COMPUTER HARREDWA
HARD WARE ฮาร์ดร์ แวร์ (Hardware) ความหมายของฮาร์ดร์ แวร์ ฮาร์ดร์ แวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบคอม พิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตา และสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ดร์ เครื่องพิมพ์ เมาส์เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการ ทำงานได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับรั ข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวล ผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage)โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วย มีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน ซึ่งฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย Hardware ทุกส่วนที่กล่าวมาข้างต้นจะทำงานแบบผสมผสานและพึ่งพาซึ่งกันและกัน จึงทำให้กลายเป็นภาพ เสียง และข้อมูลต่าง ๆ ที่สามารถพร้อมใช้งานได้บนเครื่องคอม พิวเตอร์ ทันที แต่ทั้งนี้อาจมีข้อสงสัยว่าระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ เป็นชนิดเดียวกัน หรือไม่ เพราะแม้ว่าตัวกลางของฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์จะเป็น Firmware ที่ถือว่าเป็นระ บบภายใน แต่ ตัวซอฟต์แวร์ถูกสร้างมาให้ฝั่ งในฮาร์ดแวร์บางส่วนด้วยเช่นกัน โดยเป็น ส่วนที่วิศวกรคอมพิวเตอร์หรือ โปรแกรมเมอร์จะเป็นผู้ดูแลทั้งหมด จึงยังไม่มีการตีความ ออกมาอย่างชัดเจนว่าซอฟต์แวร์นั้น จะเป็นหนึ่งใน Hardware หรือ ไม่
อุปกรณ์รับข้อมูล 1 หน่วยรับข้อมูล (INPUT UNIT) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทำหน้าที่รับโปรแกรม และข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิ วเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิ มพ์ (KEYBOARD) และเมาส์ (MOUSE) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับ เข้าอื่นๆอีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( SCANNER), วีดีโอคาเมรา (VIDEO CAMERA), ไมโครโฟน (MICROPHONE), ทัชสกรีน (TOUCH SCREEN),แทร็คบอล (TRACKBALL), ดิจิตเซอร์ เท เบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์ (DIGITER KEY BOARD 1. แป้นพิ มพ์ จะรับข้อมูลจากกดแป้น แล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัสสัญญาณทาง ไฟฟ้า เพื่ อส่งเข้าไปในหน่วยประมวลผลของเครื่อง แป้น พิ มพ์ ส่วนใหญ่จะถูกออกแบบ แป้นเป็นกลุ่มคือ - แป้นอักขระ (CHARACTER KEYS) - แป้นควบคุม (CONTROL KEYS) - แป้นฟังก์ชั่น (FUNCTION KEYS) - แป้นตัวเลข (NUMERIC KEYS)
MOUSE เมาส์ (MOUSE) ทำหน้าที่รับคำสั่งจากผู้ใช้เพื่ อสั่งงาน คอมพิ วเตอร์ด้วยการชี้และเลือกคำ สั่งต่างๆ บนจอภาพหรือมอนิเตอ ร์ผ่านตัวชี้หรือเมาส์พอยต์เตอร์ (MOUSE POINTER) ด้วยการ คลิก (CLICK) คลิกขวา (RIGHT CLICK) และคำสั่งที่ต้องการ จึงจัด เป็นฮาร์ดแวร์สำคัญอีชิ้นหนึ่งในการ รับข้อมูล เมาส์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันแบ่ง เป็น 3 ชนิด ได้แก่ - เมาส์แบบทางกล (MECHANICAL MOUSE)เกิดจากการหมุนลูกกลิ้งที่อยู่ใต้ เมาส์ไปในทิศทางที่ผู้ใช้ต้องการ โดยจะมี กลไกปรับแกนหมุนในแกน X และแกน Y ส่งไปยังคอมพิ วเตอร์ทำให้สามารถ ควบคุมความเร็วและความสัมพั นธ์ต่อเนื่องของตัวชี้เมาส์ที่จอภาพได้ ปัจจุบัน เมาส์แบบทางกล มีหลายรูปแบบ ทั้งแบบที่มีลูกกลิ้งอยู่ด้านล่างซึ่งนิยมใช้กัน โดยทั่วไปและแบบมีลูกกลิ้งอยู่ด้านบน (TRACK BALL) ซึ่งต้องหมุนลูกกลิ้ง นี้ในขณะใช้งานแทนการขยับเมาส์ไปมาเหมือนเมาส์ที่มีลูกกลิ้งอยู่ด้านล่าง - เมาส์แบบใช้แสง (OPTICAL MOUSE) เกิด จากหลักการส่งแสงจากเมาส์ไปยังพื้ นที่รอง รับแล้วสะท้อนกลับไปยังตัวรับสัญญาณที่ เมาส์เพื่ อวัดการเคลื่อนตำแหน่งเมาส์ ชนิดนี้จะมีราคาสูงกว่าเมาส์แบบทาง กลแต่ช่วยลดปัญหาเรื่องฝุ่นติดที่ลูก กลิ้งภายในเมาส์แบบทางกล General Manager - เมาส์แบบไร้สาย (WIRELESS MOUSE) เกิดจากหลักการส่ง แสงจากเมาส์ไปยังพื้ นที่รองรับ แล้วสะท้อนกลับไปยังตัวสัญ ญาณจากเมาส์ไปยังเครื่องรับสัญ ญาณที่คอมพิ วเตอร์ จึงทำให้ เมาส์แบบนี้ไม่มีสายต่อจากคอมพิ ว เตอร์เหมือนเมาส์แบบทางกลและ เมาส์แบบใช้แสง
JOYSTICK จอยสติก (JOYSTICK) เป็นก้าน สำหรับใช้โยกขึ้นลงและซ้ายขวา เพื่ อย้ายตำแหน่งของตัวชี้ตำ แหน่งบนจอภาพ หลักการ ทำงานเช่นเดียวกับเมาส์แต่ ต่างกันตรงมี แป้นกดเพิ่ ม เติมมาจำนวนหนึ่งสำหรับสั่ง งานพิ เศษ นิยมใช้กับการเล่น เกมคอมพิ วเตอร์หรือควบคุม หุ่นยนต์ Digital Camera กล้องดิจิตอล (Digital Camera) G e n e r a l M a n a g e r สามารถรับข้อมูลได้ทั้งรูปแบบภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง โดยปกติจะมี การบันทึกข้อมูล ภายในกล้องดิจิตอล ไว้ที่หน่วยบันทึก ข้อมูลของกล้อง (Memory Card) เมื่อผู้ใช้ต้องการ รับข้อมูลจากกล้องก็เพียงเชื่อมต่อ กล้องดิจิตอลโดยผ่านสายสัญญาณ คอมพิวเตอร์ก็จะอ่านค่าในหน่วยบันทึก ข้อมูลของกล้อง ซึ่งผู้ใช้สามารถนำข้อมูล ที่ได้จากกล้องไปทำงานบนโปร แกรม ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ได้ทันที หรืออาจบันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ ก่อนก็ได้
STYLUS สไตลัส (Stylus) เป็นปากกาที่ใช้กับแท็บแล็ตและ อุปกรณ์เคลื่อนที่ต่าง ๆ ซึ่ง ใช้แรงกดในการวาดบนหน้าจอ สามารถใช้ร่วมกับ ซอฟต์แวร์รู้จำลายมือ (handwriting recognition software) เพื่อแปลงจากลายมือที่วาด หรือเขียนให้อยู่ใน รูปแบบ ที่หน่วยระบบสามารถประมวล ผลได้ TOUCH SCREENGจeอnภาeพรrะaบบl สัMมผั aส n a g e r (Touch Screen) เป็นจอภาพแบบพิเศษซึ่ง ผู้ใช้เพียง แตะปลายนิ้ว ลงบนจอภาพในตำแหน่ง ที่กำหนดไว้เพื่อเลือก การทำงานที่ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหา ว่าผู้ใช้เลือกทางใดและสั่งให้ ทำงานตามนั้น จอภาพ ระบบสัมผัส นี้ในปัจจุบันเป็นที่นิยมกันมาก สมาร์ทโฟนหรือแท็บแล็ต
LIGHT PEN ปากาแสง (LIGHT PEN) ใช้เซลล์แบบซึ่งมีความไวต่อแสง เป็นตัวกำหนดตำแหน่งบนจอภาพ รวมทั้งสามารถใช้วาดลักษณะ หรือรูปแบบของข้อมูลให้ ปรากฏบน จอภาพ การใช้งาน ทำได้โดยการแตะปากกาแสงไป บนจอภาพตามตำแหน่งที่ต้องการ นิยมใช้กับงานคอมพิ วเตอร์ช่วย การออกแบบ SCANNER เครื่องอ่านภาพ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ G e n e r a l M a n a g e r ที่ใช้อ่านหรือสแกนข้อมูลบน เอกสาร เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้วิธีส่องแสง ไปยังวัตถุที่ต้องการสแกน แสงที่ส่องไป ยังวัตถุแล้วสะท้อน กลับมาจะถูกส่งผ่านไปที่เซลล์ไวแสง (Charge-Coupled Device หรือ CCD) ปัจจุบันสแกนเนอร์ที่นิยมมาก ที่สุด
หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลาง (CENTRAL PROCESSING UNIT) หรือ ซีพี ยู (CPU) คือ สมองหรือหัวใจของคอมพิ วเตอร์ โดยประสิทธิภาพในการทำงาน ของคอมพิ วเตอร์จะขึ้นอยู่กับหน่วยประมวลผลกลางเป็นหลัก เนื่องจากซีพี ยู ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลต่างๆ ที่ส่งเข้ามา ยังคอมพิ วเตอร์ นอกจาก นี้ยังทำหน้าที่ควบคุมและดูแลการทำงานทั้งหมดภายในระบบคอมพิ วเตอร์อีก ด้วย ฮาร์ดแวร์ที่สำคัญของ หน่วยประมวลผลกลาง คือ ไมโครโพรเซสเซอร์ (MICROPROCESSOR) การทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง แบ่งเป็น 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยควบคุมและหน่วยคำนวณและตรรกะ 1. หน่วยควบคุม (CONTROL UNIT) ทำหน้าที่อ่านคำสั่งทีละคำสั่ง แล้วตีความคำสั่งนั้นว่าเป็นคำสั่งใดและต้องใช้ข้อมูลที่ใด เพื่ อควบคุมและประ สานงานการทำงานของฮาร์ดแวร์และหน่วยต่างๆ ภายในระบบคอมพิ วเตอร์ 2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ARITHMETIC/LOGICAL UNIT) ทำหน้าที่ประ มวลผลคำสั่งด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ แล้วนำมาเปรียบเทียบค่าของข้อมูล แล้วจึงเก็บผลลัพธ์ที่ได้ไว้ในหน่วยความจำต่อไปหน่วยประมวลผลกลางจะทำ งานเป็น 4 ขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ 1-2 จะใช้หน่วยควบคุมในการดำเนินงาน ส่วนขั้นตอนที่ 3-4 จะใช้หน่วยคำนวณและตรรกะในการดำเนินงานดังนี้ขั้น ตอนที่ 1 หน่วยควบคุมเข้าถึงข้อมูลและคัดแยกคำสั่งจากหน่วยความจำ ขั้นตอนที่ 2 คำสั่งถูกตีความ เพื่ อให้คอมพิ วเตอร์รู้ว่าจะต้องทำงานอะไร แล้วเลือกข้อมูลที่ต้องใช้ในการประมวลผล แล้วกำหนดตำแหน่งของคำสั่งถัด ไปขั้นตอนที่ 3 ปฏิบัติตามคำสั่งที่ตีความได้ ทั้งการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และการเปรียบเทียบ ขั้นตอนที่ 4 เก็บผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้ไว้ในหน่วยความจำหลัก
หน่วยความจำ MEMORY UNIT ทำหน้าน้ที่เก็บข้อข้ มูลและโปรแกรมที่ใช้ใช้น คอมพิ วพิ เตอร์ สามารถแบ่ง ตามลักษณะของการ เก็บข้อข้ มูลในหน่วน่ ยความจำ ได้ 2 ประเภท ได้แก่ หน่วยความจำ หลัและหน่วน่ ยความจำ สำ รอง หน่วน่ ยความจำ หลัก (MAIN MEMORY UNIT) ทำ งานเชื่อชื่มต่อกับหน่วน่ ยประมวลผลกลาง ข้อมูล ที่เก็บในหน่วน่ ยความจำ หลักจะต้องมีขมีนาดเล็ก หรือรืความจุ ไม่ใหญ่มากนักโดยมีหมีน้าน้ที่สำ คัญคือ - เลือกใช้แช้ ละเก็บชุดคำ สั่งสั่ต่างๆ ที่ใช้ใช้นการ ประมวลผลจากหน่วน่ ยความจำ สำ รอง - เก็บข้อมูลที่รับ มาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่ อพื่ ส่งไปยังหน่วยประมวลผลกลาง - เก็บผลลัพธ์ ที่ได้ใด้นขณะประมวลผลแต่ยังยัไม่ใม่ ช่ ผลลัพธ์ที่ธ์ ที่ ต้องการ - เก็บผลลัพธ์ที่ธ์ที่ได้จากการประมวลผลที่เป็นผลลัพธ์ที่ ต้องการเพื่ อเตรียม ส่งไปยังหน่วย แสดงผล หน่วยความจำ สำรองหรือรืหน่วยความจำรอง (SECONDARY STORAGE UNIT) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลตามคำสั่งของผู้ใช้ ซึ่งซึ่จะมีพื้ นที่ความจุมากกว่าหน่วยความจำหลัก ลักษณะในการเก็บข้อมูล จะเป็นแบบถาวร ปัจจุบันบั มีหมี ลายประเภทและมีคุณสมบัติและข้อดี ข้อเสีย ในการเก็บข้อมูลต่างกัน
THE DIFFERENCE BETWEEN ROM AND RAM หน่วนยความจำประเภทรอม (ROM: READ ONLY MEMORY) หน่วยความจำประเภทนี้ข้อมูลภายในถูกติดติตั้ง จากโรงงานผู้ผลิตลิ จึงมี เพี ยงผู้พั ฒนาระบบที่ สามารถลบแล้วเขียนข้อมูลใหม่ไม่ได้ด้วย กระบวนการ หรือเทคนิคพิ เศษในการลบและเขียขีน ข้อมูลผู้ใช้ทั่วไป จะสามารถอ่านข้อมูล ได้เด้พี ยงอย่างเดียว ไม่สามารถเขียขีนหรือแก้ไขข้อมูลที่ บันทึกไว้ภายในได้ จึงใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่ไม่ต้องการ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น โปรแกรม สำหรับควบคุมการทำงานและข้อมูลการจัดการพื้ นฐานของระบบ โดยหน่วย ความจำ ประเภทรอม จะติดติตั้งไว้เมนบอร์ดร์ ของคอมพิ วเตอร์ข้อมูล ที่บันทึกไว้ในหน่วยความจำ ประเภทรอมจะยังคงอยู่ถึงแม้จะปิดคอมพิ วเตอร์ ไม่มีกระแสไฟฟ้าแล้วก็ตาม หน่วยความจำประเภทแรม (RAM: RANDOM ACCESS MEMORY) บางครั้งเรียกว่าหน่วยความจำชั่วคราวเนื่องจาก จะสามารถลบและเขียน ข้อมูล ได้ในขณะที่มีไฟฟ้าเท่านั้นเมื่อปิดคอมพิ วพิ เตอร์หรือไม่มีกระแสไฟฟ้า แล้วข้อมูลก็จะหายไป ดังนั้นเมื่อต้องการเรียกใช้ข้อมูล ที่อยู่ในแรมใหม่ ในอนาคตจึงต้องมีการ บันทึกข้อมูลนั้นไว้ในหน่วยความจำ สำรองก่อน การปิดคอมพิ วเตอร์ทุกครั้งหน่วยความจำ ประเภทแรม ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้แรมหรือไดนามิกแรม (DRAM: DYNAMIC RAM) มีลักษณะการทำงานที่มีการรีเฟรช (REFRESH) กระบวนการอย่าง อัตโนมัติเพื่ อช่วยในการเก็บข้อมูลให้คงอยู่ทำให้เสียเวลาหรือต้อง ใช้เวลาใน การทำงานกว่าประเภทเอสแรม ปัจจุบันจึงมีการพั ฒนาแรมเพื่ อให้ใช้เวลาใน การทำงานน้อยลง เช่น เอฟพี เอ็มดีแรม (FPM DRAM: FAST PAGE MODE DRAM) ไฮเปอร์ เพจโมดีแรมหรืออีโดแรม (HYPER PAGE MODE DRAM OR EDO RAM: EXTENDED DATA OUTPUT RAM) และเอสดีแรม (SDRAM: SYNCHRONOUS DRAM) - เอสแรมหรือ สเตติกแรม (SRAM: STATIC RAM) มีลักษณะการทำงานด้วยการเก็บ ข้อมูลและรีเฟรชข้อมูลเมื่อได้รับคำสั่งเท่านั้นทำให้มีความสามารถในการทำ งานเร็วกว่าแบบดีแรม แต่ปัจจุบัน เอสแรมมีราคาแพงกว่าดีแรมมาก
ตัวอย่างอุปก รณ์แสดงผล อุปกรณ์ฉายภาพ ( PROJ ECTOR ) เป็นอุปกรณ์ที่นิยม ใช้ในการเรียนการสอน หรือการประชุม เนื่องจากสามารถ เสนอข้อมูล ให้ผู้ชมจำนวนมากเห็นพร้อมๆกัน ในปัจจุบันจะมีหลายแบบ ทั้งที่สามารถ ต่อสัญญาณจากคอมพิ วเตอร์โดยตรง หรือ ใช้อุปกรณ์พิ เศษในการวาง ลงบนเครื่องฉายข้ามศรีษะ หน่วยแสดงผล แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. อุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลลัพธ์ชั่วคราว หมายถึงอุกกรณ์ที่ให้ผลลัพธ์ แก่ผู้ใช้ ในระยะเวลาหนึ่งไม่สามารถเก็บไว้เป็นหลักฐานได้ เช่น จอภาพ เป็นต้น 2. อุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์แบบถาวร หมายถึง อุปกรณ์ที่ให้ผลลัพธ์ ที่สา มารถเก็บไว้เป็นหลักฐานได้ต่อๆ ไปในอนาคต เช่น เครื่องพิ มพ์ เป็นต้น
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: