Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตม.ปลาย-สารอาหารให้พลังงาน

ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตม.ปลาย-สารอาหารให้พลังงาน

Published by ตําบล ศรีบัวบาน, 2021-08-09 09:14:09

Description: ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตม.ปลาย-สารอาหารให้พลังงาน

Search

Read the Text Version

ใบความรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง สารอาหารใหพ้ ลงั งาน 1. ความหมายและความสำคญั ของอาหารและสารอาหาร อาหาร คือ ส่งิ ท่ีกินเข้าไปในร่างกายแล้วก่อใหเ้ กิด ประโยชน์ตอ่ ร่างกาย ในอาหารมสี ่วนประกอบท่เี ปน็ สารเคมีอยู่หลายอยา่ ง ไดแ้ ก่ โปรตีน คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั แร่ธาตุ นำ้ สารเคมี เหลา่ นร้ี ว่ มกันเรียกว่าสารเคมี สารอาหาร ทดี่ ีตอ้ งประกอบไปโดย โปรตนี คารโ์ บไอเดรต ไขมนั วติ ามนิ เกลือแร่ และน้ำ มี ประโยชน์ท่แี ตกตา่ งกัน รา่ งกายต้องสารอาหารแต่ละประเภทท่ีแตกต่างกนั 2. ประเภทของสารอาหาร ประเภทของสารอาหาร จำแนกออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ o สารอาหารท่ีให้พลงั งาน o สารอาหารทไ่ี มใ่ ห้พลงั งาน 3. สมบตั ิ องค์ประกอบ ความสำคัญและปฏิกริ ยิ าของคาร์โบโฮเดรต ไขมัน และน้ำมันประเภทตา่ งๆ สารอาหารทใ่ี หพ้ ลงั งาน พลังงานทรี่ า่ งกายต้องการจากสารอาหาร 3 ประเภท ได้แก่ โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั สารอาหารประเภทโปรตนี มีสารอาหารโปรตนี ที่มโี มเลกลุ ขนาดใหญ่ ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สดุ เรียกวา่ กรดอะมิโน จำนวนมาก ประมาณ 22 ชนดิ แต่ละชนดิ มโี ครงสร้างทีต่ า่ งกนั โปรตนี ชนิดไหนมคี ุณค่าทางอาหารมากหรือนอ้ ย ขึ้นอยู่กับวา่ โปรตนี ชนิดน้ันย่อยสลายไดง้ า่ ยและมีกรดอะมิโนท่ี จำเป็นครบถว้ น โปรตนี เปน็ สารอาหารหลักที่รา่ งกายต้องการในการสรา้ งเชลลเ์ นื้อเย้ือตา่ งๆ และเปน็ ส่วนประกอบ ของ เอมไชม์ ฮอร์โมน ฮีโมโกลบิน และแอนตบิ อดี หรือภูมิคุ้มกนั ของร่างกาย คนเรามโี ปรตนี อยูป่ ระมาณร้อยละ 20 ของนำ้ หนกั ตัว แหลง่ อาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตนี ไดแ้ ก่ เนื้อ นม ไข่ และขา้ ว พืชตระกลู ถั่ว ข้าวเจ้า ข้าวเหนยี ว ข้าวสาลี ขา้ วโพดเหลอื ง เป็นตน้

สารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรต เปน็ สารอาหารทม่ี ีสว่ นประกอบเปน็ คารบ์ อน ไฮโดรเจน และออกซิเจน แหลง่ ท่ีใหส้ ารอาหารคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ขา้ ว แปง้ นำ้ ตาล เผอื ก มัน ข้าวโพด การจำแนกคาร์โบไฮเดรตออกตาม คณุ สมบัติทางกายภาพทางเคมี ได้แก่ o นำ้ ตาลโมเลกุลเดี่ยว พบในผกั หรอื ผลไม้ทีร่ สมีรสหวาน o นำ้ ตาลโมเลกุลคู่ พบ ในนำ้ ตาลทราย มอลโทส และแลกโทส สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารหลกั ที่ให้พลงั งานเพ่อื มาใช้ในกิจกรรมตา่ งๆ ใน 1 วันรา่ งกาย ตอ้ งการพลังงานจากสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตประมาณ 50-50 ของพลงั งานทงั้ หมดที่ไดร้ บั จากสารอาหาร เราควรกินคาร์โบไฮเดรตประเภทแป้งใหไ้ ด้ประมาณ 300-400 กรมั ต่อวันจึงจะเพียงพอกับปรมิ าณพลังงานที่ ร่างกายต้องการ สารอาหารประเภทไขมนั ประกอบดว้ ย คารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไขมนั เป็นสารอาหารที่ไม่สามารถ ละลายในน้ำได้ ไขมนั ถา้ อยู่ในของแขง็ จะเรยี กวา่ ไข หรอื ไขมัน ถ้าอยู่ในสภาพของเหลวเรียกว่า นำ้ มนั กรด ไขมนั เปน็ สว่ นประกอบที่สำคัญของไขมัน และมีความสำคญั ต่อรา่ งกายมี 2 ประเภท คือ กรดไขมันอ่ิมตวั พบมาก ในไขมันสัตว์ และกรดไขมันไมอ่ ิม่ ตวั พบน้ำมันพืช เชน่ น้ำมนั ถ่วั เหลือง เป็นตน้ ไขมันเป็นอาหารที่ให้พลังงานสูง เมือ่ เทียบกับไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานสูง เมอ่ื เปรียบเทียบกับสารอาหารประเภทอนื่ ท่มี ีปริมาณที่เท่าๆกัน รา่ งกายสามารถสะสมไขมันได้ โดยมีการจำกดั ปริมาณ นอกจากนย้ี ังสามารถเปล่ยี นคาร์โบไฮเดรตหรือโปรตีนให้ เป็นไขมนั ไดด้ ้วย ถ้าเรากินอาหารที่ให้พลังงานเกินกว่ารา่ งกายต้องกายรา่ งกายจะสะสมอาหารส่วนเกินไว้ในรูป ไขมนั เปน็ เน้ือเย้ือไขมันอยู่ใต้ผวิ หนังและตามอวยั วะต่างๆ สารอาหารที่ไม่ใหพ้ ลงั งาน ไดแ้ กว่ ิตามินและแรธ่ าตุตา่ งๆ สารอาหารเหลา่ นี้เป็นสารอาหารทไี่ ม่ให้พลังงาน แต่ร่างกายก็ขาดไม่ได้ วติ ามนิ และแร่ธาตุต่างๆ จำเป็นตอ่ รา่ งกาย ดังต่อไปน้ี วิตามิน หมายถงึ สารอนิ ทรยี ท์ ่จี ำเปน็ ตอ่ ร่างกาย ร่างกายจะตอ้ งการในปริมาณท่ีน้อย แต่ร่างกายจะขาด ไมไ่ ด้ ถ้าขาดจะทำให้รา่ งกายมคี วามผิดปกติเกิดอาการต่างๆ เชน่ เหนบ็ ชา ออ่ นเพลยี เป็นต้น วิตามนิ ที่ละลายในไขมนั ได้ ได้แก้ วติ ามนิ เอ ดี อี เค เปน็ ต้น วติ ามนิ ที่ละลายในไขมันไม่ได้ ไดแ้ ก่ วติ ามิน บี ซี เปน็ ตน้

ตารางแสดงอาหารทใ่ี หว้ ติ ามนิ ละลายในไขมนั ได้ วติ ามนิ แหล่งอาหาร หนา้ ที่ โรค/เมอ่ื ขาดอาหาร • เด็กไม่เจรญิ เตบิ โต A ตบั นำ้ มนั ตับ • ชว่ ยในการเจริญเตบิ โตของ • มองไมเ่ หน็ ในสลวั • นยั ตาแหง้ หรอื ในตาอักเสบ ปลา ไข่แดง กระดูก • ผิวแหง้ และหยาบ เนย นม ผกั สี • ช่วยบำรงุ สายตา • เปน็ โรคกระดูกอ่อน • เกดิ รอยแตกในกระดูกและ เหลอื ง สเี ขียว • รักษาสขุ ภาพของผวิ หนงั กระดูกผดิ รูปร่าง ผลไมบ้ างชนดิ ละลายใน ไขมนั ได้ D เนย นม ไข่ ช่วยใหร้ ่างกายดดู ซมึ ธาตแุ คลเซยี ม แดง ตับ ปลา และฟอสฟอรัสทีล่ ำไสเ้ ล็กเพื่อให้ ทู ปลาซาดีน กระดูกและฟนั E ผักใบสีเขยี ว • ทำให้เม็ดเลือดแข็งแรง • เกิดโรคโลหติ จางในเดก็ ชาย และเนือ้ สัตว์ • ช่วยป้องกันการเปน็ หมนั หรอื อายุ 6 เดือน ถึง 2 ขวบ การแทง้ • เป็นหมนั อาจทำใหแ้ ทง้ ได้ K ผกั ใบสีเขียว ช่วยใหเ้ ลอื ดเป็นลมิ่ หรอื แขง็ ตัว • เลือดแขง็ ตวั เรว็ กว่าปกติ และเนอ้ื สตั ว์ • ในเด็กแรกเกิดถึง 2 เดือนจะมี เลือดออกทว่ั ไป ตามผวิ หนัง B1 ข้าวซอ่ มมอื • ชว่ ยบำรงุ ประสาทและการ • ออ่ นเพลีย เบอ่ื อาหาร เคร่ืองในสัตว์ ทำงานของหวั ใจ • การเจรญิ เตบิ โต หยุดชะงัก ตับ ถั่วไขแ่ ดง • เป็นโรคเหน็บชา มันเทศ ยีสต์ • ช่วยในการทำงานของ ทางเดนิ อาหาร การขับถ่าย ละระบบกลา้ มเน้ือ ละลายไดใ้ น B2 ไข่ นม ถ่วั • ช่วยในการเจรญิ เติบโตอยา่ ง • ผวิ หนังแห้งแตก นำ้ เน้ือหมู ปลา เป็นปกติ • ลิน้ อักเสบ ผักสเี ขยี ว • เปน็ โรคเหนบ็ ชา ผลไมเ้ ปลื่อก • ทำใหผ้ วิ หนงั ลนิ้ ตา มี แขง็ สุขภาพทีด่ ี แข็งแรง

B6 ตับ เน้ือ นม • ช่วยสังเคราะหก์ รด อะมโิ น • มีอาการบวม ถงั่ ลิสง ถ่วั เห • ช่วยในระบบย่อยอาหาร • ปวดตามข้อ ลอ่ื ง เนือ้ ปลา • ประสาทเสือ่ ม ระบบประสาท • คนั ตามผวิ หนงั ผมรว่ ง • บำรงุ ผวิ หนงั B12 ตับ ไข่ เน้อื • ช่วยในการสรา้ งเม็ดเลอื ดแดง • โรคโลหติ จาง ปลา นม ช่วยในการสงั เคราะห์ DNA • เจบ็ ลน้ิ เจบ็ ปาก • เสน้ ประสาทไขสนั หลงั • ช่วยในการเจรญิ เตบิ โตของ เด็ก เสอ่ื มสภาพ C ผลไมจ้ ำพวก • ชว่ ยรกั ษาสขุ ภาพของฟนั • เส้นเลือดฝอยเปราะ สม้ ฝรั่ง และเหงอื ก • แผลหายช้า มะละกอ ผกั สด คะน้า • ทำใหห้ ลอดเลือดแข็งแรง กะหลำ่ ปลี มะเขือเทศ สารอาหารประเภทแรธ่ าตุ แร่ธาตหุ รือเกลือแร่เป็นสารอาหารอกี ประเภทหน่งึ ทร่ี ่างกายต้องการ และขาดไม่ไดเ้ พราะเป็นสว่ นประกอบของ อวยั วะและเนื้อเยื้อบางอย่าง เชน่ กระดูกและฟนั เลอื ด บางชนดิ เป็นส่วนประกอบของสารตา่ งๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั กะ บวนการเจริญเตบิ โตภายในรา่ งกายเชน่ อฮรโ์ มโกลบนิ เอมไซม์ เป็นตน้ และยงั ชว่ ยในการควบคุมอวัยวะตา่ งๆของ ร่างกายใหท้ ำงานปกติ

แรธ่ าตมุ สี ารอาหารตา่ งๆทงั้ ในพชื และสตั วใ์ หป้ ระโยชนห์ ลายอยา่ งแกร่ า่ งกาย แรธ่ าตุ แหลง่ อาหาร หนา้ ท/ี่ ประโยชน์ โรค/อาการเมอ่ื ขาดแรธ่ าตุ แคลเซียม เนอ้ื นม ไข่ ปลากิน • เป็นส่วนประกอบทีส่ ำคัญของ • โรคกระดูกอ่อนและ ได้ทั้งกระดูก ก้งุ ฝอย กระดูกและฟัน ฟันผุ ผักสีเขียวเขม้ • ควบคมุ การทำงานของหวั ใจ • เลือดไหลออกและ กลา้ มเนือ้ และระบบประสาท แข็งตัวช้า • เติบโตช้า ฟอสฟอรัส เนื้อ นม ไข่ ปลากนิ • เป็นส่วนประกอบทส่ี ำคญั ของ • โรคกระดูกอ่อนและ ไดท้ ง้ั กระดูก ก้งุ ฝอย กระดูกและฟัน ฟันผุ ผกั ตา่ งๆ • ชว่ ยสร้างเชลล์สมองและประสาท • เตบิ โตชา้ กำมะถัน เนอ้ื สัตว์ นม ไข่ • สร้างโปรตนี ในร่างกาย ยังไมท่ ราบแน่ชัด • สรา้ งกลา้ มเน้อื ตา่ งๆ โพแทสเซยี ม เนอ้ื นม ไข่ งา ขา้ ว ควบคมุ การทำงานของหัวใจกลา้ มเนอื้ และ • ทำให้หวั ใจวาย เห็ด ผักสเี ขียว ระบบประสาท • เป็นสิวในวยั รนุ่ แร่ธาตุ ซ่งึ มคี วามจำเปน็ ตอ่ ร่างกายจะต้องการในปริมาณท่ีนอ้ ย แตร่ า่ งกายจะขาดไมไ่ ด้ ถ้าขาดจะทำให้ รา่ งกายมีความผดิ ปกติเกดิ อาการต่างๆ หรอื โรคภัยไขเ้ จ็บ

ใบงานเรอื่ ง สารอาหารใหพ้ ลงั งาน ๑. ใหผ้ ้เู รียนใหส้ รุปเร่อื ง ความสำคญั ของสารอาหารประเภทตา่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ใหผ้ เู้ รียนให้สรปุ เรอื่ ง สานอารหาร ๕ หมู่ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………