร้ัง นานครั้งละ 5-10 นาที ช่วยให้จิตใจม่ันคงสงบน่ิง ไม่วอกแวก ฟูุงซ่าน ขาดสมาธิ หรือใจ ลอยงา่ ย ควรรกั ษาจิตทีน่ ่งั แต่ต่ืนรไู้ ว้ตลอดเวลาของการปฏบิ ตั สิ มาธิ อย่าให้นานจนหลับหรือเข้าสู่ภวังค์ จะทํา ให้จติ เฉ่ือยเนอื ย นาํ มาใชง้ านในการรับร้สู ง่ิ เรา้ อย่างร้เู ทา่ ทันไม่ได้ ซึ่งต่างจากสติ 6. เจริญสติ-รู้ตัวกับอิริยาบถและกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ระลึกรู้ตัวอยู่กับการน่ัง นอน ยืน เดิน การ เคลอื่ นไหวจงั หวะขณะออกกําลังกายต่าง ๆ การทํากิจวัตรประจําวัน เช่น แปรงฟัน อาบนํ้า ด่ืมน้ํา กินอาหาร เคยี้ วขา้ ว ล้างจาน กวาดบา้ น ถูบ้าน ซกั ผา้ รดี ผ้า ให้มคี วามตื่นรู้อยูก่ ับปัจจุบนั ขณะ เมื่อจิตอยู่กับปัจจุบัน ก็จะสงบเย็น มีความสุข มีประสิทธิภาพในการทํากิจท่ีอยู่ตรงหน้า ไม่หวนคิด เสียใจกับเรื่องท่ีเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต หรือคิดกลัวกังวลกับเร่ืองอนาคตท่ียังมาไม่ถึง ทําให้จิตใจฟูุงซ่าน เป็น ทุกข์ เครียด สูญเสียพลงั สมองโดยเปล่าประโยชน์ คู่มือการดูแลสขุ ภาพสาหรับผสู้ งู อายุและครอบครัว อ. โชตกิ า ชยั ชนะ 21

7. ฝึกใช้ลมหายใจเป็นระฆังแห่งสติ เราสามารถตามรู้ลมหายใจเข้า-ออกในการทําอานาปานสติ ในการเจรญิ สติต่าง ๆ และอาจเสรมิ ด้วยการตามร้ลู มหายใจเข้าออกท่ีเป็นธรรมชาติ ไม่ต้องปรุงแต่งลมหายใจ ให้ยาวให้ลึกกว่าปกติ เพียง 1-3 รอบ โดยเข้ากับออก 1 ครั้งเท่ากับ 1 รอบ โดยไม่ต้องหลับตา หรือบริกรรม แบบการทําสมาธิ ควรทําใหบ้ ่อย ๆ เท่าที่รสู้ กึ ตัวตง้ั แต่ตื่นเชา้ จนเขา้ นอน ทาํ จนเป็นนิสยั ตอ่ ไปก็สามารถใช้ลม หายใจเพียง 1 รอบเปน็ ระฆงั เตือนสติก่อนทํากิจกรรมต่าง ๆ เรียกว่า \"ตั้งสติก่อนสตาร์ท\" หรือเวลามีอารมณ์ เครยี ดเกดิ ข้ึน กส็ ามารถใช้ลมหายใจเตอื นตวั เองใหเ้ กดิ สตริ ูต้ ัว และควบคุมอารมณท์ ี่เกดิ ข้นึ น้ันให้ระงับบรรเทา หายไปได้ทันที************************************************************************************* 8. ฝกึ พักใจและสมองเป็นระยะ ๆ ในแต่ละวนั เช่น หยุดคิด โดยหันมาชื่นชมธรรมชาติ หรือศิลปะ นานคร้ังละ ½ ถึง 1 นาที, ตามดูห้วงว่างระหว่างความคิด ลมหายใจเข้าออกและเสียงต่าง ๆ, หามุมสงบใน บ้าน ในทท่ี าํ งาน หรอื ในสวน นง่ั ปลอ่ ยวางอารมณ์อยา่ งเงียบ ๆ หรือตามรู้ลมหายใจประกอบ นาน 5-10 นาที เป็นตน้ การพักใจและสมอง ช่วยใหม้ ีพลงั ในการทํางานไดไ้ มเ่ หนือ่ ยลา้ 9. เจรญิ ปัญญาจากการสงั เกตธรรมชาติของสรรพสิ่ง ว่าล้วนเกิดขึ้นด้วยเหตุปัจจัยมากมายที่มีการ แปรเปล่ียน ไม่คงที่ตลอดเวลา จนเห็นด้วยปัญญาตนว่า \"ทุกส่ิงล้วนมีการเกิดขึ้น-ต้ังอยู่-ดับไป\" เป็นธรรมดา ไม่ควรยืดม่ันถือมั่นในส่ิงใด ๆ ท้ังส้ิน ควรใช้ปัญญามองทุกส่ิงตามความเป็นจริงตามเหตุปัจจัย เง่ือนไข หรือ บริบทในขณะน้ัน แล้วจัดความสัมพันธ์หรือเข้าไปเก่ียวข้องกับส่ิงต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับเหตุปัจจัย เง่ือนไข หรือบริบทน้นั ๆ ก็จะเกิดความราบรื่น กลมกลนื ประสบผลดี ไม่ทกุ ข์ ไมเ่ ครียดและเปน็ สุข 10. ฝกึ คิดดี-พูดดี-ทาดี ให้เป็นนิสัย ช่วยถ่วงดุลกับธรรมชาติของจิตที่มักคิดลบซึ่งเป็นไปตามกลไก ลมองท่มี ักถกู ครอบงําดว้ ยความมอี ตั ตาตวั ตน นสิ ัยความเคยชนิ เดิม และอารมณ์ลบ นอกจากนีค้ วรหม่นั มจี ติ อาสาทาํ งานเพื่อคนอน่ื โดยไม่หวังส่ิงตอบแทนช่วยเหลือเก้ือกูลคนอื่น, ฝึกฟัง คนอ่นื และเข้าใจคนอ่นื , รูจ้ กั ใชป้ ิยวาจา รวมทงั้ รูจ้ ักพดู ช่นื ชม ใหก้ ําลังใจผู้คนรอบข้าง, ฝึกตามดูรู้ทันความคิด อารมณ์ ความรูส้ ึกทีเ่ กดิ ขนึ้ ในใจ ซง่ึ จะชว่ ยใหค้ วบคมุ ตัวเองได้ดี หม่ันมองตน ทบทวนตัวเองทกุ วัน วันละหลายคร้ัง หรือหลังเสร็จจากการทากิจต่าง ๆ มองให้เห็นจุด แขง็ (เพอ่ื ใหก้ าลงั ใจตัวเอง) และจดุ ออ่ น (เพอ่ื การปรับเปล่ยี นและพฒั นาตน), หมนั่ นึกขอบคุณผู้คนและส่ิงต่าง ๆ (ทั้งส่งิ มีชีวติ และมีชวี ติ และไม่มชี ีวติ ) ทีเ่ กือ้ หนนุ ให้ชวี ิตเราปลอดภัยและเตบิ โตมาด้วยดี ท้ังหมดน้ีเพื่อฝึกการ ร้ตู นควบคุมตน และลดละอัตตาตัวตน 7 ขอ้ ดีสมาธทิ ่มี ตี ่อสุขภาพ 22 การนัง่ หลบั ตา ส่งั การใหส้ มองหยดุ คิดเรื่องราวต่าง ๆ เพยี งแค่ 5 นาที ไม่เพียงแต่จะช่วยใหเ้ รามี สตมิ ากข้นึ แล้ว ยังส่งผลใหส้ ุขภาพกายและใจของเราดีขึน้ จนน่าตกใจอกี ดว้ ย ใครท่มี กั ชอบมีเรื่องเครยี ด เร่ืองใหต้ ้องคิดมาก เรื่องให้ต้องกังวลมาบ่ันทอนสุขภาพจิตใจของเราบ่อย ๆ จนบางทีกระทบถึงสุขภาพกายทําให้เราปุวยออด ๆ แอด ๆ ด้วย เราขอแนะนําเลยว่า ให้ลองนั่งสมาธิดู เพราะจากขอ้ มูลในเวบ็ ไซต์ Businessinsider.com เผยวา่ การนัง่ สมาธิน้ันมีพลังมหัศจรรย์ท่ีจะฟ้ืนฟูสุขภาพ กายและใจของเราแข็งแรงข้นึ โดยทีเ่ ราแทบไม่ตอ้ งพึ่งพายาปฏชิ ีวนะใด ๆ เลย แต่จะจริงเทจ็ แค่ไหน ต้องไปไข ข้อขอ้ งใจกันดู 1. ทาใหจ้ ติ ใจแจม่ ใส เบิกบานขนึ้ การนั่งสมาธเิ ป็นประจาํ ทกุ วนั นั้น ขอ้ ดอี ยา่ งแรกที่เราจะได้รับก็คือ มีสุขภาพจิตดีขึ้น สามารถจัดการกับด้านลบของตัวเองได้ เช่น เศร้า โกรธ เครียด หดหู่ กลัว และความวิตก กังวล ซึ่งจากผลการวจิ ยั ท่ีถกู ตีพมิ พ์ในวารสาร Social Cognitive and Affective Neuroscience เผยว่า การ น่ังสมาธิเปน็ การกระต้นุ สมองใหเ้ กดิ การเรยี นร้มู ากขึ้น ยบั ยง้ั การทาํ งานของสมองสว่ นกลาง หรอื ส่วนท่ีเรียกว่า คู่มือการดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผสู้ งู อายุและครอบครัว อ. โชตกิ า ชยั ชนะ

อมกิ ดาลา (Amygdala) ทาํ หนา้ ทส่ี รา้ งอารมณ์ดา้ นลบ เชน่ โมโห เกลยี ด เศรา้ กลวั และกระวนกระวายใจ ให้ ทํางานนอ้ ยลง ด้วยเหตนุ ้ี คนทนี่ งั่ สมาธเิ ป็นประจําส่วนใหญม่ แี นวโนม้ เปน็ คนมอี ารมณแ์ ปรปรวนน้อยกว่าคนท่ี ไมค่ อ่ ยน่งั สมาธิ หรือไมเ่ คยนัง่ สมาธเิ ลย 2. ความจาดีข้นึ ตารางงานของใครในแตล่ ะวันมีเรอื่ งยิบยอ่ ยใหจ้ ดจําเยอะ ทําให้บางครั้งหลง ๆ ลืม ๆ เรอ่ื งสําคญั บางเรื่องไปโดยไม่รูต้ ัว ขอแนะนําเลยวา่ ใหน้ ่ังสมาธิอยา่ งน้อยวนั ละ 10 นาทีใหไ้ ด้ทุกวัน เพราะมี ผลการวิจยั เผยว่า ผูท้ ี่นั่งสมาธเิ ปน็ ประจํา เช่น พระสงฆ์ หรือ นักปฏิบัติธรรม ส่วนใหญ่จะมีสติในการใช้ชีวิต มากข้ึน สามารถจดจาํ รายละเอยี ดปลกี ย่อยถึงสงิ่ ที่ตอ้ งทาํ ในแตล่ ะวันไดด้ ี ส่วนหนึง่ เปน็ เพราะพวกเขามีการฝึก สมองให้คดิ จดจ่ออยู่กบั เร่ืองราวในปจั จบุ ัน จึงทําให้พวกเขาข้ีหลงข้ลี มื น้อยมาก 3. เราจะรู้สกึ เหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่นื มากขึน้ การน่ังสมาธิจะทําใหเ้ ราเปน็ คนใจเยน็ ลง ใช้เหตุผลมากกว่า ใชอ้ ารมณ์ ดว้ ยเหตนุ ี้จึงสามารถเขา้ ใจความรู้สึกของผู้อ่ืนได้มากขึ้น จากผลการวิจัยส่วนใหญ่ เผยว่า ผู้ท่ีฝึกฝน สมาธเิ ปน็ ประจํา เช่น พระสงฆ์ หรือนักปฏิบัติธรรม ส่วนใหญ่จะเป็นคนใจเย็น สงบน่ิง และมีจิตใจท่ีเอื้อเฟ้ือ เผื่อแผ่ สาเหตุเปน็ เพราะคลืน่ สมองอัลฟุาทําการเช่ือมโยงกับความรู้สึกผ่อนคลาย และเป็นสมาธิ ทําให้ไม่เกิด ความรู้สึกนึกคิดในอารมณ์ด้านลบ เช่น โกรธ เศร้า อิจฉาริษยา เครียด และกังวล ซ่ึงเป็นอารมณ์ท่ีนําไปสู่ ความคิดอคติ หรอื คดิ ขัดแยง้ กับฝุายตรงข้ามอย่างไมม่ เี หตุผล 4. สขุ ภาพสมองแขง็ แรงข้ึน การนง่ั สมาธชิ ่วยฟืน้ ฟสู ขุ ภาพสมองให้มคี วามแข็งแรงขึ้นได้ เห็นได้จาก หลายงานวจิ ัยทีม่ คี วามเห็นตรงกันว่า การน่ังสมาธิติดต่อกันนาน 8 สัปดาห์ส่งผลดีต่อสุขภาพสมอง โดยท่ีเรา จะสามารถจดจําอะไรได้มากข้ึน สามารถจัดการกับอารมณ์ด้านลบของตัวเองได้ดีขึ้น เช่น ซึมเศร้า เครียด กงั วล เป็นตน้ ซงึ่ อารมณ์ด้านลบเหล่านแี้ หละท่ีจะเป็นตัวบั่นทอนสุขภาพสมองให้ถดถอยลงเร่ือย ๆ เช่น ขี้ลืม พดู จาติดขดั อารมณแ์ ปรปรวน คดิ อ่านชา้ เป็นตน้ 5. หัวใจก็แขง็ แรงขึ้นด้วย ความเครียดเปน็ ศตั รตู ัวฉกาจของสุขภาพหัวใจอย่างมากเลยนะคะ เพราะ ทกุ ๆ คร้ังที่เรารู้สึกเครียดข้นึ มา ความดนั เลือดในร่างกายของเราจะสูงขึ้นตามไปด้วยค่ะ หากเป็นแบบน้ีบ่อย ๆ สขุ ภาพหวั ใจต้องแย่แน่ เอาเป็นว่า ขอให้ลองใช้วิธีนั่งสมาธิจัดการกับความเครียดดู เพราะจากผลการวิจัย ของ สมาคมโรคหวั ใจแหง่ สหรฐั อเมริกา เผยวา่ การน่ังสมาธสิ ามารถลดระดบั ฮอรโ์ มนเครยี ดในร่างกายได้ ซึ่งมี ผลโดยตรงต่อความดนั ในเลือดให้ลดลงด้วย น่ันหมายถึงว่า หากหลอดเลือดหัวใจมีการไหลเวียนของเลือดอยู่ ในระดับท่ีปกติแล้ว หวั ใจก็ไม่ต้องทํางานหนกั ขนึ้ 6. เจ็บป่วยยาก บางคร้ังอาการเจ็บปุวยที่เรามีน้ัน อาจเป็นผลกระทบมาจากสุขภาพใจของเราที่ กาํ ลังอ่อนแอนะคะ ซงึ่ สามารถสังเกตได้ง่ายมากเลยคอื อาการเจบ็ ปุวยท่ีมาจากจิตใจอ่อนแอน้ัน กินยาเท่าไรก็ ไมห่ ายขาด แคอ่ าการทุเลาลงแค่น้นั หากเป็นอย่างนล้ี ะก็ หนั มาน่งั สมาธิดูดกี วา่ คะ่ เพราะจากผลการวิจัย เผย วา่ การน่ังสมาธิช่วยกระตุน้ ระบบภมู คิ ุ้มกันโรค ทําให้เราเจ็บปุวยยากขึ้น โดยผู้ที่น่ังสมาธิติดต่อกัน 8 สัปดาห์ นน้ั มีความเส่ยี งเปน็ โรคไข้หวัดยากกวา่ คนทีไ่ มเ่ คยนงั่ สมาธิเลย นอกจากน้ีแล้ว การนั่งสมาธิยังส่งผลให้วัคซีนมี ประสทิ ธิภาพดีขนึ้ อกี ดว้ ย โดยท่ใี นรายทีน่ ่งั สมาธินั้น รา่ งกายจะตอบสนองกับวคั ซีนได้ดกี วา่ 7. ช่วยชะลอวัย จากผลการวิจัยในกลุม่ อาสาสมัครผรู้ อดชีวติ จากโรคมะเรง็ เผยว่า การน่ังสมาธิเป็น การเพิม่ ความยาวใหก้ บั สายดเี อน็ เอของโครโมโซมแห่งวัย หรือท่เี รียกว่า เทโลเมยี ร์ (Telomere) เพราะการนั่ง สมาธจิ ะกระตนุ้ ใหร้ า่ งกายหลง่ั เอนไซมเ์ ทโลเมอรเรส (Telomerase) ออกมาซ่อมแซมส่วนของเทโลเมียร์ท่ีถูก ทาํ ลาย ไมใ่ ห้สายเทโลเมียร์หดส้ันลงไปเรอ่ื ย ๆ จึงสามารถชะลอความเสอื่ มของเซลลไ์ ด้ ในทางกลับกัน หากร่างกายของเรามีสายเทโลเมียร์ที่หดสั้นลงเร่ือย ๆ ก็จะส่งผลให้เซลล์ต่าง ๆ ภายในร่างกายเส่ือมก่อนวัยอันควร จึงทําให้เรามีโอกาสปุวยเป็นโรคที่เกิดจากความเส่ือมของเซลล์ เช่น คูม่ อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรับผสู้ งู อายแุ ละครอบครวั อ. โชตกิ า ชัยชนะ 23

โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคอัลไซเมอร์ และโรคเบาหวาน เป็นต้น ด้วยเหตุนี้เอง คนที่น่ังสมาธิเป็น ประจาํ จงึ ดอู ่อนกวา่ วัย ไม่ค่อยมีปัญหาสขุ ภาพ ท้งั น้ี การนงั่ สมาธเิ พ่อื ให้ไดผ้ ลท่ดี ีตอ่ สุขภาพกายและใจของเราอย่างแทจ้ ริงน้ัน ควรตั้งใจทาให้ได้เป็น ประจาทกุ วนั เรมิ่ ต้นแรก ๆ อาจลองทาแค่ 5 นาทีดกู อ่ นกไ็ ด้ เพอ่ื เปน็ การปรับความเคยชินให้ร่างกายฝึกอยู่ใน ความสงบ ซ่ึงหากเราสามารถทาได้เป็นประจาทุกวันแล้ว ก็ค่อยเพ่ิมเวลาให้มากข้ึนก็ได้ หากใครทาตามที่เรา แนะนาแลว้ รบั รองเลยคะ่ วา่ สุขภาพกายและใจของคณุ จะดขี ึ้นจนน่าประหลาดใจ มาฝึกสมาธิเบ้ืองต้นกนั ดีกวา่ เคยไหม? บางครั้งท่ีเราเจอปัญหา หรืออะไรมาสะกิดใจเพียงนิดเดียว ก็เกิด อาการควบคุมจิตใจไม่ได้ เกิดความฟุ้งซ่าน วนุ่ วาย มเี ร่ืองรบกวนไปเสียหมด น่ันเพราะไม่ เคยรับการบําบัดทางจิต หรือลองฝึกสมาธิมา กอ่ น หลายคนทเ่ี คยลองฝกึ จติ หรือฝึกสมาธิ จะ สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดีกว่าคนอื่นๆ และยังมสี ติ ทําอะไรด้วยความไมป่ ระมาทด้วย วันน้ี เราขอชวนเพ่ือน ๆ มาลองฝึก สมาธิเบื้องต้นกันดู ซึ่งโดยปกติแล้ว \"สมาธิ\" มีหลา ยประเภท แต่สมาธิท่ีฝึกง่ายท่ีสุด ป ร ะ ห ยั ด เ ว ล า แ ล ะ ไ ด้ ผ ล ที่ สุ ด ต า ม ท่ี พระพทุ ธเจ้าทรงแนะนําให้ปฏิบัติ ก็คือ \"อานา ปานสติ\" หรือการกําหนดลมหายใจเข้าออก ที่ เราส่วนใหญ่ก็เคยได้ยินกันมาบ้างแล้วน่ันเอง โดยหลักการฝึกสมาธิเบื้องต้นแบบง่าย ๆ ให้ทําตามข้ันตอน ตอ่ ไปนี้ ก่อนฝึกสมาธิ 1. ควรอาบน้ํา ล้างหน้า ลา้ งมอื ลา้ งเท้ากอ่ น เพื่อให้ตัวรู้สึกสบายมากท่ีสุด เม่ือร่างกายสงบ จิตใจจะ สงบได้ง่ายขนึ้ 2. หาสถานท่สี งบ ไมม่ คี นพลุกพล่านจอแจ อากาศถา่ ยเท เยน็ สบาย เพ่ือให้เขา้ ถึงสมาธิไดเ้ ร็วมากข้ึน 3. พยายามตัดความกังวลทุกอย่างออกไป เช่น ควรจัดการงานที่คั่งค้างอยู่ในเสร็จก่อนเริ่มทําสมาธิ เพ่ือไม่ให้ห่วงหน้าพะวงหลงั 4. อย่าตั้งใจมากเกินไป ว่าจะต้องให้ได้ขั้นนั้น ขั้นนี้ เพราะจะยิ่งทําให้เกิดความเคร่งเครียดมากข้ึน จิตใจจะพะวงไปแต่อนาคต ไม่สามารถควบคุมจติ ใจให้อยู่ ณ ปัจจุบัน ขณะฝึกสมาธิ ควรปฏิบัติตนดังน้ี 1. กราบบูชาพระรตั นตรยั ระลกึ ถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ เพ่ือเป็น การเตรียมตัวเตรยี มใจ 2. ควรน่ังทําสมาธิในท่าขัดสมาธิ น่ังขัดสมาธิ ขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นิ้วชี้ขวาจรด น้ิวหัวแม่มือซ้าย วางไว้บนตัก หลังตรง ศีรษะตรง ไม่ควรนั่งพิง เพราะจะทําให้ง่วงได้ง่าย กรณีเป็นคนปุวย คู่มอื การดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผู้สงู อายแุ ละครอบครวั อ. โชตกิ า ชยั ชนะ 24

หรือคนทีไ่ ม่สามารถน่งั ท่าขัดสมาธิได้ ก็สามารถนงั่ บนเก้าอแ้ี ทนได้ จากน้ันทอดตาลงตํ่า อยา่ เกร็ง เพราะจะทํา ใหร้ า่ งกายปวดเมอ่ื ย แลว้ ค่อย ๆ หลับตาลง 3. ส่งจิตไปให้ท่ัวร่างกาย ว่ามีกล้ามเนื้อส่วนใดเกร็งอยู่หรือไม่ แล้วค่อย ๆ ผ่อนคลายกล้ามเน้ือส่วน น้ัน พยายามกาํ หนดลมหายใจเขา้ ออกให้ลึก ๆ มี \"สต\"ิ อยกู่ ับลมหายใจ ตรงจดุ ท่ีลมกระทบปลายจมกู 4. เมื่อเริ่มฝกึ สมาธใิ หม่ ๆ ควรใชเ้ วลาแตน่ อ้ ยก่อน เชน่ 5-15 นาที จากนั้นเม่ือฝึกบ่อย ๆ แล้วจึงค่อย เพิม่ ระยะเวลาข้นึ ไปเรอื่ ย ๆ เพื่อให้ร่างกายและจิตใจค่อย ๆ ปรับตัวตาม หากรู้สึกปวดขา หรือเป็นเหน็บ ให้ พยายามอดทนให้มากทส่ี ดุ หากทนไม่ไหวจงึ ค่อยขยบั แต่ควรขยับใหน้ อ้ ยท่สี ดุ เพราะการขยับแต่ละครั้งจะทํา ให้จิตใจกวัดแกว่ง ทําให้สมาธิเคลื่อนได้ แต่ถ้าหากอดทนจนอาการปวด หรือเป็นเหน็บเกิดข้ึนเต็มท่ีแล้ว อาการเหลา่ น้ันจะหายไปเอง แลว้ จะเกดิ ความร้สู ึกเบาสบายขึน้ มาแทนที่ 5. หากเกิดเสียงดงั ขึ้นมา ไม่ว่าจะเปน็ เสยี งคนพูด เสียงสิ่งของกระทบกัน ให้ถือว่าไม่ได้ยินอะไร และ อยา่ ไปใสใ่ จกบั มัน 6. หากเกดิ อะไรขน้ึ อย่าตกใจ และอย่ากลัว เพราะท้ังหมดเป็นอาการของจิตท่ีเกิดขึ้น ให้ต้ังสติเอาไว้ ในม่ันคง ทําจิตใจใหป้ กติ หากเห็นภาพท่ีน่ากลวั ใหส้ วดแผ่เมตตาให้ส่ิงเหล่านั้น หรือนึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธ์ิท่ีเรายึด ไว้เป็นที่พ่ึงทางใจ ถ้าภาพเหล่าน้ันไม่หายไป ให้ตั้งสติเอาไว้ หายใจยาว ๆ แล้วถอนสมาธิออกมา เม่ือจิตใจ มน่ั คงเป็นปกตแิ ลว้ จงึ คอ่ ยทาํ สมาธใิ หม่อกี คร้งั โดยควรสวดมนตไ์ หว้พระ อธิษฐานให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยคุ้มครอง การปฏิบตั ิของเราด้วย 7. เม่ือจะออกจากสมาธิ ให้สังเกตดูว่า ใจของเราเป็นอย่างไร แล้วแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย อทุ ศิ สว่ นกุศลทไี่ ดจ้ ากการทาํ สมาธิน้ันให้กับเจ้ากรรมนายเวร ผู้มีพระคุณของเรา แล้วหายใจยาว ๆ ลึก สัก 3 รอบ ก่อนคอ่ ย ๆ ถอนสมาธชิ า้ ๆ ค่อย ๆ ลืมตาขึ้น วิธหี ายใจทถี่ กู ต้อง หลายคนที่กําลังฝกึ สมาธอิ าจประสบปัญหาไม่ร้วู ธิ ีการหายใจเข้า-ออกท่ีถูกต้อง เราจึงมีคําแนะนําดี ๆ จาก แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลรามาธิบดี ที่ให้ความรู้ไว้ใน เฟซบุ๊ก Rama Update มาบอกถึงวิธีฝึก กายหายใจ โดยหลังจากนง่ั ตวั ตรง ขดั สมาธิแล้ว ให้กําหนดลมหายใจ ซ่ึงการหายใจเข้า-ออกนั้น ควรแบ่งเป็น 3 จังหวะ ดงั น้ี จังหวะแรก : สูดหายใจใหย้ าวถงึ สะดอื จังหวะทสี่ อง : กล้นั หายใจค้างไว้ นับ 1-5 เพอ่ื อัดอากาศไวใ้ นปอดให้เต็มท่ี จังหวะที่ 3 : ค่อย ๆ หายใจออกอย่างช้า ๆ ทาํ อย่างน้ซี ้ํากัน 3 ครง้ั จากนั้น ใช้น้ิวช้ีขวาอุดรูจมูกขวาไว้ หายใจเข้าทางรูจมูกซ้าย แล้วเปลี่ยนมาใช้น้ิวชี้ซ้ายอุดรูจมูกซ้าย หายใจออกทางรูจมูกขวา จากน้ัน เปล่ียนมาใช้นิ้วช้ีขวาอุดรูจมูกขวา หายใจออกทางรูจมูกซ้าย แล้วกลับมา หายใจเข้าทางรูจมูกซ้ายอีกคร้งั ทาํ สลับกันไปมาอย่างน้ีรวม 10 ครั้ง จากน้ัน หายใจเข้า-ออก ปกติ ด้วยรูจมูกท้ังสองข้าง อีก 5 คร้ัง โดยทาํ ช้าๆ ไมต่ ้องรีบร้อน คูม่ อื การดแู ลสขุ ภาพสาหรบั ผูส้ งู อายแุ ละครอบครัว อ. โชติกา ชัยชนะ 25

เร่อื งที่ 7 สมุนไพรเพ่อื วัยสงู อายุ ความสูงอายุเป็นผลรวมของพฒั นาการและการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นในชีวิตมนุษย์นับตั้งแต่เกิดจนส้ินอายุขัย คําว่า ผู้สูงอายุมักใช้เรียกบุคคลท่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไป ผู้ที่ใกล้เข้าสู่วัยน้ีมักจะพบกับความเปลี่ยนแปลง ความเส่ือมถอย ทั้งรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ และสงั คม แต่ในทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ไดแ้ บง่ อายุคนเปน็ 3 วัย คือ 1) ปฐมวัย อายุ 0 – 16 ปี 2) มชั ฉมิ วยั อายุ 16 – 32ปี 3) ปัจฉิมวัย คอื อายตุ งั้ แต่ 32 ปี จนสิ้นอายขุ ัย จากการแบ่งดังกล่าวจะเห็นว่าผู้ที่มีอายุ 32 ปีข้ึนไปอยู่ในวัยสูงอายุ ซ่ึงต้องเตรียมร่างกาย จิตใจ ให้ พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดขึ้น แม้ว่าจะดูว่าอายุเพียงแค่นี้ยังแข็งแรงอยู่ แต่ถ้ามองอีกมุมหน่ึงการ ดาํ รงชีวิตด้วยความไม่ประมาท ต้ังแต่อายุน้อย ๆ จะทําให้ชีวิตปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติท่ีควร จะเป็นไปได้ ดกี ว่า การดาํ รงชวี ติ ทขี่ าดเปูาหมายท่ดี ี พอเข้าส่วู ยั สงู อายแุ ลว้ มาแก้ไขปญั หาก็พบว่า สายเสยี แล้ว การแพทยแ์ ผนไทย แมว่ ่าจะดไู ม่ทนั สมยั นกั แตถ่ า้ มองกนั ลกึ ๆ แลว้ มีความละเอียดออ่ นลึกซ้ึง ที่น่าสนใจ และ ไมไ่ ดแ้ ตกตา่ งจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากนัก ถ้าเราผสมผสานกันระหว่างการใช้ชีวิตและแบบใหม่ และแบบดง้ั เดิมให้เหมาะสม เราจะมสี ุขภาพทางจิตท่ีดี อย่างไรก็ตามเราก็คงจะหลีกเลี่ยงวัยสูงอายุไม่ได้แม้ว่าจะแบ่งแบบเก่าหรือใหม่ เราจะต้อง พบกับ ความเปลี่ยนแปลงของร่างกายแน่นอน สถาบันการแพทย์แผนไทยจึงได้ตระหนักถึงการดูแล สุขภาพของ ผู้สูงอายุ ในฉบับน้ีจึงขอนําเสนอสมุนไพรเพื่อวัยสูงอายุ และผู้ที่ใกล้เข้าสู่วัยสูงอายุ โดย แบ่งเป็นกลุ่มอาการ ดังนี้ 1. สมุนไพรบารุงกระดูก เน่ืองจากผู้สูงอายุมักพบปัญหาเกี่ยวกับการสูญเสียแคลเซ่ียมท่ีกระดูก ทําให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง กระดูกเปราะและหักง่าย ดังนั้นหลักในการดูแลทั่วไปคือให้ร่างกายได้รับแคลเซียมอย่างเพียงพอ โดยเฉลี่ย ประมาณวันละ 800 มิลลิกรัม อาหารที่ควรรับประทาน ได้แก่ นม ปลาปุน หรือปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้ง นอกจากนยี้ งั มีผกั ใบเขียวหลายชนิดทีม่ ีปรมิ าณแคลเซยี มสงู และหางา่ ย ราคาถกู ได้แก่ 1) ใบยอ มแี คลเซยี ม 469-841 มลิ ลิกรมั /100 กรัม สรรพคณุ ทางยาไทย รสขม แก้ไข้ บํารุงธาตุ แก้ท้องร่วง แก้ปวดข้อ ใบยอนํามาประกอบอาหารได้หลายชนิด เชน่ ห่อหมก แกงออ่ มแกงปุา เป็นต้น 2) ช้าพลู มีแคลเซียม 601 มิลลิกรัม/100 กรัม นอกจากนี้ในใบช้าพลูยังมีฟอสฟอรัส เหล็ก และ วิตามนิ ต่าง ๆ ขอ้ ควรระวงั ไม่ควรรับประทานใบช้าพลูทุกวัน เพราะในใบช้าพลูมีสารออกซาเลท สูงถึง 691 มิลลิกรมั /100 กรัม ถา้ รับประทานปรมิ าณมากจะทาํ ใหเ้ กดิ โรคนิ่วได้ 3) มะขาม ฝักมะขามอ่อน มีแคลเซียม 429 มิลลิกรัม/100 กรัม ใช้ปรุงอาหารได้ หลายชนิด เช่น นาํ้ พริก ใส่ต้มยาํ ยอดอ่อนใช้ปรุงแกง สรรพคุณตามตํารายาไทย ช่วยระบาย ขบั เสมหะ แก้ไอ บํารุงกระดูก ปอู งกนั โรคเลอื ดออกตามไรฟัน 4) แค ในยอดแคมีแคลเซยี ม 395 มิลลิกรัม/100 กรัม ยอดแคนํามาเป็นผกั จิ้มกับน้าํ พริกได้ท้ังกินสด หรือลวก ดอกแคใช้แกงสม้ สรรพคณุ ตามตํารายาไทย ยอดและดอกใชแ้ ก้ไขห้ วั เปลือกตน้ ใชแ้ ก้ทอ้ งเสีย น้าํ ตม้ จากเปลือกใช้ล้างบาดแผล คู่มือการดูแลสุขภาพสาหรับผสู้ งู อายุและครอบครัว อ. โชติกา ชยั ชนะ 26

5) ผักกะเฉด ใบและลาํ ตน้ มีแคลเซียม 387 มลิ ลิกรัม/100 กรัม ใช้รับประทานเปน็ ผกั ใช้ปรุงแกงส้ม และยํา นอกจากน้ีในลําต้นสด ซึง่ มีโปรตนี สงู 6.4 มิลลกิ รมั /100 กรมั สรรพคุณตามตาํ รายาไทย ผักกะเฉดมี รสเยน็ ชว่ ยบรรเทาความร้อน ใช้ดับพษิ ร้อนถอนพิษไข้ ถอนพิษยาเบ่อื เมา บํารงุ กระดกู 2. สมุนไพรบารงุ สายตา จากความเสอ่ื มถอยของรา่ งกาย ผูส้ ูงอายุมกั จะพบปัญหาโรค ทางสายตามาก เช่น ตาฝูาฟาง ตาเป็น ต้อกระจก ต้อเนื้อ และขาดวิตามินหลายชนิด เนื่องจาก รับประทานอาหารได้น้อยลง หลักการดูแลท่ัวไป คือ การรักษาตามอาการ การปูองกันท่ีดีที่สุด คือ หลีกเลี่ยงการสัมผัสฝุน ควัน แสงแดดจัดโดยตรง การ รับประทานอาหารที่มีวิตามินเอสูง จะช่วยบํารุงสายตาและปูองกันการเสื่อมของสายตาก่อนวันอันควร สมนุ ไพรทบ่ี ํารุงสายตา ได้แก่ 1) กะเพรา ใบกะเพราประกอบสารอาหารที่สําคัญหลายชนิด เช่น เบต้าแคโรทีน วิตามินซี ไนอาซิน ฟอสฟอรสั เหลก็ และแคลเซียม ใบกะเพรามเี บตา้ แคโรทนี สงู 7,857 ไมโครกรัม/100 กรัม ซ่ึงเบต้าแคโรทีนนี้ จะเปล่ียนเป็นวติ ามนิ เอในร่างกายของคนเรา กะเพรานํามาปรุงอาหารช่วย ดับกลิ่นคาว ช่วยชูรสให้ดีขึ้น เช่น ผดั กะเพรา ต้มยํา ผัดข้ีเมา เปน็ ตน้ สรรพคุณตามตํารายาไทย กะเพราท่ีนิยมใช้คือกะเพราแดง รสเผ็ดร้อน ช่วยขับลม แก้ท้องอืดเฟูอ ช่วยย่อย แก้อาการแนน่ จกุ เสยี ด แก้ปวดทอ้ งท้ังเดก็ และผ้ใู หญ่ 2) ข้ีเหล็ก ใบขี้เหล็กมีเบต้าแคโรทีน 7,181 ไมโครกรัม/100 กรมั คนไทยนําใบและดอกขี้เหล็กมาต้ม เพอ่ื ให้หายรสขม นํามาแกงใสป่ ลา หมู หรือหอยขม เป็นต้น สรรพคุณตามตํารายาไทย ชว่ ยบาํ รุงสายตา ชว่ ยระบาย แกท้ ้องผูก ชว่ ยใหน้ อนหลับดี 3) แครอท หัวแครอทมีสารเบตา้ แคโรทีนสูง 6,994 ไมโครกรัม/100 กรัม ใชป้ รุงอาหารได้หลายชนิด เช่น แกงจืด ต้มน้าํ ซปุ ผดั พริก หรือรับประทานเปน็ สลัดผกั ช่วยแต่งสสี รรอาหารให้ น่ารบั ประทานยิง่ ข้นึ สรรพคุณตามตํารายาไทย ช่วยบํารุงสายตา ขับปัสสาวะเนื่องจากมีปรมิ าณเกลอื โปแตสเซียมสงู 4) ฟักข้าว ในยอดอ่อนของฟักข้าวมีเบต้าแคโรทีนสูง 4,782 ไมโครกรัม/100 กรัม นํายอดอ่อน ใบ อ่อน และผลอ่อนมารบั ประทานเป็นผกั จิ้ม แกงแค สรรพคุณตามตํารายาไทย ใบใชเ้ ปน็ ยาถอนพษิ ใช้ถอนพิษไขท้ ั้งปวงได้ 3. สมุนไพรชว่ ยเจริญอาหาร ตามตํารายาไทยสมุนไพรช่วยเจริญอาหารมักจะมีรสขม ซ่ึงเรียกว่า bitter tonic และสมุนไพรท่ีมีรส เผ็ดร้อน จะชว่ ยกระต้นุ ใหน้ า้ํ ลายและน้ํายอ่ ยอาหารออกมามาก สมุนไพรชว่ ยเจริญอาหารได้แก่ 1) สะเดา ช่อดอกและใบอ่อนมีรสขม ใช้รับประทานเป็นผักจ้ิม สะเดานํ้าปลาหวาน สรรพคุณตาม ตํารายาไทย ช่วยแก้ไข้ บํารุงธาตุ รสขมของสะเดา ช่วยเจริญอาหาร นอกจากน้ีปัจจุบันใช้เป็นยาฆ่าแมลง ในทางเกษตรกรรม 2) กระชาย ในรากและเหง้ากระชายมนี ํา้ มนั หอมระเหย ช่วยแต่งกล่นิ สรรพคุณตามตํารายาไทย ช่วยขับลม แก้ทอ้ งอืด ช่วยเจรญิ อาหาร 3) พรกิ ขีห้ นู พริกส่วนใหญ่แลว้ มรี สเผ็ดซึ่งมากน้อยแตกต่างกนั สาระสําคัญในพริกขี้หนู คือ สารแคป ไซซิน (capsaicin) ซึ่งทาํ ใหพ้ ริกมีรสเผด็ ในพริกมีวติ ามนิ ซี สรรพคุณตามตํารายาไทย ช่วยเจริญอาหาร ขับลม ขับเสมหะ ช่วยขับเหงือ่ แก้ ปวดท้อง แก้อาเจียน และช่วยย่อย แต่สําหรับผู้ท่ีเป็นแผลในกระเพาะอาหาร ไม่ ควรรับประทานพริก เพราะจะทําให้เกดิ การระคายเคือง ทาํ ใหก้ ระเพาะอาหารอักเสบมากย่งิ ข้ึน คู่มอื การดูแลสุขภาพสาหรบั ผู้สงู อายุและครอบครวั อ. โชตกิ า ชัยชนะ 27

4. สมนุ ไพรชว่ ยให้นอนหลบั สมุนไพรท่ีออกฤทธ์ิช่วยระงับประสาท และช่วยให้นอนหลับ มีหลายชนิด เช่น ขี้เหล็ก ระย่อม ชมุ เห็ดไทย 1) ขเี้ หลก็ เปน็ พชื ทคี่ นไทยนํามาปรุงเปน็ อาหารต้ังแต่โบราณ โดยนําใบอ่อน ดอก มาต้มรินน้ําออก เพือ่ ให้หายขม นาํ มาแกงขเี้ หล็กใสห่ มู เนอื้ และหอยขมเป็นตน้ ปัจจุบันมีรายงานการวิจัยว่าขี้เหล็กมีสารสําคัญ ให้มีผลต่อระบบประสาทช่วยให้นอนหลับ โดยใช้ใบแห้งประมาณ 30 กรัม หรือใบสด 50 กรัม ต้มเอาน้ําด่ืม กอ่ นนอน นอกจากนี้ใบข้เี หล็กยงั มวี ติ ามนิ เอ และซสี งู ชว่ ยบํารงุ กระดูก และสายตา สรรพคณุ ตามตํารายาไทย ดอกตูมและใบอ่อน รสขม ช่วยระบาย เจรญิ อาหาร 2) ระย่อม เปน็ พืชทค่ี นไทยและชาวอนิ เดยี ใช้เปน็ ยาลดความดันโลหติ ตามตํารายาไทยใช้รากระย่อม เป็นยาแก้ไข้ เจริญอาหาร แก้คลุ้มคล่ัง ลดความดันโลหิต และช่วยให้นอนหลับ จากข้อมูลทางวิทยาศาสต ร์ พบว่าในรากระย่อมมีสารแอลคาลอยด์หลายชนิด ส่วนฤทธิ์ที่ช่วยลดระดับความดันโลหิต ได้แก่ เรเซอปีน (seserpine) วธิ ใี ช้ ใชผ้ งรากแห้งบดละเอียด รับประทานวนั ละ 100 มิลลกิ รมั กอ่ นนอน 4. สมนุ ไพรเสริมสรรถภาพทางเพศ บาํ รุงกาํ ลงั ในผสู้ งู อายดุ ว้ ยสมรรถภาพทางกาย เส่ือมถอยการเสริมสมรรถภาพทางเพศนนั้ เป็นเพียง การดูแลด้านจิตใจ ส่วนทางร่างกายน้ัน ยังไม่มีงานวิจัยระบุชัดเจนว่ามีสมุนไพรชนิดใดกระตุ้นและเสริม สมรรถภาพทางเพศ การดูแลร่างกายให้แข็งแรง จิตใจเข้มแข็ง โดยการออกกําลังกาย รับประทานอาหารท่ีมี ประโยชน์ พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอ ทาํ ใจใหส้ งบ ใชช้ ีวิตชอบตามแนวพทุ ธศาสนา ปัญหาสมรรถภาพทางเพศเกิดได้ ในวัยสงู อายุ ดงั น้ัน คนเราเมอื่ เข้าใจธรรมชาติของร่างกายมนษุ ยแ์ ล้ว การนาํ สมุนไพรมาใชเ้ ป็นส่วนหน่ึงเท่านั้น สมุนไพรท่ีมีบันทึกตามตํารายาไทย มีหลายชนิด เช่น กวาวเครือ กระเทียม ดีปลี กระชาย มะเขือแจ้เครื อ กาํ ลงั ช้างสาร โด่ไมร่ ลู้ ้ม ตะโกนา ม้ากระทบื โรง สะค้านแดง โสมไทย สันพร้าหอม เห็ดโคน เห็ดฟาง กําลังเสือ โครง่ ว่านนกคุ่ม สงั กรณี หนาดคํา เป็นต้น การออกกาํ ลังกาย รบั ประทานอาหารท่มี ปี ระโยชน์ การทาํ จิตใจใหแ้ จ่มใส เป็นการปฏิบัติตัวท่ีถูกต้อง ทสี่ ดุ สมุนไพรที่กล่าวถึงขา้ งต้นเปน็ เพียงส่วนหนงึ่ ในการบาํ รุงธาตุ บาํ รงุ กาํ ลงั ตามตาํ ราการแพทย์แผนไทยที่มี บันทึกไว้ ถึงอย่างไรสภาพร่างกายที่เส่ือมถอย ร่วงโรยตามวัย ยาใด จักช่วยท่านได้ถ้าจิตใจของท่านไม่สงบ ดงั นั้นตามแนวพทุ ธศาสนา การทาํ สมาธิ ภาวนา จะช่วยให้จติ ใจเป็นสุข รา่ งกายกจ็ ะสุขตามไปด้วยเช่นกัน คมู่ ือการดูแลสุขภาพสาหรบั ผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว อ. โชตกิ า ชยั ชนะ 28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook