Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ 2564 ห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ 2564 ห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

Description: รายงานผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ 2564 ห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอหนองฉาง เป็นสถานที่ให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นแหล่งเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตของประชาชนในชุมชน มีบทบาทหน้าท่ใี นการจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามอธั ยาศยั เพ่ือส่งเสริม ให้เด็ก เยาวชน นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน การอ่านเป็นเครือ่ งมือสำคญั ในการ พัฒนาคนใหเ้ รียนรู้ กลา้ คิด กล้าทำ กล้าแสดงออก และสามารถนำความรูท้ ่ไี ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ทั้งนี้ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอหนองฉาง จึงดำเนินการสรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปี 2564 ฉบับนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารการสรุป ผลการดำเนินงานฉบับนี้ อาจมีคุณค่าต่อการพัฒนาในการดำเนินงานการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในอนาคต และ ขอขอบคุณหน่วยงาน คณะผู้ดำเนินงาน ผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านได้บรรลุวัตถุประสงค์ มา ณ โอกาสนี้ กล่มุ งานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กศน.อำเภอหนองฉาง

ข สารบัญ เร่อื ง หน้า คำนำ......................................................................................................................... ..........................ก สารบญั ................................................................................................................................................ข สารบญั ตาราง.................................................................................................................. ....................ค บทที่ ๑ บทนำ.....................................................................................................................................1 ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ............................................................................1 วตั ถปุ ระสงค์โครงการ……………………………………………………………………………………………….1 วิธีการดำเนินการ............................................................................................................. .....3 ผลลพั ธ์..................................................................................................................................4 ดชั นชี ้วี ัดผลสำเร็จของโครงการ.............................................................................................4 การตดิ ตามและการประเมินผลโครงการ................................................................................4 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง.................................................................................................................5 บทที่ 3 การดำเนินโครงการ...............................................................................................................8 การวางแผนการดำเนินงาน...................................................................................................8 กลุม่ เป้าหมาย.......................................................................................................................8 การดำเนินงานตามแผน........................................................................................................8 การประเมนิ โครงการ.............................................................................................................9 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานโครงการ...................................................................................................10 ผลการดำเนินงาน.............................................................................................................. ..10 ผลของการประเมินความพงึ พอใจ………………………………………………………………………….…10 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ.....................................................................................................13 สรุปผลการดำเนินงาน........................................................................................................13 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ........................................................................................13 ภาคผนวก ก.....................................................………………………………………………………………………..14 ภาคผนวก ข.......................................................................................................................................26

ค สารบัญตาราง หนา้ ตารางท่ี 1 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ...............................................................................................2 ตารางท่ี 2 วิธกี ารดำเนินการ............................................................................................................. ..3 ตารางท่ี 3 ประเมินผลข้อมลู ท่วั ไป…………..…………………………………………………………….……………….10 ตารางที่ 4 ความพึงพอใจตอ่ การจัดกจิ กรรม......................................................................................11

บทที่ ๑ บทนำ ๑. ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ สำนกั งาน กศน. ได้กำหนดแนวทางการขับเคล่ือนการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนา ความสามารถในการอ่านและศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเปา้ หมายแต่เนือ่ งจากสถานการณ์ปัจจุบัน มีการ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid - 19) ทำให้ประชาชนจำเป็นต้องอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ ภายใต้มาตรการปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโรค กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านผ่านสื่อออนไลน์ จึงเป็นการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เหมาะสมกับสภานการณ์ เพื่อให้ประชาชนที่ต้องอยู่บ้าน หยุดเช้ือ เพื่อชาติ สามารถรับบริการได้ถึงบ้าน ทั้งนี้สามารถร่วมกิจกรรมได้ทั้งครอบครัวนำไปต่อยอดการอ่านที่มีคุณภาพอย่าง ยั่งยืน การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิตบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มนี ิสยั รักการอา่ นและการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองและนำความไปใชก้ ารเรียนและพฒั นาคุณภาพชีวิตได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองฉาง โดยห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอหนองฉาง ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการรณรงค์ส่งเสริมการอ่านจึงได้จัดโครงการ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปี 2564 เพื่อส่งเสริมให้มีทกั ษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรกั การอ่านและการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง และสามารถนำความรไู้ ปใชใ้ นการเรียนและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ๒. วัตถปุ ระสงค์โครงการ 1. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะในการฟัง พดู อ่าน เขียน 2. เพื่อให้มนี ิสยั รักการอา่ นและการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. เพ่ือใหน้ ำความรู้ไปใชใ้ นการเรยี นและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ๓. ขอบเขตและรายละเอียดของงาน 3.1 เชงิ ปรมิ าณ - นักเรยี น นกั ศกึ ษา กศน. และประชาชนท่วั ไป จำนวน 100 คน 3.2 เชงิ คุณภาพ 1. ผรู้ บั บรกิ ารมที ักษะในการฟงั พดู อ่าน เขยี น 2. ผูร้ บั บรกิ ารมินสิ ัยรกั การอ่านและการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. ผรู้ บั บริการนำความร้ไู ปใชใ้ นการเรยี นและพัฒนาคุณภาพชีวิต รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 1

๓.3 งบประมาณ - แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่5 ผู้รับบริการ การศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน (501 งบบริหารห้องสมุดประชาชน) รายละเอยี ดดงั นี้ - คา่ วัสดุสำหรบั จัดกิจกรรม จำนวน 4,000 บาท (-ส่ีพันบาทถ้วน-) รวมใช้งบประมาณทงั้ สิ้น 4,000 บาท (-สี่พันบาทถ้วน-) หมายเหตุ ขอถัวจา่ ยตามทจ่ี ่ายจริง ตารางท่ี 1 แผนการใช้จ่ายงบเงินประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค-ธ.ค.63) (ม.ค.-มี.ค.64) (เม.ย-ม.ิ ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) 1.สำรวจความตอ้ งการประชาชน/ กลมุ่ เปา้ หมาย √ √ √ 2.ประชมุ วางแผนการดำเนินงานและ √ √ จัดทำโครงการ √ √ 3.เสนอโครงการเพ่ือขออนมุ ตั ิ 4.จดั กจิ กรรมโครงการจัดกจิ กรรม สง่ เสริมการอา่ นผ่านส่ือออนไลน์ ประจำปี 2564 5.นิเทศ ติดตาม ผลการดำเนินงาน เปน็ ระยะอยา่ งต่อเน่ือง 6.สรุปผลและรายงานผลกาดำเนนิ งาน ๓.๓ สถานที่ - Page Facebook ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำเภอหนองฉาง - Website ระบบเชื่อมโยงแหลง่ เรียนรู้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำเภอหนองฉาง - Line นักอ่านหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำเภอหนองฉาง และนักศึกษา กศน. - พื้นทีใ่ นเขตอำเภอหนองฉาง ๓.๔ ระยะเวลา - เดือนเมษายน 2564 – เดือนกันยายน 2564 ๓.๕ โครงการท่เี กี่ยวขอ้ ง - โครงการส่งเสริมการอา่ นห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำเภอหนองฉาง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดชวี ิตของชมุ ชน รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 2

๔. วธิ กี ารดำเนินการ ตารางที่ 2 วธิ กี ารดำเนนิ งาน กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พืน้ ที่ดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (คน) - 1.สำรวจความ เพอ่ื สำรวจความ นกั เรยี น อำเภอหนองฉาง มนี าคม ตอ้ งการจาก ต้องการประชาชน/ นักศกึ ษา กศน. 100 คน 2564 - กลุ่มเปา้ หมาย กล่มุ เป้าหมาย และประชาชน กศน.อำเภอ ทวั่ ไป 18 คน หนองฉาง มนี าคม - 1. ประชุมและวาง เพื่อแตง่ ตัง้ ผ้บู รหิ ารและ 2564 บุคลากร กศน. 5 คน สมาชกิ ห้องสมดุ ผลผลติ ที่ 5 แผนการดำเนินการ คณะทำงาน/ขอ บรเิ วณพืน้ ที่ มีนาคม งบดำเนนิ งาน เครอื ข่าย 100 คน ใกลเ้ คียงใน 2564 จำนวน และจดทำโครงการ อนุมัตโิ ครงการใน อำเภอหนองฉาง 4,000 บาท นกั เรียน เมษายน เพ่อื เสนอขออนุมัติ การดำเนินงาน นกั ศึกษา กศน. - Page 2564 – และประชาชน Facebook กันยายน 3.ประสาน ประสานงานเขา้ ทวั่ ไป ห้องสมดุ 2564 ประชาชน “เฉลิม เครือข่ายทเี่ กยี่ วข้อง รว่ มกจิ กรรมกับ ราชกมุ ารี” อำเภอหนองฉาง และประชาสมั พันธ์ โรงเรยี นขนาดเล็ก - Website ระบบ เชื่อมโยงแหลง่ โครงการ บริเวณใกลเ้ คยี งใน เรียนรู้ หอ้ งสมุด ประชาชน “เฉลิม อำเภอหนองฉาง ราชกุมารี” อำเภอหนองฉาง 4. ดำเนินการจดั 1. ผู้รับบริการมี - Line นักอา่ น หอ้ งสมดุ กิจกรรม ทักษะในการฟงั ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” - กจิ กรรมท่ี 1 พูด อา่ น เขียน อำเภอหนองฉาง และนักศึกษา Grab book สง่ 2. ผ้รู บั บริการมิ กศน. หนงั สอื ถึงบ้านต้าน นิสยั รกั การอา่ น โควิด และการเรียนรู้ด้วย - กจิ กรรมที่ 2 ตนเอง คลปิ สง่ เสรมิ การ 3. ผรู้ ับบริการนำ อา่ นผ่านสอื่ ความรไู้ ปใชใ้ นการ ออนไลน์ เรยี นและพัฒนา - กิจกรรมท่ี 3 คณุ ภาพชีวติ QR นา่ รู้ - กจิ กรรมท่ี 4 QR สง่ เสริม การอา่ น - กจิ กรรมที่ 5 กจิ กรรมส่งเสริม การอ่านผา่ นสื่อ ออนไลน์ รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 3

กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้นื ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ (คน) 4. ดำเนินการจัด -เพื่อติดตามผลการ กันยายน กิจกรรม (ต่อ) ดำเนินงาน - พน้ื ท่ใี นเขต 2564 - กิจกรรมท่ี 6 อำเภอหนองฉาง เกร็ดความรู้ผา่ น สอื่ ออนไลน์ - กิจกรรมที่ 7 Siri พาเพลิน 5.นเิ ทศตดิ ตามผล การดำเนินงาน 6.สรุปผลและ -เพ่อื แก้ปญั หา กศน.อำเภอ กันยายน รายงานผลการ อปุ สรรค มา หนองฉาง 2564 ดำเนนิ งาน ปรับปรงุ พัฒนาในปี ต่อไป ๕. ผลลัพธ์ นักเรียน นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและ การเรียนรูด้ ้วยตนเอง และนำความรู้ไปใช้ในการเรยี นและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ๖. ดชั นชี ้ีวัดผลสำเรจ็ ของโครงการ ตัวชว้ี ัดผลผลติ (Output) รอ้ ยละ 80 ของผู้รับบริการมีทกั ษะในการฟัง พดู อ่าน เขียน ตวั ชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) รอ้ ยละ 80 ของผู้รบั บริการมีนิสัยรกั การอา่ นและการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ร้อยละ 80 ของผู้รับบรกิ ารนำความรู้ไปใชใ้ นการเรียนและการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ๗. การตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน - การสงั เกต , สัมภาษณ์ - การประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการ - ภาพกจิ กรรม รายงานผลการดำเนินโครงการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 4

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง อยบู่ ้าน หยุดเชื้อ เพ่อื ชาติ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ยังมีผู้ติดเชื้อรายใหม่ อย่างต่อเนื่อง ทำให้มีผู้ป่วยเข้ารับการรักษาและมีผู้เสียชีวิตเพิ่ม ประชาชนได้รับผลกระทบด้านสุขภาพ สังคมและ เศรษฐกิจมีผลกระทบอย่างมาก รัฐบาลจึงได้มีมาตรการขอความร่วมมือให้ประชาชนปรับพฤติกรรมการอยู่ร่วมกัน ให้ความสำคัญกับการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) งดกิจกรรมทางสังคม เน้นอยู่บ้านให้มากที่สุด ตามนโยบาย \"อยบู่ า้ น หยุดเชอื้ เพื่อชาติ\" แต่กย็ งั ปรากฏวา่ มีประชาชนจำนวนมากเดินทางกลับบ้านตา่ งจังหวัด ทำให้ เสีย่ งทจ่ี ะแพร่เช้อื โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรอื COVID-19 ไปยงั ครอบครวั และผูค้ นในชุมชนได้ วฒั นธรรมการอ่าน นยิ มสอ่ื ออนไลน์เพิม่ ผลงานวิจัยของ \"เครอื ข่ายเสยี งประชาชน หรือ We Voice\" ศกึ ษาวจิ ยั พัฒนาตัวช้ีวัดวฒั นธรรมการอ่าน สรา้ งตวั ชี้วดั ทัง้ ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพที่สะท้อนใหเ้ ห็นภาพรวมการอ่านของประเทศ เมื่อรวบรวมข้อมูลคนไทยกลุ่มประชาชนทั่วไปทั้งหมด 1,753 ตัวอย่าง พบกลุ่มตัวอย่างใช้เวลาในการ อ่านผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ 166 นาทีต่อสัปดาห์ และอ่านผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 222.5 นาทีต่อสัปดาห์ สะท้อนให้เห็นว่า ปัจจบุ นั ประชาชนนยิ มอ่านผา่ น สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์มากกว่าสอ่ื สิ่งพิมพ์ โดยเฉพาะสื่อทม่ี กี ารแชรผ์ า่ นสงั คมออนไลน์ ส่วนค่าดัชนีวัฒนธรรมการอ่านจะมีค่าอยู่ในช่วง 0-100 ซึ่งได้ค่าดัชนีเท่ากับ 40.4 หมายความว่า ประเทศ ไทยมีวัฒนธรรมการอ่านที่น้อย นอกจากนี้ พบว่าค่าใช้จา่ ยซื้อสื่อสิง่ พิมพโ์ ดยเฉลี่ย 272 บาทต่อเดือน โดยร้อย ละ 55.4 ทม่ี กี ารซื้อ และร้อยละ 44.6 ไมไ่ ด้ซือ้ หนงั สอื เลย เมื่อถามถึงสาเหตุที่ทำให้ไม่อยากอ่านหนังสือ พบร้อยละ 30.7 ชอบฟังวิทยุ ดูทีวีมากกว่า รองลงมา รอ้ ยละ 29 ไม่มีเวลาอา่ น และร้อยละ 19.4 สายตา ไมด่ ี อกี ทงั้ ยังมีกลมุ่ ตัวอยา่ งร้อยละ 4.3 ทีอ่ า่ นหนังสือไม่ออก เมื่อพิจารณาจากกำลังซื้อพบกลุ่มตวั อยา่ ง ร้อยละ 18.2 มองว่าหนังสือมีราคาแพงเกินไป ร้อยละ 8.3 ไมม่ เี งนิ ซื้อ และร้อยละ 10.4 ไมม่ ีแหล่งใหย้ มื หนังสือ จากผลสำรวจตัวอย่างจากพอ่ แม่ ผู้ปกครอง 398 คนของกลุ่มเด็กปฐมวัยทีม่ ีอายุต่ำกว่า 6 ขวบ พบว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการอ่านหนังสือให้เด็กฟังเท่ากับ 709.5 นาทีต่อสัปดาห์ แบ่งเป็นการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ เฉลี่ย 615.8 นาทตี ่อสปั ดาห์และอา่ นผา่ นส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 70.9 นาทตี อ่ สปั ดาห์ เมื่อสำรวจกิจกรรมที่ทำร่วมกันในครอบครัว ในรอบ 1 เดือน ที่ผ่านมาพบร้อยละ 62.6 มีการทำ กิจกรรมร่วมกัน โดยร้อยละ 83.2 จะอ่านหนังสือให้เด็กฟัง ร้อยละ 81.3 ให้คำชมเวลาเด็กอ่านหนังสือ และร้อยละ 78.6 ใชเ้ วลาอ่านหนงั สอื ด้วยกัน ผลวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ท่สี ำรวจข้อมลู เมอ่ื ปี 2557 จากจำนวนประชากรไทย 6.9 ลา้ นคน พบข้อมูลคนที่ไมร่ ู้หนังสือกวา่ 580,000 คน ในปีเดียวกัน กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) สำรวจทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนชั้น ป. 3 ทั่ว ประเทศ 600,000 คน พบว่า มีนักเรียนกว่า 35,000 คนมีปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ขณะที่อีก 200,000 คน หรอื 1 ใน 3 มปี ัญหาอา่ น-เขียนไมค่ ลอ่ ง รายงานผลการดำเนินโครงการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 5

ปัญหาดังกล่าวมาจากการเติบโตของสื่อดิจิตอล ที่เริ่มแย่งชิงพื้นที่การอ่านเชิงคุณภาพมากขึ้น แผนงาน เสริมสร้างวัฒนธรรมการอ่าน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงร่วมกับ \"We Voice\" จัด ประชมุ ระดมแนวคดิ \"การพฒั นาตัวช้วี ดั วัฒนธรรมการอ่านของคนไทย\" ณ อาคารศูนยเ์ รียนรูส้ ขุ ภาวะ สสส. นายอมรวิชช์ นาครทรรพ อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้เริ่มระดม ความคิดเห็นคนแรก เปิดเผยว่า ไม่ควรปล่อยให้เรื่องการอ่านเป็นไปตามกลไกตลาด เพราะถ้าปล่อยให้เป็นไปตาม กลไกตลาดกจ็ ะเห็นภาพของคนท่ไี ด้อ่าน กบั ไม่ไดอ้ ่าน น่นั คือคนมเี งินซ้อื และไม่ไดซ้ ื้อ \"เชื่อว่าการที่มีหนังสือดี ราคาถูกเป็นเรื่องสำคัญ และยังหวังอยากเห็นครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สามารถซอ้ื หนงั สือราคาถูกได้ หรือแม้แตก่ ารท่ีทุกตำบลจะเปดิ ร้านหนังสือของตวั เอง แตต่ ้องเปิดแล้วไม่เจ๊ง อีกทั้งการใช้ สื่อของไทยต่างจากการใชส้ ื่อสรา้ งวัฒนธรรมของเกาหลี ที่สอดแทรกวฒั นธรรมหรือจิตสำนึกผา่ นบทบาทตัวละคร แต่ส่ือ ของไทยเปน็ สือ่ สะท้อนปญั หาสังคมมากกวา่ เปน็ สื่อสร้างสงั คม สร้างค่านยิ มทดี่ ี\" นายอมรวิชชก์ ลา่ ว ถัดมา สิริกร มณีรินทร์ ที่ปรึกษาคณะกรรมการกำกับดูแลการจัดทำแผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรม การอา่ น ยกประเดน็ ข้อกฎหมายเก่ียวกบั การส่งเสรมิ การอ่านของสาธารณรัฐเกาหลี ซึง่ ผ้แู ทนกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี มองถึงการอ่านหนังสือเป็นวิธีที่ดีที่สุด ที่จะกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ เป็นรากฐานของเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ และทำให้วฒั นธรรมของเกาหลีตื่นตวั โดยในชว่ งปี 2549 สาธารณรัฐเกาหลีปรับปรุงกฎหมาพระราชบัญญัติ ส่งเสริมห้องสมุด และพ.ร.บ.ส่งเสริมการอ่านมากถึง 11 ครั้ง แสดงให้เห็นถึงการสร้างกลไกการส่งเสริมการอ่านอย่าง จริงจัง อยา่ งไรกต็ าม ไทยเองกม็ กี ฎหมายเก่ียวกับการสง่ เสริมการอ่าน คอื พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาติ มาตรา 25 ทก่ี ำหนด ไวช้ ัดเจนว่า รัฐบาลจะตอ้ งสร้างหอ้ งสมดุ พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรยี นรู้ สวนสาธารณะต่างๆ อย่างพอเพียงและมปี ระสทิ ธิภาพ \"ข้อมลู สำคญั ขององค์กรระบบยุตธิ รรมของสหรัฐอเมรกิ า ยำ้ ความสำคญั ด้านการส่งเสริมการอ่านว่า การไม่รู้หนังสือคือหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสัดส่วนอาชญากรรม เพราะมากกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ของคดีอาญาที่ เกิดขึ้นมาจากผู้ไม่รู้หนังสือ และกว่า 50 เปอร์เซ็นต์มีโอกาสตกเป็นเหยื่อ หรือถูกเอารัดเอาเปรียบ ที่ในบางกรณี กลายเป็นผ้ลู งมือกอ่ อาชญากรรมเสียเอง\" นางสริ ิกรกลา่ ว ด้าน นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานดิ์ หัวหน้ากลุ่มที่ปรึกษากรมสุขภาพจิตและโฆษกกระทรวง สาธารณสุข กล่าวว่า ขณะนี้ 4 ประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้แก่ สิงคโปร์ เกาหลี ฮ่องกง และไต้หวัน ไม่ได้แข่งขันเรื่อง เศรษฐกิจเพียงอย่างเดยี ว แต่ยงั เห็นปัจจยั สำคญั ในเรอื่ งของการศึกษา ท่เี ช่ือมโยงไปยังการส่งเสริมการอา่ น ซ่ึงในงานวิจัย ขา้ งตน้ น้นั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงคุณคา่ ตอ่ สงั คมไทย ทจี่ ะแสดงใหเ้ หน็ ถึงการพฒั นาของประเทศได้ ณะท่ี ศกุนตลา สุขสมัย ผอ.กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมวิทยบริการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เล่าถึงประเด็นการสร้างนิสัยรักการอ่านให้กับเยาวชน ว่า ที่ผ่านมาจะพบเด็กไทยไม่อ่านหนังสือ เพราะห้องสมุดในโรงเรียนเน้นวิชาการ จนทำให้เด็กติดภาพว่าเมื่อเข้าห้องสมุดแล้วจะต้องเข้าไปทำรายงาน หรืออ่าน หนังสือเพื่อเตรียมสอบเท่านั้น แต่ในปัจจุบันในส่วนรับผิดชอบของ สพฐ.มีส่วนร่วมกับภาครัฐและเอกชน ในการจัด กจิ กรรมท่สี ามารถทำได้ในห้องสมุด ทั้งนี้ เมื่อเด็กก้าวเข้าสู่รั้วโรงเรียนเด็กจะรักการอ่านได้ส่วนหน่ึง แต่การปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน น้ันจะตอ้ งทำตัง้ แตว่ ัยเดก็ และสามารถเรมิ่ ได้ท่ีครอบครวั โดยผู้ปกครองตอ้ งทำใหเ้ หน็ เป็นตัวอยา่ ง จงึ จะเป็นการสนับสนุน ใหเ้ ดก็ อยากอ่านหนงั สอื ตามดว้ ย รายงานผลการดำเนินโครงการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 6

เช่นเดียวกับ น.ส.นันทิยา สว่างวุฒิธรรม อดีตอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (สวธ.) กระทรวง วัฒนธรรม (วธ.) บอกวา่ จากการดำเนินงานจัดประกวดเรียงความหนงั สือเลม่ โปรดของฉัน โดยให้เยาวชนเลือกหนังสือที่ ชอบอา่ นนำมาเขยี นเรยี งความ ปรากฏมีเยาวชนจากตา่ งจังหวดั ที่ผปู้ กครองไมส่ ามารถซื้อหนังสือให้อ่านได้ แตเ่ กบ็ หนงั สือ จากกองขยะมาให้อ่าน สิ่งนี้ก็ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการอ่านได้แล้ว และยังสะท้อนให้เห็นถึงการส่งเสริมการอ่านจาก ผ้ปู กครอง ท่ีสรา้ งลักษณะนิสยั ของเด็กได้ ปิดท้ายด้วยผู้ที่อยู่ในแวดวงหนังสอื อย่าง สุชาดา สหัสกุล กรรมการสมาคม ผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่าย หนังสือแห่งประเทศไทย กลา่ ววา่ หมดเวลาแล้วท่ีจะคิดคำถามว่าทำไมคนไทยไม่อ่านหนังสือ แตค่ วรจะคิดว่าทำอย่างไร ให้คนไทยอ่านหนังสือ และจะทำอย่างไรให้ภาครัฐหันมาสนใจเรื่องการอ่าน และส่งเสริมการอ่านอย่างจริงจัง เพราะ ขณะน้ีร้านหนงั สือซเี อ็ดบคุ๊ กว่า 300 สาขาปดิ ตวั ลงแลว้ และสำนักพิมพ์บางแหง่ กำลงั ทยอยปดิ ตวั ลงเชน่ กัน \"เรื่องการล้มเลิกกิจการขายหนังสือแสดงให้เห็นว่าจำนวนของร้านหนังสือก็มีผลต่อปริมาณของคนอ่าน ดว้ ย เพราะหากผ้บู ริโภคมเี งินแตก่ ็ซื้อหนังสือไม่ได้ ธรุ กิจรา้ นหนงั สืออาจใช้เรื่องขายออนไลน์เข้าชว่ ยไดบ้ ้าง แต่ก็อาจมีผล กบั ผทู้ ่ีอนิ เตอร์ เนต็ เข้าไม่ถึงได้ ขณะเดียวกนั ยอดของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (อีบุ๊ก) ท่วั โลกกลบั ดง่ิ ตกทงั้ หมดเชน่ กัน\" นาง สชุ าดากลา่ ว แม้จะยังไม่มีบทสรุปของทิศทางสง่ เสริมการอ่านในไทย แต่อยา่ งน้อยก็เหน็ ดัชนวี ัดวัฒนธรรมการอ่านท่ี พอสังเขปให้คดิ ไดว้ า่ ถึงเวลาหรอื ยงั ทเี่ ราจะเผยแพร่วฒั นธรรมการอา่ นสู่ชีวิตของสงั คมไทย ทมี่ า : http://healthydee.moph.go.th/ https://www.thaihealth.or.th/Content/30402-วัฒนธรรมการอา่ น%20นิยมส่ือออนไลน์เพิม่ .html รายงานผลการดำเนินโครงการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 7

บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนินโครงการ งานห้องสมุดประชาชน กลุ่มงานจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอหนองฉาง ได้ดำเนินการโครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปี 2564 เพื่อส่งเสรมิ ให้มีทกั ษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรูด้ ้วยตนเอง และสามารถนำความรู้ไปใช้ ในการเรียนและพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชนและนักเรียน/นักศึกษา นักศึกษา กศน. และประชาชน ทัว่ ไป ในเขตพน้ื ท่ีอำเภอหนองฉาง จำนวน 100 คน มขี น้ั ตอนการดำเนนิ งานดงั นี้ ๑. การวางแผนดำเนนิ งาน - ประชุมช้ีแจง วางแผนการปฏบิ ัติงานและแต่งตงั้ คณะทำงาน - ประสานงานเครือขา่ ย/จัดสถานที่ในการจัดกจิ กรรม - เตรียมสอ่ื เอกสารและวัสดุ - จัดทำโครงการ/และขออนมุ ัติโครงการ - ดำเนินการจดั กจิ กรรมโครงการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นผ่านส่อื ออนไลน์ ประจำปี 2564 - สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการ ๒. กลุ่มเปา้ หมาย - นกั เรยี น นกั ศึกษา กศน. และประชาชนทว่ั ไป จำนวน 100 คน ๓. การดำเนนิ งานตามแผน ดำเนินการจดั กิจกรรมโครงการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านผา่ นสอื่ ออนไลน์ ประจำปี 2564 - กิจกรรมที่ 1 Grab Book ส่งหนงั สือถงึ บ้านตา้ นโควดิ - กิจกรรมที่ 2 คลปิ ส่งเสรมิ การอ่านผา่ นส่อื ออนไลน์ - กจิ กรรมท่ี 3 QR นา่ รู้ - กิจกรรมที่ 4 QR สง่ เสริมการอ่าน - กจิ กรรมที่ 5 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านส่อื ออนไลน์ - กจิ กรรมที่ 6 เกร็ดความรูผ้ ่านสือ่ ออนไลน์ - กิจกรรมที่ 7 Siri พาเพลิน รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 8

๔. ประเมนิ โครงการ ๔.๑ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจโครงการของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม ๔.๒ การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป จำนวน ๔ ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ส่วนที่ ๒ ด้าน ความพงึ พอใจต่อการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๔.๓ การวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยการหาคา่ เฉลยี่ ร้อยละ การหาค่าคะแนนเฉล่ยี (Mean : X) และคา่ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation : SD) การแปลความหมายของคะแนนระดับความพงึ พอใจ ใช้คา่ ตัวกลางเลขคณติ หรือคา่ คะแนนเฉลี่ย (Arithmetic Mean) มเี กณฑ์ท่กี ำหนดไวด้ ังนี้ ๔.๒๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ ผู้รับบรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดบั มากทีส่ ุด ๓.๔๑ – ๔.๒๐ หมายถงึ ผรู้ บั บรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดับมาก ๒.๖๑ – ๓.๔๐ หมายถึง ผู้รับบรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง ๑.๘๑ – ๒.๖๐ หมายถึง ผรู้ บั บรกิ ารมีความพึงพอใจในระดบั น้อย ๑.๐๐ – ๑.๘๐ หมายถึง ผู้รับบริการมีความพงึ พอใจในระดับน้อยท่สี ุด รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 9

บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานโครงการ ๑. ผลการดำเนินงาน งานหอ้ งสมุดประชาชน กลุม่ งานจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองฉาง ได้ดำเนินการจัดโครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อส่งเสริมให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถนำ ความรไู้ ปใชใ้ นการเรียนและพัฒนาคุณภาพชวี ิต กลุม่ เป้าหมาย นกั เรยี น นกั ศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป ในเขตพื้นที่ อำเภอหนองฉาง เข้ารว่ มโครงการจำนวน 100 คน โดยมรี ปู แบบการจัดกิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมที่ 1 Grab Book ส่งหนงั สือถงึ บา้ นต้านโควดิ - กจิ กรรมท่ี 2 คลิปส่งเสริมการอา่ นผ่านสือ่ ออนไลน์ - กจิ กรรมท่ี 3 QR น่ารู้ - กจิ กรรมที่ 4 QR สง่ เสริมการอ่าน - กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นผา่ นส่ือออนไลน์ - กจิ กรรมที่ 6 เกร็ดความรผู้ า่ นส่อื ออนไลน์ - กจิ กรรมที่ 7 Siri พาเพลิน 2. การประเมนิ ผลข้อมูลทัว่ ไป ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ ได้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน โดยทำการประเมิน ผลจากแบบสอบถาม ข้อมูลสว่ นตัว จำนวน รอ้ ยละ เพศ 32 32 ชาย 68 68 หญงิ อายุ -- ต่ำกวา่ 15 ปี 37 37 15 – 25 ปี 32 32 26 – 39 ปี 29 29 40 – 59 ปี 22 60 ปีขึ้นไป ระดบั การศกึ ษา -- อนุบาล -- ประถมศกึ ษา 17 17 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 21 21 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย -- อนปุ รญิ ญา 62 62 ปริญญาตรี รายงานผลการดำเนินโครงการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 10

ตารางท่ี 3 ข้อมลู ทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามโดยภาพรวมทุกกิจกรรม จำนวน 245 คน ข้อมูลส่วนตัว จำนวน ร้อยละ ประกอบอาชพี นักเรยี น/นกั ศกึ ษา 47 47 คา้ ขาย 7 7 ข้าราชการ/ลูกจา้ งหนว่ ยงานภาครัฐหรือเอกชน 42 42 เกษตรกร -- รบั จา้ ง 2 2 อน่ื ๆ ระบุ แมบ่ า้ น 22 จากตาราง พบวา่ ผู้ท่ีตอบแบบสอบถามมากท่ีสุดคือ เพศชาย จำนวน 103 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42 และ เพศ หญงิ จำนวน 142 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 58 ผู้ท่ีตอบคำถามมีอายตุ ่ำกวา่ 15 ปี ทั้งหมดจำนวน 245 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ในสว่ นระดบั การศกึ ษามผี ตู้ อบแบบสอบถามอยูร่ ะหว่างการศกึ ษาระดับประถมศึกษา จำนวน 245 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 และผูต้ อบแบบสอบถามเปน็ นักเรยี น/นกั ศกึ ษา จำนวน 245 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ตารางท่ี 4 ความพึงพอใจตอ่ การจัดกิจกรรม ระดับการประเมิน (รอ้ ยละ) คา่ เฉลย่ี ที่ รายการ มากทีส่ ดุ มาก ปาน น้อย น้อย - แปลผล 54 กลาง 2 ท่ีสุด X ด้านผู้ให้บรกิ าร 3 1 1 ความรคู้ วามสามารถในเร่ืองท่จี ดั กจิ กรรม 89 11 0 0 0 4.89 มากทส่ี ุด 2. เทคนิค/วธิ ีการจดั กิจกรรม 90 10 0 0 0 4.90 มากท่ีสดุ คา่ เฉลี่ย 89.5 10.5 0 0 0 4.90 มากที่สุด ด้านขนั้ ตอนกระบวนการใหบ้ รกิ าร 3. ข้ันตอนการใหบ้ รกิ ารทีช่ ดั เจน เข้าใจงา่ ย 88 12 0 0 0 4.88 มากทส่ี ดุ 4. มขี ้อตกลงและเงอื่ นไขต่างๆ ในการให้บรกิ าร 90 10 0 0 0 4.90 มากท่ีสุด 5. การเปดิ โอกาสใหผ้ ูร้ ับบริการแสดงความคดิ เห็น 92 8 0 0 0 4.92 มากที่สดุ 6. การตดิ ตามและให้คำแนะนำเพมิ่ เติมหลังจาก 90 10 0 0 0 4.90 มากทส่ี ุด เขา้ รว่ มกจิ กรรมของผ้จู ดั คา่ เฉล่ีย 90 10 0 0 0 4.90 มากทส่ี ดุ รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 11

ระดบั การประเมิน (ร้อยละ) คา่ เฉลี่ย ที่ รายการ มากท่สี ุด มาก ปาน น้อย น้อย - แปลผล 54 กลาง 2 ท่ีสุด X 3 1 ด้านส่ือการอำนวยความสะดวกแก่ผู้รับบรกิ าร 7. การนำเสนอสื่อมคี วามเหมาะสม 90 10 0 0 0 4.90 มากทส่ี ดุ 8. ช่องทางการนำเสนอสะดวกต่อการรับบริการ 88 12 0 0 0 4.88 มากทสี่ ุด 9. การบรกิ ารส่ือ ทนั สมยั และหลากหลาย รวดเร็ว 89 11 0 0 0 4.89 มากทส่ี ุด ค่าเฉลยี่ 89 11 0 0 0 4.89 มากท่ีสดุ ด้านคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 10. กจิ กรรมท่จี ดั มปี ระโยชนแ์ ละสอดคล้องกับความ 90 10 0 0 0 4.90 มากทีส่ ุด ตอ้ งการของผ้รู บั บริการ 11. ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณท์ ีไ่ ดร้ บั 90 10 0 0 0 4.90 มากที่สุด สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง 12. กจิ กรรมที่จดั สามารถส่งผลดตี อ่ การพัฒนาคน 92 8 0 0 0 4.92 มากที่สุด สังคม และชุมชน คา่ เฉล่ยี 90.7 9.3 0 0 0 4.91 มากที่สดุ ค่าเฉล่ียรวม 89.8 10.2 0 0 0 4.90 มากที่สุด หมายเหตุ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับความคิดเหน็ (Rating Scale) โดยมเี กณฑ์กำหนดความคดิ เห็น ดงั นี้ ๔.๒๑ – ๕.๐๐ หมายถึง ผรู้ ับบริการมีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสดุ ๓.๔๑ – ๔.๒๐ หมายถึง ผู้รบั บริการมีความพึงพอใจในระดบั มาก ๒.๖๑ – ๓.๔๐ หมายถงึ ผรู้ บั บริการมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ๑.๘๑ – ๒.๖๐ หมายถงึ ผรู้ ับบริการมีความพงึ พอใจในระดบั น้อย ๑.๐๐ – ๑.๘๐ หมายถึง ผู้รับบริการมีความพงึ พอใจในระดบั น้อยท่สี ุด จากตารางพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปี 2564 มีความ พงึ พอใจอยู่ในระดับมากทีสุด มีค่าเฉล่ียเทา่ กับ 4.90 เมอ่ื พิจารณารายละเอียดแต่ละด้านพบว่าผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมีความ พึงพอใจระดับมากที่สุดคือ ด้านคุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีค่าเฉลี่ย สูงสุดคือ 4.91 รองลงมาคือ ด้าน ผู้ให้บริการและด้านขั้นตอนกระบวนการให้บริการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.90 รองลงมาคือด้านสื่อการอำนวยความสะดวก แก่ผู้รบั บรกิ าร มีค่าเฉล่ยี เทา่ กับ 4.89 รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 12

บทที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ รายงานผล โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปี 2564 เพื่อส่งเสริมให้มี ทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการเรียนและ พัฒนาคุณภาพชวี ิต กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชนและนักเรยี น/นักศึกษา นกั ศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป ในเขตพ้ืนท่ี อำเภอหนองฉาง จำนวน 100 คน มีการสรุปผลและขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้ ๑. สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ดำเนินงาน งานห้องสมุดประชาชน กลมุ่ งานจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอหนองฉาง ได้ดำเนินการจัดโครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปี 2564 เพื่อส่งเสรมิ ให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรูด้ ้วยตนเอง และสามารถนำความรู้ไปใช้ ในการเรียนและพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชนและนักเรียน/นักศึกษา นักศึกษา กศน. และประชาชน ทว่ั ไปในเขตพื้นท่ีอำเภอหนองฉางเข้าร่วม โครงการจำนวน 100 คน โดยมีรูปแบบการจัดกจิ กรรมดังน้ี - กจิ กรรมท่ี 1 Grab Book ส่งหนังสือถงึ บ้านตา้ นโควิด - กิจกรรมท่ี 2 คลปิ ส่งเสรมิ การอา่ นผ่านสอ่ื ออนไลน์ - กจิ กรรมที่ 3 QR นา่ รู้ - กิจกรรมท่ี 4 QR สง่ เสริมการอ่าน - กิจกรรมท่ี 5 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านผา่ นสื่อออนไลน์ - กิจกรรมท่ี 6 เกร็ดความรูผ้ ่านสอ่ื ออนไลน์ - กจิ กรรมที่ 7 Siri พาเพลนิ เพื่อใหท้ ราบถึงผลการดำเนนิ งานและนำผลท่ไี ดไ้ ปพฒั นางานในโอกาสต่อไป จงึ ได้ทำการประเมินผล โครงการโดยใช้แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือตอนที่ 1 ข้อมูล ทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยหารค่าร้อยละ และตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมลักษณะคำถามเป็นแบบ ประมาณคา่ ให้คะแนน 5 ระดับ โดยการหาคา่ เฉลี่ยและจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้ารว่ มโครงการและการสอบถาม ผู้เข้าร่วมโครงการ เพ่อื นำข้อเสนอแนะมาสรปุ บรรยาย ซึง่ ผลได้ดงั นี้ การประเมินผลความพึงพอใจ ในภาพรวมของโครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์ ประจำปี 2564 ในระดับดมี าก มคี ่าเฉลี่ย เทา่ กับ 4.90 ๒. ปญั หา อุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะ ปญั หา อปุ สรรค 1. ด้านการบรกิ าร Internet ไมเ่ สถียร ทำให้การผลิตส่ือลา่ ช้า 2. ผู้รับบริการไม่สามารถเขา้ ถงึ การบริการได้ เนอ่ื งจากไมม่ ีเครือขา่ ย Internet และอุปกรณ์ทใ่ี ชร้ ่วมกจิ กรรม ขอ้ เสนอแนะ ควรมรี ปู แบบกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นออนไลนท์ ่หี ลากหลาย รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 13

ประมวลภาพกจิ กรรมโครงการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นผ่านส่อื ออนไลน์ ประจำปี 2564 กิจกรรมที่ 1 Grab Book สง่ หนงั สอื ถึงบา้ นตา้ นโควิด รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 14

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 15

กิจกรรมท่ี 2 คลปิ สง่ เสริมการอา่ นผ่านส่อื ออนไลน์ รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 16

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 17

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 18

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 19

กจิ กรรมท่ี 3 QR น่ารู้ รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 20

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 21

กจิ กรรมที่ 4 QR ส่งเสรมิ การอา่ น รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 22

กิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านผ่านสอื่ ออนไลน์ รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 23

กิจกรรมท่ี 6 เกรด็ ความรู้ผ่านสือ่ ออนไลน์ รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 24

กจิ กรรมท่ี 7 Siri พาเพลนิ รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านออนไลน์ ประจำปี 2564 25

เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกบั การดำเนินโครงการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านผ่านส่ือออนไลน์ ประจำปี 2564 รายงานผลการดำเนินโครงการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 26

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 27

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 28

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 29

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 30

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 31

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 32

รายงานผลการดำเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลน์ ประจำปี 2564 33

ท่ีปรกึ ษา คณะทำงาน 1. นายสุธี เสรพี งษ์ ผอ.กศน.อำเภอหนองฉาง ผู้รับผดิ ชอบโครงการ บรรณารักษช์ ำนาญการพเิ ศษ บรรณารักษ์ 1. นางสมพร สขุ สโมสร 2. นางสาวทิตยา ประสม บรรณารกั ษช์ ำนาญการพิเศษ ครผู ชู้ ว่ ย ผู้ประสานโครงการ ครูผูช้ ว่ ย ครอู าสาสมัคร 1. นางสมพร สุขสโมสร ครูอาสาสมัคร 2. นางจันทร์จิรา แกว้ ดี ครู กศน. ตำบล 3. นายวุฒพิ ร เมฆาสวัสดวิ์ งศ์ ครู กศน. ตำบล 4. นางอรฑชิ า ภมุ รินทร์ ครู กศน. ตำบล 5. นางสาวดาวไสว กสุ ุโมทย์ ครู กศน. ตำบล 6. นางกำไร สุวรรณกจิ ครู กศน. ตำบล 7. นางวมิ ลรตั น์ แสงงาม ครู กศน. ตำบล 8. นางสาวชนิศรา เกตคุ ำ ครู กศน. ตำบล 9. นางปรียาภรณ์ กรุงกวี ครู กศน. ตำบล 10. นายวนิ ยั อ่อนกล่ำ ครู กศน. ตำบล 11. นายกฤษฎา ดว้ งอ่วม ครู กศน. ตำบล 12. นายธนา อ่อนกล่ำ เจา้ หนา้ ที่บันทกึ ข้อมูล 13. นางสาวนติ ยา ปาจติ ต์ บรรณารกั ษ์อตั ราจา้ ง 14. นายสมชาย เลห่ งส์ 15. นางสาวกนลรตั น์ เก่งเขตรกรณ์ บรรณารักษ์ชำนาญการพเิ ศษ 16. นายอนุสรณ์ อนิ ทร์โอภาส บรรณารักษ์ 17. นางสาวทติ ยา ประสม เรยี บเรียงข้อมูล/จดั พิมพเ์ อกสาร 1. นางสมพร สุขสโมสร 2. นางสาวทติ ยา ประสม