Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อัตราการสวมหมวกนิรภัย-2561-p5

อัตราการสวมหมวกนิรภัย-2561-p5

Published by goodworkscreative, 2021-11-04 10:31:10

Description: อัตราการสวมหมวกนิรภัย-2561-p5

Search

Read the Text Version

THAILAND MOTORCYCLE HELMET USE 2018 อัตราการในปรขะสเอทงวศผมไทใู ชหยร มถปวจ ักพกร.นศย.ริาน2ภย5ยัน6ต1 โดย มลู นิธไิ ทยโรดส และเครือขา ยเฝาระวังสถานการณค วามปลอดภัยทางถนน • ศูนยว จิ ัยอบุ ตั ิเหตุแหงประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยแี หง เอเชีย • คณะโลจิสตกิ ส มหาวิทยาลยั บูรพา • คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม • สำนกั วชิ าวิศวกรรมศาสตรและทรพั ยากร มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ • คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร • ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร • สำนักวชิ าวิศวกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี • คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน • วศิ วกรรมโลจสิ ตกิ ส คณะศลิ ปะศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ วทิ ยาเขตสกลนคร ภายใตการสนับสนุนของสำนักงานกองทนุ สนับสนุนการสรางเสริมสขุ ภาพ (สสส.) กรกฏาคม 2562

อตั ราการสวมหมวก โดย มลู นธิ ไิ ทยโรดส์ และเครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั สถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนน นริ ภัยของผใู้ ช้ • ศูนยว์ ิจยั อุบตั เิ หตแุ ห่งประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชีย รถจักรยานยนต์ • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ในประเทศไทย • คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี พ.ศ. 2561 • สำ� นักวชิ าวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี • วศิ วกรรมโลจสิ ตกิ ส์ คณะศลิ ปะศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ • คณะโลจสิ ตกิ ส์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา • ส�ำนักวิชาวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละทรพั ยากร มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ์ • ภาควชิ าวศิ วกรรมโยธา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ • คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสกลนคร ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) กรกฎาคม 2562



ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรม อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 ผจู้ ัดท�ำ มูลนิธิไทยโรดส์และเครอื ขา่ ยเฝ้าระวงั สถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนน ผู้สนบั สนนุ สำ� นกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ผู้จัดพิมพ์ มูลนิธิไทยโรดส์ พมิ พ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2562 จำ� นวนพมิ พ์ 2,500 เล่ม

อตั ราการสวมหมวกนิรภยั I ของผู้ใช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 ค�ำน�ำ รายงานผลส�ำรวจ “อัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561” จัดท�ำขึ้น ภายใต้การสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสะท้อน ให้เห็นถึงสถานการณ์ปัจจุบันของพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในจังหวัดต่างๆ ท่ัวภูมิภาค ของประเทศ โดยสามารถนำ� ไปใชอ้ า้ งองิ เปน็ ขอ้ มลู ฐานสำ� หรบั การตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานของมาตรการ ที่มุ่งเน้นให้ผู้ขับขี่และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์สวมใส่หมวกนิรภัยมากย่ิงข้ึน ท้ังในแง่ของการบังคับใช้กฎหมาย การรณรงค์ การประชาสมั พันธ์ และอนื่ ๆ ขอ้ มลู ทนี่ ำ� เสนอในรายงานฉบบั นี้ไดม้ าจากการสำ� รวจเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารสงั เกต (Observational survey) พฤตกิ รรม การสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนตบ์ นทอ้ งถนน ประจำ� ปี พ.ศ. 2561 ครอบคลมุ พนื้ ที่ใน 77 จงั หวดั ทวั่ ประเทศ ตงั้ แต่ เดอื นสงิ หาคม ถงึ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2561 โดยเปน็ การดำ� เนนิ งานรว่ มกนั ระหวา่ งมลู นธิ ไิ ทยโรดสแ์ ละเครอื ขา่ ย เฝา้ ระวงั สถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนน (Road Safety Watch) ประกอบดว้ ยภาคเี ครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ในแตล่ ะ ภมู ภิ าค ได้แก่ ศูนยว์ ิจัยอบุ ัติเหตุแหง่ ประเทศไทย สถาบนั เทคโนโลยีแห่งเอเชีย คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ส�ำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วศิ วกรรมโลจสิ ติกส์ คณะศลิ ปะศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ คณะโลจิสติกส์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา สำ� นกั วชิ าวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละทรพั ยากร มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ ภาควชิ าวศิ วกรรมโยธา มหาวทิ ยาลยั สงขลา นครนิ ทร์ และคณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร คณะผู้จัดท�ำขอขอบพระคุณส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในฐานะผู้สนับสนุนการส�ำรวจ เก็บข้อมูลระดับประเทศในคร้ังนี้ รวมถึงศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.) มูลนิธิสาธารณสุข แห่งชาติ (มสช.) และผทู้ รงคุณวฒุ หิ ลายทา่ นทีม่ ิได้เอ่ยนามไว้ ณ ท่นี ี้ ส�ำหรับแนวคิดและขอ้ แนะนำ� ทเี่ ป็นประโยชน์ อย่างย่ิงต่อการด�ำเนินงานตลอดจนคณะผู้บริหารของมหาวิทยาลัยเครือข่ายเฝ้าระวังสถานการณ์ความปลอดภัย ทางถนน ส�ำหรับการสนับสนุนจนท�ำให้มีเครือข่ายนักวิชาการเกิดข้ึนในระดับภูมิภาค เพ่ือติดตามสถานการณ์ ความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย ท้ายท่ีสุดน้ี หากเพียงบางส่วนของรายงานฉบับน้ีจะถูกหยิบยกมาพิจารณาและได้เอื้อประโยชน์ต่อการด�ำเนินงาน ความปลอดภัยทางถนนไม่ว่าจะเป็นระดับท้องถ่ินหรือระดับประเทศ คณะผู้จัดท�ำขอยกความดีความชอบทั้งหลาย ให้แก่ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ให้แก่คณะผู้จัดท�ำ หากรายงานฉบับนี้มีข้อบกพร่องประการใด คณะผู้จัดท�ำ ขอน้อมรบั ความผดิ พลาดไวแ้ ตเ่ พยี งผ้เู ดียว คณะท�ำงาน มลู นิธิไทยโรดส์ และ เครอื ขา่ ยเฝา้ ระวังสถานการณ์ความปลอดภยั ทางถนน กรกฎาคม 2562

II อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 คณะท�างาน บคุ ลากรหลัก ดร.ดนยั เรืองสอน มลู นธิ ิไทยโรดส์ ดร.ปยพงษ์ จวิ ฒั นกุลไพศาล มูลนิธิไทยโรดส์ นายณัฐพงศ์ บุญตอบ มูลนธิ ไิ ทยโรดส์ รศ.ดร.กัณวีร์ กนษิ ฐ์พงศ์ สถาบันเทคโนโลยแี ห่งเอเชยี ดร.ดุษฏี สถริ เศรษฐทวี มหาวิทยาลยั นเรศวร ดร.นพดล กรประเสริฐ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ดร.ณัฐภรณ์ เจริญธรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี ผศ.ดร.ไพโรจน์ เรา้ ธนชลกลุ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ดร.นุกูล สขุ สวุ รรณ์ มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ นางสาวณฐั ธิดา นลิ จนิ ดา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร นางสาวทิพย์สุดา กุมผัน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ ดร.อรกมล วงั อภิสิทธ์ิ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ มลู นิธไิ ทยโรดส์ บุคลากรสนับสนุน แก้วเกดิ มลู นิธิไทยโรดส์ นายวรญั ู คา� ไขส่ อน มูลนิธิไทยโรดส์ นายวัชระ เจรญิ นภารัตน์ สถาบันเทคโนโลยแี ห่งเอเชยี นายกฤษณะ ดาบสมศรี สถาบันเทคโนโลยีแหง่ เอเชีย นางสาวปทุมพร เจนศภุ การ สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชยี นางสาวพัทธธ์ รี า ฉัตรอจั ฉริยะ สถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชีย นางสาวอรวรรณ อิสสระกลุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร นางสาวกรรณิการ์ บุญเรอื ง มหาวทิ ยาลัยนเรศวร นายพบธรรม สดสูง มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ นางสาวณฐั ธยาน์ ยศหนกั มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นายพงศธร ยะมงั มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ นายกรณ์ ควู ิบลู ย์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ นายปวีร์ พิเศษสทิ ธ์ิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี นายพงศ์เทพ แทบทาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี นายทศพล ทพิ ยวงศ์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี นายไกรสหี ์ พวั พนั ธ์ุ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ นายเตม็ ใจ โตะสิงห์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ นายณัฐกร นพพลกรงั มหาวิทยาลัยบูรพา นางสาวโชตริ ส สงทอง มหาวทิ ยาลยั บรู พา นางสาวสิรวิ รร ทองแดง มหาวทิ ยาลยั บรู พา นางสาวเยาวลักษณ์ ประทุมมินทร์ มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ์ นางสาวโสภา ดิษฐกิจ มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ ผศ.ดร.ปกรณ์ ไชยเภท มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นางสาวอญั ชิสา แวดาโอะ มหาวทิ ยาลยั นครพนม นายอัมนาน ทะเสนฮด มหาวทิ ยาลยั นครพนม นางสาวอญั มณี มณโี ชติวงศ์ มหาวิทยาลัยนครพนม นางสาวจันทิมา ศุภโกศล มหาวิทยาลัยนครพนม นายจิรวัฒน์ พฒั นานโุ รจน์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ นายปกรณ์ นวลละออง มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ นางสาวศภุ วรรณ์ กิจเอก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นางสาวญาตาวยี ์ อรญั ดร มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ นายธนกฤต พึง่ ลอ้ ม มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ นายกติ ติพงษ์ ฉิมพงษ์ นายกติ ตินนั ท์

บทสรุปสา� หรับผ้บู รหิ าร

IV อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 บทสรปุ ส�ำหรับผูบ้ ริหาร การส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินถึงสถานการณ์ปัจจุบันเก่ียวกับ พฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ท้ังในระดับประเทศ และระดับจังหวัด ส�ำหรับเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการติดตามและประเมินผล การด�ำเนินงานของมาตรการท่ีมุ่งเน้นให้ผู้ขับข่ีและผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ สวมหมวกนิรภัยมากย่ิงขึ้น ท้ังในแง่ของการบังคับใช้กฎหมาย การรณรงค์ และประชาสัมพันธ์ และอื่นๆ ซึ่งได้ด�ำเนินการส�ำรวจตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 เปน็ ต้นมา โดยอาศัยวธิ กี ารสังเกต (Observational Survey) พฤตกิ รรมการ สวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์บนท้องถนน ซ่ึงการส�ำรวจฯ ในปี พ.ศ. 2561 น้ี ไดท้ ำ� การสำ� รวจกลมุ่ ตวั อยา่ ง จำ� นวนรวมทงั้ สน้ิ 1,529,808 คน แบ่งเป็นผู้ขับข่ี 1,146,860 คน และผู้โดยสาร 382,948 คน ด�ำเนินการ ครอบคลมุ พ้ืนท่ี 77 จงั หวัดทวั่ ประเทศ โดยเรม่ิ ตั้งแต่ เดือนสิงหาคม จนถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ผลการส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ในประเทศไทย เปรียบเทียบระหว่าง ปี พ.ศ. 2553-2561 ในภาพรวมของ ทงั้ ประเทศ สามารถสรุปไดด้ ังนี้ อัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2553-2561 รวมผขู้ บั ข่ีและผู้โดยสาร ผขู้ บั ข่ี ผู้โดยสาร 53 54 55 56 57 58 59 60 61 53 54 55 56 57 58 59 60 61 53 54 55 56 57 58 59 60 61 รวมทงั้ 44% 46% 43% 43% 42% 43% 43% 43% 45% 53% 54% 52% 51% 51% 51% 51% 50% 52% 19% 24% 20% 19% 19% 20% 20% 20% 22% ประเทศ จำ�แนก ตามช่วง อายุ ผู้ใหญ่ 52% 53% 49% 49% 47% 47% 47% 46% 48% 57% 58% 55% 54% 53% 53% 52% 51% 53% 24% 32% 26% 25% 25% 24% 25% 23% 27% วัยรนุ่ 32% 34% 28% 23% 24% 22% 26% 18% 22% 42% 41% 37% 32% 34% 32% 35% 22% 28% 16% 19% 13% 10% 11% 12% 14% 10% 11% เดก็ - - - - - - - - - - - - - - - - - - 8% 9% 7% 7% 7% 7% 8% 7% 8% เมอ่ื พจิ ารณาเปรยี บเทยี บผลการสำ� รวจตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2553-2561 ในภาพรวม ทั้งประเทศ พบว่า อัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ในประเทศไทยในภาพรวมมแี นวโนม้ ลดลงเลก็ นอ้ ย ในชว่ งปี พ.ศ. 2554-2555 และมีแนวโน้มคงท่ีอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบัน ซ่ึงเม่ือ พิจารณาจ�ำแนกตามต�ำแหน่งท่ีนั่ง (เฉพาะผู้ขับข่ีและเฉพาะผู้โดยสาร) กพ็ บว่ามแี นวโนม้ ไปในทิศทางเดยี วกนั ผลการส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัย จ�ำแนกตามพ้ืนท่ีที่ท�ำการส�ำรวจ เปรียบเทียบระหว่างเขตชุมชนเมือง (ช้ันภูมิที่ 1) และเขตชุมชนชนบท (ชน้ั ภมู ทิ ่ี 3) ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2553-2561 ในภาพรวมของทงั้ ประเทศ สรปุ ไดด้ งั น้ี

บทสรุป V สา� หรับผบู้ ริหาร อตั รำกำรสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจักรยำนยนต์ ปี พ.ศ. 2553-2561 รวมผู้ขับขแ่ี ละผู้โดยสำร ผขู้ ับข่ี ผู้โดยสำร 53 54 55 56 57 58 59 60 61 53 54 55 56 57 58 59 60 61 53 54 55 56 57 58 59 60 61 เขต 74% 76% 74% 72% 70% 71% 70% 71% 78% 86% 85% 84% 83% 81% 81% 81% 81% 85% 39% 42% 39% 37% 36% 36% 35% 35% 48% ชมุ ชนเมือง (ชน้ั ภูมทิ ่ี 1) เขต 29% 30% 28% 29% 29% 30% 31% 30% 31% 36% 36% 34% 34% 35% 36% 37% 36% 37% 12% 15% 12% 12% 13% 13% 15% 13% 13% ชุมชนชนบท (ชนั้ ภูมิท่ี 3)2 ผลการส�ารวจเปรียบเทียบอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2553-2561 ระหว่างพ้นื ทเี่ ขตชุมชนเมือง (ชั้นภมู ทิ ี่ 1) และเขตชุมชนชนบท (ชนั้ ภูมิท่ี 3) ยงั คงพบวา่ มแี นวโนม้ เชน่ เดมิ คอื เขตชมุ ชนเมอื งมอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ค่อนข้างสูงกว่าเขตชุมชนชนบทเกือบเท่าตัว เม่ือพิจารณาแนวโน้มอัตรา การสวมหมวกนิรภัยระหว่างพ้ืนท่ีเขตชุมชนเมืองและชุมชนชนบท ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553-2561 พบว่า อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยท้ังในพ้นื ทเ่ี ขตชุมชนเมือง และเขตชมุ ชนชนบทมแี นวโนม้ คงทอ่ี ย่างต่อเน่ือง 1. ช้ันภูมิท่ี 1 เขตเมืองขนาดใหญ่ คือ เทศบาลนครหรอื เทศบาลเมืองทเี่ ป็นศนู ยก์ ลางกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั 2. ช้ันภูมิท่ี 3 เขตเมอื งขนาดเล็กหรอื ชมุ ชนชนบท คอื เทศบาลต�าบลทม่ี ปี ระชากรน้อยกว่า 20,000 คน

VI อตั ราการสวมหมวกนิรภัย ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 เ3ชีย9งร%าย อัตราการสวมหมวกนิรภยั แม3ฮ6อ ง%สอน พะเยา ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 42% นาน เชยี งใหม 37% 53% ลำพูน 3ลำ9ป%าง แพร หน2อ5งค%าย บ1งึ 2กา%ฬ 31% 34% ส3กล5น%คร เลย อุดรธานี นครพนม ตาก อ3ุตร3ด%ิตถ 23% หนอ2ง8บวั%ลำภู 30% 19% 41% สุโขทยั 47% พษิ ณุโลก 51% ก2าฬ8ส%นิ ธุ มกุ3ด8าห%าร กำแพงเพชร พจิ ิตร เพชรบรู ณ ข3อน4แ%กน 34% 34% 50% ชัยภูมิ มห3าส0า%รคาม รอ ยเอด็ ยโสธร อำนาจเจริญ 21% 28% 20% 28% นครสวรรค รวมผู้ขบั ขี่และผ้โู ดยสาร 40% อทุ ยั ธานี 45เปรฉร้อละยย่ี เททลศ่ัวะ 31% ชัยนาท อุบลราชธานี 32% ลพบรุ ี 39% 1 30% นครราชสีมา สรุ ินทร สพุ รรณบุรี 41% บุรีรมั ย 45% ศรีสะเกษ 32% 27% 33% 23อ5ย0ุธ%ยา637ส4นร9ค4ะรบ%ช0นุรลา%ี บยุรกฉี ะ3เปช32รงิ าเ%9ทจรนี%าบรุ ี กาญจนบรุ ี 28% 4 ส2ร9ะแ%กว ราชบรุ ี 8 31% 9 เ2พช9ร%บรุ ี 46% จันทบุรี 1. สงิ ห์บรุ ี 46% ระยอง 29% 52% 2. อ่างทอง 26% ตราด 44% ประจวบครี ขี นั ธ 3. ปทมุ ธานี 56% 30% 4. นครปฐม 42% ชมุ พร 5. นนทบุรี 60% 26% 6. กรุงเทพมหานคร 85% ระนอง 7. สมทุ รปราการ 59% 32% 8. สมุทรสาคร 41% สุราษฎรธ านี 9. สมุทรสงคราม 43% 35% พังงา กระบี นครศรธี รรมราช 35% 34% 59% ภเู กต็ 61% ตรัง พทั ลุง มากกว่า 80% 34% 26% 61-80% สตูล 4สง1ข%ลา ปต ตานี 41-60% 32% 21% 21-40% น้อยกวา่ 21% ยะลา นราธวิ าส 20% 16% มลู นธิ ิไทยโรดส์ เครอื ข่าย Road Safety Watch ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ

บทสรุป VII สา� หรบั ผ้บู รหิ าร เ4ชีย6งร%าย อัตราการสวมหมวกนิรภยั แม4ฮ4อ ง%สอน พะเยา ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 46% นา น เชียงใหม 44% 58% ลำพนู 4ลำ3ป%าง แพร หน2อ8งค%าย บ1ึง4กา%ฬ 35% 37% ส4กล1น%คร เลย อุดรธานี นครพนม ตาก อ3ุตร8ด%ิตถ 27% หนอ3ง1บัว%ลำภู 35% 24% 48% สโุ ขทัย 54% พิษณโุ ลก 58% ก3าฬ3ส%นิ ธุ มุก4ด5าห%าร กำแพงเพชร พจิ ิตร เพชรบรู ณ ข4อน1แ%กน 43% 41% 59% ชยั ภมู ิ มห3าส6า%รคาม รอยเอด็ ยโสธร อำนาจเจริญ 26% 32% 26% 34% นครสวรรค เฉพาะผู้ขบั ขี่ 51% อทุ ัยธานี 52เปรฉร้อละยีย่ เททลศ่วัะ 40% ชยั นาท อบุ ลราชธานี 39% ลพบุรี 45% 1 38% นครราชสมี า สุรนิ ทร สพุ รรณบรุ ี 49% บุรีรัมย 54% ศรสี ะเกษ 38% 33% 41% 23อ5ย9ุธ%ยา637ส5นร8ค4ะรบ%ช9นรุ ลา%ี บยรุกฉี ะ4เปช13รงิ าเ%3ทจรีน%าบรุ ี กาญจนบรุ ี 34% 4 ส3ร4ะแ%กว ราชบุรี 8 40% 9 เ3พช4ร%บุรี 53% จนั ทบุรี 1. สงิ ห์บรุ ี 53% ระยอง 33% 61% 2. อ่างทอง 33% ตราด 50% ประจวบครี ีขนั ธ 3. ปทมุ ธานี 69% 37% 4. นครปฐม 52% ชุมพร 5. นนทบุรี 70% 33% 6. กรุงเทพมหานคร 92% ระนอง 7. สมุทรปราการ 71% 40% 8. สมทุ รสาคร 53% สุราษฎรธ านี 9. สมทุ รสงคราม 55% 41% พังงา กระบี นครศรีธรรมราช 44% 42% 68% ภูเก็ต 70% ตรงั พทั ลงุ มากกวา่ 80% 45% 34% 61-80% สตลู 5สง2ข%ลา ปต ตานี 41-60% 42% 28% 21-40% น้อยกว่า 21% 2ย6ะล%า นราธิวาส 22% มูลนธิ ไิ ทยโรดส์ เครอื ข่าย Road Safety Watch สา� นักงานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ

VIII อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 เ1ชยี6งร%าย อัตราการสวมหมวกนิรภยั แม1ฮ 3อง%สอน พะเยา ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 22% นาน เชียงใหม 14% 33% ลำพนู 2ลำ0ป%าง แพร หน1อ7งค%าย บ4ึง%กาฬ 15% 22% ส1กล7น%คร เลย หนอ1ง7บัว%ลำภู อุดรธานี นครพนม ตาก อ1ุตร6ด%ติ ถ 11% 17% 7% 21% สุโขทัย 23% พิษณุโลก ก1าฬ3ส%นิ ธุ มกุ1ด9าห%าร 29% กำแพงเพชร พจิ ิตร เพชรบูรณ ข1อน3แ%กน 10% 12% 17% ชยั ภมู ิ มห1าส2า%รคาม รอ ยเอด็ ยโสธร อำนาจเจริญ 7% 14% 6% 10% นครสวรรค เฉพาะผโู้ ดยสาร 10% อุทยั ธานี 22เปรฉร้อละยยี่ เททลศ่วัะ 6% ชยั นาท อบุ ลราชธานี กาญจนบุรี 11% ลพบรุ ี 18% สพุ รรณบรุ ี 1 11% นครราชสมี า สุรนิ ทร 8% 12% 18% บุรรี มั ย 19% ศรสี ะเกษ 9% 14% 2อ58ย%ธุ ยา637ส1นร8ค1ะรบ%ช3นุรลา%ี บยรุกฉี ะเปช1รงิ 1าเ2ทจ3%รีนา%บุรี 4 สร8ะ%แกว ราชบรุ ี 8 11% 9 เ1พช2ร%บรุ ี 23% จนั ทบรุ ี 1. สิงหบ์ รุ ี 20% ระยอง 13% 23% 2. อ่างทอง 8% ตราด 25% ประจวบคีรีขันธ 3. ปทุมธานี 15% 8% 4. นครปฐม 13% ชมุ พร 5. นนทบรุ ี 27% 10% 6. กรุงเทพมหานคร 55% ระนอง 7. สมุทรปราการ 25% 12% 8. สมทุ รสาคร 11% สุราษฎรธานี 9. สมุทรสงคราม 9% 16% พังงา กระบี นครศรีธรรมราช 10% 12% 35% ภูเกต็ 31% ตรงั พัทลงุ มากกวา่ 80% 7% 5% 61-80% สตูล ส1งข0ล%า ปต ตานี 41-60% 5% 4% 21-40% นอ้ ยกวา่ 21% ยะลา นราธิวาส 4% 4% มูลนิธิไทยโรดส์ เครอื ข่าย Road Safety Watch ส�านกั งานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ

สารบัญ IX สารบัญ คำ� นำ� I คณะท�ำงาน II บทสรุปส�ำหรับผ้บู ริหาร IV สารบัญ IX สารบัญรปู XI สารบัญตาราง XIV บทที่ 1 บทน�ำ 1 1.1 ความเปน็ มาและวัตถุประสงค ์ 2 1.2 โครงสร้างรายงาน 3 บทที่ 2 ระเบียบวิธีการส�ำรวจ 5 2.1 ขอบเขตและวิธกี ารส�ำรวจ 6 2.2 การออกแบบการสมุ่ ตวั อย่าง 7 2.3 การออกแบบต�ำแหน่งจดุ ส�ำรวจ 10 2.4 แนวทางการวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูล 13 2.5 สรุปจ�ำนวนกลุ่มตัวอยา่ งจากการส�ำรวจ 14 บทท่ี 3 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561 19 3.1 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผขู้ บั ข่ีและผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 20 3.2 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผู้ขับขี่ ปี พ.ศ. 2561 22 3.3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 24 3.4 การจัดล�ำดับอตั ราการสวมหมวกนริ ภัย จ�ำแนกตามภูมภิ าค ปี พ.ศ. 2561 26 บทท่ี 4 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยจ�ำแนกตามกลุ่มผใู้ ชร้ ถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561 31 4.1 อัตราการสวมหมวกนิรภัยของวยั รนุ่ และผใู้ หญ่ ปี พ.ศ. 2561 32 4.2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของเด็ก (เฉพาะผู้โดยสาร) ปี พ.ศ. 2561 36 บทที่ 5 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั จำ� แนกตามพนื้ ที่ ปี พ.ศ. 2561 37 5.1 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผูข้ ับขแี่ ละผโู้ ดยสาร บรเิ วณชุมชนเมืองและชุมชนชนบท 38 ปี พ.ศ. 2561 5.2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยของผ้ขู บั ข่ี บรเิ วณชุมชนเมืองและชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2561 40 5.3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยของผโู้ ดยสาร บรเิ วณชมุ ชนเมืองและชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2561 42

X อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผูใ้ ช้รถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 สารบญั (ต่อ) บทท่ี 6 การเปล่ียนแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภัยในประเทศไทย รายจังหวดั ปี พ.ศ. 2557-2561 45 6.1 การเปล่ียนแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภยั รวมผขู้ ับขีแ่ ละผูโ้ ดยสาร รายจังหวัด 46 ปี พ.ศ. 2557-2561 51 6.2 การเปลยี่ นแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผู้ขบั ข่ี รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2557-2561 55 6.3 การเปลย่ี นแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผโู้ ดยสาร รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2557-2561 บทที่ 7 จังหวดั ทม่ี อี ตั ราการสวมหมวกนิรภยั พฒั นาการดีเด่น ปี 2559-2561 59 7.1 จงั หวดั ท่ีมีอัตราการสวมหมวกนิรภัยพัฒนาการดีเดน่ ปี 2559-2561 ภาคเหนอื 60 7.2 จังหวัดที่มอี ตั ราการสวมหมวกนิรภยั พัฒนาการดเี ดน่ ปี 2559-2561 63 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 7.3 จังหวัดทม่ี ีอตั ราการสวมหมวกนริ ภัยพฒั นาการดเี ดน่ ปี 2559-2561 65 ภาคกลางและตะวันออก 7.4 จังหวดั ทีม่ ีอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั พฒั นาการดีเดน่ ปี 2559-2561 ภาคใต ้ 67 7.5 จังหวดั ทม่ี ีพัฒนาการของอัตราการสวมหมวกนริ ภัยเพิ่มข้นึ ดีเด่นในเขตชุมชนเมอื ง 69 ปี 2559-2561 72 7.6 จงั หวดั ที่มพี ัฒนาการของอตั ราการสวมหมวกนิรภยั เพ่ิมข้นึ ดีเด่นในเขตชุมชนชนบท 75 ปี 2559-2561 7.7 จังหวัดทมี่ อี ตั ราการสวมหมวกนิรภยั ในกลุ่มผู้โดยสารสูงสุด ปี 2561 บทที่ 8 สรุปผลการส�ำรวจและขอ้ เสนอแนะ 77 8.1 สถานการณป์ จั จบุ นั ของการสวมหมวกนิรภยั ของผูใ้ ช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย 78 8.2 แนวโนม้ ของการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย 79 8.3 การเปลย่ี นแปลงและพัฒนาการของอตั ราการสวมหมวกนิรภัยในระดบั จงั หวัด 80 8.4 ข้อเสนอแนะส�ำหรบั การขับเคลอื่ นการรณรงค์สง่ เสรมิ การสวมหมวกนิรภยั ของ 82 ผใู้ ชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ภาคผนวก 83 ภาคผนวก ก แนวทางการส่มุ ตวั อย่าง 85 ภาคผนวก ข แนวทางการวิเคราะหอ์ ัตราการสวมหมวกนริ ภยั 93 ภาคผนวก ค ระบบสารสนเทศบริหารจัดการขอ้ มูลสำ� รวจอตั ราการสวมหมวกนิรภัย 105 ภาคผนวก ง ตารางผลการวเิ คราะห์อตั ราการสวมหมวกนิรภัย

สารบัญรปู XI สารบัญรปู 2-1 ตวั อยา่ งการต้งั กล้องวดิ ีโอบันทกึ พฤติกรรมการสวมหมวกนริ ภยั 6 2-2 ระบบสารสนเทศบรหิ ารจดั การขอ้ มูลสำ� รวจการสวมหมวกนิรภยั ในประเทศไทย 13 3-1 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขบั ขแ่ี ละผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2553-2561 รายภาค 20 3-2 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผ้ขู บั ขแ่ี ละผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2561 รายจงั หวดั 21 3-3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผู้ขบั ขี่ ปี พ.ศ. 2553-2561 รายภาค 22 3-4 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผ้ขู ับขี่ ปี พ.ศ. 2561 รายจังหวัด 23 3-5 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผ้โู ดยสาร ปี พ.ศ. 2553-2561 รายภาค 24 3-6 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผโู้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2561 รายจงั หวัด 25 3-7 การจดั ลำ� ดบั อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั รวมผขู้ บั ข่ีและผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 จ�ำแนกตามภมู ิภาค 27 3-8 การจัดลำ� ดบั อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผู้ขบั ข่ี ปี พ.ศ. 2561 จ�ำแนกตามภูมิภาค 28 3-9 การจดั ล�ำดับอัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผูโ้ ดยสาร ปี พ.ศ. 2561 จ�ำแนกตามภูมภิ าค 29 4-1 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของวยั รุ่นเปรียบเทียบระหว่าง ปี พ.ศ. 2553-2561 33 4-2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใหญเ่ ปรียบเทียบระหว่าง ปี พ.ศ. 2553-2561 34 4-3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั รวมผขู้ บั ขแ่ี ละผโู้ ดยสารในกลมุ่ วยั รนุ่ และผใู้ หญ่ รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561 35 4-4 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของเด็ก (เฉพาะผโู้ ดยสาร) เปรยี บเทียบระหว่าง ปี พ.ศ. 2553-2561 36 5-1 อัตราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขบั ข่ีและผู้โดยสาร บรเิ วณชมุ ชนเมอื งและชุมชนชนบท 38 ปี พ.ศ. 2561 รายภาค 5-2 เปรยี บเทยี บอตั ราการสวมหมวกนิรภยั รวมผูข้ ับขแี่ ละผู้โดยสาร บริเวณชมุ ชนเมอื ง (ซา้ ย) 39 และชมุ ชนชนบท (ขวา) ปี พ.ศ. 2561 รายจังหวัด 5-3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ขบั ขี่ บรเิ วณชมุ ชนเมอื งและชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2561 40 รายภาค 5-4 เปรียบเทียบอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผ้ขู บั ข่ี บรเิ วณชมุ ชนเมอื ง (ซา้ ย) 41 และชมุ ชนชนบท (ขวา) ปี พ.ศ. 2561 รายจังหวดั

XII อัตราการสวมหมวกนริ ภัย ของผู้ใช้รถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 สารบัญรปู (ต่อ) 5-5 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสาร บรเิ วณชมุ ชนเมอื งและชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2561 รายภาค 42 5-6 เปรียบเทียบอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผ้โู ดยสาร บรเิ วณชุมชนเมอื ง (ซ้าย) 43 และชุมชนชนบท (ขวา) ปี พ.ศ. 2561 รายจังหวดั 47 6-1 การเปลย่ี นแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภยั รวมผขู้ บั ข่แี ละผโู้ ดยสาร รายจงั หวัด 48 ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคเหนอื 49 6-2 การเปลย่ี นแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขับขแ่ี ละผู้โดยสาร รายจงั หวดั 50 ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 51 6-3 การเปลยี่ นแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขบั ขี่และผโู้ ดยสาร รายจังหวัด 52 ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคกลางและตะวันออก 53 6-4 การเปล่ยี นแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผู้ขับขีแ่ ละผโู้ ดยสาร รายจงั หวัด 54 ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคใต้ 55 6-5 การเปลี่ยนแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผขู้ ับข่ี รายจงั หวัด 56 ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคเหนือ 57 6-6 การเปลี่ยนแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผู้ขับข่ี รายจังหวดั 58 ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 6-7 การเปลยี่ นแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผขู้ บั ขี่ รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคกลางและตะวันออก 6-8 การเปลย่ี นแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผขู้ ับข่ี รายจงั หวดั ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคใต้ 6-9 การเปลย่ี นแปลงอัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผโู้ ดยสาร รายจังหวัด ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคเหนอื 6-10 การเปลย่ี นแปลงอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผโู้ ดยสาร รายจงั หวัด ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 6-11 การเปลี่ยนแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผู้โดยสาร รายจังหวัด ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคกลางและตะวันออก 6-12 การเปลี่ยนแปลงอัตราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผ้โู ดยสาร รายจังหวดั ปี พ.ศ. 2556-2561 ภาคใต้

สารบัญรปู XIII สารบญั รูป (ต่อ) 7-1 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวัดเชยี งใหม่ 61 7-2 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวดั พษิ ณุโลก 61 7-3 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวดั นครสวรรค ์ 62 7-4 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวัดสรุ นิ ทร์ 63 7-5 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวดั อุบลราชธานี 64 7-6 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวัดนครราชสีมา 64 7-7 พฒั นาการอตั ราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวัดนนทบุรี 65 7-8 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวัดสมทุ รปราการ 66 7-9 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวดั ปทมุ ธานี 66 7-10 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวดั ภเู ก็ต 67 7-11 พฒั นาการอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวัดนครศรธี รรมราช 68 7-12 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวัดระนอง 68 7-13 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ในเขตชมุ ชนเมอื ง ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวดั แพร ่ 69 7-14 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภัย ในเขตชุมชนเมือง ปี พ.ศ. 2559-2561 70 จงั หวัดหนองบวั ลำ� ภ ู 7-15 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนิรภัย ในเขตชุมชนเมอื ง ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวดั ระยอง 70 7-16 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนิรภัย ในเขตชมุ ชนเมือง ปี พ.ศ. 2559-2561 71 จังหวดั นครศรีธรรมราช 7-17 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ในเขตชุมชนชนบท ปี พ.ศ. 2559-2561 72 จงั หวดั เพชรบรู ณ์ 7-18 พฒั นาการอัตราการสวมหมวกนิรภยั ในเขตชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวัดสรุ นิ ทร์ 73 7-19 พัฒนาการอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ในเขตชุมชนชนบท ปี พ.ศ. 2559-2561 จังหวัดสระบุรี 73 7-20 พัฒนาการอตั ราการสวมหมวกนิรภยั ในเขตชุมชนชนบท ปี พ.ศ. 2559-2561 จงั หวดั ภูเกต็ 74 7-21 อัตราการสวมหมวกนริ ภัย ในกลมุ่ ผู้โดยสารสูงสุด ปี พ.ศ. 2561 จังหวดั กรุงเทพมหานคร 75

XIV อัตราการสวมหมวกนิรภัย ของผใู้ ช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 สารบญั ตาราง 2-1 สรุปจา� นวนจุดสา� รวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561 11 2-2 เครือข่ายหนว่ ยเฝ้าระวังสถานการณค์ วามปลอดภัยทางถนน 15 2-3 สรุปจ�านวนกล่มุ ตัวอย่างจากการส�ารวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภยั ปี พ.ศ. 2561 16 ก-1 แนวทางการสมุ่ ตัวอย่างส�าหรับการสา� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ 84 ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 ง-1 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผู้ขับข่ีและผูโ้ ดยสารรถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561 107 ง-2 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ขับขีร่ ถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561 109 ง-3 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยของผู้โดยสารรถจกั รยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561 111 ง-4 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขบั ข่ีและผู้โดยสารรถจกั รยานยนต์ กลมุ่ วัยรนุ่ และผู้ใหญ่ 113 ปี พ.ศ. 2561 ง-5 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยของผูข้ ับขร่ี ถจักรยานยนต์ กลมุ่ วยั รนุ่ และผใู้ หญ่ ปี พ.ศ. 2561 115 ง-6 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสารรถจกั รยานยนต์ กลุ่มวัยรุ่นและผ้ใู หญ่ ปี พ.ศ. 2561 117 ง-7 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสาร กลุ่มเด็ก ปี พ.ศ. 2561 119 ง-8 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผขู้ บั ข่แี ละผู้โดยสารรถจกั รยานยนต์ บริเวณชมุ ชนเมือง 121 และชุมชนชนบท ปี พ.ศ. 2561 ง-9 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ขับขี่รถจกั รยานยนต์บรเิ วณชุมชนเมือง บรเิ วณชุมชนเมือง 123 และชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2561 ง-10 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผโู้ ดยสารรถจักรยานยนตบ์ รเิ วณชมุ ชนเมือง บรเิ วณชมุ ชนเมือง 125 และชมุ ชนชนบท ปี พ.ศ. 2561

บบทททนี่ า�1

002 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 บทท่ี 1 1.1 ความเปน็ มาและวัตถปุ ระสงค์ บทนำ� การสูญเสียอันเน่ืองมาจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยในแต่ละปีน้ัน ส่วนหนึ่งเป็นการเสียชีวิตอันเน่ืองมาจากการบาดเจ็บท่ีศีรษะของผู้ ใช้ เนื้อหาในบทนปี้ ระกอบดว้ ย รถจกั รยานยนต์ ท้ังน้ี จากผลงานวจิ ยั ถงึ ประสิทธิผลของการสวมหมวกนิรภยั 1.1 ความเป็นมาและวตั ถุประสงค์ ในประเทศไทย พบวา่ การสวมหมวกนริ ภยั สามารถชว่ ยลดโอกาสการเสยี ชวี ติ 1.2 โครงสรา้ งเนื้อหาของรายงาน อันเนื่องมาจากการบาดเจ็บท่ีศีรษะได้ถึงร้อยละ 43 ส�ำหรับผู้ขับข่ี และ ร้อยละ 58 ส�ำหรับผู้โดยสาร1 แสดงให้เห็นว่า หากผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ที่ประสบอุบัติเหตุมีการสวมหมวกนิรภัยจะมีส่วนช่วยให้การบาดเจ็บและ เสียชวี ิตจากอบุ ัตเิ หตุรถจักรยานยนต์ในประเทศไทยมจี ำ� นวนลดลง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการสวมหมวกนิรภัยส�ำหรับผู้ขับข่ีและผู้โดยสาร รถจกั รยานยนต์ได้กำ� หนดไวเ้ ปน็ ขอ้ บังคบั ตามกฎหมาย ตง้ั แต่ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2537 และมกี ารบงั คบั ใช้ทัว่ ประเทศ เมื่อวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2539 แต่ที่ผ่านมายังคงมีผู้ ใช้รถจักรยานยนต์จ�ำนวนมากท่ียังละเลยการสวม หมวกนิรภัยในขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ ดังท่ีสามารถพบเห็น ไดท้ ัว่ ไปตามท้องถนน ดังน้ัน เพื่อประเมินถึงสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับพฤติกรรมการสวม หมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) จงึ ไดส้ นบั สนนุ ใหม้ ลู นธิ ไิ ทยโรดสท์ ำ� การสำ� รวจอตั รา การสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย โดยเรมิ่ ดำ� เนนิ การ สำ� รวจตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2553 เปน็ ต้นมา ตอ่ เนื่องมาจนถึงปจั จบุ นั ปี พ.ศ. 2561 เพื่อให้ได้ข้อมูลระดับประเทศและระดับจังหวัด ส�ำหรับเป็นพื้นฐานในการ ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของมาตรการที่มุ่งเน้นให้ผู้ขับข่ีและ ผู้โดยสารรถจักรยานยนต์สวมใส่หมวกนิรภัยมากย่ิงข้ึน ทั้งในแง่การบังคับ ใชก้ ฎหมาย การรณรงค์ การประชาสัมพนั ธ์และอื่นๆ 1. Kanitpong. K, Boontob. N, and Tanaboriboon, Y. (2008). Helmet Use and Effectiveness in Reducing the Severity of Head Injuries in Thailand, Trans- portation Research Record 2048, Journal of Transportation Research Board, pp 66-76

บทที่ 1 003 บทน�า รายงานฉบับนี้น�าเสนอผลส�ารวจอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้ รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 พรอ้ มเปรยี บเทยี บผลการสา� รวจ ทผี่ ่านมา ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2553-2561 ซึ่งเปน็ การสา� รวจเกบ็ ขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการ สงั เกต (Observational Survey) ครอบคลุมพ้นื ท่ีใน 77 จังหวดั ทัว่ ประเทศ ระหวา่ งเดอื นสงิ หาคม จนถงึ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2561 ภายใตก้ ารดา� เนนิ งาน ร่วมกันระหว่างมูลนิธิไทยโรดส์และเครือข่ายเฝ้าระวังสถานการณ์ความ ปลอดภัยทางถนน (Road Safety Watch) ประกอบด้วยภาคีเครือข่าย มหาวทิ ยาลัยในแต่ละภมู ภิ าค ประกอบดว้ ย - ศนู ย์วจิ ัยอบุ ตั ิเหตแุ ห่งประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชีย - คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ - คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร - ส�านักวิชาวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี - วศิ วกรรมโลจสิ ติกส์ คณะศลิ ปะศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏศรสี ะเกษ - คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา - สา� นักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ - ภาควิชาโยธา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ - คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร 1.2 โครงสรา้ งเนือ้ หาของรายงาน เนื้อหาในส่วนตอ่ ไปของรายงานฉบบั น้ี ประกอบด้วย บทที่ 2 อธิบายถึงระเบียบวิธีการส�ารวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย ของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ท่ีด�าเนินการในครั้งน้ี ประกอบด้วย สรุปขอบเขต และวิธีการส�ารวจ การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง การออกแบบต�าแหน่งจุด สา� รวจ รวมไปถงึ แนวทางการรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พรอ้ มทง้ั สรปุ จา� นวน กลุ่มตวั อย่างจากการส�ารวจใน ปี พ.ศ. 2561

004 อัตราการสวมหมวกนริ ภัย ของผู้ใช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 บทท่ี 3 นา� เสนอผลการสา� รวจอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561 จ�าแนกตามต�าแหน่งท่นี ่งั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ พร้อมเปรียบเทียบ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2553-2561 รวมไปถึงการน�าเสนอผลการสา� รวจอตั ราการ สวมหมวกนริ ภัยรายจงั หวดั บทที่ 4 น�าเสนอผลการส�ารวจอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2561 จ�าแนกตามกลุ่มผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ได้แก่ ผู้ใหญ่ วัยรุ่นและเด็ก พร้อม เปรียบเทยี บอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2553-2561 บทท่ี 5 น�าเสนอผลการส�ารวจอัตราการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2561 จ�าแนกตามพ้ืนที่ ระหวา่ งบริเวณชุมชนเมืองและชุมชนชนบท บทที่ 6 น�าเสนอการเปลยี่ นแปลงอตั ราการสวมหมวกนิรภัยในประเทศไทย รายจังหวัด 5 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557-2561 โดยจ�าแนก ตามต�าแหน่งที่น่ังของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ เช่น รวมผู้ขับขี่และผู้โดยสาร เฉพาะผู้ขบั ข่ี และเฉพาะผู้โดยสาร บทท่ี 7 นา� เสนอจังหวัดท่มี ีอัตราการสวมหมวกนริ ภัยพฒั นาการดีเด่น และ จงั หวดั ทมี่ พี ฒั นาการของอตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เพมิ่ ขน้ึ ดเี ดน่ ในเขตชมุ ชน เมืองและชุมชนชนบท โดยพิจารณาการเปลี่ยนแปลงอัตราการสวมหมวก นิรภยั ในภาพรวมทั้งจงั หวดั ตงั้ แต่ ปี 2559-2561 รวมถึงจังหวัดทมี่ อี ตั ราการ สวมหมวกนริ ภยั ในกลุ่มผู้โดยสารสงู สุด ปี 2561

บทท่ี 2 ระเบียบวธิ ีการสา� รวจ

006 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 บทที่ 2 2.1 ขอบเขตและวธิ ีการสำ� รวจ ระเบยี บวธิ กี าร การส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ใน สำ� รวจ ปี พ.ศ. 2561 เปน็ การดำ� เนนิ งานสำ� รวจครอบคลมุ พน้ื ท่ี 77 จงั หวดั ทว่ั ประเทศ ด้วยการส�ำรวจเก็บข้อมูลในภาคสนามด้วยวิธีการสังเกต (Observational เน้ือหาในบทน้ีประกอบดว้ ย Survey) โดยการตง้ั กลอ้ งวดิ โี อบนั ทกึ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของกลมุ่ 2.1 ขอบเขตและวิธกี ารส�ำรวจ ตวั อย่างบนทอ้ งถนน (รปู ที่ 2-1) เช่นเดยี วกับท่ีไดด้ �ำเนนิ การ ต้งั แต่ ปี พ.ศ. 2.2 การออกแบบการสุ่มตวั อย่าง 2554-2560 และบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงในแบบฟอรม์ การถอดขอ้ มลู การสำ� รวจ ไดแ้ ก่ 2.3 การออกแบบตำ� แหน่งจดุ ส�ำรวจ การสวมหมวกนริ ภยั ตำ� แหนง่ ทน่ี ง่ั และชว่ งอายโุ ดยประมาณแบง่ เปน็ ผู้ใหญ่ 2.4 สรุปจ�ำนวนกลมุ่ ตัวอย่าง วยั รนุ่ และเดก็ จากนนั้ นำ� ขอ้ มลู มาวเิ คราะหแ์ ละประมวลผลในรปู ของอตั ราการ จากการสำ� รวจ สวมหมวกนริ ภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ รปู ท่ี 2-1 ตวั อยา่ งการตงั้ กลอ้ งวดิ โี อบนั ทกึ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั  

บทท่ี 2 007 ระเบียบวิธกี ารสำ� รวจ 11 12 1 2.2 การออกแบบการสมุ่ ตัวอยา่ ง 10 2 การส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ 9 3 ปี พ.ศ. 2561 คณะท�ำงานยังคงใช้จุดส�ำรวจเดียวกันกับการส�ำรวจใน ปี พ.ศ. 2553-2560 ท่ีผ่านมา โดยพิจารณาถึงความแตกต่างระหว่าง 84 กรุงเทพมหานครและจังหวัดอื่นๆ ในแง่ของลักษณะการใช้ท่ีดิน รูปแบบ 75 การเดินทาง ความหนาแน่นของประชากร รวมไปถึงสภาพแวดล้อมใน 6 รปู แบบเมอื ง จงึ ไดแ้ บง่ แนวทางการสมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ 2 กรณี ไดแ้ ก่ การสำ� รวจ ในเขตกรงุ เทพมหานคร และการสำ� รวจในจังหวดั ภมู ิภาค โดยมรี ายละเอยี ด แนวทางการสุ่มตัวอย่างดงั ตอ่ ไปน้ี 2.2.1 การสุม่ ตวั อย่างในกรงุ เทพมหานคร เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบช้ันภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแบ่งพืน้ ท่ี 50 เขต ของกรงุ เทพมหานครออกเปน็ 50 ช้นั ภูมิ และ ในแต่ละช้ันภูมิ ท�ำการสุ่มคัดเลือกจุดส�ำรวจจากแผนที่โครงข่ายถนน จำ� นวน 2 จดุ คอื บรเิ วณทางแยกบนถนนสายหลกั และบรเิ วณทางแยก บนถนนสายรอง ดงั นนั้ จดุ สำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ในเขต กรุงเทพมหานครมจี ำ� นวนรวมทัง้ ส้ิน 100 จุด เพื่อให้ได้ข้อมูลตัวแทนพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้ รถจักรยานยนต์ทุกกลุ่ม การส�ำรวจในภาคสนามจึงได้ด�ำเนินการ ครอบคลุมทงั้ วนั ธรรมดาและวนั หยดุ ทั้งชว่ งเวลาเชา้ กลางวัน เยน็ และกลางคนื แบง่ ออกเปน็ 7 รอบ คอื 07:00-08:00 น. 09:00-10:00 น. 11:00-12:00 น. 13:00-14:00 น. 15:00-16:00 น. 17:00-18:00 น. และ 19:00-20:00 น. โดยใช้วิธีการสุ่มเลือกวันและเวลาส�ำหรับ การส�ำรวจจดุ ละ 1 รอบ และสังเกตเก็บขอ้ มลู ตอ่ เนอ่ื งเป็นระยะเวลา 1 ชว่ั โมง 2.2.2 การสมุ่ ตัวอยา่ งในจงั หวดั ภูมิภาค เปน็ การสมุ่ ตวั อยา่ งแบบชนั้ ภมู ิ (Stratified Random Sampling) โดย พิจารณาเฉพาะกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้รถจักรยานยนต์ที่เดินทางในละแวก เขตเมืองหรือชมุ ชนของแต่ละจงั หวดั โดยขั้นท่ีหนึง่ ทำ� การแบง่ พ้ืนท่ี ของจงั หวัดออกเป็น 3 ชัน้ ภูมิ ตามขนาดประชากรและลกั ษณะความ เป็นเมอื ง และสมุ่ เลอื กพนื้ ที่ส�ำรวจ จากน้ัน ขัน้ ทส่ี องทำ� การส่มุ เลือก จุดส�ำรวจเก็บข้อมูลบริเวณทางแยกหรือช่วงถนนที่รถชะลอตัว ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้

008 อัตราการสวมหมวกนริ ภัย ของผ้ใู ชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 • ชัน้ ภมู ิที่ 1 เขตเมืองขนาดใหญ่ คือ เทศบาลนครหรอื เทศบาลเมอื ง ทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั โดยใชว้ ธิ กี ารเลอื ก แบบเจาะจงจำ� นวน 1 เทศบาล เปน็ พนื้ ทส่ี ำ� รวจ ตอ่ จากนนั้ สมุ่ เลอื ก จุดส�ำรวจเก็บข้อมูลตามจ�ำนวนที่ข้ึนอยู่กับจ�ำนวนประชากร ในเทศบาลที่ถกู เลือก ดงั นี้ - สมุ่ เลอื ก 14 จุด หากเทศบาลมีประชากรน้อยกว่า 1 แสนคน - สมุ่ เลือก 28 จุด หากเทศบาลมีประชากรมากกวา่ 1 แสนคน • ชน้ั ภูมิท่ี 2 เขตเมืองขนาดกลาง คือ เทศบาลเมอื งในอ�ำเภออนื่ ๆ หรอื เทศบาลตำ� บลท่มี ีประชากรมากกวา่ 20,000 คน โดยพิจารณา การกระจายของทตี่ ง้ั ทางภมู ศิ าสตร์ในการสมุ่ เลอื กเทศบาลเปน็ พนื้ ท่ี สำ� รวจ ให้ได้ครบตามจ�ำนวนทกี่ �ำหนดไว้ในหลกั เกณฑด์ งั น้ี - สมุ่ เลอื ก 2 เทศบาล หากในช้นั ภมู มิ เี ทศบาลน้อยกว่า 3 แหง่ - สุ่มเลอื ก 3 เทศบาล หากในชนั้ ภูมิมเี ทศบาล 4 – 8 แหง่ - สุ่มเลอื ก 4 เทศบาล หากในช้นั ภูมมิ เี ทศบาลมากกวา่ 8 แหง่ ตอ่ จากนั้น ส่มุ เลือกจุดสำ� รวจเก็บข้อมูล ตามจ�ำนวนทขี่ ึน้ อยู่กับจำ� นวน ประชากรในเทศบาลทถ่ี กู เลือกจากขั้นแรก ดังน้ี - สุ่มเลือก 4 จุด หากเทศบาลมีประชากรน้อยกวา่ 20,000 คน - สมุ่ เลอื ก 8 จุด หากเทศบาลมปี ระชากร 20,000 – 40,000 คน - สุ่มเลือก 12 จดุ หากเทศบาลมปี ระชากรมากกว่า 40,000 คน • ช้ันภูมิท่ี 3 เขตเมืองขนาดเล็กหรือชุมชนชนบท คือ เทศบาลต�ำบล ท่มี ปี ระชากรน้อยกว่า 20,000 คน โดยน�ำจำ� นวนเทศบาลในชั้นภมู นิ ้ี ทั้งหมดมาจัดเป็นกลุ่ม (Cluster) ตามที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ จากน้ัน สุ่มเลือกเทศบาลเป็นพ้ืนท่ีส�ำรวจในแต่ละกลุ่มโดยความน่าจะเป็น ในการสมุ่ เปน็ สดั สว่ นกบั จำ� นวนประชากรให้ไดค้ รบตามจำ� นวนทก่ี ำ� หนด ไว้ในหลกั เกณฑด์ ังน้ี - ส่มุ เลอื ก 4 เทศบาล หากในชั้นภูมมิ ีเทศบาลนอ้ ยกว่า 10 แห่ง - สุ่มเลือก 8 เทศบาล หากในช้ันภูมิมเี ทศบาล 11 – 20 แหง่ - สุ่มเลอื ก 12 เทศบาล หากในชนั้ ภมู มิ เี ทศบาล 21 – 30 แหง่ - สมุ่ เลอื ก 16 เทศบาล หากในช้ันภมู มิ เี ทศบาลมากกวา่ 30 แหง่ ต่อจากนั้น สุ่มเลือกจุดส�ำรวจเก็บข้อมูลจ�ำนวน 2 จุด คือ บริเวณ ใจกลางเทศบาล และทางเข้าออกเขตเทศบาล

บทที่ 2 009 ระเบยี บวิธกี ารส�ำรวจ 11 12 1 สำ� หรบั แผนการสำ� รวจในภาคสนามของจดุ สำ� รวจในแตล่ ะชนั้ ภมู ิ อาศยั วธิ ี 10 2 การสมุ่ ตวั อยา่ งกระจายตามวนั และเวลา เพอื่ ให้ไดข้ อ้ มลู ตวั แทนพฤตกิ รรม 9 3 การสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนตท์ กุ กลมุ่ โดยแบง่ ออกไดด้ งั นี้ • ช้ันภูมิท่ี 1 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างให้ได้ข้อมูลท่ีกระจายครอบคลุม 8 6 4 ทั้งวันธรรมดาและวันหยุด และทั้งช่วงเวลาเช้า กลางวัน เย็น 7 5 และกลางคนื แบง่ ออกเปน็ 7 รอบ คอื 07:00-08:00 น. 09:00- 10:00 น. 11:00-12:00 น. 13:00-14:00 น. 15:00-16:00 น. 17:00- 11 12 1 18:00 น. และ 19:00-20:00 น. โดยสมุ่ เลอื กวนั และเวลาที่ท�ำการ 10 2 สำ� รวจจุดละ 1 รอบ และสังเกตเกบ็ ขอ้ มลู ตอ่ เน่ืองเปน็ ระยะเวลา 9 3 1 ชัว่ โมง • ช้ันภูมิท่ี 2 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างให้ได้ข้อมูลที่กระจายครอบคลุม 8 6 4 ทั้งวันธรรมดาและวันหยุด ทั้งช่วงเวลาเช้า กลางวัน และเย็น 7 5 แบง่ ออกเป็น 6 รอบ คือ 07:00-08:00 น. 09:00-10:00 น. 11:00- 12:00 น. 13:00-14:00 น. 15:00-16:00 น. และ 17:00-18:00 น. 11 12 1 โดยสมุ่ เลอื กวนั และเวลาทท่ี �ำการสำ� รวจจุดละ 1 รอบ และสงั เกต 10 2 เก็บขอ้ มลู ต่อเน่ืองเป็นระยะเวลา 1 ช่ัวโมง 9 3 • ช้ันภูมิที่ 3 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างให้ได้ข้อมูลที่กระจายครอบคลุม ท้ังวันธรรมดาและวันหยุด และทั้งช่วงเวลาเช้า กลางวัน เย็น 8 6 4 แบ่งออกเป็น 4 รอบ คือ 07:00-09:00 น. 10:00-12:00 น. 7 5 13:00-15:00 น. และ 16:00-18:00 น. โดยสุม่ เลือกวนั และเวลา ที่ส�ำรวจในเทศบาลแต่ละแห่ง ท้ังน้ีในแต่ละรอบนั้นแบ่งเป็นการ ส�ำรวจจดุ แรก 45 นาที ตามด้วยจดุ ท่ีสองเป็นระยะเวลา 45 นาที เชน่ เดียวกนั แนวทางการสุ่มตัวอย่างส�ำหรับการส�ำรวจพฤติกรรมการสวม หมวกนริ ภยั ในพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานครและจงั หวดั ภมู ภิ าคดงั ทอ่ี ธบิ าย ข้างต้น ได้สรุปเป็นตารางไว้ในภาคผนวก ก โดยแนวทางการ วเิ คราะหอ์ ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ ดว้ ยวธิ ี การหาคา่ เฉลย่ี ถ่วงนำ้� หนกั ได้อธบิ ายไว้ใน ภาคผนวก ข

010 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ของผู้ใช้รถจกั รยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 2.3 การออกแบบต�ำแหนง่ จุดสำ� รวจ สำ� หรบั การออกแบบตำ� แหนง่ จดุ สำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใช้ รถจกั รยานยนต์ในแตล่ ะชนั้ ภมู ิ ในขนั้ แรกคณะทำ� งานทำ� การสมุ่ เลอื กตำ� แหนง่ ของจุดส�ำรวจโดยอาศัยข้อมูลเบื้องต้นจากแผนท่ีโครงข่ายถนนและแผนท่ี ภาพถ่ายทางอากาศ ตามด้วยการตรวจสอบความเหมาะสมของจุดส�ำรวจ ในภาคสนาม โดยอาศยั หลกั เกณฑด์ งั ตอ่ ไปนี้ เพอื่ ใหก้ ารคดั เลอื กและกำ� หนด ตำ� แหนง่ จดุ สำ� รวจในแตล่ ะจงั หวดั มคี วามสอดคลอ้ งเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั 1) กำ� หนดตำ� แหนง่ ของจดุ สำ� รวจใหก้ ระจายครอบคลมุ โครงขา่ ยถนนบรเิ วณ พ้นื ท่สี �ำรวจ 2) ตำ� แหนง่ ของจดุ สำ� รวจควรตงั้ อยบู่ รเิ วณจดุ ตดั ทางแยกของเสน้ ทางสญั จร ท่ีส�ำคัญ โดยอาจเป็นทางแยกที่มีหรือไม่มีการควบคุมด้วยสัญญาณไฟ จราจร ทางเข้าออกสถานท่ีส�ำคัญ หรือบริเวณช่วงถนนในย่านชุมชนที่มี สภาพการจราจรชะลอตัว เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีส�ำรวจสามารถสังเกตกลุ่ม ตวั อยา่ งผขู้ บั ขแี่ ละผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ได้อย่างชดั เจน 3) ก�ำหนดฝั่งของทางแยกหรือช่วงถนน รวมถึงทิศทางจราจรที่จะท�ำการ สำ� รวจดว้ ยวธิ กี ารสมุ่ โดยใหพ้ จิ ารณาถงึ จดุ สำ� รวจใกลเ้ คยี งเพอื่ หลกี เลยี่ ง โอกาสการเกิดความซ้�ำซ้อนในการสังเกตและบันทึกข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง จากรถจักรยานยนตค์ นั เดียวกัน จากหลักเกณฑ์ดังกล่าว คณะท�ำงานได้ออกแบบและก�ำหนดต�ำแหน่งของ จุดส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยในแตล่ ะช้ันภูมิ พร้อมท้ังจัดทำ� ระบบ ฐานขอ้ มลู จดุ สำ� รวจฯ อาทเิ ชน่ พกิ ดั ตำ� แหนง่ ทตี่ งั้ ทางภมู ศิ าสตร์ รปู ถา่ ย แผนที่ สงั เขป ทศิ ทางในการสำ� รวจ ลกั ษณะทางกายภาพ เพอื่ สามารถนำ� ไปใชอ้ า้ งองิ ในการลงพนื้ ทีส่ ำ� รวจเกบ็ ข้อมลู ภาคสนามต่อไป คณะท�ำงานได้อาศัยแนวทางดังที่อธิบายข้างต้นในการออกแบบการสุ่ม ตวั อยา่ งและกำ� หนดจดุ สำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของแตล่ ะจงั หวดั โดยสามารถสรปุ จำ� นวนจดุ สำ� รวจฯ ทดี่ ำ� เนนิ การในปี พ.ศ. 2561 ในภาพรวมทงั้ ประเทศ 3,274 จุด แบง่ ออกเป็น 1,290 จดุ ในเขตเมอื งขนาดใหญ่ (ชัน้ ภมู ทิ ่ี 1) 560 จดุ ในเขตเมืองขนาดกลาง (ชน้ั ภูมิที่ 2) และ 1,424 จุด ในเขตเมือง ขนาดเลก็ (ช้นั ภมู ิท่ี 3) ทัง้ นีจ้ ดุ ส�ำรวจของแตล่ ะจงั หวดั มจี �ำนวนแตกตา่ งกัน ขึน้ อยูก่ ับขนาดของพืน้ ท่แี ละจ�ำนวนประชากร โดยมจี �ำนวนเรม่ิ ตัง้ แต่ 22 จุด จนถึง 84 จุด สำ� หรบั จังหวัดภมู ิภาค ในขณะท่พี น้ื ทีก่ รุงเทพมหานครมีจำ� นวน จดุ สำ� รวจรวม 100 จดุ โดยรายละเอยี ดของจำ� นวนจดุ สำ� รวจของแตล่ ะจงั หวดั จ�ำแนกตามชนั้ ภมู ิของการออกแบบการสุ่มตัวอยา่ งแสดงไว้ใน ตารางที่ 2-1

บทท่ี 2 011 ระเบียบวิธีการส�ำรวจ ตารางท่ี 2-1 สรุปจำ� นวนจุดส�ำรวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561 ภาค จงั หวัด ชั้นภมู ิ 1 ช้ันภูมิ 2 ชนั้ ภมู ิ 3 รวม เหนอื เชยี งใหม่ 28 12 32 72 ล�ำปาง 28 - 24 52 ตะวันออกเฉยี งเหนือ พิษณุโลก 14 - 16 30 อุตรดติ ถ์ 14 - 24 38 นครสวรรค์ 14 12 16 42 ก�ำแพงเพชร 14 12 16 42 เชยี งราย 14 8 32 54 ตาก 14 8 16 38 น่าน 14 - 8 22 พะเยา 14 4 24 42 พิจติ ร 14 12 24 50 เพชรบรู ณ์ 14 12 16 42 แพร่ 14 - 16 30 แมฮ่ อ่ งสอน 14 - 8 22 ล�ำพนู 14 - 24 38 สโุ ขทยั 14 4 16 34 อุทยั ธานี 14 - 16 30 นครราชสมี า 28 16 32 76 ขอนแก่น 28 20 32 80 อุดรธานี 28 16 32 76 สกลนคร 14 - 24 38 รอ้ ยเอ็ด 14 - 32 46 อุบลราชธานี 28 16 24 68 กาฬสินธุ์ 14 - 32 46 ชัยภมู ิ 14 - 24 38 นครพนม 14 - 16 30 บรุ ีรัมย์ 14 4 32 50 มหาสารคาม 14 - 16 30 มุกดาหาร 14 - 8 22 ยโสธร 14 - 16 30 เลย 14 - 24 38 สรุ ินทร์ 14 - 24 38 ศรีสะเกษ 14 4 16 34 หนองคาย 14 8 16 38 หนองบัวลำ� ภู 14 8 16 38 อ�ำนาจเจรญิ 14 - 8 22 บึงกาฬ 14 - 16 30

012 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ของผ้ใู ช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 ตารางท่ี 2-1 สรปุ จ�ำนวนจดุ สำ� รวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภัยของผู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561 (ตอ่ ) ภาค จังหวัด ชัน้ ภมู ิ 1 ช้นั ภูมิ 2 ชนั้ ภมู ิ 3 รวม กลางและตะวนั ออก พระนครศรอี ยุธยา 14 8 24 46 กรุงเทพมหานคร 100 - - 100 นนทบรุ ี 28 28 8 64 ปทมุ ธานี 14 36 16 66 สระบุรี 14 16 24 54 สมุทรสาคร 14 20 8 42 นครปฐม 14 8 16 38 สุพรรณบุรี 14 4 32 50 เพชรบรุ ี 14 16 16 46 ชัยนาท 14 - 24 38 ลพบรุ ี 14 16 16 46 สิงหบ์ ุรี 14 - 8 22 อา่ งทอง 14 - 16 30 กาญจนบุรี 14 4 32 50 ประจวบครี ขี นั ธ์ 14 12 16 42 ราชบรุ ี 14 12 24 50 สมุทรสงคราม 14 - 8 22 ชลบรุ ี 28 32 24 84 ระยอง 14 12 24 50 จนั ทบุรี 14 8 24 46 ปราจีนบรุ ี 14 - 16 30 สมุทรปราการ 14 36 8 58 ฉะเชงิ เทรา 14 - 24 38 ตราด 14 - 16 30 นครนายก 14 - 8 22 สระแก้ว 14 4 8 26 14 12 24 50 ใต้ สรุ าษฎร์ธานี 14 16 24 54 นครศรีธรรมราช 28 24 24 76 สงขลา 14 4 16 34 ชมุ พร 14 4 16 34 ตรัง 14 - 8 22 กระบ่ี 14 4 8 26 พงั งา 14 - 32 46 พัทลงุ 14 20 8 42 ภเู กต็ 14 - 8 22 ระนอง 14 - 8 22 สตลู 14 16 8 38 ยะลา 14 - 16 30 ปัตตานี 14 12 16 42 นราธวิ าส 1,290 560 1,424 3,274 รวมทง้ั หมด

บทท่ี 2 013 ระเบียบวิธกี ารส�ารวจ 2.4 แนวทางการวิเคราะห์และรวบรวมข้อมลู ส�าหรับแนวทางการวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลการส�ารวจการสวมหมวกนิรภัย ในปี พ.ศ. 2561 น้ี ทางมูลนิธิไทยโรดส์ยังคงใช้ระบบสารสนเทศ ทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Web-Based Data Management) ท่ีพัฒนา ข้ึนมาใช้ส�าหรับการบริหารจัดการข้อมูลผลการส�ารวจหมวกนิรภัยต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2555 ในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู การสา� รวจฯ จากเครอื ขา่ ย Road Safety Watch ท่วั ประเทศไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงออกแบบให้ ระบบฯ สามารถตดิ ตามความกา้ วหนา้ และสถานะของการดา� เนนิ งาน ตลอดจน การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการประมวลผล พรอ้ มทง้ั พฒั นา ระบบให้สามารถวิเคราะห์ผลการส�ารวจออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้อย่าง ถูกต้อง ส�าหรับรายละเอียดของระบบสารสนเทศบริหารจัดการข้อมูลส�ารวจ อัตราการสวมหมวกนริ ภัยในประเทศไทยไดแ้ สดงไว้ใน ภาคผนวก ค รปู ท่ี 2-2 ระบบสารสนเทศบรหิ ารจดั การข้อมูลสา� รวจการสวมหมวกนิรภัยในประเทศไทย

014 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ช้รถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 2.5 สรปุ จา� นวนกลุ่มตวั อยา่ งจากการส�ารวจ ด้วยการส�ารวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ครอบคลมุ พนื้ ทท่ี กุ จงั หวดั ทวั่ ประเทศ จา� เปน็ ตอ้ งอาศยั ระยะเวลาและบคุ ลากร จ�านวนมาก “เครือข่ายเฝ้าระวังสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน” หรือ “Road Safety Watch” จงึ ถกู จดั ตงั้ ขน้ึ เพอื่ ทา� งานรว่ มกนั ในลกั ษณะของเครอื ขา่ ย ประกอบด้วย มูลนิธิไทยโรดส์และสถาบันการศึกษาต่างๆ ในแต่ละภูมิภาค ของประเทศ ได้แก่ ศูนย์วิจัยอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยี แห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร โดยมูลนิธไิ ทยโรดสท์ า� หน้าท่ี เป็นประธานเครือข่ายส่วนกลาง รับผิดชอบในการวางแผนและกรอบการ ด�าเนินงานศึกษาและก�าหนดแนวทางและขั้นตอนการส�ารวจ พัฒนาคู่มือ การส�ารวจและแบบฟอร์มการบันทึกข้อมูล ก�ากับและควบคุมคุณภาพ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและรวบรวมข้อมูลเพ่ือวิเคราะห์ประมวลผล ในขณะที่สถาบันการศกึ ษาต่างๆ ท�าหนา้ ท่ีเป็นหนว่ ยเฝ้าระวงั ฯ ของเครือขา่ ย ในส่วนภมู ิภาค รับผดิ ชอบงานออกแบบจุดส�ารวจและเก็บข้อมูลในภาคสนาม รวมถึงการบนั ทกึ และตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู ระดบั จังหวัด ดังสรปุ ในตารางที่ 2-2

บทท่ี 2 015 ระเบียบวิธกี ารสำ� รวจ ตารางท่ี 2-2 เครือข่ายหนว่ ยเฝา้ ระวังสถานการณค์ วามปลอดภยั ทางถนน เครอื ข่าย ชอ่ื หนว่ ยงาน จงั หวัดทรี่ ับผิดชอบ ภาคเหนอื ตอนบน มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ เชียงใหม่ ลำ� ปาง อุตรดิตถ์ เชียงราย ภาคเหนอื ตอนลา่ ง แม่ฮอ่ งสอน น่าน พะเยา แพร่ ลำ� พูน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา่ ง 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร พษิ ณโุ ลก นครสวรรค์ ก�ำแพงเพชร ตาก พิจิตร ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนล่าง 2 เพชรบรู ณ์ สุโขทัย อุทัยธานี ภาคกลาง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน สกลนคร นครพนม มกุ ดาหาร ร้อยเอด็ กาฬสนิ ธุ์ ภาคตะวันออก วทิ ยาเขตสกลนคร บึงกาฬ ภาคใต้ 1 ภาคใต้ 2 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี ชยั ภมู ิ บุรีรมั ย์ มหาสารคาม เลย หนองคาย หนองบวั ลำ� ภู มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร สุรินทร์ ศรีสะเกษ อำ� นาจเจรญิ ศูนยว์ ิจยั อบุ ตั ิเหตุแหง่ ประเทศไทย พระนครศรอี ยธุ ยา กรุงเทพมหานคร นนทบรุ ี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย ปทุมธานี สระบุรี สมุทรสาคร นครปฐม สุพรรณบุรี เพชรบรุ ี ชัยนาท ลพบุรี สงิ หบ์ รุ ี อ่างทอง กาญจนบรุ ี ประจวบคีรีขนั ธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม มหาวิทยาลยั บรู พา ชลบรุ ี ระยอง จันทบุรี ปราจีนบุรี สมุทรปราการ ฉะเชงิ เทรา ตราด นครนายก สระแกว้ มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ สุราษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช ชุมพร กระบ่ี พงั งา ภูเก็ต ระนอง ยะลา ปัตตานี นราธวิ าส มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา พทั ลุง ตรัง สตูล การส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2561 ได้ดำ� เนินงานในภาคสนามตั้งแต่ เดือนสิงหาคม ถึงเดอื นธันวาคม พ.ศ. 2561 สังเกตพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ของกลุ่ม ตวั อยา่ งผู้ใชร้ ถจกั รยานยนตจ์ ำ� นวนรวมทง้ั สนิ้ 1,529,808 คน แบง่ เปน็ ผขู้ บั ขี่ 1,146,860 คน และผู้โดยสาร 382,948 คน จากการสำ� รวจครอบคลมุ พนื้ ท่ี 77 จังหวัดทว่ั ประเทศ โดยมจี �ำนวนกลุ่มตวั อยา่ งที่ส�ำรวจได้ในแต่ละจงั หวัด ดังสรปุ ไว้ใน ตารางที่ 2-3 ส�ำหรับผลการวิเคราะห์อัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ในประเด็นต่างๆ ได้สรปุ ไว้ในเนอื้ หาของบทถดั ไปโดยรายละเอยี ดของผลการ วิเคราะห์รายจังหวัดในแต่ละประเด็น พร้อมด้วยจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างและ ผลการวิเคราะหช์ ่วงความเชอ่ื มั่นทางสถติ ไิ ดน้ ำ� เสนอไว้ในภาคผนวก ง

016 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผใู้ ช้รถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 ตารางท่ี 2-3 สรุปจ�ำนวนกล่มุ ตวั อยา่ งจากการส�ำรวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2561 ภาค จังหวัด ชน้ั ภูมิ 1 ชัน้ ภูมิ 2 ชั้นภูมิ 3 รวม เหนอื เชียงใหม่ ผขู้ บั ขี่ ผโู้ ดยสาร ผขู้ บั ข่ี ผโู้ ดยสาร ผขู้ บั ข่ี ผโู้ ดยสาร ผขู้ บั ข่ี ผโู้ ดยสาร ตะวันออกเฉยี งเหนอื ลำ� ปาง พิษณุโลก 21,677 6,100 6,951 2,194 17,659 4,481 46,287 12,775 อุตรดิตถ์ 11,869 3,150 00 6,522 1,549 18,391 4,699 นครสวรรค์ 5,930 1,585 00 5,273 1,655 11,203 3,240 ก�ำแพงเพชร 6,812 2,045 00 6,098 1,669 12,910 3,714 เชยี งราย 6,957 2,743 7,305 2,513 20,396 7,558 ตาก 3,325 1,177 6,134 2,302 1,654 639 5,961 2,129 น่าน 4,407 1,625 982 313 4,787 1,288 12,666 4,312 พะเยา 2,936 888 1,393 516 6,122 1,856 พจิ ติ ร 3,412 1,065 3,472 1,399 1,525 494 4,937 1,559 เพชรบรู ณ์ 3,512 921 1,793 452 2,263 557 6,225 1,574 แพร่ 3,879 1,475 1,820 513 10,051 3,579 แม่ฮอ่ งสอน 6,566 2,234 00 1,493 411 12,168 3,923 ล�ำพูน 2,456 606 450 96 1,358 330 3,814 936 สุโขทยั 6,943 2,160 4,352 1,591 2,369 851 9,312 3,011 อทุ ยั ธานี 2,275 606 4,109 1,278 2,153 443 4,428 1,049 นครราชสมี า 1,575 381 1,887 529 3,936 1,047 ขอนแกน่ 3,462 1,268 00 1,262 421 4,724 1,689 อดุ รธานี 13,970 4,355 00 6,606 2,408 26,567 8,985 สกลนคร 11,160 3,435 00 6,586 2,440 24,533 8,237 ร้อยเอ็ด 12,139 3,422 474 137 5,075 2,018 21,882 6,849 อบุ ลราชธานี 6,870 2,176 00 6,902 2,778 13,772 4,954 กาฬสินธุ์ 5,972 1,643 5,991 2,222 4,826 1,388 10,798 3,031 ชัยภูมิ 12,180 3,693 6,787 2,362 4,994 1,609 23,987 7,461 นครพนม 8,382 3,175 4,668 1,409 5,813 1,872 14,195 5,047 บรุ ีรัมย์ 3,831 1,252 00 3,136 981 6,967 2,233 มหาสารคาม 7,252 2,932 00 4,918 2,156 12,170 5,088 มกุ ดาหาร 5,496 2,031 6,813 2,159 7,428 2,653 14,854 5,442 ยโสธร 2,506 754 00 2,618 835 5,124 1,589 เลย 5,222 1,454 00 1,765 694 6,987 2,148 สุรินทร์ 00 1,923 761 2,660 1,024 ศรีสะเกษ 737 263 1,930 758 4,161 1,424 6,638 2,130 หนองคาย 2,477 706 00 5,597 2,138 9,381 3,326 หนองบวั ลำ� ภู 3,784 1,188 00 2,920 1,250 5,157 2,056 อำ� นาจเจริญ 1,215 370 00 4,378 1,635 9,056 2,897 บงึ กาฬ 2,034 611 00 2,180 558 3,307 807 1,010 203 00 1,069 414 1,629 570 1,022 436 2,448 769 5,141 1,687 560 156 2,644 651 2,693 918 117 46 00 00

บทที่ 2 017 ระเบียบวิธีการส�ำรวจ ตารางท่ี 2-3 สรปุ จ�ำนวนกลมุ่ ตวั อยา่ งจากการส�ำรวจพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภัย ปี พ.ศ. 2561 (ตอ่ ) ภาค จังหวดั ชน้ั ภมู ิ 1 ช้นั ภมู ิ 2 ช้ันภมู ิ 3 รวม กลางและตะวันออก พระนครศรีอยธุ ยา ผขู้ บั ขี่ ผโู้ ดยสาร ผขู้ บั ข่ี ผโู้ ดยสาร ผขู้ บั ขี่ ผโู้ ดยสาร ผขู้ บั ขี่ ผโู้ ดยสาร กรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี 4,620 1,867 4,022 1,570 3,096 1,179 11,738 4,616 ปทมุ ธานี 60,742 14,526 00 0 0 60,742 14,526 สระบุรี 11,245 2,942 สมทุ รสาคร 4,467 1,398 11,824 4,314 2,122 817 25,191 8,073 นครปฐม 7,295 2,058 11,916 3,632 5,189 2,118 21,572 7,148 สพุ รรณบรุ ี 11,141 5,179 7,262 2,928 4,044 1,264 18,601 6,250 เพชรบุรี 8,899 3,455 6,081 2,178 2,200 865 19,422 8,222 ชัยนาท 7,391 2,652 3,203 1,072 2,274 713 14,376 5,240 ลพบรุ ี 15,331 5,826 1,646 574 4,898 1,553 13,935 4,779 สิงห์บุรี 5,723 1,677 7,803 2,112 3,085 1,066 26,219 9,004 อา่ งทอง 4,722 1,579 3,830 1,290 9,553 2,967 กาญจนบรุ ี 8,524 2,619 00 3,447 1,526 12,308 4,666 ประจวบคีรขี ันธ์ 7,649 2,596 4,139 1,561 2,005 624 10,529 3,243 ราชบุรี 7,162 2,404 4,867 1,717 12,516 4,313 สมุทรสงคราม 3,404 1,096 00 6,133 1,838 14,333 4,621 ชลบรุ ี 3,342 1,382 00 4,093 1,385 17,768 5,701 ระยอง 5,018 1,765 1,038 379 5,669 2,443 19,803 8,244 จนั ทบุรี 17,129 5,203 10,271 3,220 699 232 5,717 1,997 ปราจนี บุรี 6,442 2,083 10,792 4,419 4,829 1,355 35,298 10,456 สมทุ รปราการ 5,733 1,921 00 5,996 1,846 16,503 4,946 ฉะเชิงเทรา 3,984 1,146 13,340 3,898 3,622 922 14,035 4,536 ตราด 9,388 3,616 4,065 1,017 2,445 563 6,429 1,709 นครนายก 8,006 3,023 4,680 1,693 2,201 814 35,022 11,849 สระแก้ว 5,407 1,601 00 5,889 1,918 13,895 4,941 5,393 1,558 23,433 7,419 2,043 665 7,450 2,266 ใต้ สุราษฎร์ธานี 3,791 995 00 2,062 731 7,455 2,289 นครศรีธรรมราช 4,491 1,256 00 1,077 258 8,102 2,031 สงขลา 4,665 1,558 00 7,843 2,945 18,004 6,306 ชมุ พร 14,208 5,364 3,234 778 9,286 3,407 24,325 9,242 ตรัง 12,632 5,319 5,670 2,105 8,082 3,331 30,642 11,497 กระบ่ี 5,337 2,098 10,374 4,277 9,598 3,254 27,957 10,745 พงั งา 6,477 2,284 8,352 2,802 5,621 2,554 12,231 5,231 พัทลงุ 2,306 800 5,727 2,172 2,373 1,086 8,850 3,370 ภูเก็ต 7,242 3,098 1,273 579 2,646 958 6,277 2,214 ระนอง 15,898 3,876 00 7,165 2,799 14,407 5,897 สตลู 9,608 3,648 1,325 456 5,887 1,954 42,592 12,290 ยะลา 7,270 2,914 00 2,129 758 11,737 4,406 ปัตตานี 13,957 5,072 20,807 6,460 3,847 1,538 11,117 4,452 นราธิวาส 14,569 5,486 00 1,390 614 26,559 9,368 7,138 3,467 00 3,092 1,397 17,661 6,883 รวมท้ังหมด 575,229 187,173 11,212 3,682 3,627 1,654 17,653 8,203 00 312,565 107,591 1,146,860 382,948 6,888 3,082 259,066 88,184



บทที่ 3 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561

020 อตั ราการสวมหมวกนิรภัย ของผใู้ ชร้ ถจักรยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 บทท่ี 3 3.1 อั ต ร า ก า ร ส ว ม ห ม ว ก นิ ร ภั ย ร ว ม ผู ้ ขั บ ข่ี แ ล ะ ผู ้ โ ด ย ส า ร อตั ราการสวม ปี พ.ศ. 2561 หมวกนริ ภัย จากผลส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์รวม ในภาพรวม ผู้ขับขี่และผู้โดยสาร พบว่า อัตราการสวมหมวกนิรภัยของท้ังประเทศใน ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2561 คอื รอ้ ยละ 45 โดยภมู ภิ าคทม่ี อี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ในภาพรวม สงู สุดคือ ภาคกลางและตะวันออก รอ้ ยละ 57 ในขณะที่ พบวา่ ภาคตะวัน เนอ้ื หาในบทน้ีประกอบดว้ ย ออกเฉยี งเหนือ มีอตั ราการสวมหมวกนริ ภัยตำ�่ ทส่ี ุดคอื ร้อยละ 32 และเมือ่ 3.1 อตั ราการสวมหมวกนิรภัย พิจารณาเปรียบเทียบอัตราการสวมหมวกนริ ภยั รายจังหวดั พบว่า จงั หวัดที่มี รวมผู้ขับขี่และผู้โดยสาร อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั สงู สดุ คอื กรงุ เทพมหานคร รอ้ ยละ 85 และจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561 ทม่ี อี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ตำ�่ ทส่ี ดุ คอื บงึ กาฬ พบวา่ มผี ู้ใชร้ ถจกั รยานยนต์ 3.2 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั เพยี งรอ้ ยละ 12 เทา่ น้ันท่ีสวมหมวกนริ ภัย (รูปท่ี 3-1 และ 3-2) เฉพาะผู้ขับข่ี ปี พ.ศ. 2561 3.3 อตั ราการสวมหมวกนิรภัย ปี 2561 เฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 3.4 การจัดล�ำดบั อตั ราการสวม 45% หมวกนิรภยั จำ� แนกตามภมู ิภาค ปี พ.ศ. 2561 ทง้ั ประเทศ 40% 60% 80% 45% 2557 2556 2555 2554 43% ใต 43% กลางและตะวนั ออก 43% ตะวันออกเฉียงเหนือ 42% 43% เหนือ 43% 46% 0% 20% 44% 2561 2560 2559 2558 37% 37% 38% 36% 35% 37% 39% 41% 36% 57% 52% 51% 53% 52% 53% 54% 55% 54% 32% 33% 36% 34% 35% 35% 35% 37% 38% 42% 43% 40% 40% 38% 38% 37% 43% 37% 100% 2553 รปู ท่ี 3-1 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั รวมผขู้ บั ขแ่ี ละผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2553 ถึง 2561 รายภาค

บทท่ี 3 021 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561 กรงุ เทพมหานคร 85% ภเู ก็ต 61% เ3ชีย9งร%าย นนทบรุ ี 60% นครศรธี รรมราช 59% แม3ฮ 6อ ง%สอน 4พ2ะเ%ยา นา น 59% สมทุ รปราการ 56% เชยี งใหม 37% ปทมุ ธานี 53% 53% เชยี งใหม่ 52% ลำพนู 3ลำ9ป%าง แพร หน2อ5งค%าย บ1ึง2กา%ฬ ระยอง 51% 31% 34% สกลนคร พษิ ณุโลก 50% เลย อดุ รธานี 35% นครพนม เพชรบรู ณ์ 49% ตาก อ3ุตร3ด%ิตถ 23% หนอ2ง8บวั%ลำภู 30% 19% สระบรุ ี 47% 41% สุโขทยั สโุ ขทยั 46% 47% พิษณโุ ลก ชลบรุ ี 46% 51% สงิ หบ์ รุ ี 45% ก2าฬ8ส%ินธุ มุก3ด8าห%าร สรุ นิ ทร์ 44% กำแพงเพชร พจิ ติ ร เพชรบูรณ ข3อน4แ%กน ตราด 43% 34% 34% 50% 42% ชัยภูมิ มห3าส0า%รคาม รอ ยเอด็ ยโสธร อำนาจเจรญิ สมทุ รสงคราม 42% 21% 28% 20% 28% นครปฐม 41% พะเยา 41% นครสวรรค ตาก 41% 40% 41% อทุ ยั ธานี สมทุ รสาคร 40% 31% ชยั นาท อุบลราชธานี สงขลา 40% 32% ลพบรุ ี 39% 39% 1 30% นครราชสีมา สุรนิ ทร นครราชสมี า 39% สุพรรณบรุ ี 41% บรุ ีรมั ย 45% ศ3รีส3ะ%เกษ นครนายก 39% 32% 27% นครสวรรค์ 38% 23อ5ย0ุธ%ยา637ส4นร9ค4ะรบ%ช0นรุ ลา%ี บยรุกฉี ะ3เปช32รงิ าเ%9ทจรนี%าบรุ ี 37% กาญจนบรุ ี อบุ ลราชธานี 36% 28% เชยี งราย 35% ลําปาง 35% 4 ส2ร9ะแ%กว มกุ ดาหาร 35% น่าน 34% ราชบรุ ี 8 34% 31% 9 แมฮ่ อ่ งสอน 34% พังงา 34% เ2พช9ร%บรุ ี 46% จนั ทบรุ ี 34% 29% สกลนคร 34% ระยอง สรุ าษฎรธ์ านี 33% 52% กําแพงเพชร 33% 33% ตราด ขอนแกน่ 32% 44% ตรัง 32% แพร่ 32% ประจวบครี ีขันธ 1. สงิ หบ์ ุรี 46% 32% 30% 2. อ่างทอง 26% พจิ ติ ร 31% 3. ปทมุ ธานี 56% 31% ชมุ พร 4. นครปฐม 42% ศรสี ะเกษ 31% 26% 5. นนทบรุ ี 60% ฉะเชงิ เทรา 30% ระนอง 6. กรงุ เทพมหานคร 85% 30% 32% 7. สมทุ รปราการ 59% อตุ รดติ ถ์ 30% 8. สมทุ รสาคร 41% ระนอง 30% สรุ าษฎรธานี 9. สมุทรสงคราม 43% ชยั นาท 30% 35% 29% สพุ รรณบรุ ี 29% พงั งา กระบี นครศรีธรรมราช สตลู 29% 35% 34% 59% 29% ภเู ก็ต ราชบรุ ี 28% 61% ตรงั พัทลุง อทุ ยั ธานี 28% 34% 26% 28% ลําพนู 28% สตลู สงขลา ปต ตานี ลพบรุ ี 28% 32% 41% 21% มหาสารคาม 27% อดุ รธานี 26% ยะลา นราธวิ าส ประจวบครี ขี ันธ์ 26% 20% 16% พระนครศรอี ยธุ ยา 26% ปราจนี บรุ ี 25% มากกว่า 80% สระแกว้ 23% 61-80% เพชรบรุ ี 21% 41-60% จันทบรุ ี 21% 21-40% หนองบัวลําภู 20% น้อยกว่า 21% รอ้ ยเอด็ 20% กาญจนบรุ ี 19% รปู ท่ี 3-2 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั รวมผู้ขบั ขแี่ ละผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 รายจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ 16% อํานาจเจรญิ 12% บรุ รี มั ย์ อา่ งทอง ชมุ พร พทั ลงุ หนองคาย เลย ชยั ภมู ิ ปั ตตานี ยโสธร ยะลา นครพนม นราธวิ าส บงึ กาฬ

022 อตั ราการสวมหมวกนิรภยั ของผูใ้ ช้รถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 3.2 อัตราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผ้ขู ับขี่ ปี พ.ศ. 2561 หากพจิ ารณาผลส�ำรวจเฉพาะในกลุ่มผขู้ บั ข่ีรถจักรยานยนต์ ในปี พ.ศ. 2561 พบว่า อัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ขับข่ีรถจักรยานยนต์ในประเทศไทย คอื รอ้ ยละ 52 โดยภาคกลางและตะวนั ออกมอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั สงู สดุ คอื รอ้ ยละ 64 ในขณะทภ่ี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ขับขี่ต�่ำสุด คือ ร้อยละ 38 และเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า กรุงเทพมหานครมีอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ขับข่ีสูงสุด คือ รอ้ ยละ 92 ในขณะที่จังหวัดบึงกาฬเปน็ จงั หวดั ที่มอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภัย ของผู้ขบั ขตี่ ำ�่ สดุ คือ ร้อยละ 14 (รูปที่ 3-3 และ 3-4) ปี 2561 52% ทั้งประเทศ 40% 60% 80% 52% 2557 2556 2555 2554 50% ใต 51% กลางและตะวนั ออก 51% ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 51% 51% เหนือ 52% 54% 0% 20% 53% 2561 2560 2559 2558 46% 45% 47% 46% 45% 47% 49% 51% 47% 64% 60% 60% 62% 62% 63% 64% 64% 64% 38% 38% 42% 40% 41% 41% 41% 43% 48% 49% 49% 47% 47% 44% 45% 44% 49% 45% 100% 2553 รูปท่ี 3-3 อัตราการสวมหมวกนริ ภัย เฉพาะผู้ขบั ข่ี ปี พ.ศ. 2553 ถึง 2561 รายภาค

บทท่ี 3 023 อัตราการสวมหมวกนิรภัยในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561 กรงุ เทพมหานคร 92% 1. สิงหบ์ รุ ี 53% สมทุ รปราการ 71% 2. อ่างทอง 33% นนทบรุ ี 70% 3. ปทุมธานี 69% ภเู กต็ 70% 4. นครปฐม 52% ปทมุ ธานี 69% 5. นนทบรุ ี 70% 68% 6. กรุงเทพมหานคร 92% นครศรธี รรมราช 61% 7. สมุทรปราการ 71% ระยอง 59% 8. สมุทรสาคร 53% 58% 9. สมุทรสงคราม 55% เพชรบรู ณ์ 58% สระบรุ ี 58% มากกวา่ 80% 55% 61-80% เชยี งใหม่ 54% 41-60% พษิ ณุโลก 54% 21-40% สมทุ รสงคราม 53% นอ้ ยกวา่ 21% 53% สรุ นิ ทร์ 53% รปู ท่ี 3-4 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั เฉพาะผขู้ ับขี่ ปี พ.ศ. 2561 รายจงั หวดั สโุ ขทยั 52% สงิ หบ์ รุ ี 52% 51% ชลบรุ ี 50% สมทุ รสาคร 49% 49% นครปฐม 48% สงขลา 46% 46% นครสวรรค์ 45% ตราด 45% 45% นครราชสมี า 44% นครนายก 44% ตาก 44% พะเยา 43% เชยี งราย 43% ตรงั 42% 42% อบุ ลราชธานี 41% มกุ ดาหาร 41% น่าน 41% 41% แมฮ่ อ่ งสอน 41% พังงา 41% 40% ลําปาง 40% กําแพงเพชร 40% 39% สตลู 39% สกลนคร 38% ขอนแกน่ 38% ศรสี ะเกษ 38% สรุ าษฎรธ์ านี 37% 37% พจิ ติ ร 36% ฉะเชงิ เทรา 35% 35% ราชบรุ ี 34% อทุ ัยธานี 34% 34% ระนอง 34% ชยั นาท 34% พระนครศรอี ยธุ ยา 33% 33% ลพบรุ ี 33% สพุ รรณบรุ ี 33% 33% อตุ รดติ ถ์ 33% ประจวบครี ขี ันธ์ 32% 31% แพร่ 28% มหาสารคาม 28% 27% อดุ รธานี 26% ลําพนู 26% 26% เพชรบรุ ี 24% สระแกว้ 22% กาญจนบรุ ี 14% อํานาจเจรญิ พทั ลงุ ปราจนี บรุ ี จันทบรุ ี บรุ รี มั ย์ กาฬสนิ ธุ์ อา่ งทอง ชมุ พร รอ้ ยเอด็ หนองบัวลําภู หนองคาย ปั ตตานี เลย ยโสธร ยะลา ชยั ภมู ิ นครพนม นราธวิ าส บงึ กาฬ

024 อัตราการสวมหมวกนิรภยั ของผใู้ ชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 3.3 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผ้โู ดยสาร ปี พ.ศ. 2561 จากการสำ� รวจในปี พ.ศ. 2561 พบว่า ในภาพรวมผู้โดยสารรถจกั รยานยนต์ เพียงส่วนน้อยเท่านั้นท่ีสวมหมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ โดยอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ในประเทศไทย คอื รอ้ ยละ 22 โดยภาคกลางและตะวนั ออกมอี ตั ราการสวมหมวกนริ ภยั สงู สดุ คือ ร้อยละ 31 ในขณะท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้มีอัตราการ สวมหมวกนิรภัยของผู้โดยสารต�่ำสุดเพียง ร้อยละ 14 และเมื่อพิจารณา เปรยี บเทียบรายจงั หวัด พบว่า กรงุ เทพมหานคร มีอัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้โดยสารสงู สดุ คอื ร้อยละ 55 ในขณะที่อกี กวา่ 50 จังหวดั มอี ตั ราการ สวมหมวกนริ ภยั ของผู้โดยสารไมถ่ ึง ร้อยละ 20 (รูปท่ี 3-5 และ 3-6) ปี 2561 22% ท้งั ประเทศ 40% 60% 80% 22% 2557 2556 2555 2554 20% ใต 20% กลางและตะวนั ออก 20% ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 19% 19% เหนือ 20% 24% 0% 20% 19% 2561 2560 2559 2558 14% 15% 14% 12% 12% 13% 14% 19% 9% 31% 23% 23% 25% 23% 23% 25% 29% 24% 14% 15% 21% 15% 18% 19% 18% 22% 20% 20% 21% 2% 20% 18% 18% 18% 23% 17% 100% 2553 รปู ท่ี 3-5 อัตราการสวมหมวกนิรภยั เฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2553 ถงึ 2561 รายภาค

บทท่ี 3 025 อตั ราการสวมหมวกนริ ภัยในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561 กรงุ เทพมหานคร 55% เ1ชยี 6งร%าย นครศรธี รรมราช 35% 33% แม1ฮ 3อ ง%สอน 2พ2ะเ%ยา นา น เชยี งใหม่ 31% ภเู ก็ต 29% เชยี งใหม 14% 27% 33% พษิ ณุโลก 25% ลำพนู 2ลำ0ป%าง แพร หน1อ7งค%าย บ4งึ %กาฬ นนทบรุ ี 25% 15% 22% สกลนคร ตราด 23% เลย หนอ1ง7บวั%ลำภู อดุ รธานี 17% นครพนม 23% ตาก อ1ุตร6ด%ิตถ 11% 17% 7% สมทุ รปราการ 23% 21% สุโขทยั ชลบรุ ี 22% 23% พิษณโุ ลก ก1าฬ3ส%ินธุ ระยอง 22% มกุ1ด9าห%าร 21% 29% สโุ ขทัย 20% พะเยา 20% กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบรู ณ ข1อน3แ%กน 19% 10% 12% 17% แพร่ 19% ชยั ภมู ิ มห1าส2า%รคาม รอยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ ตาก 18% 7% 14% 6% 10% สงิ หบ์ รุ ี 18% ลําปาง 18% นครสวรรค สรุ นิ ทร์ 17% 10% มกุ ดาหาร 17% อุทัยธานี อบุ ลราชธานี 17% 6% ชัยนาท อุบลราชธานี สระบรุ ี 17% กาญจนบรุ ี 11% ลพบุรี 18% นครราชสมี า 17% สุพรรณบุรี 1 11% นครราชสีมา สรุ นิ ทร เพชรบรู ณ์ 16% 8% 12% 18% บรุ ีรัมย 19% ศ1รีส4ะ%เกษ หนองบวั ลําภู 16% 9% สกลนคร 16% 2อ58ย%ธุ ยา637ส1นร8ค1ะรบ%ช3นุรลา%ี บยุรกฉี ะเปช1รงิ 1าเ2ทจ3%รนี า%บุรี หนองคาย 15% 4 สร8ะ%แกว อดุ รธานี 15% เชยี งราย 14% ราชบุรี 8 สรุ าษฎรธ์ านี 14% 11% 9 อตุ รดติ ถ์ 14% ปทมุ ธานี 13% เ1พช2ร%บุรี 23% จันทบุรี ลําพนู 13% 13% ศรสี ะเกษ 13% ระยอง น่าน 13% 23% รอ้ ยเอด็ 13% แมฮ่ อ่ งสอน 13% ตราด นครปฐม 13% 25% ขอนแกน่ 12% จันทบรุ ี 12% ประจวบคีรขี ันธ 1. สิงหบ์ รุ ี 20% กาฬสนิ ธุ์ 12% 8% 2. อา่ งทอง 8% นครนายก 12% 3. ปทมุ ธานี 15% ปราจนี บรุ ี 12% ชมุ พร 4. นครปฐม 13% 12% 10% 5. นนทบรุ ี 27% ระนอง 12% ระนอง 6. กรุงเทพมหานคร 55% มหาสารคาม 11% 12% 7. สมุทรปราการ 25% 11% 8. สมทุ รสาคร 11% สพุ รรณบรุ ี 11% สรุ าษฎรธานี 9. สมุทรสงคราม 9% ฉะเชงิ เทรา 11% 16% 11% พจิ ติ ร 10% พงั งา กระบี นครศรธี รรมราช เพชรบรุ ี 10% 10% 12% 35% ชยั นาท 10% ภเู ก็ต 10% 31% ตรงั พทั ลุง เลย 10% 7% 5% ราชบรุ ี 10% ลพบรุ ี 9% สตูล สงขลา ปตตานี สมทุ รสาคร 9% 5% 10% 4% อํานาจเจรญิ 8% สงขลา 8% ยะลา นราธวิ าส พงั งา 8% 4% 4% กําแพงเพชร 8% ชมุ พร 8% มากกว่า 80% นครสวรรค์ 7% 61-80% สมทุ รสงคราม 7% 41-60% บรุ รี ัมย์ 7% 21-40% ประจวบครี ขี นั ธ์ 6% น้อยกวา่ 21% พระนครศรอี ยธุ ยา 6% อา่ งทอง 5% รปู ท่ี 3-6 อัตราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 รายจังหวดั สระแกว้ 5% กาญจนบรุ ี 4% ชยั ภมู ิ 4% นครพนม 4% 4% ตรัง อทุ ัยธานี ยโสธร สตลู พัทลงุ นราธวิ าส ปั ตตานี บงึ กาฬ ยะลา

026 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 3.4 การจัดล�ำดับอัตราการสวมหมวกนิรภัย จ�ำแนกตามภูมิภาค ปี พ.ศ. 2561 จากผลส�ำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ ในปี พ.ศ. 2561 ตามท่ีน�ำเสนอในหัวข้อท่ี 3-1 ถึง 3-3 สามารถน�ำมาจัด ล�ำดับจังหวัดท่ีมีอัตราการสวมหมวกนิรภัยสูงสุดและต่�ำสุดในแต่ละภูมิภาค เพอ่ื สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ระดบั ความรนุ แรงของสถานการณป์ ญั หาพฤตกิ รรมเสย่ี ง การไมส่ วมหมวกนริ ภยั ทแี่ ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะจงั หวดั ทง้ั ในภาพรวมผขู้ บั ขแ่ี ละ ผู้โดยสาร เฉพาะผู้ขับขแ่ี ละเฉพาะผู้โดยสารดงั แสดงในรปู ที่ 3-7 ถึง 3-9 ภาคเหนือ • รวมผู้ขบั ขแ่ี ละผ้โู ดยสาร 42% • เฉพาะผู้ขบั ข่ี 49% • เฉพาะผู้โดยสาร 20% ภาคกลางและตะวนั ออก • รวมผขู้ บั ขีแ่ ละผโู้ ดยสาร 57% • เฉพาะผู้ขับขี่ 64% • เฉพาะผโู้ ดยสาร 31% ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ • รวมผู้ขับขี่และผู้โดยสาร 32% • เฉพาะผู้ขับขี่ 38% • เฉพาะผู้โดยสาร 14% ภาคใต้ • รวมผู้ขับขแ่ี ละผโู้ ดยสาร 37% • เฉพาะผู้ขับขี่ 46% • เฉพาะผู้โดยสาร 14%

บทท่ี 3 027 อตั ราการสวมหมวกนิรภัยในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561 ภาคเหนอื ภาคกลางและตะวนั ออก ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ล�ำดับ จงั หวัด 2561 ลำ� ดบั จังหวดั 2561 ล�ำดบั จังหวดั 2561 1 เชียงใหม่ 53% 1 กรุงเทพมหานคร 85% 1 สุรนิ ทร์ 45% 2 พิษณุโลก 51% 2 นครราชสีมา 41% 3 เพชรบรู ณ์ 50% 2 นนทบุรี 60% 3 อบุ ลราชธานี 39% 4 สโุ ขทยั 47% 4 มุกดาหาร 38% 5 พะเยา 42% 3 สมทุ รปราการ 59% 5 สกลนคร 35% 6 ตาก 41% 6 ขอนแกน่ 34% 7 นครสวรรค์ 40% 4 ปทมุ ธานี 56% 7 ศรีสะเกษ 33% 8 เชียงราย 39% 8 มหาสารคาม 30% 9 ล�ำปาง 39% 5 ระยอง 52% 9 อุดรธานี 30% 10 น่าน 37% 10 หนองบวั ลำ� ภู 28% 11 แม่ฮอ่ งสอน 36% 6 สระบรุ ี 49% 11 ร้อยเอ็ด 28% 12 ก�ำแพงเพชร 34% 12 กาฬสินธุ์ 28% 13 แพร่ 34% 7 ชลบุรี 46% 13 อ�ำนาจเจรญิ 28% 14 พจิ ติ ร 34% 14 บรุ ีรมั ย์ 27% 15 อุตรดติ ถ์ 33% 8 สงิ ห์บรุ ี 46% 15 หนองคาย 25% 16 อทุ ัยธานี 31% 16 เลย 23% 17 ล�ำพนู 31% 9 ตราด 44% 17 ชัยภูมิ 21% 42.2% 18 ยโสธร 20% รวม 10 สมุทรสงคราม 43% 19 นครพนม 19% 20 บึงกาฬ 12% 11 นครปฐม 42% 32.2% รวม 12 สมทุ รสาคร 41% 13 นครนายก 40% 14 ฉะเชิงเทรา 33% 15 ชยั นาท 32% 16 สพุ รรณบุรี 32% 17 ราชบรุ ี 31% 18 ลพบุรี 30% ภาคใต้ 19 ประจวบครี ขี ันธ์ 30% ลำ� ดับ จงั หวดั 20 พระนครศรอี ยุธยา 30% 1 ภูเก็ต 2561 21 ปราจนี บรุ ี 29% 2 นครศรธี รรมราช 3 สงขลา 61% 22 สระแกว้ 29% 4 พงั งา 59% 5 สุราษฎร์ธานี 41% 23 เพชรบุรี 29% รวมผู้ขับขแี่ ละ 6 ตรัง 35% ผ้โู ดยสาร 7 กระบ่ี 35% 24 จนั ทบุรี 29% 8 ระนอง 34% 9 สตูล 34% 25 กาญจนบุรี 28% 10 ชมุ พร 32% 11 พัทลุง 32% 26 อ่างทอง 26% 12 ปัตตานี 26% 13 ยะลา 26% รวม 56.6% 14 นราธวิ าส 21% 20% รวม 16% 37.2% รูปท่ี 3-7 การจดั ลำ� ดับอัตราการสวมหมวกนริ ภัยรวมผู้ขับข่ีและผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 จ�ำแนกตามภูมภิ าค

028 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ของผ้ใู ชร้ ถจกั รยานยนตใ์ นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 ภาคเหนอื ภาคกลางและตะวันออก ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ลำ� ดบั จงั หวดั 2561 ล�ำดบั จังหวดั 2561 ล�ำดบั จังหวัด 2561 59% 1 เพชรบูรณ์ 58% 1 กรุงเทพมหานคร 92% 1 สุรินทร์ 54% 2 เชยี งใหม่ 58% 2 สมุทรปราการ 71% 2 นครราชสีมา 49% 3 พิษณโุ ลก 54% 3 นนทบรุ ี 70% 3 อบุ ลราชธานี 45% 4 สโุ ขทยั 51% 4 ปทมุ ธานี 69% 4 มกุ ดาหาร 45% 5 นครสวรรค์ 48% 5 ระยอง 61% 5 สกลนคร 41% 6 ตาก 46% 6 สระบุรี 58% 6 ขอนแกน่ 41% 7 พะเยา 46% 7 สมุทรสงคราม 55% 7 ศรสี ะเกษ 41% 8 เชยี งราย 44% 8 สิงหบ์ ุรี 53% 8 มหาสารคาม 36% 9 นา่ น 44% 9 ชลบุรี 53% 9 อุดรธานี 35% 10 แมฮ่ ่องสอน 43% 10 สมทุ รสาคร 53% 10 อำ� นาจเจรญิ 34% 11 ลำ� ปาง 43% 11 นครปฐม 52% 11 บรุ ีรัมย์ 33% 12 ก�ำแพงเพชร 41% 12 ตราด 50% 12 กาฬสินธ์ุ 33% 13 พิจติ ร 40% 13 นครนายก 49% 13 รอ้ ยเอด็ 32% 14 อทุ ัยธานี 38% 14 ฉะเชิงเทรา 41% 14 หนองบัวลำ� ภู 31% 15 อตุ รดติ ถ์ 37% 15 ราชบุรี 40% 15 หนองคาย 28% 16 แพร่ 35% 16 ชัยนาท 39% 16 เลย 27% 17 ล�ำพนู 48.8% 17 พระนครศรีอยธุ ยา 39% 17 ยโสธร 26% 18 ลพบุรี 38% 18 ชัยภูมิ 26% รวม 2561 19 สพุ รรณบรุ ี 38% 19 นครพนม 24% 70% 20 ประจวบครี ขี ันธ์ 37% 20 บงึ กาฬ 14% ภาคใต้ 68% 21 เพชรบุรี 34% 38.4% 52% 22 สระแกว้ 34% รวม ล�ำดับ จังหวัด 45% 23 กาญจนบุรี 34% 44% 24 ปราจีนบรุ ี 33% เฉพาะผู้ขับข่ี 1 ภูเก็ต 42% 25 จันทบุรี 33% 2 นครศรีธรรมราช 42% 26 อา่ งทอง 33% 3 สงขลา 41% 64.0% 4 ตรงั 40% รวม 5 พงั งา 34% 6 กระบ่ี 33% 7 สตลู 28% 8 สุราษฎร์ธานี 26% 9 ระนอง 22% 10 พัทลุง 45.7% 11 ชุมพร 12 ปตั ตานี 13 ยะลา 14 นราธิวาส รวม รปู ที่ 3-8 การจดั ลำ� ดับอัตราการสวมหมวกนริ ภัยเฉพาะผ้ขู บั ขี่ ปี พ.ศ. 2561 จำ� แนกตามภูมภิ าค

บทที่ 3 029 อัตราการสวมหมวกนริ ภยั ในภาพรวม ปี พ.ศ. 2561 ภาคเหนือ ภาคกลางและตะวันออก ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ลำ� ดบั จงั หวัด 2561 ล�ำดบั จงั หวดั 2561 ล�ำดบั จงั หวดั 2561 1 เชียงใหม่ 33% 1 กรุงเทพมหานคร 55% 1 สุรินทร์ 19% 2 พษิ ณโุ ลก 29% 2 มุกดาหาร 19% 3 สุโขทยั 23% 2 นนทบรุ ี 27% 3 อบุ ลราชธานี 18% 4 พะเยา 22% 4 นครราชสมี า 18% 5 แพร่ 22% 3 ตราด 25% 5 หนองบวั ล�ำภู 17% 6 ตาก 21% 6 สกลนคร 17% 7 ลำ� ปาง 20% 4 สมทุ รปราการ 25% 7 หนองคาย 17% 8 เพชรบรู ณ์ 17% 8 อุดรธานี 17% 9 เชียงราย 16% 5 ชลบรุ ี 23% 9 ศรสี ะเกษ 14% 10 อตุ รดิตถ์ 16% 10 รอ้ ยเอ็ด 14% 11 ลำ� พนู 15% 6 ระยอง 23% 11 ขอนแกน่ 13% 12 นา่ น 14% 12 กาฬสนิ ธุ์ 13% 13 แม่ฮอ่ งสอน 13% 7 สงิ หบ์ รุ ี 20% 13 มหาสารคาม 12% 14 พิจติ ร 12% 14 เลย 11% 15 ก�ำแพงเพชร 10% 8 สระบุรี 18% 15 อ�ำนาจเจริญ 10% 16 นครสวรรค์ 10% 16 บุรรี ัมย์ 9% 17 อุทยั ธานี 6% 9 ปทุมธานี 15% 17 ชัยภมู ิ 7% 20.1% 18 นครพนม 7% รวม 10 นครปฐม 13% 19 ยโสธร 6% 20 บึงกาฬ 4% 11 จันทบุรี 13% 14.3% รวม 12 นครนายก 13% 13 ปราจนี บรุ ี 13% 14 สุพรรณบรุ ี 12% 15 ฉะเชิงเทรา 12% 16 เพชรบรุ ี 12% 17 ชัยนาท 11% 18 ราชบุรี 11% ภาคใต้ 19 ลพบรุ ี 11% ลำ� ดับ จังหวดั 20 สมทุ รสาคร 11% 1 นครศรธี รรมราช 2561 21 สมทุ รสงคราม 9% 2 ภเู กต็ 3 สรุ าษฎร์ธานี 35% 22 ประจวบคีรขี ันธ์ 8% 4 กระบ่ี 31% 5 ระนอง 16% 23 พระนครศรีอยุธยา 8% 6 สงขลา 12% 7 พงั งา 12% 24 อา่ งทอง 8% ผู้โดเยฉสพาาระ 8 ชมุ พร 10% 9 ตรงั 10% 25 สระแกว้ 8% 10 สตูล 10% 11 พทั ลงุ 7% 26 กาญจนบรุ ี 8% 12 นราธิวาส 5% 13 ปตั ตานี 5% รวม 30.7% 14 ยะลา 4% 4% รวม 4% 14.4% รูปท่ี 3-9 การจัดล�ำดบั อัตราการสวมหมวกนิรภัยเฉพาะผู้โดยสาร ปี พ.ศ. 2561 จ�ำแนกตามภูมิภาค



บทท่ี 4 อตั ราการสวมหมวกนิรภัย จา� แนกตามกลมุ่ ผ้ใู ชร้ ถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561

032 อตั ราการสวมหมวกนิรภัย ของผู้ใชร้ ถจักรยานยนต์ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561 บทที่ 4 4.1 อตั ราการสวมหมวกนริ ภยั ของวยั รุ่นและผู้ใหญ่ ปี พ.ศ. 2561 อัตราการ ผลการส�ำรวจพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ สวมหมวกนริ ภัย ในปี พ.ศ. 2561 ชี้ให้เห็นว่า การสวมหมวกนิรภัยในกลมุ่ วัยร่นุ คดิ เปน็ อัตรา จำ� แนกตาม การสวมค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มผู้ใหญ่ โดยกลุ่มวัยรุ่นมีอัตรา กล่มุ ผ้ใู ชร้ ถ การสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขับข่ีและผู้โดยสารต่�ำกว่ากลุ่มผู้ใหญ่ คือ ร้อยละ จกั รยานยนต์ 22 และ 48 ตามล�ำดับ โดยเมื่อจ�ำแนกข้อมูลเฉพาะกลุ่มผู้ขับข่ีและข้อมูล ปี พ.ศ. 2561 เฉพาะกลุ่มผู้โดยสาร พบว่าผลส�ำรวจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน (รูปท่ี 4-1 และ 4-2) อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มของอัตราการสวมหมวก เนอื้ หาในบทน้ีประกอบด้วย นิรภัยทง้ั ในกลุม่ วยั รุน่ และผู้ใหญ่ (รวมผขู้ ับขแ่ี ละผู้โดยสาร) พบวา่ ในกลุ่ม 4.1 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ผู้ใช้รถจักรยานยนตว์ ยั รุน่ มแี นวโนม้ เพ่ิมขึน้ ใน ปี พ.ศ. 2561 (รอ้ ยละ 22) ของวัยรุน่ และผู้ใหญ่ ในขณะที่กลุ่มผู้ ใช้รถจักรยานยนต์ผู้ ใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนเพียงเล็กน้อย ปี พ.ศ. 2561 ใน ปี พ.ศ. 2561 (ร้อยละ 48) เช่นกนั 4.2 อัตราการสวมหมวกนิรภัย ส�ำหรับอัตราการสวมหมวกนิรภัยรวมผู้ขับข่ีและผู้ โดยสารที่เป็นวัยรุ่นและ ของเดก็ (เฉพาะผู้โดยสาร) ผู้ใหญ่ เปรยี บเทยี บรายจังหวดั ปี พ.ศ. 2561 แสดงดังรูปท่ี 4-3 ปี พ.ศ. 2561


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook