Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขุนช้างขุนแผน (1)

ขุนช้างขุนแผน (1)

Published by jitravadee kerdsiri, 2022-08-22 08:22:17

Description: ขุนช้างขุนแผน (1)

Keywords: ขุนช้างขุนแผนตอนพลายแก้วแต่งงานกับนางพิม

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทรายมูลวิทยา วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ขุนช้าง ขุนแผน ตอน พลายแก้วแต่งงาน กับนางพิม ครูผู้สอน นางสาวจิตราวดี เกิดศิริ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) บทละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วแต่งงานกับนางพิม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จัดทำโดย นางสาวจิตราวดี เกิดศิริ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนทรายมูลวิทยา ตำบลทรายมูล อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร

คำนำ ก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ เป็นที่นิยมในหมู่ชาวไทยทุกเพศทุกวัยเป็น เวลาช้านานด้วยเหตุผลตามที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุ ภาพ ได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ในหนังสือสาส์นสมเด็จว่า “...เอาเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผนมาอ่านเล่นในเวลาว่าง เห็นว่าเป็นเรื่องดี และแต่งดีอย่างเอกทีเดียว เนื่องจากในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วแต่งงานกับนางพิม เป็นอีกตอน ที่สำคัญ และมีขนบธรรมเนียบประเพณีการแต่งงานแบบโบราณ การสู่ขอ และ การพูดถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสมัยนั้น เรียกได้ว่าเป็นอีกตอนที่ทั้งสนุก และเต็มไปด้วยสาระน่ารู้มากมาย ผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เสภาเรื่องขุน ช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วแต่งงานกับนางพิม ฉบับนี้ จักอำนวยคุณประโยชน์ แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจโดยทั่วกัน ถ้าหากผิดพลาด ประการใดผู้จัดทำจึงขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย จิตราวดี เกิดศิริ

สารบัญ ข เรื่อง หน้า เรื่อง หน้า คำนำ ก ศิลปะการแต่ง 14 สารบัญ ข ศิลปะการใช้ถ้อยคำและสำนวนโวหาi 15 ความเป็นมา 1 ประวัติผู้แต่ง 2 รสวรรณคดีหรือลีลาของกลอน 18 ลักษณะคำประพันธ์ 3 ตัวละครที่ปรากฎ 5 ข้อคิิดที่ได้จากเรื่อง 19 เนื้อเรื่องย่อ 10 ตัวบทวรรณคดี 13 ทัศนะของผู้เขียน 20 ความรู้หรือคุณค่าของเรื่อง 21 เพลงประกอบ 24 แบบทดสอบ 25

ความเป็นมา 1 เรื่องขุนช้างขุนแผน มีผู้สันนิษฐานว่าเป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในแผ่นดิน สมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 2 และเล่ากันต่อ ๆมาจนกลายเป็นนิยายพื้นเมืองของ เมืองสุพรรณบุรี ต่อมาได้มีผู้นำเรื่องขุนช้างขุนแผนมาแต่งเป็นกลอนเสภเพื่อใช้ ในการขับเสภา จึงทำให้เรื่องนี้เป็นที่นิยมและแพร่หลายมากขึ้น ครั้นเสียกรุง แล้วบางตอนก็สูญหายไป บางตอนยังมีต้นฉบับเหลืออยู่ เรื่องไม่ติดต่อกัน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้กวีหลายคนช่วยกัน รวบรวมและแต่งขึ้นเรียกว่า เสภาหลวง หนังสือเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยได้โปรดเกล้าฯ ให้กวีในรัชสมัยของพระองค์ ตลอดจนพระองค์เองร่วมกัน แต่งและทรงพระราชนิพนธ์ขี้นเป็นวรรณคดีที่มีค่าทั้งในด้านความไพเราะและใน ลีลาการแต่ง ตลอดจนเค้าโครงเรื่อง ได้รับการยกย่องตามพระราชบัญญัติ วรรณคดีสโมสรในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าเป็นยอดของ หนังสือประเภทกลอนเสภา

ประวัติผู้แต่ง 2 วรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนมิกวีแต่งกัน หลายคน ในปลายสมัย อยุธยา และ ในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น ตอนที่ไพเราะส่วนมากแต่ง ใน สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่2)การแต่งเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผนไม่ นิยมบอกนามผู้แต่ง มีเพียงการสันนิฐานผู้แต่ง โดย พิจารณาจากส านวนการแต่งเท่านั้นเสภาขุน ช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวาย ฎีกาจึงไม่ทราบ นามผู้แต่งที่แน่ชัด

ลักษณะคำประพันธ์ 3 เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นค าประพันธ์ ประเภทกลอน เสภา 43 ตอน ซึ่ งมี อยู่ 8 ตอนที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดียอดเยี่ยม จากวรรณคดีสมาคม อันมี สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ กรมพระยาด ารงรา ชานุภาพ ทรงเป็นประธานโดยลง มติเมื่อ พ.ศ.2474 และตอน ขุนช้าง ถวายฎีกา เป็นหนึ่งในแปดตอนที่ได้รับ การยกย่อง ลักษณะคำประพันธ์กลอนเสภาเป็นกลอนสุภาพ เสภาเป็นกลอนขั้น เล่าเรื่องอย่างเล่านิทานจึงใช้คำมากเพื่อบรรจุข้อความให้ชัดเจนแก่ผู้ฟัง และ มุ่งเอาการขับได้ ไพเราะเป็นส าคัญ สัมผัสของค าประพันธ์ คือ คำ สุดท้ายของ วรรคต้น ส่งสัมผัสไปยังค าใดค าหนึ่งใน 5 คำแรกของวรรค หลังสัมผัสวรรคอื่นและสัมผัสระหว่างบทเหมือนกลอนสุภาพ

แผนผังคำประพันธ์ของกลอนเสภา 4 คำประพันธ์ที่ใช้เป็น กลอนเสภา โดยเป็นคำประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งแต่งเพื่อใช้ขับเพราะใช้เป็นกลอนขับ จึงกำหนดคำไม่แน่นอน มุ่งการ ขับเสภาเป็นสำคัญ จึงใช้คำ 7 คำ ถึง 9 คำ การส่งสัมผัสนอกเหมือนกับ กลอนสุภาพ แต่ไม่บังคับหรือห้ามเสียงสูง ต่ำ ตามจำนวนคำแต่ละวรรค อยู่ในเกณฑ์กลอน 7-9 คำ

ขุุนนแแผผนน 5 ขุนแผน เดิมชื่อ พลายแก้ว เป็นคนหน้าตาดี หล่อเหลา คารมดี ฉลาด แต่เจ้าชู้ เป็นบุตรของ ขุนไกรพลพ่าย กับนางทองประศรี บ้านเดิมอยู่ ที่สุพรรณบุรี ต่อมาย้ายไปอยู่ที่กาญจนบุรี บวช เป็นสามเณรอยู่ที่วัดส้มใหญ่ และศึกษาเล่า เรียนที่วัดป่าเลไลยก์ต่อ ไม่นานก็สึกและ แต่งงานกับนางพิมพิลาไลย หรือวันทอง เมื่อได้รับราชการทหารทำศึกสงคราม จนชนะ ก็ได้อวยยศเป็น “ขุนแผนแสน สะท้าน” ได้เลื่อน บรรดาศักดิ์เป็นพระกาญจนบุรี ตามลำดับ

นนางวันทองง 6 นางพิมพิลาไลย ลูกสาวคนเดียวของพันศร โยธา พ่อค้าเมืองสุพรรณบุรี กับนางศรีประจัน มีรูปร่างหน้าตาที่สวยงดงาม ฝีปากกล้า เมื่อเป็น สาวแรกรุ่นได้แต่งงานกับพลายแก้ว และเกิดป่วย หนัก จึงได้เปลี่ยนชื่อแก้เคล็ดเป็น วันทอง และถูก หลอกให้แต่งงานใหม่กับขุนช้าง เพราะคิดว่า ขุนแผนตายในสงคราม และโกรธที่รู้ว่าขุนแผนพา ภรรยาใหม่จากการทำศึกกลับมา ด้วยความรักความ อาลัยที่มีต่อขุนแผนและความระแวงของขุนช้าง ทำให้เกิดเรื่องราวต่าง ๆ ขึ้นมากมาย จนถูกคนประณามว่าเป็น หญิงสองใจ และถูกลงโทษให้ประหารชีวิตในที่สุด

ขขุนช้างง 7 เป็นบุตรของขุนศรีวิชัย เศรษฐี เมืองสุพรรณบุรี กับนางเทพทอง เป็น คนซื่อสัตย์ รักเดียวใจเดียว แม้จะอยู่ใน ตระกูลที่ร่ำรวย แต่ด้วยรูปลักษณ์ ภายนอกที่อ้วนลงพุง หัวล้านแต่กำเนิด ทำให้เป็นที่ขบขันล้อเลียนอยู่เสมอ เมื่อ เป็นหนุ่ม ขุนช้างได้นางแก่นแก้วเป็น ภรรยา แต่ไม่นานก็ตาย ขุนช้างจึงหัน มาหมายปองหญิงที่เขาหลงรักตั้งแต่เด็ก ๆ นั่นคือ นางพิมพิลาไลย

นนาางศรีประจจัันน 8 นางศรีประจัน เป็นแม่ของนางพิมหรือ นางวันทอง นางเป็นคนปากจัด ด่าเก่ง และเอาแต่ ใจตนเอง ขุนช้างมาบอกข่าวว่าพลายแก้วตาย และขู่ว่า นางวันทองจะต้องถูจับกุมตัวเข้าวังเป็น ม่ายหลวง นอกจาก จะรีบแต่งงานใหม่เสีย แล้ว ขุนช้างก็เอาเงินทองของมีค่ามาล่อใจ นางศรี ประจันจึงคิดให้นางวันทองแต่ง งานกับขุนช้าง แม้ว่านางวันทองกับคนอื่นๆจะพยายามคัดค้านแต่ นางศรีประจันไม่สนใจ บังคับให้นางวัน ทอง แต่งงานใหม่กับขุนช้างจนได้ การกระทำของนาง ทำให้ลูกสาวต้องมีสามีถึงสองคน และมีเหตุ วุ่นวาย แย่งตัวนางวันทองกัน ผลสุดท้ายนางวัน ทองถูกประหารชีวิต

นนาางทองประศศรรีี 9 นางทองประศรี เป็นชื่อตัว ละครหญิงตัวสำคัญซึ่งมีบทบาทตั้งแต่ ต้นจนจบในเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน โดยเป็นภริยาของข้าราชการทหารชื่อ ขุนไกรพลพ่าย และเป็นมารดาของ พลายแก้ว นางทองประศรีนั้นเป็น ตัวอย่างของหญิงไทยแต่โบราณซึ่งมี ความรู้ความสามารถและช่วยเหลือส่ง เสริมผู้อื่นให้เป็นคนดี ซึ่งตรงกันข้ามกับ นางศรีประจัน มารดาของ นางวันทอง

เเนนืื้้ออเเรรื่องย่อความมเเดดิิมม 10 เป็นเรื่องของครอบครัว 3 ครอบครัว ครอบครัวที่ 1 คือ ครอบครัวขุนไกร พลพ่ายกับนางทองประศรี มีบุครชายชื่อ พลายเก้ว ครอบครัวที่ 2 คือ ครอบครัว ขุนครีวิชัยกับนางเทพทอง เป็นครอบครัวที่มีฐานะดีถึงขั้นเป็นเศรษรี มีบุตรชายชีอช้าง ส่วนครอบครัวที่ 3 คือ ครอบครัวของพันศรโยธากับนางศรี ประชัน มีลูกสาวชื่อพิมพิดาไลย เด็กทั้ง 3 คน เล่นกันมาตั้งแต่เค็กเดิบโดมาด้วย กันขนเป็นหนุ่มเปืนสาวพลายแก้วและขุนช้างต่างพอใจนางพิม แต่นางพิมนั้น พึงพอใจ รักโคร่พลายเก้วพลายแคั่วจึงให้ผู้ใหญ่ไปสู่ขอเป็นที่มาของตอนที่จะได้ เรียนต่อไปนี้ ส่วนขุนช้างเคยแต่งานกับนางแก่นแก้ว แต่อยู่กันได้ไม่นานเมื่อขุนช้างรู้ ว่านางพิมจะแต่งงานก็เสียใจมาก

เเนนื้อเรื่องงยย่่ออ 11 นางทองประศรี มารตาของพลายแก้ว ได้ปรึกษา ตาสน ตาเสา ยายมิ่ง ยายเม้า ให้ช่วยเป็นเถ้ำาแก่ไปสู่ขอนางพิมลูกสาวของนางศริ ประจันให้กับพลายแก้วเถ้าแก่ก็ตกลงรีบไปแต่งตัวแล้วก็ออกเดินทางมา ถึงบ้านนางศรีประอัน นางศรีประชันก็ออกมาต้อนรับขับสู้อย่างดี ทักทาย ถามสารทุกข์สุขดิบกันทั่วไป แล้วนางท่องประศรีก็แจ้งว่าจะมาสู่ขอนาง พิมให้พลายแก้ว นางศรีประนก็ไม่ว่ากระไร.ขอให้เป็นคนขข้นทำมา หากินก็พอ นางศรีประขันก็ถามถึงลักษณะอุปนิสัยของพลายแก้ว เถ้าแก่ 4 คนก็บรรยายถึงถักษณะนิสัยของพลายแก้วโดยรับรองว่า เป็นคนดี แน่นอนและเล่าว่านางพิมเคยชอบใจ เมื่อครั้งพลายแก้วยังบวชเป็น สามเณรและได้เทศน์ให้ฟัง นางศรีประชันก็นึกได้ และก็มีการตกลงเรื่อง ของหมั้นและสินสอดกันคือเงิน 15 ชั่ง ขันหมากค้าไหว้ สำรับหนึ่งและ เรือนหอ จากนั้นก็กำหนควันแต่งงานคือ วันเสาร์ 9 ค่ำเดือน 12 นางทอง ประศรีจึงรีบกลับไปแข็งให้พลายแก้วทราบ

เนื้อเรื่องย่อ 12 ต่อ... ต่างฝ่ายต่างจัดเดรียมข้าวของ เครื่องใช้ นางศรีประชันก็มานิมนด์พระที่ วัดฝ่ายพลายแก้วก็เตรียมปลูกเรือนนอ โดยให้เพื่อนผู้ขายมาช่วยกันปลูกที่ บ้านนางพิมกันอย่างครึกครื้น พอถึงวันงาน นางทองประศรีก็จัดขบวน ขันหมากลงเรือ ไปยังบ้านนางพิม มีคนมากั้นขันหมากตามประเพณี จาก นั้นนางทองประศรีก็ยกขันหมากขึ้นบ้านของนางศรีประน เถ้าแก่ก็ตรวจนับ สินสอดทองหมั้นว่าครบหรือไม่ จากนั้นก็มี การเตี๋ยงอาหารกันตามธรรมเนียมฝ่ายพลายแก้วก็ให้คนไปเชิญขุนช้าง มาเป็นเพื่อนเจ้าบ่าว ขุนช้างเสียใจมาก แต่ก็มาร่วมงาน พอได้ฤกษ์งามยาม ดีที่กำหนดไว้ สมภารก็สวมมงคลให้เข้าสู่พัรีแต่งงาน เมื่อพีธีเเร็แล้วพลาย แก้วก็ต้องนอนเฝ้าหอเป็นเวลา3 วัน ส่วนทางนางศรีประนก็อบรมสั่งสอน แนะนำวิธีการครองเรือน ก่อนที่จะพานางพิมไปส่งตัวเข้านอ นางศรีประนนำ ตัวนางพิมมาส่งให้พลายแก้ว พร้อมกับฝาก ฝังนางพิมไว้กับพลายแก้วให้ ช่วยดูแลต่อไป

ตัวบทวรรณณคคดดีี 13 อ้างอิง : หอพระสมุดวชิรญาณ

ศิลปะการแต่ง 14 รูปแบบของเรื่อง เป็นการประพันธ์โดยใช้กลอนสุภาพหรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่า กลอนแปดการขับเสภาคงเนื่องมาจากการเล่านิทาน คือ เล่า นิทานฟังกันมานาน ๆ เข้าก็อึดจึงมีคนคิดจะเล่าให้แปลกโดย แต่งเป็นบทกลอนให้คล้องกัน ใช้ขับเป็นลำนำ มักใช้กรับขยับ เป็นจังหวะทำนองขับเสภาเรียบง่าย นักเรียนอาเรียนขับเองได้ กถอนสุภาพหรือกลอนแปด บทหนึ่งมี 4 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ วรรครองและวรรคส่ง แต่ละวรรคจะมี 7-9 คำ แต่ส่วน มากนิยม 8 คำ จึงได้ชื่อว่า กลอนเเปดมีบังคับฉันทลักษณ์

ศศิิลลปปะะกการใช้ถ้อยคำและสำนนววนนภภาาษษาา 15 กลวิธีการดำเนินและผูกเรื่อง - การตั้งชื่อเรื่อง ใช้ชื่อตัวละรคัวเด่นของเรื่อง คือ ชื่อขุนช้าง ขุนแผน และแบ่งเป็นตอน มาให้เรียนเกี่ยวกับประเพไทยในสมัยก่อน ดอน ที่นำมาให้นักเรียนได้เรียนตอนนี้คือ ตอนพลายแก้วแค่งงานกัยนาง พิม ทำให้เกิดความรู้สึกอยากอ่านอยากทราบเนื้อหาว่า ประเพณีการ แต่งงานเป็นอย่างไร -การดำเนินเรื่อง รวดเร็ว เด่นตลอดเรื่อง บทถนทนาตอบใต้ของตัวละคร ก็ตมค่าย น่าติดตาม เป็นไปตามลำดับขั้นตอน เนื้อเรื่องบ่งบอกขั้น ตอนของประเพณีการแต่งงานของคนไทยสมัยก่อน ได้อย่างละเอียด แถะให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินไนบางตอนอีกด้วย

ศศิิลลปปะะกการใช้ถ้อยคำและสำนนววนนภภาาษษาา 16 ฉากหรือบรรยากาศ บรรยากาศในงานแต่งงานจะมีการแห่ขันหมาก กันอย่างครึกครื้น สนุกสนาน มีการนำสร้อยทอง เข็มขัด ทอง เข็มขัดนาคมากั้นขันหมากดามประเพณี มีผู้คนมา ช่วยงานมากมาย พอได้ฤกษ์งามยามดีท่านสมภารก็สวม มงคลให้คู่บ่าวสาวให้เข้าสู่พิรีแต่งงาน

ศศิิลลปปะะกการใช้ถ้อยคำและสำนนววนนภภาาษษาา 17 1. การใช้ถ้อยคำ เป็นถ้อยคำง่าย ๆ มีความหมายตรงตามตัว ไม่มี คำศัพท์ยากอ่านแล้วเข้าใจ 2. การใช้อำนวนโวหาร แบบพรรฒนาแถะบรรยายโวหาร มีการใช้คำ สอนเตือนสติ 3. การใช้บทเปรียบเทียบ 3.1 เปรียบเทียบเกินจริง 3.2 เปรัยบเป็นอุปมาอุไมย

รรสสววรรรณคดีหรือลีลาของกลลออนน 18 1. เสาวรจนี (บทชมความงาม) 2. นารีปราโมทย์ (บทเกี๊ยว ฝากรัก) ในบทนี้ไม่มี 3. พิโรธวาทัง (บทโกรธ ตัดท้อ ประชดประชัน เสียดสี) 4. อัตตาปังคพิสัย (บทโศก คร่ำครวญ)

ขข้้ออคิิดที่ได้จากเเรรืื่่อองง 19 1. สิ่งสำคัญของผู้ที่มาเป็นผู้นำครอบครัว คือ ต้องขยันและรู้จักทำ มาหากินแม้จะยากจน แค่หากมีความขชัน อดทน ก็จะสร้างฐานะความ เป็นอยู่ให้ดีขึ้น 2. เกิดเป็นหญิงต้องรู้จักการวางตัว รู้อักหน้าที่ของภรรยาเป็นแม่ศรี เรือน 3. ผู้เป็นแม่ย่อมรักและหวังดีต่อถูกเสมอ 4. ดนไทยในสมัยโบราณ มีความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์มาก ที่ยังเห็นมี มาจนทุกวันนี้ คือ ความเชื่อเรื่องฤกษ์ยาม 5. การจะทำสิ่งใดก็ตามขนบธรรมเนียมประเพณี ไม่ควรฝ่าฝืน

ททัศนะของผู้เขขีียยนน 20 1. ผู้เขียนเรื่องเสภาขุนช้างขนเผน ตอนพลายแก้วแต่งงานกับ นางพิม เพื่อต้องการให้ทราบถึงขนบรรรมเนีมประเพณีการแต่งงาน ว่าตามขั้นตอนเป็นอย่างไร 2. อ่านเรื่องนี้จบแล้วสะท้อนให้เห็นถึงปัจจุบันคือ การแต่งงาน สมัยก่อนกับสมัยปัจจุบันแตกต่างกันมาก คือ สมัยปัจจุบันเป็นการ แต่งงนเอาหน้าเอาตา เป็นการคำน้ำพริกละลายแม่น้ำ บางทีแต่ง เร็จต้องมาหาเงินใช้หนี้ บางคู่จัคงานแต่งงานใหญ่โดมโหราญแต่ ยังอยู่ไม่ทันไร เลิกลากันแล้ว ดังคำโบราณว่า อยู่กันยังไม่ทันกัน หม้อข้าวดำก็เลิกลากันไปแล้ว

คคววามรู้หรือคุณค่าของเรื่อองง 21 1. ด้านภาษา คุณคำต้านการใช้ถ้อยคำสำนวนที่ไพเราะคม ดายอ่านแล้วทำให้เกิดความเพลิดเพลินและบางตอนก็แทรกอารมณ์ ขันไว้ด้ว ทำให้นักเรียนได้เห็นตัวอย่างการใช้ภาษาได้อย่างชัดเจน การเนคำของบทกถอนมีความสอดคล้องฟังแล้วสละสลวยรื่นหูดี 2. ด้านศาลนา คือ ตนไทยจะเชื่อเรื่องฤกษ์ยามเวถาจะมี ประเพณีการแต่งงานและฤกข์ยามการสร้างเรือนหอ เช่น การยก เสาเอก นิมนต์พระมาเจิมเสาเอกเพื่อตั้งเสาเอกเป็นสิริมงคลกับบ้าน เรือนแถะผู้อยู่อาศัย และดูฤกษ์ยามงานแต่ง ก็จะไปหาพระที่วัดให้ ช่วยดูฤกษ์ยามงานแต่งงาน นิมนต์พระมาสวมมงคลแก่บ่าวสาวที่ บ้านเพื่อทำพิธีต่อไป

คคววามรู้หรือคุณค่าของเรื่อองง 22 ต่อ.... 3. ค้านสังคม ะท้อนให้เห็นว่า ในสมัยก่อนจะเห็นได้ว่าเวลามี ครอบครัวฝ่าอชายจะต้องดูแลฝ้ายหญิงทำมาหากินเลี้ยงครอบครัว ส่วนฝ่าย หญิงก็จะเป็นแม่ตรีเรือนอยู่บ้นหุงหาอาหาร ทำกับข้าว ดูแลบ้านเรือน เวลามี ถูกก็เลี้ยงถูกอยู่กับบ้าน 4. ค้านวัฒนธรรม จะเห็นได้ว่า วัฒนธรรมการแต่งกายสมัยก่อนเวลาอยู่บ้านใส่ ผ้านุ่งโจงกระเบน มีผ้าแนบอก และเวลาออกนอกบ้านไปไหนมาไหนก็จะสวมเสื้อ แขนยาวแล้วห่มผ้าสใข นุ่งโจงกระเบน แถั่วแต่งตัวให้สมหน้าตมตา ให้ดูดีมีสง่ส่วน ชุดที่ใส่ในงานแต่งานก็จะเป็นชุดไทย มาจนถึงทุกวันนี้ก็ยังเป็นชุดไทยอยู่ อาจจะมี การประยุกต์ให้เหมาะสมทันสมัยบ้างแต่ก็ยังคงแบบไว้เป็นชุดไทยที่สวยงาม เพราะ ชุดไทยเป็นชุดที่มีเอกลักษณ์ประชำชาติที่สวยงามที่สุด จะสังเกตเห็นว่า ปังจุบันนี้เรา จะไม่แต่งกายชุดไทยกันแล้วเพราะประเทศชาติเริ่มพัฒนาขึ้นเป็นแบบสาก แต่เราจะ เห็นคู่บ่าวสาวแต่งชุดไทยอย่างสวยสดงคงาม ครบองค์ทรงเครื่องก็ประเพมีงาน แต่งงานเป็นส่วนใหญ่ในปัจจุบันนี้

คคววามรู้หรือคุณค่าของเรื่อองง 23 ต่อ.... 5. ค่านิยม จะสังเกตเห็นได้ว่า ประเพณีการแต่งงานเป็นค่านิยม สืบทอดกันมานานมาก ที่สำคัญก็คือ การสู่ขอเข้าสาวให้ถูกต้องตามปงะ เพณี และมีสินสอดทองหมั้น ตั้งขบวนแห่ขันหมากให้ครบขั้นตอนของ งานแต่งงานและในเรื่องงานแต่งานนี้ก็จะสังเกตได้ว่า ถ้าบ้านใครมีการ จัดงานแต่งงานขึ้น จะมีญาดีพี่น้อง เพื่อนบ้านมาช่วยงานของเรา คราว หน้ำาบ้านโครมึงานเราก็ไปช่วยดอบแทนเช่นกัน ดังสุภาษิดดำพังเพย ว่า น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งบำา แปลว่า พึ่งพาอาศัยกัน ส่วนทางฝ่ายเจ้าภาพ ทั้งสองฝ่ายก็จะทุ่มเทจัดงานอย่างเต็มที่เพื่อให้ผู้มาร่วมงานประทับใจ และเป็นหน้ำเป็นตาเข้าภาพด้วย และที่สังเกดเห็นกันเป็นประจำทุกงาน ญาติพี่น้องเพื่อนบ้นเวลาจะไปร่วมงานกันแต่ละทีก็จะแค่งตัวกันสวยงาม ใส่เครื่องประดับ สร้อยคอ ทองหยอง เพื่อประคับบารมีของตน

เเพลงประกอบบ 24 ขับเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วแต่งงานกับนางพิม

แบบทดสสออบบ 25 แบบทดสอบเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วแต่งงานกับนางพิม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook