Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in 2564

รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in 2564

Description: รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in 2564

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอหนองฉาง เป็นสถานท่ีให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นแหลง่ เรียนร้ตู ลอดชวี ติ ของประชาชนในชุมชน มบี ทบาทหน้าท่ีในการจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามอธั ยาศยั เพอื่ สง่ เสริม ให้เด็ก เยาวชน นักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการ พฒั นาคนให้เรยี นรู้ กลา้ คดิ กล้าทา กล้าแสดงออก และสามารถนาความรทู้ ไี่ ด้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ท้ังน้ี ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอหนองฉาง จึงดาเนินการสรุปผลการดาเนินงาน โครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 ฉบับนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารการสรุปผลการดาเนินงานฉบับน้ี อาจมีคุณค่าต่อการพัฒนาในการดาเนินงานการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ในอนาคต และขอขอบคุณหน่วยงาน คณะผดู้ าเนินงาน ผู้มสี ่วนร่วมในการดาเนนิ การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านได้บรรลุ วตั ถุประสงค์ มา ณ โอกาสนี้ กลมุ่ งานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กศน.อาเภอหนองฉาง

ข สำรบัญ เร่ือง หน้ำ คานา......................................................................................................................... ..........................ก สารบัญ................................................................................................ ................................................ข สารบัญตาราง.................................................................................................................. ....................ค บทท่ี ๑ บทนา.....................................................................................................................................1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงการ.......................................................................... ..1 วัตถุประสงค์โครงการ……………………………………………………………………………………………….1 วิธีการดาเนนิ การ..................................................................................................................2 ผลลพั ธ.์ .................................................................................................................................3 ดัชนชี วี้ ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ.............................................................................................3 การตดิ ตามและการประเมนิ ผลโครงการ................................................................................4 บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ียวข้อง.................................................................................................................5 บทท่ี 3 การดาเนนิ โครงการ..............................................................................................................12 การวางแผนการดาเนินงาน...................................................................................................12 กลุ่มเปา้ หมาย.......................................................................................................................12 การดาเนนิ งานตามแผน........................................................................................................12 การประเมนิ โครงการ............................................................................................................12 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงานโครงการ...................................................................................................13 ผลการดาเนินงาน.............................................................................................................. ..13 ผลของการประเมินความพงึ พอใจ………………………………………………………………………….…14 บทที่ 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ.....................................................................................................16 สรุปผลการดาเนินงาน........................................................................................................16 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ........................................................................................16 ภาคผนวก ก.....................................................………………………………………………………………………..17 ภาคผนวก ข.......................................................................................................................................19

ค สำรบัญตำรำง หนำ้ ตารางท่ี 1 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ...............................................................................................2 ตารางท่ี 2 วิธกี ารดาเนินการ............................................................................................ ...................2 ตารางท่ี 3 ประเมินผลข้อมลู ท่วั ไป…………..…………………………………………………………….……………….13 ตารางที่ 4 ความพึงพอใจตอ่ การจัดกจิ กรรม......................................................................................14

บทที่ ๑ บทนำ ๑. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของโครงกำร พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับบที่ 2) พ.ส. 2545 มีสาระสาคัญ ด้านการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เด่นชดั ถงึ การสร้างบคุ คล สงั คม ตลอดจนองคก์ รใหเ้ ป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นให้คนไทยทุกคนเป็นคนใฝ่รู้ สามารถแสวงหาความรู้เพ่ือพัฒนาสติปัญญาและการดารงชีวิตได้ อย่างปกติสุข ซ่ึงสาระสาคัญเหล่านี้จะเป็นจริงได้ก็ด้วยความร่วมมือจากทั้งสถาบันครอบครัว และประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนในชุมชน และแนวทางการขับเคล่ือนนโยบายส่งเสริมการอ่านของสานักงาน กศน. พ.ศ. 2561 – 2564 วิสัยทัศน์ “คนไทยทุกช่วงวัยมีนิสัยรักการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต” โดยพัฒนาคนไทยทุก ช่วงวัยให้มีทักษะและมินิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยกิจกรรมส่งเสริมการอ่านทุกรูปแบบ ขยายและ พฒั นาแหล่งการเรียนรู้ได้ทนั สมัย รวมท้งั สภาพแวดลอ้ มตอ่ การอา่ นทกุ กลุ่มเป้าหมาย พฒั นาระบบบริการใหป้ ระชาชนได้ เขา้ ถึงสื่อส่งเสรมิ การอ่านได้สะดวกพรอ้ มเข้าสูส่ ังคมดิจทิ ลั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองฉาง โดยห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอหนองฉาง ได้ตระหนกั ถึงความสาคญั ในการรณรงค์สง่ เสริมการอา่ นจงึ ได้จดั โครงการจัดกจิ กรรม สนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 เพื่อส่งเสริมให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มี นิสัยรักการอา่ นและการเรียนรดู้ ้วยตนเอง และสามารถนาความร้ไู ปใชใ้ นการเรียนและพฒั นาคุณภาพชีวติ ๒. วตั ถปุ ระสงค์โครงกำร 1. เพ่อื ให้มีทักษะในการฟัง พดู อา่ น เขยี น 2. เพื่อให้มนี ิสยั รกั การอ่านและการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 3. เพอ่ื ให้นาความรู้ไปใชใ้ นการเรยี นและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ๓. ขอบเขตและรำยละเอียดของงำน 3.1 เชิงปริมำณ - นกั เรยี น/เยาวชน จานวน 100 คน 3.2 เชงิ คณุ ภำพ 1. ผรู้ ับบรกิ ารมที กั ษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน 2. ผ้รู ับบรกิ ารมินิสัยรกั การอ่านและการเรียนร้ดู ้วยตนเอง 3. ผ้รู บั บรกิ ารนาความร้ไู ปใช้ในการเรยี นและพฒั นาคุณภาพชีวติ ๓.3 งบประมำณ - แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 5 ผู้รับบริการ การศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดาเนินงาน (501 งบบริหารห้องสมุดประชาชน) รายละเอียดดังน้ี - คา่ วัสดุสาหรบั จดั กิจกรรม จานวน 2,500 บาท (-สองพนั ห้ารอ้ ยบาทถว้ น-) รวมใชง้ บประมาณท้งั สน้ิ 2,500 บาท (-สองพนั หา้ รอ้ ยบาทถ้วน-) รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสนกุ อ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 1

ตำรำงที่ 1 แผนกำรใช้จ่ำยงบเงนิ ประมำณ กจิ กรรมหลัก ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 (ต.ค-ธ.ค.63) (ม.ค.-มี.ค.64) (เม.ย-ม.ิ ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) 1.สารวจความตอ้ งการประชาชน/ กลุ่มเปา้ หมาย √ √ 2.ประชุมวางแผนการดาเนินงานและ √ จัดทาโครงการ √ √ 3.เสนอโครงการเพ่ือขออนุมตั ิ 4.จัดกิจกรรมโครงการจดั กจิ กรรม √ สนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library √ ประจาปงี บประมาณ 2564 5.นิเทศ ติดตาม ผลการดาเนินงาน เป็นระยะอยา่ งต่อเน่ือง 6.สรปุ ผลและรายงานผลกาดาเนินงาน ๓.๓ สถำนที่ - ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอหนองฉาง ๓.๔ ระยะเวลำ - เดือนพฤศจกิ ายน 2563 – เดือนมนี าคม 2564 ๓.๕ โครงกำรที่เกย่ี วขอ้ ง - โครงการส่งเสริมการอ่านห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอหนองฉาง ใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดชีวติ ของชุมชน ๔. วธิ ีกำรดำเนนิ กำร ตำรำงท่ี 2 วธิ กี ำรดำเนนิ งำน กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปำ้ หมำย เป้ำหมำย พน้ื ทดี่ ำเนนิ กำร ระยะเวลำ งบประมำณ (คน) อาเภอหนองฉาง 1.สารวจความ เพอ่ื สารวจความ นกั เรยี น/ 14 - ต้องการจาก ตอ้ งการประชาชน/ เยาวชน 100 คน กศน.อาเภอ พฤศจิกายน - กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย หนองฉาง 18 คน 2563 1. ประชมุ และวาง เพ่ือแต่งตั้ง ผ้บู ริหารและ แผนการดาเนินการ คณะทางาน/ขอ บุคลากร กศน. 28 และจดทาโครงการ อนมุ ตั โิ ครงการใน มกราคม เพ่ือเสนอขออนุมตั ิ การดาเนินงาน 2564 รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสนกุ อ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปงี บประมาณ 2564 2

กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้ำหมำย เป้ำหมำย พืน้ ทด่ี ำเนินกำร ระยะเวลำ งบประมำณ เครอื ข่าย (คน) - 3.ประสาน ประสานงานเขา้ โรงเรยี นขนาด 28 เครอื ข่ายทเ่ี กย่ี วข้อง ร่วมกจิ กรรมกับ นกั เรียน/ 100 คน เลก็ บรเิ วณ มกราคม ผลผลติ ท่ี 5 และประชาสัมพนั ธ์ โรงเรียนขนาดเล็ก เยาวชน ใกลเ้ คียงใน 2564 งบดาเนนิ งาน โครงการ บรเิ วณใกล้เคยี งใน อาเภอหนองฉาง จานวน อาเภอหนองฉาง พฤศจิกายน 2,500 บาท 4. ดาเนนิ การจัด 1. ผู้รบั บริการมี หอ้ งสมุด 2563 – กิจกรรม ทกั ษะในการฟงั ประชาชน “เฉลมิ มีนาคม - กิจกรรมท่ี 1 พูด อา่ น เขยี น ราชกุมารี” 2564 ระบายสตี ุ๊กตาปูน 2. ผ้รู บั บริการมิ อาเภอหนองฉาง พาสเตอร์ นิสยั รักการอา่ น - กิจกรรมที่ 2 และการเรียนรู้ดว้ ย นทิ านพาเพลนิ ตนเอง - กจิ กรรมที่ 3 3. ผ้รู ับบรกิ ารนา อา่ นง่ายได้อาชีพ ความรู้ไปใช้ในการ - กจิ กรรมที่ 4 เรยี นและพฒั นา อะไรอยู่ในไข่ คุณภาพชวี ิต 5.นเิ ทศตดิ ตามผล -เพ่อื ตดิ ตามผลการ กศน.อาเภอ มนี าคม การดาเนนิ งาน ดาเนินงาน หนองฉาง 2564 6.สรปุ ผลและ -เพอ่ื แก้ปัญหา เมษายน รายงานผลการ อปุ สรรค มา 2564 ดาเนินงาน ปรับปรุงพัฒนาในปี ตอ่ ไป ๕. ผลลพั ธ์ มที กั ษะในการฟงั พดู อ่าน เขียน มีนสิ ัยรักการอ่านและการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง และนาความรู้ไปใชใ้ นการเรียน และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ๖. ดัชนชี ีว้ ดั ผลสำเร็จของโครงกำร ตัวชีว้ ัดผลผลิต (Output) รอ้ ยละ 80 ของผรู้ บั บริการมีทักษะในการฟัง พดู อ่าน เขยี น ตวั ชีว้ ัดผลลัพธ์ (Outcome) ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีนสิ ัยรกั การอ่านและการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ร้อยละ 80 ของผู้รบั บริการนาความรไู้ ปใช้ในการเรียนและพัฒนาคุณภาพชีวิต รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 3

๗. กำรติดตำมผลกำรดำเนินงำน - การสังเกต, สัมภาษณ์ - การประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการ - ภาพกจิ กรรม รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปงี บประมาณ 2564 4

บทท่ี 2 เอกสำรทเ่ี กีย่ วขอ้ ง หลักกำรฟงั การฟัง คือ การรบั รู้ความหมายจากเสียงทไี่ ดย้ ิน เป็นการรบั ร้สู ารทางหู ท้งั ท่ีฟงั จากบุคคลโดยตรง และฟังจาก จากส่ืออเิ ล็คทรอนิคสต์ า่ ง ๆเพราะข่าวสาร ความรแู้ ละศลิ ปะวทิ ยาการต่าง ๆที่มนษุ ย์ถา่ ยทอดกนั ตงั้ แตส่ มยั โบราณจนถงึ ปัจจุบันยงั ใชว้ ธิ ีการพูดอธิบายให้ฟังแม้จะมหี นังสอื บนั ทึกไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรแลว้ กต็ าม หลกั กำรฟงั ท่ีดี การฟงั ทีด่ มี ีหลักสาคญั คือ 1. ฟงั ให้ตรงตามความมงุ่ หมาย โดยทว่ั ไปแลห้ ลักการฟงั มีความมุ่งหมายหลกั 3 ประการ 1.1 ฟังเพอื่ ความเพลดิ เพลนิ ไดแ้ ก่ การฟังเรื่องราวทส่ี นุกสนาน 1.2 ฟังเพอ่ื ความรู้ ได้แก่ การฟังเร่อื งราวทางวชิ าการ ขา่ วสารและข้อเสนอแนะตา่ งๆ 1.3 ฟังเพ่ือให้ไดค้ ตชิ ีวิตหรอื ความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟังที่ก่อใหเ้ กดิ สติปญั ญา ความสขุ มุ และวิจารณญาณ 2. ฟังโดยมีความพร้อม ความพร้อมในท่ีน้ี หมายถึง ความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ ความพร้อมทางร่างกาย หมายถึง การมีสุขภาพทางรา่ งกายเป็นปกติ ความพร้อมทางจติ ใจ หมายถึง การมีพื้นฐานความรูค้ วามเข้าใจอยา่ งเพยี งพอ 3. ฟงั โดยมีสมาธิ หมายถึง ฟงั ด้วยความต้งั ใจม่ันจดจอ่ อยู่กับเรือ่ งที่ฟัง 4. ฟงั ด้วยความกระตือรอื รน้ 5. ฟงั โดยไมอ่ คติ ผูพ้ ูดโดยไม่อคตติ อ้ งพจิ ารณาให้ละเอียดถี่ถว้ นไม่เป็นโทษแก่ผู้อนื่ มำรยำทในกำรฟัง 1. เมอ่ื ฟงั อยู่เฉพาะหน้าผใู้ หญ่ ควรฟังโดยสารวมกิรยิ ามารยาท ฟังด้วยความสุภาพเรียบร้อย และต้ังใจฟัง 2. การฟังในท่ปี ระชุม ควรเข้าไปน่ังก่อนผพู้ ูดเริ่มพดู โดยน่งั ท่ดี ้านหน้าใหเ้ ตม็ ก่อนและควรตง้ั ใจฟงั จนจบเร่ือง 3. จดบันทกึ ขอ้ ความที่สนใจหรือขอ้ ความท่ีสาคญั หากมขี อ้ สงสัยเก็บไวถ้ ามเม่ือมโี อกาสและถามด้วยกริ ิยาสุภาพ 4. มองสบตาผู้พูด ไม่มองออกนอกห้อง หรือมองไปท่ีอื่น อันเป็นการแสดงว่าไม่สนใจเรื่องที่พูด และไม่เอา หนังสือไปอา่ นขณะทฟี่ ัง หรอื นาอาหารเครื่องด่มื เข้าไปรับประทานระหว่างฟัง 5. ฟังดว้ ยใบหน้ายิม้ แยม้ แจ่มใสเป็นกนั เองกบั ผู้พูด แสดงสหี นา้ พอใจในการพูด ไม่มีแสดงกิรยิ าก้าวร้าว เบื่อ 6. ฟงั ด้วยความสขุ ุม ไม่ควรก่อความราคาญให้บุคคลอ่ืน ควรรักษามารยาทและสารวมกริ ิยา ไม่หัวเราะเสียงดัง 7. ฟงั ดว้ ยความอดทนแมจ้ ะมคี วามคิดเห็นขัดแยง้ กับผู้พดู ก็ควรมีใจกวา้ งรบั ฟงั อย่างสงบ 8. ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะที่ฟัง ควรฟงั เรอื่ งให้จบก่อนแลว้ ค่อยซกั ถามหรือแสดงความคดิ เหน็ 9. ควรให้เกียรตวิ ทิ ยากรดว้ ยการปรบมอื เมอื่ มีการแนะนาตวั ผ้พู ดู ภายหลงั การแนะนา และเมื่อวทิ ยากร พดู จบ หลักกำรฟงั ท่ดี ี มีดังน้ี การฟงั ตอ้ งมีจดุ มุ่งหมาย มจี ุดมงุ่ หมายหลกั 3 ประการ คือ 1. ฟังเพอ่ื ความรู้ ได้แก่ การฟังเร่ืองราวทีเ่ ป็นวชิ าการ ข่าวสารและขอ้ แนะนาตา่ ง ๆ 2. ฟังเพ่ือความเพลิดเพลนิ คอื การฟงั เรอื่ งราวท่ีสนุกสนานเพลิดเพลนิ 3. ฟังเพอื่ ให้ได้รับคตหิ รอื ความจรรโลงใจ คือ การฟังเรอื่ งที่ทาใหเ้ กดิ แนวคิด และสติปัญญา รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนกุ อ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปงี บประมาณ 2564 5

หลกั กำรพดู การพูด มคี วามสาคญั ต่อชีวติ มนษุ ย์เปน็ อนั มากไม่ว่าจะอยู่ ณ ทใ่ี ด ประกอบกิจการงานใด ประเภทของกำรพดู แบง่ ได้ 2 ประเภท คอื 1. กำรพดู ระหวำ่ งบคุ คล ไดแ้ ก่ 1.1 การทกั ทายปราศยั ลักษณะการทกั ทายปราศัยทีด่ ดี ังนี้ - หนา้ ตาย้มิ แย้มแจม่ ใส แสดงอาการยินดที ่ีได้พบผู้ทเี่ ราทกั ทาย - กล่าวคาปฏสิ ันถารท่เี ป็นทีย่ อมรับกนั ในสังคม เชน่ สวัสดีครับ สวัสดีคะ่ - แสดงกิริยาอาการประกอบคาปฏิสันถาร - ขอ้ ความท่ใี ช้ประกอบการทกั ทายควรเป็นเรื่องทีก่ ่อใหเ้ กิดความสบายใจ 1.2 การแนะนาตนเอง การแนะนาเป็นสิ่งจาเป็นและมีความในการดาเนินชีวิตประจาวัน บุคคลอาจแนะนา ตนเองในหลายโอกาสด้วยกันการแนะนาตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้ คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัว เราและบอกวตั ถุประสงค์ในการแนะนาตัว 1.3 การสนทนา หมายถึง การพูดคุยกนั พูดจาเพ่ือนสอ่ื สารแลกเปลี่ยนความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ คณุ สมบัตขิ องการสนทนาที่ดี คือ - หนา้ ตายิ้มแย้มแจม่ ใส - ใช้ถอ้ ยคาสานวนภาษาท่งี ่าย ๆ สุภาพ คาพูดและน้าเสยี งน่าฟังเป็นกนั เองกบั คสู่ นทนา 2. กำรพูดในกลุ่ม การพดู ในกลุ่มเปน็ กจิ กรรมท่ีสาคญั ในสมยั ปัจจุบัน ท้ังในชีวิตประจาวนั และในการศกึ ษาเป็นเปิดโอกาสใหส้ มาชิก ในกลุ่มไดซ้ กั ถาม แสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั เหตุการณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ แลว้ มาเลา่ ให้ฟังกนั มวี ธิ ีการดงั ต่อไปนี้ - เล่าถงึ เนื้อหาและประเดน็ ประเดน็ สาคัญ ๆ ว่ามอี ะไรบ้าง - ภาษาทใ่ี ช้ควรเป็นภาษาทงี่ ่าย - นา้ เสยี งชดั เจนน่าฟงั เนน้ เสยี งในตอนท่ีสาคัญ - ใช้กริ ิยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม - ผเู้ ล่าเร่อื งควรจาเรอ่ื งได้เปน็ อย่างดี มำรยำทในกำรพูด 1. เตรียมตวั ให้พรอ้ ม 2. มีกริ ยิ าทา่ ทางดี 3. ใช้คาพดู สภุ าพเหมาะสมกบั เรื่องทีพ่ ูด 4. ควบคุมอารมณใ์ นขณะทพ่ี ูด 5. รับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื 6. ควรพดู ใหเ้ หมาะสมกับเวลา ควำมสำคญั การอ่านเป็นทักษะที่มีความสาคัญ และมีคุณค่ายิ่ง เพราะการอ่านทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองราวต่าง ๆ ซ่ึงจะเป็นพ้ืนฐานสาคัญอย่างยิง่ ต่อการศึกษา และการดาเนินชีวติ ประจาวันต่อไป เก่ียวกับเรื่องความสาคัญของการอา่ น นนั้ ไดม้ ีนกั การศึกษาได้กลา่ วถึงความสาคัญของการอา่ นไวด้ ังน้ี รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 6

บันลือ พฤกษะวนั (2532 : 10 – 11 ) ไดก้ ลา่ วถึงความสาคัญของการอ่านไว้ดงั น้ี 1. การอา่ นเปน็ เครอ่ื งมือสาคัญในการเรียนรู้ หากอ่านไม่ได้ การเรียนการสอนยอ่ มพบอปุ สรรคอย่าง ใหญ่หลวง พฤติกรรมในการเรียนของเด็กจะเปล่ียนไป หงอยเหงา เก็บกด หรือมิฉะน้ันจะแสดงออกต่าง ๆ ในลักษณะ ทดแทนปมด้อยเหลา่ น้ันก็มี ครจู าเปน็ ตอ้ งเอาใจใส่ ช่วยเหลอื แก้ไข ( ซอ่ มเสรมิ ) ตัง้ แต่เริม่ อ่านบทเรียนแรกทันที 2. เด็กท่ีอ่านได้ย่อมได้รับการยอมรับ สามารถร่วมเรียนร่วมเล่นกับเพ่ือน ๆ ได้ดี ตรงกันข้ามการท่ี เด็กมอี ปุ สรรคในการอ่าน ย่อมขาดความอบอุ่น ขาดความม่ันใจในตนเอง 3. การอ่านได้ อ่านเป็น เป็นส่ิงที่ส่งเสริมให้เด็กได้รับความรู้เก่ียวกับสภาพแวดล้อมท้ังนี้เพราะไม่ว่า โรงเรียนหรอื สถาบันการศึกษาใดในโลก ก็ไมอ่ าจจดั ประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้อย่างสมบรู ณ์ที่สดุ การอ่านจึงเป็นเครื่องมือ สาคญั ทเ่ี ด็กจะค้นควา้ เพมิ่ เตมิ ไดอ้ ย่างจใุ จ หรอื ตามความจาเปน็ ของเด็กเหลา่ นัน้ ไดด้ ี 4. การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการประกอบธุรกิจ การปรับปรุงอาชีพเม่ือพ้นวัยประถมศึกษา อาจเรยี นรจู้ ากกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนไดอ้ ีกทางหนงึ่ 5. การอ่านมีความจาเป็นต่อการเป็นพลเมือดีท่ีจะรู้ข่าวสาร เหตุการณ์ของบ้านเมืองการปกครองที่ พลเมอื งดจี ะต้องให้ความรว่ มมอื แก่ทางราชการได้ดี 6. การอ่านจะเปน็ เครื่องมืออย่างสาคญั ในการพนิ ิจ เลือกตัดสนิ ใจท่จี ะเลอื กตวั แทน ในดา้ นการเมือง การปกครอง อันเป็นรากฐานสาคัญของระบบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั ริย์เปน็ ประมขุ 7. การอ่านย่อมเป็นกิจกรรมสาคัญที่จะช่วยให้เด็กวัยประถมศึกษา หรือพ้นวัยประถมศึกษาก็ตาม สามารถใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชนโ์ ดยใชก้ ารอา่ น ท้งั ยงั จะได้รบั ความเพลดิ เพลนิ ชว่ ยพัฒนาจิตใจ และอนื่ ๆ ไดด้ อี กี ด้วย 8. การอ่านจะทวีความสาคัญมากขึ้นโดยลาดับท่ีช่วยให้รอบรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การสื่อสาร การพยากรณ์อากาศ เพ่ือการปรับตน ปรับปรุงอาชีพ ย่ิงสังคมเจริญขึ้นมากเพียงใด การอ่านก็จะทวี ความสาคญั มากขน้ึ เพียงน้นั ชุติมา สุวิทยารัตน์ (2541 : 16) ได้กล่าวว่าการอ่านเป็นความจาเป็นขั้นพื้นฐานเพื่อการศึกษาหาความรู้ และ เพ่ิมพูนประสบการณ์เพ่ือการดารงชีวิตในสังคม และการอ่านยังเป็นทักษะที่นักเรียนใช้ในการศึกษาหาความรู้ใน เน้อื หาวิชาต่าง ๆ ทุกกล่มุ ทกั ษะวิชา และการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ความเปน็ อยใู่ นอนาคต เบ็ญจมาศ กาลาศรี (2544 : 15 – 16) ได้กล่าวถึงความสาคัญของการอ่านว่า การอ่านมีความสาคัญในการ ดาเนินชีวิต เพราะการอ่านเป็นวิธีการที่สาคัญในการแสวงหาความรู้สรรพวิทยาต่าง ๆ การอ่านจะช่วยพัฒนาสติปัญญา ของผอู้ ่านให้สูงขึ้น ถือได้ว่าการอ่านเปน็ หัวใจของการจดั กจิ กรรมทัง้ หลาย สุพรรณี วราพร (2545 : 4) กล่าวว่า การอ่านเป็นส่ิงท่ีสาคัญและจาเป็นสาหรับทุกคนสามารถอานวย ประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดับในขอบเขต ต้ังแต่การดาเนินชีวิตประจาวัน การศึกษาหาความรู้ การ ปฏบิ ัติงาน ตลอดถงึ การพักผอ่ นหย่อนใจ การเสริมสรา้ งประสบการณแ์ ละความคิด พรทิพย์ สุทธิพันธ์ (2529 : 11) กล่าวว่า ในการดาเนินชีวิตน้ัน การอ่านมีความสาคัญต่อทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ท้ังด้านการศึกษาหาความรู้ การประกอบอาชพี และการหาความสนกุ เพลดิ เพลิน จากการอ่าน สุนันทา ม่ันเศรษฐวิทย์ (2540 : 2) ได้กล่าวถึงความสาคัญจองการอ่านว่า การอ่านเป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการ เสาะแสวงหาความรู้ การรแู้ ละใช้วธิ ีอ่านที่ถูกตอ้ งจึงเปน็ สง่ิ จาเปน็ สาหรับผู้อา่ นทุกคนการฝึกฝนการอ่านอยา่ งสม่าเสมอจะ ช่วยให้ผูอ้ า่ นมพี ื้นฐานในการอ่านทด่ี ีท้งั จะช่วยให้เกิดความชานาญและมคี วามรู้กว้างขวางดว้ ย รัญจวน อินทรกาแหง (2525 : 13) ได้กล่าวถึงการอ่านว่า การอ่านเป็นเครือ่ งมือในการส่งเสริมและสนับสนุน ใหค้ นมคี วามรรู้ อบตวั ยุคสมัย ทาใหป้ รบั ปรงุ ตัวเองใหท้ นั ต่อสิ่งแวดลอ้ มรอบตวั ได้เปน็ อยา่ งดี รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปงี บประมาณ 2564 7

กลา่ วโดยสรุป การอา่ นเปน็ ส่ิงทีม่ คี วามสาคญั อย่างยิ่ง เพราะการอ่านเป็นเครือ่ งมือท่สี าคัญในการแสวงหาความรู้ และเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ช่วยให้บุคคลพัฒนาตนให้มีชีวิตที่สมบูรณ์และมีความสุข เกิดความเจริญงอกงามทางด้านสติปัญญา สามารถตดิ ตามความเคล่ือนไหว ความกา้ วหนา้ ทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี ปลี่ยนแปลงอยตู่ อลดเวลา ทาใหบ้ คุ คลประสบ ความสาเร็จในการดาเนนิ ชีวิต และสง่ ผลในการพฒั นาสังคมและประเทศชาติ ควำมหมำยของกำรอ่ำน การอ่าน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ ว่าไว้ว่า “ว่าตามตัวหนังสือ , ถ้าออก เสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง, ถ้าอ่านไม่ออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ, สังเกตหรือพิจารณาดูเพ่ือให้เข้าใจ เช่น อ่าน สหี น้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ; ตคี วาม เชน่ อ่านรหสั อ่านลายแทง ; คิด, นบั . (ไทยเดมิ ).”จะเหน็ ได้ว่า จากความหมายของ การอ่านน้ัน ต้องการให้ผู้อ่านมีความเข้าใจ, รับรู้เก่ียวกับเรื่องที่อ่านไป และการอ่านน้ัน จะต้องมีการเก็บความรู้ เพื่อให้รู้ ว่าผแู้ ตง่ ต้องการส่อื อะไร การอ่าน คือ การรับรู้ความหมายจากถ้อยคาที่ตีพิมพ์อยู่ในส่ิงพิมพ์หรือในหนังสือ เป็นการรับรู้ว่าผู้เขียน คิดอะไรและพูดอะไร โดยเร่ิมต้นทาความเข้าใจถ้อยคาแต่ละคาเข้าใจวลี เข้าใจประโยค ซึ่งรวมอยู่ในย่อหน้า เข้าใจแต่ละ ย่อหน้า ซึ่งรวมเป็นเร่ืองราวเดียวกัน การอ่านเป็นการบริโภคคาที่ถูกเขียนออกมาเป็นตัวหนังสือหรือสัญลักษณ์ การอ่าน โดยหลักวทิ ยาศาสตร์ เริ่มจากการที่แสงตกกระทบทีส่ ่ือ และสะทอ้ นจากตัวหนงั สอื ผ่านทางเลนสน์ ยั นต์ า และประสาทตา เข้าสู่เซลล์สมองไปเปน็ ความคดิ (Idea) ความรับรู้ (Perception) และก่อให้เกิดความจา (Memory) ทั้งความจาระยะส้ัน และความจาระยะยาว กระบวนกำรอ่ำน มี 4 ขัน้ ตอน คือ 1. การอา่ นออก อา่ นได้ หรืออ่านออกเสียงไดถ้ ูกต้อง 2. การอ่านแล้วเขา้ ใจ ความหมายของคา วลี ประโยค สรุปความได้ 3. การอา่ นแล้วร้จู ักใช้ความคิด วเิ คราะห์ วิจารณแ์ ละออกความเห็นในทางที่ขัดแย้งหรือเห็นด้วยกบั ผู้เขียนอย่าง มเี หตุผล 4. การอา่ นเพื่อนาไปใช้ ประยกุ ต์ใชใ้ นเชิงสร้างสรรค์ ดงั นนั้ ผูท้ อ่ี ่านได้และอ่านเป็นจะต้องใชก้ ระบวนการทั้งหมด ในการอ่านท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด โดยการถ่ายทอดความหมายจากตวั อักษรออกมาเปน็ ความคดิ และจากการคิดท่ีได้ จากการอ่านผสมผสานกบั ประสบการณ์เดิม และสามารถความคดิ นัน้ ไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป จดุ มุง่ หมำยของกำรอำ่ น อา่ นเพอ่ื ความรู้ ไดแ้ ก่ การอา่ นจากหนังสือตาราทางวิชาการ สารคดที างวิชาการ การวิจัยประเภทต่าง ๆ หรือ การอ่านผา่ นสอื่ อเี ล็กทรอนิกส์ ควรอา่ นอย่างหลากหลาย เพราะความรใู้ นวชิ าหนึ่ง อาจนาไปชว่ ยเสริมในอกี วิชาหนง่ึ ได้ อา่ นเพ่อื ความบันเทิง ไดแ้ ก่ การอา่ นจากหนังสือประเภทสารคดีท่องเท่ียว นวนยิ าย เรอ่ื งสนั้ เรื่องแปล การ์ตูน บทประพนั ธ์ บทเพลง แมจ้ ะเปน็ การอา่ นเพื่อความบันเทิง แตผ่ อู้ า่ นจะได้ความรู้ท่สี อดแทรกอยู่ในเร่อื งดว้ ย อ่านเพ่ือทราบข่าวสารความคิด ได้แก่ การอ่านจากหนังสือประเภทบทความ บทวิจารณ์ ข่าว รายงานการ ประชุม ถ้าจะให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงต้องเลือกอ่านให้หลากหลาย ไม่เจาะจงอ่านเฉพาะส่ือ ที่นาเสนอตรงกับ ความคิดของตน เพราะจะทาให้ได้มุมมอง ท่ีกว้างข้ึน ช่วยให้มีเหตุผลอื่น ๆ มาประกอบการวิจารณ์ วิเคราะห์ได้หลาย มมุ มองมากข้นึ อ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะทางแต่ละคร้ัง ได้แก่ การอ่านที่ไม่ได้เจาะจง แต่เป็นการอ่านในเร่ืองท่ีตนสนใจ หรือ อยากรู้ เช่น การอ่านประกาศต่าง ๆ การอ่านโฆษณา แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ สลากยา ข่าวสังคม ข่าวบันเทิง ข่าว กีฬา การอ่านประเภทน้ีมักใช้เวลาไม่นาน ส่วนใหญ่เป็นการอ่านเพ่ือให้ได้ความรู้และนาไปใช้ หรือนาไปเป็นหัวข้อ สนทนา เชื่อมโยงการอ่าน สกู่ ารวิเคราะห์ และคิดวเิ คราะห์ บางคร้ังก็อ่านเพ่อื ใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนกุ อ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 8

ลกั ษณะของกำรอำ่ นที่ดี 1. ไมน่ อนอ่านหนงั สอื กล่าวคือ การนอนเป็นอิรยิ าบถทีเ่ หมาะแก่การพักผอ่ นมากกวา่ การที่จะเก็บเน้ือหาสาระ จากการอ่าน เพราะฉะน้ัน ถ้าเกดิ ว่าผ้อู า่ นนอนอา่ น จะทาใหส้ ามารถเผลอหลับไปไดท้ กุ เวลา 2. ควรสร้างสมาธิก่อนอ่าน กล่าวคือ ในขณะเวลาที่อ่านนั้นไม่ควรท่ีจะอยู่ในท่ีพลุกพล่านควรอยู่ในที่ท่ีมีความ เงียบ ไม่สมควนดูโทรทัศน์ หรือฟังวิทยุในขณะอ่าน เพราะจะทาให้เสียสมาธิในการอ่าน ทาให้ไม่สามารถเก็บสาระในการ อ่านได้ และไมม่ ีความพร้อมในการอ่าน เนือ่ งจากการอา่ นต้องมสี มาธิอยา่ งมาก เพราะการอา่ นที่ดี ผอู้ ่านควรเนอื้ หาสาระ จากการอา่ นให้ไดม้ ากทสี่ ดุ และทาความเข้าใจ 3. ทักษะการอ่านและทักษะการเขียนเป็นของคู่กัน กล่าวคือ ในขณะที่ผู้อ่าน อ่านหนังสือนั้น ควรจะมีกระดาษ และปากกาหรือสมุดบันทึก เพ่ือบันทึกสาระสาคัญในขณะการอ่าน เพราะว่า การบันทึกสาระสาคัญในขณะการอ่านนั้น จะชว่ ยทาให้การอา่ นมีประสิทธิภาพมากขนึ้ กลา่ วคอื จะทาให้ผู้อา่ นนน้ั จดจาสาระ 4. การอ่านหนงั สือทีด่ ตี อ้ งรทู้ ี่มา กลา่ วคือ ผู้อ่านควรจดจาแหล่งทีม่ าของหนงั สอื หรือข้อเขียนท่ีอา่ น บางทีอ่ าจจะ มปี ระโยชน์ตอ่ การอ้างอิง นอกจากนี้เม่ือผู้อ่านต้องการความรแู้ บบต่อยอดแต่ไมส่ ามารถหาตน้ ฉบับหนังสือที่ผู้อ่านอ่านได้ แต่ผอู้ ่านรูจ้ ักจดจาหรือสังเกตแหลง่ ท่ีมาของหนงั สือ รวมทัง้ ศึกษาภูมหิ ลงั ของหนังสอื ท้ังผ้แู ต่งหรือที่มาของหนังสือ จะทา ใหผ้ ู้อ่านสามารถหาความรูต้ ่อยอดได้ 5. ผู้อ่านที่ดีควรติดตามและมีวิจารณญาณในการอ่าน กล่าวคือ ผู้อ่านท่ีดีควรติดตามในส่ิงท่ีอ่าน อาจจะเพื่อ วเิ คราะห์สงิ่ ท่ีอ่านว่า มคี วามเปน็ ข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริง และถา้ ผู้อ่านคิดตาม ผอู้ ่านจะมีความสามารถในการอา่ น การ คดิ ตามอาจจะตดั สนิ ไดว้ ่าข้อมลู นี้เปน็ ขอ้ มลู ท่ถี กู ต้องหรือผิดประการใด 6. ผู้อ่านที่ดีควรติดตามและมีวิจารณญาณในการอ่าน กล่าวคือ ผู้อ่านท่ีดีควรติดตามในส่ิงที่อ่าน อาจจะเพ่ือ วิเคราะหส์ ิง่ ที่อ่านว่า มีความเป็นข้อคิดเหน็ หรือข้อเท็จจริง และถา้ ผอู้ ่านคิดตาม ผู้อา่ นจะมีความสามารถในการอ่าน การ คดิ ตามอาจจะตัดสนิ ไดว้ ่าข้อมูลน้เี ป็นขอ้ มลู ทถี่ ูกตอ้ งหรือผิดประการใด 7. ผู้อ่านที่ดีควรติดตามและมีวิจารณญาณในการอ่าน กล่าวคือ ผู้อ่านที่ดีควรติดตามในสิ่งท่ีอ่าน อาจจะเพ่ือ วิเคราะหส์ ง่ิ ที่อ่านว่า มีความเป็นข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริง และถ้าผู้อ่านคิดตาม ผอู้ ่านจะมีความสามารถในการอ่าน การ คดิ ตามอาจจะตัดสนิ ไดว้ ่าข้อมูลนี้เปน็ ข้อมูลทีถ่ ูกตอ้ งหรือผดิ ประการใด 8. ผู้อ่านที่ดีควรติดตามและมีวิจารณญาณในการอ่าน กล่าวคือ ผู้อ่านที่ดีควรติดตามในสิ่งท่ีอ่าน อาจจะเพ่ือ วิเคราะห์สิง่ ที่อ่านว่า มีความเปน็ ข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริง และถ้าผู้อ่านคิดตาม ผู้อ่านจะมีความสามารถในการอ่าน การ คิดตามอาจจะตดั สินได้ว่าขอ้ มลู นี้เป็นขอ้ มูลทถ่ี กู ตอ้ งหรือผิดประการใด 9. ผู้อ่านที่ดีควรติดตามและมีวิจารณญาณในการอ่าน กล่าวคือ ผู้อ่านท่ีดีควรติดตามในสิ่งท่ีอ่าน อาจจะเพื่อ วิเคราะหส์ ง่ิ ท่ีอ่านว่า มคี วามเป็นข้อคิดเหน็ หรือข้อเท็จจริง และถา้ ผูอ้ ่านคิดตาม ผ้อู า่ นจะมีความสามารถในการอา่ น การ คิดตามอาจจะตัดสนิ ได้วา่ ข้อมลู น้ีเปน็ ขอ้ มูลท่ถี กู ต้องหรือผิดประการใด 10. อ่านแลว้ เล่าต่อ กลา่ วคอื การอ่าน ถ้าอา่ นอย่างเดยี วโดยไม่มีการทบทวนหรือเลา่ ต่อ ก็อาจจะทาใหผ้ อู้ ่านลืม ในสิ่งท่ีอ่านไปท้ังหมดได้ หรือจาได้เพียงบางอย่าง แต่เมื่อผู้อ่านไปเล่าต่อแล้ว ความรู้นั้นก็จะกลับมาเหมือนกับเป็นการ ทบทวนให้ผอู้ า่ นอกี ครงั้ หนึ่ง รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 9

ประโยชนข์ องกำรอำ่ น . 1. เปน็ การสนองความต้องการของมนษุ ย์ 2. ทาใหม้ นษุ ย์เกิดความรู้ ทกั ษะตา่ ง ๆ ตลอดจนความก้าวหนา้ ทางวชิ าชพี 3. ทาใหม้ นุษย์เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความเพลดิ เพลนิ บนั เทงิ ใจและเกดิ ความบันดาลใจ 4. เปน็ การใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ 5. ทาใหม้ นุษยท์ นั ต่อเหตุการณค์ วามเคลือ่ นไหวต่าง ๆ ของโลก 6. เปน็ การสง่ เสรมิ สุขภาพของมนษุ ย์ 7. ชว่ ยให้มนุษย์แกป้ ัญหาสังคม การเมือง เศรษฐกจิ และปัญหาส่วนตัว ควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรเขยี น การเขียน หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึกนึกคิด เร่ืองราว ตลอดจนประสบการณ์ต่างๆไปสู้ผู้อ่ืนโดยใช้ ตัวอักษรเป็นเคร่ืองมือในการถ่ายทอด การเขียนเป็นวิธีการสื่อสารท่ีสาคัญในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด และ ประสบการณ์ เพ่ือส่ือไปยังผู้รับได้อย่างกว้างไกล นอกจากน้ันการเขียนยังมีคุณค่าในการบันทึกเป็นข้อมูลห ลักฐานให้ ศึกษาไดย้ าวนาน หลกั กำรเขยี น เนื่องจากหลักการเขียนเป็นทักษะท่ีต้องเอาใจใส่ฝึกฝนอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดความรู้ความชานาญ และป้องกัน ความผดิ พลาด ดังน้ัน ผเู้ ขยี นจงึ จาเป็นตอ้ งใช้หลกั ในการเขียน ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. มีความถกู ตอ้ ง คือ ขอ้ มลู ถูกตอ้ ง ใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ 2. มีความชัดเจน คือ ใช้คาที่มีความหมายชัดเจน รวมถึงประโยคและถ้อยคาสานวน เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ตรง ตามจดุ ประสงค์ 3. มีความกระชับและเรียบง่าย คือ รู้จักเลือกใช้ถ้อยคาธรรมดาเข้าใจง่าย ไม่ฟุ่มเฟือย เพื่อให้ได้ใจความชัดเจน กระชับ ไม่ทาให้ผู้อ่านเกดิ ความเบือ่ หนา่ ย 4. มีความประทับใจ โดยการใช้คาให้เกิดภาพพจน์ อารมณ์และความรู้สึกประทับใจ มีความหมายลึกซ้ึงกินใจ ชวนตดิ ตามให้อ่าน 5. มีความไพเราะทางภาษา คือ ใช้ภาษาสุภาพ มีความประณีตทั้งสานวนภาษาและลักษณะเน้ือหา อ่านแล้วไม่ ร้สู ึกขดั เขิน 6. มีความรับผิดชอบ คือ ต้องแสดงความคิดเห็นอย่างสมเหตุสมผล มุ่งให้เกิดความรู้และทัศนคติอันเป็น ประโยชน์แก่ผู้อื่น นอกจากหลักการเขยี นทีจ่ าเป็นต่อการเขียนแล้ว สง่ิ ที่มคี วามจาเป็นอีกประการหน่ึงคือกระบวกการคิด กับกระบวนการ พืน้ ฐำนของควำมคดิ ความคิดเป็นสภาวะของการถูกกระตุ้นอันเป็นผลมาจาก การขาดความสมดุลย์ มีช่องว่าง หรือ เรียกว่ามีปัญหา ความคดิ เกดิ ขึ้นเพื่อสร้างความสมดุลย์ เตมิ เต็มช่องวา่ ง หรอื หาคาตอบของปญั หา เม่ือเกดิ ความสมดุลย์ ไมม่ ชี ่องว่าง ไม่มี ปัญหา จะไม่เกิดกระบวนการของการคิด เป็นสภาพของความว่าง ความคิดนาไปสู่ความรู้ และการกระทาหรือพฤติกรรม ของมนษุ ย์และสงิ่ มีชีวิตอนื่ ๆ รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปงี บประมาณ 2564 10

ความหมายที่ แคบของความคิดน้ัน หมายถึง สิ่งที่อยู่ในจิตใจของคน ส่วนความหมายที่กว้างกว่าน้ัน หมายถึง ศกั ยภาพในการสรา้ งนามธรรมในตวั มนษุ ย์ ความ คิด (Ideas) เป็นผลของการคิด (Thinking) นักปรัชญาและนักคิดผู้มีชื่อเสียงในอดีตให้ความเห็นเร่ืองของ การคิดดังนี้ Plato เช่ือว่า ความคิด (Ideas) เป็นความสมบูรณ์ (Perfect) เป็นนิรันดร (Eternal) และไม่อาจเปล่ียนแปลงได้ (Immutable) René Descartes ไดใ้ หค้ วามหมายของความคดิ ว่าเปน็ ภาพพจน์ หรือการมตี ัวแทนของส่งิ ที่อยใู่ นจิตใจ เรียกเป็น ภาษาทวั่ ไปได้วา่ เปน็ “มโนภาพ” John Lock มีความเห็นแย้งกับ Plato เขาเช่ือว่า ความคิดเป็นส่ิงท่ีมนุษย์ยืนยันความเข้าใจท่ีมีต่อสิ่งใดส่ิงหนึ่ง เทา่ นนั้ David Home มีความเห็นต่างไปจาก John Lock โดยจากัดความคิดไว้เพียงเป็นกระบวนการทางสมอง เป็นกระบวนการทแี่ สดงถึงความร้สู กึ นึกคิด รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนกุ อ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 11

บทท่ี 3 วธิ กี ำรดำเนินโครงกำร งานห้องสมุดประชาชน กลุ่มงานจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอหนองฉาง ได้ดาเนินการโครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library ประจาปี งบประมาณ 2564 เพื่อส่งเสริมให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ด้วยตนเอง และ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการเรียนและพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชนและนักเรียน/นักศึกษา ในเขต พนื้ ที่อาเภอหนองฉาง จานวน 100 คน มีข้ันตอนการดาเนนิ งานดงั น้ี ๑. กำรวำงแผนดำเนินงำน - ประชมุ ช้แี จง วางแผนการปฏบิ ัตงิ านและแต่งตง้ั คณะทางาน - ประสานงานเครือขา่ ย/จดั สถานท่ีในการจัดกิจกรรม - เตรียมสื่อเอกสารและวัสดุ - จัดทาโครงการ/และขออนมุ ัติโครงการ - ดาเนนิ การจัดกิจกรรมโครงการจัดกจิ กรรมสนุกอา่ น สนุกคดิ Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 - สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการ ๒. กล่มุ เปำ้ หมำย - นกั เรยี น/เยาวชน จานวน 100 คน ๓. กำรดำเนินงำนตำมแผน ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมโครงการจัดกจิ กรรมสนกุ อ่าน สนกุ คิด Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 - ระบายสีต๊กุ ตาปนู พาสเตอร์ - นิทานพาเพลนิ - อ่านง่ายได้อาชีพ - อะไรอยู่ในไข่ ๔. ประเมินโครงกำร ๔.๑ เครือ่ งมอื ที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินความพงึ พอใจโครงการของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ๔.๒ การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลทั่วไป จานวน ๔ ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ส่วนที่ ๒ ด้าน ความพึงพอใจตอ่ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๔.๓ การวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการหาค่าเฉลย่ี ร้อยละ การหาค่าคะแนนเฉล่ยี (Mean : X) และคา่ สว่ นเบย่ี งเบน มาตรฐาน (Standard Deviation : SD) การแปลความหมายของคะแนนระดับความพงึ พอใจ ใช้ค่าตัวกลางเลขคณติ หรือค่าคะแนนเฉล่ีย (Arithmetic Mean) มเี กณฑ์ทีก่ าหนดไว้ดังน้ี ๔.๒๑ – ๕.๐๐ หมายถึง ผรู้ ับบรกิ ารมีความพึงพอใจในระดบั มากทส่ี ุด ๓.๔๑ – ๔.๒๐ หมายถงึ ผู้รบั บริการมีความพึงพอใจในระดับมาก ๒.๖๑ – ๓.๔๐ หมายถงึ ผ้รู ับบรกิ ารมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ๑.๘๑ – ๒.๖๐ หมายถึง ผ้รู บั บริการมีความพึงพอใจในระดบั น้อย ๑.๐๐ – ๑.๘๐ หมายถงึ ผ้รู ับบริการมีความพึงพอใจในระดับน้อยทส่ี ุด รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กิจกรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปงี บประมาณ 2564 12

บทท่ี 4 ผลกำรดำเนนิ งำนโครงกำร ๑. ผลกำรดำเนินงำน งานหอ้ งสมดุ ประชาชน กลุม่ งานจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอหนองฉาง ได้ดาเนินการจัดโครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library ประจาปี งบประมาณ 2564 เพ่ือส่งเสริมให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการเรียนและพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชนและนักเรียน/นักศึกษา ในเขตพืน้ ทอ่ี าเภอหนองฉาง ข้ารว่ มโครงการจานวน 100 คน โดยมีรปู แบบการจดั กจิ กรรมดงั นี้ - ระบายสีตุ๊กตาปูนพาสเตอร์ - นิทานพาเพลิน - อา่ นงา่ ยได้อาชพี - อะไรอยูใ่ นไข่ ซง่ึ ไดร้ ับความรว่ มมืออยา่ งดี จากเครือขา่ ย ไดแ้ ก่ โรงเรียนวัดหนองยาง โรงเรียนวัดห้วยพระจนั ทร์ โรงเรยี นบา้ นล่อมเสือ โฮก โรงเรยี นวัดหัวเมือง โรงเรยี นวัดทุ่งหลวง 2. กำรประเมินผลข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ ได้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 100 คน โดยทาการประเมิน ผลจากแบบสอบถาม ข้อมูลส่วนตัว จำนวน ร้อยละ เพศ 47 47 ชาย 53 53 หญงิ 100 100 อายุ -- ต่ากวา่ 15 ปี -- 15 – 25 ปี -- 26 – 39 ปี -- 40 – 59 ปี 60 ปขี นึ้ ไป -- 100 100 ระดับการศึกษา อนุบาล -- ประถมศกึ ษา -- มธั ยมศึกษาตอนต้น -- มัธยมศกึ ษาตอนปลาย -- อนุปริญญา ปริญญาตรี รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 13

ตำรำงที่ 3 ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำมโดยภำพรวมทุกกิจกรรม จำนวน 100 คน ขอ้ มูลสว่ นตัว จำนวน ร้อยละ ประกอบอาชีพ 100 100 นักเรยี น/นักศกึ ษา - - ค้าขาย - - ข้าราชการ/ลูกจา้ งหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน - - เกษตรกร - - รบั จา้ ง - - อน่ื ๆ ระบุ..................... จำกตำรำง พบวา่ ผู้ทต่ี อบแบบสอบถามมากทสี่ ดุ คือ เพศชาย จานวน 47 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 47 และเพศหญิง จานวน 53 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 53 ผ้ทู ่ีตอบคาถามมอี ายุต่ากวา่ 15 ปี ท้ังหมดจานวน 100 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ใน ส่วนระดับการศึกษามผี ู้ตอบแบบสอบถามอยู่ระหว่างการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 100 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 และผตู้ อบแบบสอบถามเปน็ นกั เรยี นนกั ศึกษา จานวน 100 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ตำรำงที่ 4 ควำมพึงพอใจต่อกำรจัดกจิ กรรม ระดบั กำรประเมิน (รอ้ ยละ) คำ่ เฉลย่ี ที่ รำยกำร มำกทสี่ ดุ มำก ปำน น้อย น้อย - แปลผล 54 กลำง 2 ท่ีสดุ X ดำ้ นบริหำรจดั กำร 3 1 1 อาคารและสถานที่ 72 28 0 0 0 4.72 มากทสี่ ดุ 2. สงิ่ อานวยความสะดวก 84 16 0 0 0 4.84 มากทส่ี ุด 3. การประชาสมั พนั ธ์ 4 การกาหนดระยะเวลาในการดาเนนิ กิจกรรม 67 33 0 0 0 4.67 มากท่ีสดุ 5 ผจู้ ดั กิจกรรม 62 38 0 0 0 4.62 มากที่สุด 92 8 0 0 0 4.92 มากท่สี ดุ ค่ำเฉลี่ย 75.40 24.60 0 0 0 4.75 มำกท่สี ดุ ดำ้ นกำรจัดกิจกรรม 89 11 0 0 0 4.89 มากที่สุด 1 กจิ กรรมระบายสีตกุ๊ ตาปนู พลาสเตอร์ 87 13 0 0 0 4.87 มากท่ีสดุ 2 กจิ กรรมนิทานพาเพลิน 67 33 0 0 0 4.54 มากทส่ี ดุ 3 กจิ กรรมอ่านง่ายไดอ้ าชีพ 82 18 0 0 0 4.82 มากทส่ี ุด 4 กิจกรรมอะไรอยใู่ นไข่ 81.25 18.75 0 0 0 4.81 มำกทส่ี ุด ค่ำเฉลย่ี รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 14

ระดบั กำรประเมนิ (รอ้ ยละ) ค่ำเฉลย่ี ที่ รำยกำร มำกท่สี ดุ มำก ปำน นอ้ ย น้อย - แปลผล 5 4 กลำง 2 ทส่ี ดุ X ดำ้ นประโยขน์ท่ไี ดร้ ับ 3 1 1 มีทกั ษะในการฟงั พูด อา่ น เขียน 87 13 0 0 0 4.87 มากทีส่ ุด 2. มนี สิ ยั รักการอา่ นและการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 78 22 0 0 0 4.78 มากที่สดุ 3. นาความรไู้ ปใชใ้ นการเรยี นและพฒั นา 76 24 0 0 0 4.76 มากทส่ี ดุ คุณภาพชีวติ คำ่ เฉลย่ี 80.33 19.67 0 0 0 4.80 มำกทส่ี ดุ คำ่ เฉลี่ย 78.99 21.01 0 0 0 4.79 มำกทีส่ ุด หมายเหตุ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับความคดิ เหน็ (Rating Scale) โดยมีเกณฑก์ าหนดความคิดเห็น ดงั นี้ ๔.๒๑ – ๕.๐๐ หมายถึง ผรู้ ับบรกิ ารมีความพึงพอใจในระดับมากทส่ี ุด ๓.๔๑ – ๔.๒๐ หมายถึง ผ้รู บั บริการมีความพึงพอใจในระดับมาก ๒.๖๑ – ๓.๔๐ หมายถึง ผู้รับบรกิ ารมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ๑.๘๑ – ๒.๖๐ หมายถงึ ผรู้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดับน้อย ๑.๐๐ – ๑.๘๐ หมายถึง ผู้รบั บรกิ ารมีความพึงพอใจในระดับน้อยท่สี ดุ จากตารางพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทีสุด มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.79 เมื่อพิจารณารายละเอียดแต่ละด้านพบว่าผู้เข้าร่วม โครงการมีความพึงพอใจระดบั มากทีส่ ดุ คือ ดา้ นการจัดกจิ กรรม โดยมีคา่ เฉลีย่ สงู สดุ คือ 4.81 รองลงมาคือ ด้านประโยชน์ ทไี่ ด้รับ มคี ่าเฉลยี่ เท่ากบั 4.80 รองลงมาคือดา้ นบรหิ ารจดั การ มีค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.75 รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 15

บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ รายงานผล โครงการจัดกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 เพ่ือส่งเสริมให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถนาความรู้ไปใช้ ในการเรียนและพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชนและนักเรียน/นักศึกษา ในเขตพ้ืนท่ีอาเภอหนองฉาง จานวน 100 คน มีการสรุปผลและขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี ๑. สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ดำเนินงำน งานหอ้ งสมุดประชาชน กล่มุ งานจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอหนองฉาง ได้ดาเนินการจัดโครงการจัดกิจกรรมกิจกรรมสนุกอ่าน สนุกคิด Check in Library ประจาปี งบประมาณ 2564 เพื่อส่งเสริมให้มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ด้วยตนเอง และ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการเรียนและพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชนและนักเรียน/นักศึกษา ในเขต พน้ื ที่อาเภอหนองฉางเข้ารว่ ม โครงการจานวน 100 คน โดยมีรูปแบบการจัดกจิ กรรมดังน้ี - ระบายสีตกุ๊ ตาปูนพาสเตอร์ - นิทานพาเพลนิ - อ่านงา่ ยได้อาชพี - อะไรอยูใ่ นไข่ เพอ่ื ให้ทราบถึงผลการดาเนินงานและนาผลทไี่ ด้ไปพัฒนางานในโอกาสต่อไป จงึ ได้ทาการประเมนิ ผล โครงการโดยใช้แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือตอนท่ี 1 ข้อมูล ทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยหารค่าร้อยละ และตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมลักษณะคาถามเป็นแบบ ประมาณค่าให้คะแนน 5 ระดบั โดยการหาค่าเฉล่ียและจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เขา้ ร่วมโครงการและการสอบถาม ผู้เขา้ รว่ มโครงการ เพอ่ื นาขอ้ เสนอแนะมาสรุปบรรยาย ซึง่ ผลได้ดงั นี้ การประเมินผลความพึงพอใจ ในภาพรวมของโครงการจดั กิจกรรมสนุกอา่ น สนกุ คิด Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 ในระดบั ดมี าก มีค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.79 ๒. ปญั หา อปุ สรรค/ข้อเสนอแนะ ปญั หา อปุ สรรค - ของรางวัลมจี ากัด ข้อเสนอแนะ - อยากให้มขี องรางวัลเพ่ิม รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสนกุ อ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 16

ประมวลภาพกิจกรรมโครงการจดั กิจกรรมสนุกอา่ น สนกุ คิด Check in Library ประจาปงี บประมาณ 2564 รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 17

รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 18

เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกับการดาเนนิ โครงการสนุกอา่ น สนุกคิด Check in Library ประจาปีงบประมาณ 2564 รายงานผลการดาเนนิ โครงการจดั กจิ กรรมสนกุ อ่าน สนุกคดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปงี บประมาณ 2564 19

รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 20

รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 21

รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 22

รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 23

รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 24

รายงานผลการดาเนินโครงการจดั กจิ กรรมสนุกอ่าน สนกุ คดิ CHECK IN LIBRARY ประจาปีงบประมาณ 2564 25

ท่ีปรกึ ษำ คณะทำงำน 1. นายสุธี เสรพี งษ์ ผอ.กศน.อาเภอหนองฉาง ผู้รับผดิ ชอบโครงกำร บรรณารักษช์ านาญการพเิ ศษ บรรณารักษ์ 1. นางสมพร สขุ สโมสร 2. นางสาวทิตยา ประสม บรรณารกั ษช์ านาญการพิเศษ ครผู ชู้ ว่ ย ผู้ประสำนโครงกำร ครูผูช้ ว่ ย ครอู าสาสมัคร 1. นางสมพร สขุ สโมสร ครูอาสาสมัคร 2. นางจนั ทรจ์ ริ า แกว้ ดี ครู กศน. ตาบล 3. นายวฒุ พิ ร เมฆาสวัสดวิ์ งศ์ ครู กศน. ตาบล 4. นางอรฑชิ า ภมุ รินทร์ ครู กศน. ตาบล 5. นางสาวดาวไสว กสุ ุโมทย์ ครู กศน. ตาบล 6. นางกาไร สวุ รรณกิจ ครู กศน. ตาบล 7. นางวมิ ลรัตน์ แสงงาม ครู กศน. ตาบล 8. นางสาวชนิศรา เกตคุ า ครู กศน. ตาบล 9. นางปรยี าภรณ์ กรุงกวี ครู กศน. ตาบล 10. นายวนิ ัย อ่อนกล่า ครู กศน. ตาบล 11. นายกฤษฎา ดว้ งอ่วม ครู กศน. ตาบล 12. นายธนา ออ่ นกลา่ เจา้ หนา้ ทบ่ี ันทกึ ข้อมูล 13. นางสาวนติ ยา ปาจติ ต์ บรรณารกั ษ์อตั ราจา้ ง 14. นายสมชาย เลห่ งส์ 15. นางสาวกนลรตั น์ เก่งเขตรกรณ์ บรรณารักษ์ชานาญการพเิ ศษ 16. นายอนุสรณ์ อนิ ทร์โอภาส บรรณารักษ์ 17. นางสาวทิตยา ประสม เรยี บเรียงข้อมูล/จัดพิมพเ์ อกสำร 1. นางสมพร สขุ สโมสร 2. นางสาวทติ ยา ประสม

< Facebook : หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาเภอหนองฉาง จงั หวดั อุทยั ธานี