Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดใบงานเรื่อง การสะกดคำ

ชุดใบงานเรื่อง การสะกดคำ

Published by Piyada Komal, 2021-11-10 14:08:35

Description: ชุดใบงานเรื่อง การสะกดคำ

Search

Read the Text Version

ชุดใบงานเรื่อง การสะกดคำและ การใช้วรรณยุกต์ ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ ๑

ชุดใบงานเรื่อง การสะกดคำและ การใช้วรรณยุกต์ ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ ๑

คำนำ แบบฝึกหัดเรื่องนี้ใช้สำหรับฝึกการ เรียนรู้เพิ่มเติมในเรื่องของ การสะกด คำและการใช้วรรณยุกต์ ในระดับชั้น ปรถมศึกษาปีที่๑ หวังว่าใบงานชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ที่ต้องการจะศึกษา หากมีข้อผิดพลาด ประการใด ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ ผู้จัดทำ นางสาวพิยดา โกมาลย์

สารบัญ การสะกดคำ การใช้วรรณยุกต์ สะกดคำและฝึกอ่านให้ถูกต้อง เติมคำในภาพให้ถูกต้อง เติมวรรณยุกต์ให้ถูกต้อง

การสะกดคำ การสะกดคำ คือ การอ่านโดยนำพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมา ประสมเป็นคำอ่าน ถือเป็นเครื่องมือการอ่านคำใหม่ ซึ่งต้องให้นักเรียนสังเกตรูปคำ พร้อมกับการอ่านการเขียน เมื่อสะกดคำจนจำคำอ่านได้แล้ว ต่อไปก็ไม่ต้องใช้วิธี การสะกดคำนั้น ให้อ่านเป็นคำได้เลย จะทำให้นักเรียนอ่านจับใจความได้และอ่านได้ เร็ว สะกดตามรูปคำ สะกดโดยสะกดแม่ ก กา ก่อน แล้วจึงสะกด กา สะกดว่า กอ มาตราตัวสะกด – อา – กา เช่น คา ง สะกดว่า คาง สะกดว่า คอ – อา – คา – คอ – อา – งอ – คา – งอ – คาง ค้าง สะกดว่า คอ – คาง อา – คา – คา – งอ ค้าง สะกดว่า – คาง – คาง – โท คอ – อา – งอ – คาง – ไม้โท – – ค้าง ค้าง คำที่มีสระอยู่หน้า คำที่เป็นสระลดรูป คำอักษรควบ สะกด พยัญชนะ ให้สะกด เรียงตัวอักษร มุ่งเพื่อ พยัญชนะก่อนสระ หรือสระเปลี่ยนรูป การเขียนให้ถูกต้อง เสมอ เช่น กัน ส ะกดว่า กอ – อะ – นอ – กัน หรือ กอ – เช่น กลอง สะกดว่า เช่น เก สะกดว่า ไม้หันอากาศ – นอ – กัน กอ – ลอ – ออ – งอ กอ – เอ – เก คน สะกดว่า คอ – โอะ – นอ – คน หรือ คอ – นอ – – กลอง ไป สะกดว่า ปอ – พราง สะกดว่า พอ – ไอ – ไป คน แข็ง สะกดว่า ขอ – แอะ รอ – อา – งอ – – งอ – แข็ง หรือ ขอ – พราง แอะ – ไม้ไต่คู้ – งอ – กวาง สะกดว่า กอ – แข็ง วอ – อา – งอ – กวาง เค็ม สะกดว่า คอ – เอะ – มอ – เค็ม หรือ คอ – เอะ – ไม้ไต่คู้ – มอ – เค็ม

วรรณยุกต์ คือ เครื่องหมายที่เขียนกำกับไว้บนคำ เเล้วทำให้ เสียงและความหมายของคำเปลี่ยนไปจากเดิม วรรณยุกต์แบ่งเป็น รูปวรรณยุกต์ ๔ รูป และเสียงวรรณยุกต์ ๕ เสียง ได้แก่ สามัญ เอก โท ตรี และจัตวา การวางรูป วรรณยุกต์ จะวางไว้บนพยัญชนะต้น ของคำ เช่น ป้า เข่า จ๋า นุ่ น แต่ถ้าคำนั้ น มีพยัญชนะต้น ๒ ตัว จะวางรูป วรรณยุกต์ไว้บนพยัญชนะต้นตัวที่สอง เช่น กล้อง หญ้า คว่ำ แพร่ ตัวอย่าง การจำแนกคำตามเสี ยง วรรณยุกต์ เสียงสามัญ = กา ปู ลำไย ชาม เรือ ยาดี เสียงเอก = ปั่ น กบ ประดู่ หาด แหย่ ขัด อ้ำ สู้ เสียงโท = ตู้ ท่อง ข้อสั งเกต บางคำอาจมีรู ปวรรณยุกต์ไม่ตรง ห้า ยั่ว กับเสียง เช่น เสียงตรี = น้ อง ง้าง - หัก ไม่มีรูปวรรณยุกต์ แต่ออก เกี๊ยว นก ร้อน รัก เสียงเป็น เสียงเอก เสียงจัตวา = หาม ขาว - เล่า มีรูปวรรณยุกต์เอก เเต่ เดี๋ยว หัว หมู ป๋า ออกเสียงเป็น เสียงโท

ใบงานที่ 1 คำชี้แจง อ่านสะกดคำและอ่านออกเสียงคำให้ถูกต้อง กา ตา มา หา ปะ มะ จะ ทะ ชะนี สะดือ กะปิ บิดา ปู ทีวี เกเร สีดา ถูขา พายุ ปิ ติ

ใบงานที่2 คำชี้แจง เติมคำลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ______ ______ ______ ______ ______ ______ ______ ______ ______

ใบงานที่3 คำชี้แจง เติมวรรณยุกต์ให้ถูกต้องแล้วฝึกอ่าน ปูยา ใบไม ไกแจ ขีชาง ไมไผ ปินโต เปาปี ไมได ชีมือ

นางสาวพิยดา โกมาลย์ รหัสนักศึกษา 634101019 ค.บ.2 ภาษาไทย

แหล่งที่มา https://www.learneducation.co.th/ https://www.sanook.com/campus/14 02307/ https://sites.google.com/site/mattay om46/klum-sara-kar-reiyn-ru-phasa- thiy/sara-thi-2-kar-kheiyn/6-kar- chi-rup-wrrnyukt


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook