รูปแบบของภาชนะบรรจุยาปราศจากเชื้อ 1. หลอดยาฉีด หรือ แอมพูล (Ampoules for injectables) หลอด ยาฉีด หรือแอมพูล ใช้สาหรับยาฉีด ขนาดใช้ครั้งเดียว ปริมาตรไม่เกิน 20 มิลลิลิตร 2. ขวดแก้วสาหรบั บรรจุยาฉีดปริมาตรน้อย หรือ ไวแอล (Vials for injectables) เปน็ ภาชนะบรรจุแบบใช้หลายครั้ง มีขนาดบรรจุต้ังแต่ 1 - 100 มลิ ลลิ ติ ร 3. กระบอกฉีดยาที่บรรจุยาพร้อมฉีด (Prefillable syringes) เป็น กระบอกฉดี ยาทบี่ รรจุยาพร้อมฉีด มีท้ังผลิตจากแก้ว และผลิตจากพอลิ เมอร์ ส่วนใหญ่จะมีเข็มฉีดยาติดมาด้วยพร้อมสาหรับฉีด ใช้งานง่าย สะดวก ลดความผิดพลาดจากการให้ยา ปริมาณยาที่ให้ถูกต้องแม่นยา และลดความเสย่ี งจากการปนเป้อื นได้ดี 4. หลอดแก้วคาร์ทริดจ์ สาหรับบรรจุยาฉีด (Glass cartridges for injectables) เป็นหลอดแก้วบรรจุยาฉีดบางชนิด เช่น ยาชาเฉพาะที่ ยาสาหรับงานทนั ตกรรม อนิ ซลู นิ สาหรับฉีด โดยเวลาใช้งานต้องนาคาร์ ทริดจ์ไปประกอบกับอุปกรณ์พิเศษ เช่น dental cartridge syringe หรอื insulin pen เพ่อื ฉดี ยาให้กับผปู้ ุวย 5. ขวดแก้วสาหรับบรรจุยาฉีดปริมาตรมาก (Infusion glass bottles) มีขนาดตั้งแต่ 50-1000 มิลลิลิตร และจะต้องบรรจุยาฉีด สาหรับใช้คร้ังเดียวเท่าน้ัน ถ้าเปิดแล้วใช้ไม่หมดต้องทิ้งไป ปัจจุบันใช้ ขวดแก้วนี้ลดลง เนื่องจากผู้ผลิตยาหันไปใช้ภาชนะบรรจุท่ีทาด้วย พลาสติกแทน 6. ขวดชนิดก่ึงแข็ง (Semi-rigid bottles) ทาจาก polyethylene ใช้บรรจุยาฉีดปริมาตรมาก 100-1000 มลิ ลิลติ ร ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 51
7. ถุงสาหรับบรรจุยาฉีดปริมาตรมาก (Bags) บรรจุยาฉีด 500- 1000มลิ ลิลติ ร ทาจาก polyvinyl chloride (PVC) 8. ขวดพลาสติกชนดิ บีบสาหรับบรรจุยาหยอดตา 9. หลอดพลาสตกิ ชนดิ บีบสาหรับบรรจุขผ้ี งึ้ ปูายตา รปู แบบของภาชนะบรรจยุ าปราศจากเชอื้ ภาชนะบรรจยุ าหยอดตา ชนดิ หลอด nebule และชนดิ ขวด ภาชนะบรรจยุ าปาู ยตา ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 52
ข้อมูลแสดงบนบรรจุภณั ฑ์ของยา ยาทกุ ชนิดทุกประเภทกาหนดให้ต้องมีฉลากยา หรือข้อมลู บนกล่อง ผลติ ภณั ฑย์ า และเอกสารกากับยา (product information leaflet) เพราะฉลากยา และเอกสารกากับยาเหลา่ นี้ คือแหลง่ ข้อมูลสาคญั ที่ผูใ้ ช้ ยา รวมท้ังบุคลากรทางการแพทย์ที่ใชย้ านน้ั กบั ผูป้ วุ ย ควรรู้ไวป้ ระกอบ ในการใช้ยา ในเอกสารกากับยาจะระบุรายละเอียดเกยี่ วกับยา โดยเฉพาะขอ้ มูลท่ีเกยี่ วข้องกับความปลอดภัย รวมท้งั คาเตือนชนดิ Black box warnings ในการรักษาโรคกลมุ่ ตา่ งๆ เพ่อื ใหม้ ีการจัดการ ตดิ ตาม และการเฝูาระวังผู้ปวุ ยอย่างเหมาะสม ความปลอดภัยในการใช้ ยาน้นั นบั เปน็ หวั ใจสาคญั ของการบริบาลทางเภสชั กรรม การทราบ ข้อมลู ดา้ นความปลอดภยั ที่สาคัญของยา รวมท้ังขอ้ มลู อ่ืนๆทเ่ี ก่ียวข้อง ทาให้บคุ ลากรทางการแพทย์สามารถตัดสนิ ใจให้การรักษาบนพืน้ ฐาน ของความเสี่ยง และประโยชนท์ ผี่ ปู้ ุวยแตล่ ะรายจะไดร้ ับ อีกท้งั สง่ เสริม ให้มคี วามเขา้ ใจ สามารถนามาประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบัติงาน และเป็น ประโยชน์ในการรกั ษาแกผ่ ู้ปุวยตามทค่ี าดหวงั และปลอดภยั พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ความในมาตรา 25 กาหนดใหผ้ ไู้ ด้รับ อนญุ าตผลิตยาแผนปจั จบุ นั ต้องจัดให้มีฉลากตามที่ขึ้นทะเบียนตารับยา ไว้ โดยจะต้องปิดไว้ท่ภี าชนะและหีบหอ่ บรรจุยาหรือฉลากและเอกสาร กากับยา ดังตัวอย่างในรปู ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 53
1. ชือ่ ยา (Product name) 2. รปู แบบยา (Dosage form) 3. ช่ือของตัวยาสาคญั (Name of Active Ingredient(s)) 4. ความแรงของตวั ยาสาคัญ (Strength of Active ingredient(s)) 5. รนุ่ การผลิต ครั้งทผ่ี ลิตหรือ วิเคราะหย์ า (Batch number / Lot number) 6. วันผลิต (Manufacturing date) 7. วันสนิ้ อายุ (Expiration date) หรอื แสดงคาว่า “ยาสนิ้ อาย”ุ 8. วิธกี ารให้ยา (Route of Administration) 9. สภาวะการเก็บรกั ษา (Storage condition) 10. เลขทะเบียนตารบั ยา (Country’s Registration Number) 11. ช่ือและทีอ่ ยขู่ องผรู้ ับอนุญาตผลติ หรือนาเข้า 12. ชือ่ และที่อยู่ของผูผ้ ลิตในต่างประเทศ (ในกรณนี าหรอื ส่ังยาแผนปัจจุบนั เข้ามาในราชอาณาจักร) 13. ประเภทของยา เชน่ ยาใช้ภายนอก, ยาใชเ้ ฉพาะท่ี, ยาอนั ตราย, ยา ควบคุมพิเศษ, วตั ถุออกฤทธ์ิ เปน็ ต้น 14. วธิ ีใช้ยา (Dosage and Administration) 15. ขนาดบรรจุ (Pack sizes) 16. คาเตือนตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (Warning) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 54
ขอ้ มูลเหล่านี้ หมายถึงอะไร สาคัญอย่างไร และมีประโยชนอ์ ยา่ งไร - ช่ือยา ทัง้ ชอื่ สามัญของตัวยา (ชื่อของตัวยาสาคัญ (Name of Active Ingredient(s))) และช่ือทางการค้า (Product name) ช่ือสามัญของยา เป็นเรื่องท่ีสาคัญมาก เพราะจะเป็นการช่วยปูองกันการใช้ยาซ้าซ้อน กรณีต้องใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงยาท่ีมีตัวยาสาคัญ มากกว่า 1 ชนิด การที่ผู้ปุวยได้รับยาท่ีมีช่ือสามัญทางยาเหมือนกัน หรือได้รับยาที่มีกลไกการออกฤทธิ์เหมือนกันซึ่ง จัดเป็นความคลาด เคลื่อนทางยาท่ีอาจส่งผลให้ผู้ปุวยเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาหรือ เกดิ อนั ตรายแก่ชวี ิตผู้ปวุ ยได้ - รปู แบบยา (Dosage form) จากการที่ตัวยาชนิดเดียวกัน อาจทาได้ หลายรปู แบบ รูปแบบยาท่ีแตกต่างกันน้ีมีจุดประสงค์การใช้และวิธีใช้ที่ แตกต่างกัน รวมถึงรูปแบบท่ีต่างกันจะช่วยให้ความสะดวกและการ ยอมรับของผู้ปุวย (patient compliance) รวมถึงความปลอดภัยแก่ ผู้ปุวยในการใช้ยา การที่ผู้ปุวยให้การยอมรับจะทาให้สามารถใช้ยา ดงั กลา่ วไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และต่อเน่ือง เช่น ยาท่ีต้องบดหรือเคี้ยวยาก่อน กลืน หรือยาที่ห้ามแบ่งห้ามบด หรือยาที่ให้อมใต้ล้ินเพ่ือให้ยาออกฤทธิ์ เร็ว แต่ถ้าใช้ยาไม่ถูกต้อง ความสะดวกนั้นอาจจะกลายเป็นโทษได้ ยงั ผลให้การรักษาไมเ่ ปน็ ไปตามแผน ดังน้ันเราจึงต้องทราบรูปแบบของ ยาแต่ละชนิดทีใ่ ช้ - ความแรงของตัวยาสาคัญ (Strength of Active ingredient(s)) นอกจากชื่อของตัวยาสาคัญท่ีมีฤทธิ์ในการบาบัดรักษาโรค ท่ีเราต้อง ทราบแล้ว ความแรงหรือปริมาณของตัวยาสาคัญก็ต้องให้ความใส่ใจ ด้วย เพราะยาน้ันอาจมีหลายความแรง ขนาดของยาท่ีให้แก่ผู้ปุวยแต่ ละรายแตล่ ะกรณีก็จะแตกต่างกนั ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 55
- เลขทะเบียนตารับยา ทั้งยาแผนปัจจุบัน และยาแผนไทย หรือแผน ทางเลอื ก (ยาแผนโบราณ) ต้องขึน้ ทะเบยี นยากบั คณะกรรมการอาหาร และยา เม่ือผ่านการอนุมัติจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา แล้ว จะได้เลขทะเบียนยา หรือทะเบียนยาเลขท่ี หรือ Reg. No. ตาม ด้วยอักษรและตัวเลข เช่นเลขทะเบียนยาท่ี G 70/62 หรือทะเบียนยา เลขที่ G 70/62 หรือ Reg. No. 70/62 โดยไม่ต้องมีกรอบ อย. (ถ้ายา ใสเ่ ลขทะเบียนเป็นกรอบ อย. ให้สันนิษฐานว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ข้ึน ทะเบยี นยา) และแสดงถึงยานัน้ มีผลในการรักษาจริง - รุ่นการผลิต ครั้งที่ผลิตหรือวิเคราะห์ยา (Batch number / Lot number) เลขที่ หรืออักษรแสดงครั้งท่ีผลิตหรือวิเคราะห์ ซึ่งมักใช้ คาย่อเป็นเช่น Lot No., Cont.No., Batch No. หรือ L , C , L/C , B/C แล้วตามด้วยเลขแสดงครั้งท่ีผลิต เช่น Batch No. 765 คือเป็น ผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตครั้งที่ 765 ซ่ึงปกติแล้วตัวเลขท่ีแสดงจะเป็นสิ่งที่แต่ ละบริษัทจะกาหนดเพ่ือประโยชน์ในการสืบค้นข้อมูลต่างๆ ในการผลิต เช่น เมื่อผลิตภัณฑ์มีปัญหาหากบอกเลขที่นี้จะทาให้สะดวกในการ สืบคน้ ข้อมลู การผลิตตอ่ ไป เช่น เมื่อมีการเรียกเก็บคืนยา จะมีการแจ้ง จากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) แจ้งเรียกคืน ผลิตภัณฑ์ยา ... เลขทะเบยี น ... Lot No. … ผลิตเม่ือ …. วันท่ีหมดอายุ ….. ผรู้ บั อนุญาตคือ บริษัท …. เนื่องจาก …. เราจะสามารถตรวจสอบ จากรุ่นการผลติ ได้ - วันผลิต (Manufacturing date) และวันส้ินอายุ (Expiration date) วันหมดอายุหรือวันสิ้นอายุของยา คือวันท่ีกาหนดอายุการใช้ยาสาหรับ ยาที่ผลิตในแต่ละคร้ัง เพ่ือแสดงว่ายาดังกล่าวมีคุณภาพมาตรฐานตาม ข้อกาหนดตลอดช่วงระยะเวลาก่อนถึงวันส้ินอายุของยา กรณีท่ีระบุ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 56
เฉพาะเดือนและปีที่หมดอายุ วันหมดอายุจะเป็นวันสุดท้ายของเดือน ยาจะมีคุณภาพที่ดีจนถึงอายุยาท่ีกาหนด หากอยู่ภายใต้การจัดเก็บท่ี เหมาะสมตามที่แนะนาโดยบริษัทผู้ผลิต แต่หากมีการจัดเก็บยาท่ีไม่ เหมาะสม ยาจะเสื่อมสภาพและมีคุณภาพลดลงต่ากว่ามาตรฐาน กาหนด ก่อนวันหมดอายุท่ีระบุไว้ ปัจจัยท่ีส่งผลให้ยาหมดอายุ หรือ เส่ือมคุณภาพ เช่น ความช้ืนสูง ปริมาณอากาศที่ผ่านเข้าออกในตัวยา ความรอ้ น แสงแดด เป็นต้น ดังน้ันการสังเกตลักษณะทางกายภาพของ ยาร่วมด้วยจัดเป็นส่ิงท่ีสาคัญไม่น้อยไปกว่ากัน เพราะหากยามีลักษณะ ที่เปลี่ยนไปจากเดิมแล้ว ก็อาจอนุมานได้ว่าคุณภาพของยาน่าจะ เปลี่ยนแปลงและไมค่ วรใชย้ าน้ันตอ่ ไป - สภาวะการเก็บรกั ษา (Storage condition) การเก็บรักษายาให้มี สภาพท้ังคุณสมบัติทางเคมี ทางกายภาพ ทางชีวภาพ ผลการรักษา และความเปน็ พษิ ให้อยู่ในเกณฑ์ที่กาหนด สามารถใช้ได้ตลอดอายุของ ยา หรือที่เรียกว่า ความคงสภาพของยา (stability) สามารถนาไปใช้ รักษาโรคให้กับผู้ปุวยได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จะต้องเก็บยาน้ันใน สภาวะและภาชนะตามที่บรษิ ทั ระบุไว้ - ประเภทของยา ท่ีกล่องยา หรือขวดยา จะระบุว่าเป็นยาประเภทใด \"ยาอันตราย\" \"ยาควบคุมพิเศษ\" \"ยาใช้ภายนอก\" หรือ \"ยาใช้เฉพาะท่ี\" แล้วแต่กรณี ด้วยอักษรสีแดงเห็นได้ชัดเจน ในกรณีเป็นยาอันตราย ยา ควบคุมพเิ ศษ ยาใช้ภายนอก หรือยาใช้เฉพาะท่ี เปน็ การแสดงข้อมูลให้ ผ้ใู ชท้ ราบว่ายาดังกล่าวมีข้อควรระวังในการใช้ยามากน้อยแค่ไหน หรือ ควรใช้ยานี้ภายใต้การดูแลของแพทย์หรอื เภสชั กร “ยาควบคุมพิเศษ” เป็นยาที่อาจเกิดอันตรายได้สูงหากใช้ไม่ถูกต้อง ผู้ปวุ ยทต่ี ้องใชย้ าน้ตี ้องได้รบั การวนิ ิจฉยั จากแพทย์ก่อน ยาบางชนิดมีใช้ เฉพาะในโรงพยาบาลเท่าน้ัน บางชนิดท่ีมีในร้านขายยาจะจาหน่ายได้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 57
เฉพาะมีใบสั่งแพทย์ ยาในกลุ่มน้ีสังเกตได้จาก “อักษรสีแดง” ที่ระบุว่า “ยาควบคุมพิเศษ” บริเวณกล่อง หรือภาชนะบรรจุยา ตัวอย่างยาใน กล่มุ นี้เช่น ยาเม็ดสเตียรอยด์ เป็นต้น “ยาอันตราย” เป็นยาที่ควรใช้ภายใต้คาแนะนาของแพทย์หรือเภสัชกร หากใชไ้ มถ่ กู ต้องทงั้ ปริมาณและระยะเวลา อาจทาให้เกิดอันตรายข้ึนได้ จาหน่ายไดเ้ ฉพาะในรา้ นขายยาแผนปัจจุบันท่ีมีเภสัชกรแผนปัจจุบันทา หน้าท่ีควบคุมดูแล หรือจาหน่ายได้ในโรงพยาบาล สถานีอนามัยหรือ คลินิกที่มีแพทย์แผนปัจจุบันประจาการอยู่ จะมีคาว่า “ยาอันตราย” ระบุไว้บนฉลากข้างภาชนะบรรจุ “ยาใช้ภายนอก” หมายถงึ ยาที่ใชส้ าหรับภายนอกร่างกาย ไม่รวมถึงยา ใช้เฉพาะท่ี “ยาใช้เฉพาะท่ี” หมายถึง ยาท่ีใช้ได้เฉพาะท่ีกับหู ตา จมูก ปาก ทวาร หนัก ชอ่ งคลอด หรอื ท่อปัสสาวะ “ยาสามัญประจาบ้าน”เป็นยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณท่ี รัฐมนตรีประกาศ ให้เป็นยาสามัญประจาบ้าน ยาก ลุ่มนี้ไดร้ ับการพิจารณาแล้ววา่ ปลอดภัย เปน็ อนั ตราย ต่อสุขภาพน้อย สามารถใช้ได้เลย ไม่ต้องอยู่ในความ ดูแลของแพทย์ เป็นยาท่ีจาหน่ายได้โดยท่ัวไปไม่ต้อง มีใบอนุญาตขายยา และให้ผู้ปุวยสามารถตัดสินใจ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 58
เลือกใชย้ าด้วยตนเองตามอาการเจ็บปุวยเบื้องต้น ยาในกลุ่มนี้สังเกตได้ จาก “อกั ษรสีเขยี ว” ท่ีระบวุ ่า “ยาสามัญประจาบ้าน” บริเวณกล่อง หรอื ภาชนะบรรจุยา สาหรับยาท่ีจัดเป็น วัตถุท่ีออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ตาม พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ.2564 และ ประมวลกฎหมายยาเสพติด ท่ีมีผลบังคับใช้ เม่ือ 9 ธันวาคม 2564 กาหนดให้ ระบุคาว่า “วัตถุออกฤทธ์ิ” ด้วยอักษรสีแดงเป็นระยะ ต่อเนอื่ งกันบนพ้ืนสีขาวมเี สน้ กรอบสีแดง ตลอดฉลากในแนวระดับ เห็น ไดช้ ัดเจน อีกทั้งมีข้อความว่า “คาเตือน อาจเสพติดและให้โทษ ต้องใช้ ตามแพทย์สั่ง” ด้วยอักษรสีแดง มีลักษณะและขนาดท่ีชัดเจนและเด่น กวา่ ข้อความอนื่ ในฉลาก - ช่ือและที่ตั้งของผู้ผลิต ทาให้ทราบแหล่งท่ีผลิตยา ซ่ึงมีทั้งยาที่ผลิต และนาเข้าจากต่างประเทศ ได้แก่ ยาต้นแบบ (original) และยาท่ี ผลิตในประเทศ (Generic drug) ช่ือและท่ีต้ังของผู้ผลิต เป็นข้อมูลท่ีมี ความสาคัญโดยเฉพาะกรณีที่เกิดปัญหาเก่ียวกับยาของบริษัทน้ันๆ เรา สามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงเพื่อร้องเรียนได้ถูกต้อง โดยระบุเลขท่ีหรือ ครั้งที่ผลิตของยานั้นเพื่อให้หน่วยงานรับเรื่องทาการตรวจสอบได้ ถูกต้องและรวดเร็ว - ขนาดและวิธีใช้ยา ทาให้ทราบข้อกาหนดการใช้ยา หรือเหตุผลของ การใช้ยา ขนาดและระยะเวลาการใช้ยาท่ีถูกต้องเหมาะสมกับผู้ปุวยใน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 59
แต่ละกรณี เช่น รับประทานอย่างไร เวลาใด จานวนเท่าไร และควร รับประทานนานแคไ่ หน - คาเตือน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (Warning) เร่ือง ยาที่ ต้องแจ้งคาเตือนการใช้ยาไว้ในฉลากและที่เอกสารกากับยาและ ข้อความของคาเตอื นของยา การจัดให้มีคาเตือนการใช้ยาไว้ในฉลากยา และท่ีเอกสารกากับยา สาหรับยาท่ีรัฐมนตรีประกาศ ต้องแจ้งข้อมูลท่ี เกยี่ วข้องกับความปลอดภัย รวมทงั้ คาเตือนและข้อความคาเตือนการใช้ ยาในการรักษาโรคต่างๆ ไว้ในฉลากยา และมีรายละเอียดที่มากข้ึนใน เอกสารกากับยา เพ่ือให้มีการจัดการติดตาม และการเฝูาระวังผู้ปุวย อย่างเหมาะสม ได้แก่ ผลข้างเคียงของยา ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวังและ คาเตอื นท่สี าคญั ในกรณีฉลากมเี อกสารกากับยาอยู่ด้วย คาเตือนการใช้ ยา จะแสดงไว้ท่ีส่วนใดส่วนหน่ึงของฉลากยา หรือท่ีเอกสารกากับยาก็ ได้ และหากศูนย์เฝูาระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้รับรายงานอาการไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาใดๆ จนอาจเกิดความไม่ปลอดภัยกับผู้ปุวยได้ กระทรวงสาธารณสุขจะออกประกาศให้ปรับปรุงฉลากยาและเอกสาร กากับยาเรื่องคาเตือนการใช้ยา เพ่ิมข้อมูลความปลอดภัย (safety information) ให้เป็นปัจจบุ ันและเหมาะสม Product information leaflet black box warnings ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 60
หากสั งเกตในเอกส ารกากับยาของยาท่ีเป็นยานาเข้าที่ ผลิ ตแล ะ จาหน่ายในสหรัฐอเมริกา จะมี“คาเตือนชนิด black box warnings” หมายถึงคาเตือนถึงอันตรายหรือผลข้างเคียงท่ีรุนแรงจากการใช้ยา ที่ ต้องระมัดระวังหรือต้องติดตาม และเฝูาระวังในผู้ปุวยที่ใช้ยานั้น ซ่ึงจะ พิมพด์ ว้ ยตัวอกั ษรสดี าหนาในเอกสารกากับยา ดังนั้นข้อมูลของฉลากยาบนผลิตภัณฑ์ยา และเอกสารกากับยา (product information leaflet) โดยเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ความปลอดภัย รวมทั้งคาเตือนชนิด Black box warnings ท่ีกล่าวมา ข้างต้น เราควรให้ความใส่ใจและให้ความสาคัญในการอ่าน และปฏิบัติ ตามอย่างเคร่งครัด และบางเร่ืองควรแจ้งให้ผู้ใช้ยาทราบ เพราะอาจมี ผลกระทบต่อสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ใช้ได้ ข้อมูลของฉลากยา บนผลิตภัณฑ์ยา และเอกสารกากับยา นอกจากจะช่วยให้เรามีความ เข้าใจในยาน้ันๆ สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง เกิดผลการรักษาแก่ ผู้ปุวยตามที่คาดหวังและปลอดภัยแล้ว ยังเป็นแหล่งที่เราใช้ศึกษาหา ความรูด้ า้ นยาอกี ดว้ ย ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 61
ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 62
คาศัพท์ทางเภสัชกรรมเบือ้ งต้น (ท่ใี ช้ในงานเภสัชกรรม หรือ เกยี่ วข้องกบั ยา) A Absorption การดูดซมึ ยา Adverse Drug Reaction อาการไม่พงึ ประสงคจ์ ากยา Anaphylactic shock/anaphylaxis ปฏิกริ ิยาที่เกดิ อาการแพ้อย่าง รุนแรงและเฉยี บพลัน Antidote ยาต้านพิษ ใชร้ กั ษาผปู้ วุ ยทไ่ี ด้รับสารพษิ B Bactericidal ฤทธ์ิฆ่าเชอื้ แบคทีเรีย Bacteriostatic ฤทธ์ิยบั ยัง้ การเจริญเติบโตของแบคทีเรยี Batch Number / Batch No. เลขที่ ครงั้ ท่ีผลิต ถา้ ยามี Batch. No. เหมือนกัน แสดงว่า ผลติ ออกมาครง้ั เดียวกัน C Cold Chain system ระบบลกู โซความเย็น เป็นการออกแบบและ จัดการทจ่ี ะทาให้วัคซนี หรือยาให้อยู่ในอณุ หภูมิท่ีถกู ต้องเหมาะสม ตลอดเวลาทง้ั ในขณะจดั เก็บและขนส่ง D Dispensing การจ่ายยา Distribution การกระจายยาเข้าส่บู ริเวณตา่ งๆของร่างกาย Dose/dosage ขนาดยา ใช้ยาในขนาดทเี่ หมาะสมกับผ้ปู ุวยในแตล่ ะ กรณี และความถ่ีในการใหย้ าทเ่ี หมาะสม ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 63
Duration หมายถงึ เวลาในการออกฤทธิ์ของยา ระยะเวลาตัง้ แตย่ าเร่มิ ออกฤทธิจ์ นยาหมดฤทธ์ิ (duration of treatment ระยะเวลาในการ ให้ยา ทีเ่ หมาะสมในการรักษาตามแนวทางทีก่ าหนดไว้) E Elimination การกาจัดยาออกจากรา่ งกาย Expiration date /Exp. date วันที่หมดอายุ G Generic drug ยาทผ่ี ลิตขึ้นโดยให้มคี ุณสมบตั ิดา้ นเภสชั วิทยาให้ เหมอื นกบั ยาต้นแบบ (Original drugs) Grain มาตรวดั หนว่ ยของน้าหนัก 1 เกรน เท่ากบั 64.799 มิลลกิ รมั H Half-life (t1/2) ระยะเวลาท่ีปริมาณยาลดลงเหลอื ครง่ึ หนึ่ง คา่ น้ี นามาใชใ้ นการกาหนดระยะเวลาในการให้ยา High Alert Drug (HAD) ยาท่มี คี วามเสย่ี งสูง ยาทีม่ คี วามเสย่ี งต่อการ เกิดความผิดพลาดในกระบวนการรักษา และก่อใหเ้ กดิ อันตราย อาจถึง แกช่ ีวิต หากเกิดความผิดพลาดในการใชย้ า หรอื บรหิ ารยา I Indication ข้อบง่ ใชข้ องยา Ingredient ,active ตัวยาหลกั สารออกฤทธสิ์ าคญั Intradermal การให้ยาเข้าไปเพยี งแคใ่ นชน้ั หนังแท้ (Dermis) เทา่ นั้น Intramuscular การใหย้ าเข้าชั้นกล้ามเน้ือ Intravenous admixture ยาฉีดผสมที่ใหท้ างหลอดเลือดดา L Label ฉลากยา ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 64
Lot No. เลขที่ หรอื อักษรแสดงคร้งั ท่ีผลติ หรอื วิเคราะห์ มีความหมาย คล้าย Batch No. N Narcotics ยาเสพตดิ O Onset ระยะเวลาตั้งแต่ให้ยาไปจนถึงยาเร่ิมออกฤทธ์ิ Ophthalmic ตา Original drugs ยาตน้ แบบ ยารกั ษาโรคท่ผี ลติ คดิ คน้ ไดเ้ ปน็ ตัวยาแรกๆ จากบริษทั ผผู้ ลิต P Parenteral ยาเตรยี มที่ให้โดยไม่ผ่านลาไส้ ซึง่ หมายถึง ยาฉดี Parenteral Preparation Pharmacokinetics เภสชั จลนศาสตร์ การศกึ ษาวา่ ดว้ ยเรื่องยา เม่ือ ยาเข้าส่รู า่ งกายแลว้ มันเกดิ อะไรขน้ึ กับยาบา้ ง (what the body does to the drug) ซง่ึ มี 4กระบวนการ ได้แก่ Absorption, Distribution, Metabolism, และ Excretion (หรืออาจรวม Toxicity ด้วยกไ็ ด้) Pharmacodynamics เภสัชพลศาสตร์ เป็นการศกึ ษาการออกฤทธิ์ ของยาต่อร่างกาย (what drug does to the body) ตาแหนง่ ท่ียา ออกฤทธ์ิ และ ผลเปน็ อย่างไร ท้งั ผลในการรักษา และผลอันไมพ่ ึง ประสงค์ ได้แก่อาการขา้ งเคยี ง และพิษของยา Pharmacology เภสชั วทิ ยา เป็นวชิ าท่ศี กึ ษาเกยี่ วกบั ยาหรือสารเคมี ที่ ให้ไปจากภายนอก เกิดส่งิ ทีร่ ่างกายกระทาต่อยาหรือสารเคมีนน้ั และสง่ิ ที่ยาหรือสารเคมี เกดิ ปฏิกริ ิยากบั ระบบตา่ งๆในร่างกาย ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 65
(เปน็ การศึกษาท่ีเกีย่ วกับ Pharmacokinetics เภสัชจลนศาสตร์ และ Pharmacodynamics เภสชั พลศาสตร์) Placebo ยาหลอก หรือการให้ยาหลอกท่ีไม่ไดม้ ีฤทธใิ์ นการรกั ษาโรค นนั้ ได้ Prescription ใบสง่ั ยา R Receptor (drug receptors) ตวั รับยา คอื โมเลกุลเปูาหมายของการ ออกฤทธ์ขิ องยา Route of administration วธิ ีการบริหารยา/วิธใี ช้ยา/ชอ่ งทาง ในการ นายาเข้าสูร่ ่างกาย เพื่อผลการรกั ษาโรค Rx เปน็ คาย่อที่มาจาก “recipere” อา่ นว่า รซี เิ ป ซง่ึ เปน็ ภาษาลาตนิ เปน็ สัญลักษณ์วิชาชีพเภสัชกรรม ซง่ึ มกั ปรากฏบนใบสงั่ ยาจากแพทย์ ที่ เขยี นให้กบั เภสชั กร ซึ่งหมายความวา่ ใหเ้ ภสัชกรไปจัดยาตามท่แี พทยส์ ั่ง S Sedative ยากล่อมประสาท ยาสงบระงับประสาท ใช้ในการรกั ษา อาการวติ กกงั วลและอาการนอนไมห่ ลับ Side effects ผลข้างเคยี งของยา คือ ฤทธ์ิของยา ซ่งึ สามารถคาดเดา ว่าจะเกดิ ได้ และมักเก่ยี วขอ้ งกับขนาดยา Stat ใหย้ าทันที Subcutaneous การให้ยาเข้าใตช้ ้นั ผวิ หนัง Sublingual การใหย้ าอมใตล้ ้ิน เป็นทางในการบริหารยาเพื่อใหย้ าออก ฤทธิ์เรว็ ภายในเวลาไม่กีน่ าที และหลีกเล่ียงการเกิด hepatic first- pass metabolism T Therapeutic การบาบัดรักษา ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 66
Toxic substance สารพิษ สารท่ีมฤี ทธ์ิไม่พึงประสงคห์ รือมีอนั ตรายต่อ รา่ งกาย Total Parenteral Nutrition (TPN) การใหส้ ารอาหารผา่ นทางเสน้ เลอื ดดา Transdermal การให้ยาผา่ นทางผิวหนัง V Vial drug ยาท่มี คี วามจาเป็น หากผู้ปวุ ยไม่ได้รับยาอาจทาให้เสยี ชวี ิต ได้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 67
คาย่อทใ่ี ช้ในใบส่ังยา คาย่อที่ใช้ ย่อมาจากภาษาละติน ความหมาย a.c. ante cibos before meals กอ่ นอาหาร p.c. pos cibos after meals หลังอาหาร o.d. once daily วนั ละคร้งั b.i.d. bis in die twice a day วันละสองครง้ั t.i.d. ter in die three times a day วนั ละสามคร้งั q.i.d. quarter in die four times a day วนั ละสี่ครง้ั h.s. hora somni bedtime เมื่อเวลาเข้านอน stat statim immediately ให้ทันที cap capsula capsule แคปซูล tab tabella tablet ยาเม็ด Syr. Syrup ยาน้าเช่ือม BE both eye ตาท้งั สองข้าง inj. Injection ยาฉดี I.M. intramuscular ฉีดเข้ากล้าม I.V. intravenous ฉดี เขา้ หลอดเลอื ดดา MDI Metered dose Inhaler ยาพ่นสดู ชนิดที่ใช้ก๊าซ SL sublingually, อมใต้ลนิ้ a.m. ante meridiem morning p.m. post meridiem afternoon, evening tsp teaspoon ชอ้ นชา tbsp. tablespoon ช้อนโต๊ะ p.o. per os by mouth กนิ ทางปาก p.r.n. pro re nata ใชย้ าเม่ือจาเป็น (ทกุ .....ตามเวลาการออกฤทธ์ิ ของยา) q……h quaque…….hora every…….hours ทกุ .......ช่ัวโมง M. misce Mixture ยาน้าผสม mcg. Microgram ไมโครกรมั mg. Milligram มิลลิกรัม Cum With ด้วย,พร้อมกับ C หรือ c d/c unguentum \"discontinue\" or \"discharge\" ung. Ointment ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 68
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) เภสชั จลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) เป็นการศึกษาที่ว่าด้วยเร่ืองยา เมื่อยาเข้าสู่ร่างกาย โดยการรับประทานยา ฉีดยา พ่นยา แปะยา แล้ว เกิดอะไรข้ึนกับยาบ้าง หรือกระบวนการท่ีร่างกายจัดการกับยา (what the body does to the drug) ซ่ึงเป็นศาสตร์ท่ีเก่ียวกับความสัมพันธ์ ของระดับยาในเลอื ดเมื่อเวลาผ่านไปหลังจากร่างกายได้รับยา ซึ่งเราจะ แบ่งออกเป็น 4กระบวนการ ได้แก่ Absorption, Distribution, Metabolism, และ Excretion หรือที่เรียกชื่อย่อว่า ADME ซ่ึงจะ แตกต่างกนั ไปในผูป้ ุวยแตล่ ะราย และคุณสมบตั ทิ างเคมีของยาแตล่ ะตวั 1. การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย (absorption) การดูดซมึ ยาเขา้ สรู่ ่างกาย (absorption) หมายถึง การดูดซึมยาจาก บรเิ วณท่ใี หย้ าเข้าสหู่ ลอดเลือด การให้ยาโดยการรับประทาน การอมใต้ ลน้ิ การใช้ยาแบบแผน่ แปะ จะต้องผ่านกระบวนการดูดซึมยาเพื่อนายา เข้าสู่หลอดเลือด เช่น ยารับประทานจะถูกดูดซึมผ่านระบบทางเดิน อาหาร ยกเว้นโดยการฉีดเข้าเส้นเลือดดาโดยตรง (intravenous injection) สาหรับการให้ยาชนิดอมใต้ล้ิน (Sublingual administration) การ บริหารยา โดยการวางยาไว้ใต้ลิ้นเพื่อให้ยาดูดซึมผ่านเส้นหลอดเลือด ฝอยบริเวณเยื่อบุใต้ลิ้นเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงและรวดเร็ว จะใช้ สาหรับยาท่ีต้องการผลของยาอย่างรวดเร็ว หรือยาบางชนิดถูกทาลาย ได้โดยภาวะกรดในทางเดินอาหาร ทาให้ไม่สามารถให้โดยการ รับประทาน หรือยาที่ถูก metabolize (กล่าวถึงในข้อ3) อย่างรวดเร็ว ที่ตับ ซึ่งยาท่ีถูกดูดซึมโดยการอมใต้ลิ้นน้ีจะเข้าสู่ระบบไหลเวียนทั่ว ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 69
ร่างกาย systemic circulation ได้โดยตรงโดย (ไม่ผ่านขั้นตอน first pass metabolism (กล่าวถึงในข้อ3)) เช่น ให้ยาอมใต้ลิ้นเพ่ือช่วยชีวิต ผปู้ วุ ยทมี่ ีอาการเจบ็ หนา้ อกจากภาวะกลา้ มเน้ือหวั ใจขาดเลือด ยาชนดิ แผ่นแปะผวิ หนัง (transdermal patch)ยาละลายได้ดีใน ไขมนั (lipid solubility สูง) จะสามารถดูดซมึ ผ่านผิวหนังเขา้ สู่ systemic circulation (ไมผ่ ่านขน้ั ตอน first pass metabolism) เช่นกนั 2. การกระจายยาเขา้ สู่บรเิ วณต่างๆของร่างกาย (Drug Distribution) หลังจากที่ยาเข้าสู่หลอดเลือด (systemic circulation) แล้ว ยาจะ มีการกระจายเข้าสู่ของเหลวในร่างกายไปยังบริเวณต่างๆท่ัวร่างกาย ก า ร ก ร ะ จ า ย ข อ ง ย า ข้ึ น กั บ ป ริ ม า ณ เ ลื อ ด ที่ อ อ ก จ า ก หั ว ใ จ แ ล ะ ก า ร ไหลเวยี นเลอื ด โดยท่ีอวัยวะท่มี ีเลือดไปเล้ียงมาก เช่น ตับ, ไต, สมอง ก็ จะได้รบั ยาก่อน ส่วนอวัยวะอ่นื ๆเช่น กล้ามเนื้อ, อวยั วะภายใน, ผิวหนัง ,ไขมัน ก็จะได้รับยาช้ากว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อการกระจายตัวของยาได้แก่ ความสามารถในการยอมให้สารต่าง ๆ ซึมผ่านผนังเส้นเลือดฝอย ผนัง เซล ของแต่ละอวัยวะ, ความชอบในการจับกับโปรตีน (protein binding) หรอื ไขมันของตัวยา ( lipid soluble drugs) ยาท่ีไม่สามารถ ผ่านสิ่งกีดขวางเหล่าน้ี จะยังคงอยู่บริเวณที่ให้ยา ทาให้ยาไม่สามารถ ออกฤทธ์ไิ ด้ 3. การเปลย่ี นแปลงยา (metabolism) การเปล่ียนแปลงยา (metabolism) คือกระบวนการท่ียาเข้าสู่ ร่างกายแล้ว จะถูกเอ็นไซม์ต่างๆ ในร่างกาย ซ่ึงส่วนใหญ่อยู่ท่ีตับ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 70
(เอ็นไซม์บางตัวอยู่ใน ลาไส้ หรือส่วนอื่นๆ ก็ได้) ทาการเปลี่ยนโมเลกุล ของยา สารท่ีได้หลังจากที่ยาถูกเปล่ียนแปลง เรียก Metabolite ซึ่ง กระบวนการ metabolism เกิดจากยาท่ีถูกดูดซึมผ่านลาไส้เล็ก เข้าสู่ หลอดเลือด ยาส่วนใหญ่จะเข้าสู่หลอดเลือดดาท่ีชื่อว่า portal vain ไปสู่ตับ และท่ีตับนี้เองเป็นบริเวณท่ีมีเอนไซม์ท่ีสามารถทาลายยา ซึ่ง อาจทาให้ปริมาณยาที่จะเข้าสู่ systemic circulation ลดลง การที่ยา ถูกทาลายไปก่อนที่จะเข้าสู่ systemic circulation นี้เรียกว่า “first pass metabolism” จากน้ันยาจะเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตจริงๆ เข้าสู่หัวใจและกระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายต่อไป ยาบางชนิด ออกแบบยาในรูปแบบท่ีไม่ผ่าน “first pass metabolism” เพ่ือให้ ออกฤทธ์ิเรว็ ลดการทาลายยา เช่น ยาชนดิ Sublingual ผลของกระบวนการ metabolism ท่ีได้ยา Metabolite น้ี อาจมีความ เป็นพิษลดน้อยลง หรือจากเดิมไม่มีฤทธ์ิรักษาโรค ท่ีเรียกว่า pro-drug เปล่ียนใหเ้ ป็นยา Metabolite ที่มฤี ทธ์ิทางเภสัชวิทยาสามารถออกฤทธ์ิ รักษาโรคได้ เรียก Active metabolite หรือได้ยาที่เปล่ียนแปลงแล้ว ไมม่ ฤี ทธ์ิทางเภสัชวิทยาไม่สามารถออกฤทธ์ิรักษาโรคได้เรียก Inactive metabolite หรือยาบางชนิด ก็มีฤทธิ์ในการรักษาท้ัง ตัว pro-drug และตวั ยาทีถ่ กู เมตาบอไลท์แล้ว ปัจจัยท่ีมีผลต่อกระบวนการ metabolism ได้แก่ ยาหรือสารท่ี สามารถเหน่ียวนาให้เกิดการสร้างเอนไซม์ (Enzyme Inducer) หรือ ทาลายเอนไซม์ (Enzyme Inhibitor) ที่ใช้เปล่ียนแปลงยา (metabolize) , พนั ธุกรรม ,โรคประจาตัวผู้ปุวย เป็นต้น ซ่ึงจะมีผลต่อ ปริมาณยาทอ่ี อกฤทธร์ิ กั ษาโรคได้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 71
4. การกาจัดยาออกจากร่างกาย (drug excretion) ยาท่ีเขา้ สู่รา่ งกายนั้น ถอื เปน็ ส่ิงแปลกปลอมท่ีร่างกายพยายามขจัดออก เม่ือยากระจายท่ัวร่างกายและออกฤทธิ์แล้ว จะมีกระบวนการต่างๆ เกิดขึ้นในร่างกายเพื่อทาให้ยานั้นๆ หมดฤทธิ์และถูกขจัดท้ิง คือ ขบวนการเปล่ยี นแปลงยาและขบวนการขับถ่ายยา ร่างกายอาจขับถ่าย ยาออกมาโดยตรง ในรูปเดิมหรือผ่านขบวนการเปลี่ยนแปลงยาให้อยู่ ในรูปหมดฤทธ์ิและละลายได้ดีในน้าเสียก่อนจึงถูกขับถ่ายออก อาจมี การจับตัวของยากับสารบางอย่างในร่างกายเพื่อให้ละลายน้าได้ดีจึงถูก ขับออก ยาขับถา่ ยยาออกได้หลายทาง เช่น 1. ทางปัสสาวะ หรือทางไต ยาส่วนใหญ่จะถูกกาจัดออกจาก ร่างกายดว้ ยวธิ ีนี้ 2. ทางน้าดีและทางอุจจาระ ยาบางชนิดจะเดินทางผ่านตับเข้าสู่ น้าดีได้ เช่น glucose, bile salts, insulin และยาบางส่วนจะไม่ถูกดูด ซมึ และถกู ขับออกทางอจุ จาระ 3. ทางระบบหายใจ หรือ ปอด ซ่ึงยาท่ีถูกขจัดส่วนใหญ่เป็นยาที่ บริหารโดยการสดู ดม 4. ทางอ่ืนๆ เช่น น้าตา เหงื่อ น้านม (ต้องระวังในสตรีที่ให้นมบุตร) เชน่ เช่น Caffeine, Morphine, Nicotine ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 72
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics) เภสชั พลศาสตร์ (Pharmacodynamics ) เปน็ การศกึ ษาการออกฤทธิ์ ของยาต่อร่างกาย (what drug does to the body) ในเชิง ความสัมพันธ์ของการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยากับความเข้มข้น ของยาในร่างกาย (ตาแหน่งที่ยาออกฤทธิ์ และ ผลเป็นอย่างไร) ท้ัง ฤทธิใ์ นการรักษา และฤทธิ์อันไม่พึงประสงค์ ได้แก่อาการข้างเคียง และ พษิ ของยา ยาที่ให้เข้าไปในร่างกาย จะทาปฏิกิริยากับเปูาหมายกับของ 2 ส่ิงคือ ร่างกาย และส่ิงแปลกปลอม ในส่วนยาท่ีทาปฏิกิริยากับสิ่ง แปลกปลอมที่เป็นเชื้อโรคโดยตรงได้แก่ ยาฆ่าเชื้อโรค ยาปฏิชีวนะ ก็ ยอ่ มจะมผี ลและอนั ตรายต่อเซลล์หรอื เนอื้ เยอื่ ของร่างกายของเราดว้ ย กลไกการออกฤทธิ์ของยา (Mechanism of action :MOA) ยาจะออกฤทธ์ิกับเปูาหมายท่ีเป็นองค์ประกอบของเซลล์หรือ เน้ือเยื่อของร่างกาย โดยยาจะจับกับตัวรับ (Drug receptor) คือ โมเลกุลเปูาหมาย (Molecular target) ของการออกฤทธิ์ของยา ตัวรับ ยาสามารถรถจับกับสารธรรมชาติในร่างกาย (Natural endogenous molecules) เช่น สารสื่อประสาท (Neurotransmitters), ฮอร์โมน (Hormones) หรือจับกับสารแปลกปลอมท่ีเข้ามา (Exogenous molecules) เช่น ยา หรอื สารเคมี และเมื่อสารเหล่านี้จับกับตัวรับยาท่ี เซลล์เปูาหมาย จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีหลายขั้นตอน อัน นาไปสู่ก ารแสดงฤทธ์ิทางเภสัช วิท ยา (Pharmacological response) ผลท่เี กิดขน้ึ กับเซลลเ์ ปูาหมาย ขึน้ อยู่กับชนิดของตัวรับและ ความเข้มข้นยานน้ั ๆ ยาบางชนิดออกฤทธ์ิได้แม้ในความเข้มข้นต่าๆ ยา บางชนดิ ออกฤทธิ์โดยมีความจาเพาะต่อตัวรับ ซงึ่ เป็นโปรตนี จาเพาะบน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 73
เนอ้ื เย่อื นอกจากน้ีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีของยา อาจมีผล อยา่ งมากตอ่ การออกฤทธ์ิของยา มผี ลต่อการจับกับตัวรับ อาจมีฤทธ์ิทั้ง เพม่ิ มากขึ้น หรืออาจหมดฤทธิไ์ ป หรือเปล่ียนฤทธเิ์ ป็นอยา่ งอื่นได้ ยาบางชนิดออกฤทธ์ิโดยการจับโดยตรงกับโมเลกุล หรือ อิออน ต่างๆ หรือโดยอาศัยคุณสมบัติทางกายภาพของตัวยาเอง เช่น ฤทธิ์ท่ี เป็นด่าง ได้แก่ ยา Antacid , ฤทธ์ิท่ีก่อให้เกิดแรงดันออสโมซิส ได้แก่ ยาระบาย Laxative, ยาขับปัสสาวะ Diuretics ฤทธิ์ที่สามารดดูดซับ (adsorbent) ได้แก่ Activated carbon สารท่ีสามารถจับกับตัวรับ และมีฤทธิ์กระตุ้นตัวรับ ให้เกิดผล ตอบสนอง เรียก Agonist (activator of a receptor) สารที่สามารถจับกับตัวรับ แต่ไม่ทาให้เกิดการกระตุ้น ไม่ชักนาให้ เกิดผล คือไปปูองกันการจับของตัวรับกับสาร Agonist อ่ืน เรียก Antagonist (inhibitor of a receptor) เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Event, ADE) เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Event, ADE) หมายถึง เหตกุ ารณไ์ ม่พึงประสงค์ใดๆท่ีเกี่ยวข้องกับยาทีผ่ ูป้ ุวยใช้ เชน่ • อาการไมพ่ ึงประสงคจ์ ากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction, ADR) • การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งยา (Drug-Drug Interaction) • การไดร้ บั ยาเกนิ ขนาด (Drug overdose) • การใชย้ าในทางท่ผี ิด (Drug abuse) • ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 74
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction, ADR) อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ตามนิยามขององค์การอนามัยโลก (WHO) หมายถงึ อาการที่เกิดข้ึนกับผู้ปุวยเม่ือได้รับยา ที่เป็นอันตรายและไม่ได้จงใจให้ เกิดขนึ้ ซึง่ เกดิ ข้นึ ในขนาดการใช้ยาตามปกติในมนุษย์ เมื่อใช้ยาเพ่ือการ ปูองกัน วินิจฉัย บรรเทา หรือบาบัดรักษาโรค โดยไม่รวมถึงการใช้ยา เกินขนาด (Drug overdose) หรือการจงใจใช้ยาในทางที่ผิด (Drug abuse) จนเกิดอนั ตราย อาการไม่พงึ ประสงคจ์ ากการใช้ยา แบ่งเปน็ 1. อาการข้างเคียงของยา (side effect) หรือเรียก ADR Type A เป็นปฏิกิริยาท่ีเกิดจากฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาของยา นอกเหนือจากคุณสมบัติหลักหรือข้อบ่งใช้ของยานั้นๆ โดยเกิดในขนาด ยาที่ใชร้ ักษาและสามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดอาการข้ึนได้ พบได้บ่อยถึง 80% ตัวอย่างเช่น อาการง่วงซึม จากยาแก้แพ้ ลดน้ามูก chlorpheniramine • เป็นผลจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยาหรือเมตาบอไลทข์ องยา • สามารถทานายได้จากฤทธ์ทิ างเภสชั วิทยา • ไมม่ คี วามจาเพาะในการเกิดกับคนบางกล่มุ • ความรนุ แรงของอาการมีความสมั พันธก์ ับขนาดยาทไ่ี ดร้ ับ • สว่ นใหญ่พบต้งั แตข่ ั้นตอนการทดลองยาในสตั ว์ • มีอุบตั กิ ารณก์ ารเกดิ สูง แต่อตั ราการเสยี ชีวิตน้อย • สามารถรกั ษาไดโ้ ดยการลดขนาดยา หรอื หยดุ ใชย้ า ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 75
2. การแพ้ยา (drug allergy) หรือเรียก ADR Type B เป็น ปฏิกิริยาท่ีเกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อต้านยาที่ได้รับเข้าไป ซึ่งไม่ สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้าว่าผู้ใช้ยาจะแพ้ยาตัวไหน ซ่ึงลักษณะ อาการจะมีตั้งแต่เป็นผื่นแดงตามผิวหนัง ผ่ืนคัน ริมฝีปากบวม ตาบวม มีแผลบริเวณเย่ืออ่อน ไปจนถึงผิวหนังไหม้ หลอดลมตีบหายใจไม่ออก แน่นหนา้ อก • เปน็ ปฏิกริ ิยาภมู ิแพ้ของร่างกายในผู้ปุวย ท่ีมคี วามไวต่อยาน้ัน • ผลที่เกิดขึ้นไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา ไม่สามารถ ทานายอาการที่เกิดขน้ึ ดว้ ยฤทธ์ิของยาได้ • ความรุนแรงของอาการไม่สัมพันธ์กับขนาดยา ยาเพียงเล็กน้อยก็อาจ เกิดอันตรายถงึ ชีวติ ได้ • ส่วนใหญ่มักเกิดภายหลังจากท่ีเคยได้รับยาชนิดนี้มาก่อน แล้วไป กระตุน้ ให้รา่ งกายสร้าง antibodies จงึ เกิด อาการแพ้หลังจากได้รับยาเดิมซ้า มีอุบัติการณ์การเกิดต่า แต่ทาให้ เสียชีวติ ไดส้ ูง • การรักษาทาโดยการหยดุ ใช้ยา อาการแพ้รุนแรง (Anaphylaxis) เป็นปฏิกิริยาภูมิแพ้แบบ ฉับพลัน โดยมากมักเกิดภายใน 5-30 นาทีหลังจากได้รับสารก่อภูมิแพ้ หรือไม่เกิน 2 ชั่วโมงหลังได้รับสารก่อภูมิแพ้ชนิดรับประทาน อาจมี ความรุนแรงถึงชีวิต อาการแพ้รุนแรงมักมีอาการท่ัวร่างกายหรือมี อาการแสดงหลายระบบ ได้แก่ 1. ระบบผิวหนงั และเยอ่ื บุ เช่น อาการคัน ตวั แดง ผ่ืนลมพิษ ปาก บวม หน้าบวม 2. ระบบทางเดินหายใจ เช่น อาการหอบเหนื่อย หายใจมีเสียงวี้ด หลอดลมตบี คัดจมกู ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 76
3. ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น อาการเวียนศีรษะ วูบ หมด สติ ความดันต่า 4. ระบบทางเดินอาหาร เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ถา่ ยเหลว หากมีอาการหลายระบบ และเกิดภายในเวลาอันรวดเร็วหลังได้รับ ยา (Immediate reaction) ดังกล่าวข้างต้น จนถึงอาการ shock ท่ี เรียกวา่ anaphylactic shock ดงั นน้ั ต้องเน้นยา้ ให้ผู้ปวุ ยท่ีแพ้ยา ควร จดจาชื่อยาที่แพ้ให้ได้ และควรพกบัตรแพ้ยาติดตัวไว้เสมอ เพื่อปูองกัน การแพย้ าซ้า การแพ้ยาซ้า (Repeated ADR type B) หมายถึง เหตุการณ์ที่ ผู้ปุวยไดร้ บั ยาทงั้ โดยตนเอง ผู้ดูแลหรือจากบุคลากรทางการแพทย์แล้ว เกิดอาการแพ้ยา โดยท่ีผู้ปุวยเคยเกิดอาการแพ้ยาดังกล่าวจากยาที่มี ชื่อสามัญทางยาเดียวกันมาก่อน มีอาการแสดงที่เหมือนกัน ยกเว้น การตั้งใจให้ยาซ้าของบุคลากรทางการแพทย์ เพ่ือประโยชน์ในการ รกั ษา หรือขอ้ บ่งชท้ี างการแพทย์ การแพ้ยาในกลุ่มเดียวกัน หมายถึง เหตุการณ์ที่ผู้ปุวยได้รับยา แล้วเกิดอาการแพ้ยาในลักษณะเดิมท่ีเคยแพ้มาก่อน จากยาท่ีมีสูตร โครงสร้างทางเคมีใกล้เคียงกัน เน่ืองจากโครงสร้างของยาท่ีทาหน้าท่ี เป็นตัวกระตุ้น (antigen) ทาให้เกิดการสร้างสารต่อต้านจากร่างกาย อาจจะเป็นโครงสร้างส่วนใดส่วนหนึ่งของโมเลกุลยา ดังนั้นการแพ้ยาที่ อยู่ในกลุ่มเดียวกันจึงเกิดข้ึนได้ โดยเรียกการแพ้ยาที่มีโครงสร้าง ใกลเ้ คยี งกันในลกั ษณะน้วี ่า การแพ้ยาข้ามกนั (cross reactivity) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 77
การแพ้ยาข้ามกัน (cross reactivity) กลุ่มยาท่ีพบการแพ้ยาข้าม กันมากที่สุด ได้แก่ ยาปฏิชีวนะในกลุ่มบีต้า แลคแตม (beta-lactams) ,ซัลโฟนาไมด์ (sulfonamides) ,ยาแก้ปวดหรือยาต้านการอักเสบท่ี ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) และกลุ่มยากันชัก โดยยาที่มีโครงสร้าง คล้ายกันอาจมีการแพ้ยาข้ามกันได้ แต่อย่างไรก็ตามการแพ้ยาข้ามกัน บางกรณีไม่ได้เกิดจากปฏิกิริยาการแพ้ แต่เป็นผลจากฤทธิ์ทางเภสัช วทิ ยาของยาเอง เน่ืองจากยาในกลุม่ เดยี วกันมกั จะมีฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา ใกล้เคยี งกนั โดยไม่ไดส้ มั พันธก์ ับสูตรโครงสร้าง หากอาการเหลา่ นั้นเกิด จากผลขา้ งเคียงของยา ไมจ่ าเปน็ ต้องหยุดยาหรือห้ามใชย้ านัน้ การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา (Drug-Drug Interaction) หรือ การ เกิดอนั ตรกริ ยิ าของยา การเกดิ ปฏิกริ ยิ าระหวา่ งยา เกิดขึ้นเม่ือระดับยา หรือฤทธิ์ทางวิทยา ของยาในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป เม่ือได้รับยาตัวอื่นร่วมด้วย ผลของ การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยานี้ อาจทาให้เสริม หรือลดฤทธิ์ในการรักษา หรือเก่ยี วข้องกบั ผลขา้ งเคยี งต่างๆของยาที่อาจเพิ่มขึ้นได้ ตวั อย่างเช่น ให้ยา Simvastatin ยาลดไขมัน คู่กับยา Amiodarone มี ผลเกิดภาวะ sever myopathy หรือ rhabdomyolysis อาการปวด เม่ือยตามตัว อ่อนเพลีย อาการรุนแรงถึงไตวาย เน่ืองจากระดับยาใน เลือดของ Simvastatin เพิม่ ข้ึน เนื่องจากยา Amiodarone มีผลยับยั้ง ขบวนการ metabolism ของยา Simvastatin ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 78
Fatal Drug interaction คือ คู่ยาท่ีเกิดอันตรกิริยาระหว่างกันจน เป็นเหตุให้เกิดอาการต่างๆที่รุนแรงจนอาจเกิดการเสียชีวิต เกณฑ์ที่ใช้ ในการกาหนดคู่ยาที่เป็น Fatal DI ได้แก่ มีรายงานการเสียชีวิตอันเป็น ผลจากอันตรกิริยาระหว่างยา หรือเป็นสาเหตุของความเสียหายอย่าง ถาวร เช่น Sildenafil ใช้คู่กับยา Nitrates จะเพิ่มฤทธ์ิในการทาให้ หลอดเลือดขยายตัว (Vasodilation) ทาให้ความดันโลหิตลดลงอย่าง รวดเรว็ เปน็ เหตุให้ผูป้ ุวยช็อค และเสยี ชวี ติ ได้ ความไม่เข้ากันของยา (Drug Incompatibilities) หมายถึงความไม่ เข้ากันของยากับผลิตภัณฑ์อ่ืนซึ่งถ้านามาผสมกันหรือให้ร่วมกัน เกิด ความไม่เข้ากนั ทางกายภาพและ/หรือทางเคมี ซ่ึงความไม่เข้ากันของยา กับผลิตภัณฑอ์ ื่น เกิดขึ้นตง้ั แตภ่ ายนอกร่างกาย ในขน้ั ตอนการเตรียมยา ท้ังกับภาชนะ ,syringe, สาย หรืออุปกรณ์ในการบริหารยาเดียวกัน ลักษณะทางกายภาพที่พบการเปลี่ยนแปลง เช่น ตกตะกอน (precipitation) , เปล่ียนสี (changes in color), ความสม่าเสมอ (Consistency) เป็นต้น ตัวอย่างเช่น ยา dopamine ห้ามให้ Sodium bicarbonate หรือสารละลายที่เป็นด่างทางสายเดียวกัน เพราะทาให้ ยา dopamine หมดฤทธ์ไิ ด้ การไดร้ บั ยาเกินขนาด (Drug overdose) คือ การได้รับยาในปริมาณ ท่ีมากกว่าท่ีกาหนดไว้หรือมากกว่าปริมาณท่ีใช้โดยทั่วไป อาจเกิดขึ้น โดยไม่ได้ตั้งใจ หรือมาจากการใช้ในทางท่ีผิด ซ่ึงปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนเม่ือ ร่างกายได้รับยาเกินขนาดมีตั้งแต่เล็กน้อย จนถึงท่ีมีขนาดสูงจนเกิดพิษ ต่อร่างกาย เช่น ภาว ะตับวาย จากการได้ยา Paracetamol (acetaminophen) เกินขนาด ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 79
การใช้ยาในทางท่ีผิด (Drug abuse) หมายถึง การนายาไปใช้ในทาง ท่ีผิด โดยไม่ได้นายาไปใช้สาหรับการบาบัดรักษาโรค แต่นาไปใช้เพื่อ จุดม่งุ หมายในการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ หรือเปล่ียนแปลงการรับรู้ หรือ เพ่ือเพิ่มความกล้าท่ีจะทากิจกรรมใดๆ ทาให้เกิดปัญหาแก่ตัวผู้ใช้เอง และต่อสังคม ยากลุ่มนเี้ กือบทั้งหมดส่งผลกระทบต่อประสาทส่วนกลาง เกดิ ความมนึ เมา มกั จะเหนี่ยวนาให้ผู้ใช้เสาะแสวงหายามาใช้ การใช้ยา เหล่านี้ติดต่อกันเป็นเวลานานอาจทาให้เกิดการเป็นพิษอย่างเรื้อรังได้ การใช้ติดต่อกันย่อมทาให้เกิดการพึ่งยาทางกาย ( physical dependence) หรือเสพติด (addiction) เม่ือหยุดใช้ยาจะมีอาการพึ่ง ยาทางกายเกิดข้ึน ยังผลให้เกิดอาการเพิกถอน (with drawal) และ อาการอยากยา กลุ่มอาการที่ปรากฏแตกต่างกันตามฤทธิ์ทางเภสัช วิทยาของยา ตัวอย่างเช่น วัยรุ่นใช้ยาแก้ปวด “ทรามาดอล” หรือท่ี กลมุ่ วยั รุ่นเรียกวา่ “ยาเขยี วเหลือง” เพราะเชอื่ ว่ากินแล้วจะรู้สึกเคล้ิมมี ความสขุ ไม่เจบ็ ปวดทกุ ขท์ รมาน , ยาแกไ้ อทมี่ สี ่วนผสมของโคเดอีน เม่ือ ใชย้ าตดิ ตอ่ เปน็ เวลานานทาให้เกิดการติดยา ทั้งทางกายและจิตใจ และ มอี าการถอนยาเมือ่ ขาดยา เชน่ เดยี วกบั การตดิ มอร์ฟนี หรือเฮโรอนี ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 80
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) หมายถึง เหตุการณ์ ความผิดพลาดเกี่ยวกับยา ท่ีเกิดขึ้นขณะที่ยาอยู่ในความควบคุมของ บุคลากรวิชาชีพด้านสุขภาพ ตั้งแต่กระบวนการการส่ังใช้ยา การ คัดลอกคาสั่งใช้ยา การจ่ายยา และ การบริหารยา ท่ีนาไปสู่การใช้ยาที่ ไม่เหมาะสมหรือเป็นอันตรายแก่ผู้ปุวย ส่งผลให้การรักษาไม ได้ ประสทิ ธภิ าพ เกิดอาการไมพึงประสงค์จากยา อาจมีผลให้ผู้ปุวยต้องได รับการรักษาเพิ่มเติม หรือต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลนานข้ึน ทา ให้เพิ่มค่าใช้จ่าย ท้ังในส่วนของโรงพยาบาลและผู้ปุวย และอาจเป็น อันตรายรุนแรงแก่ผู้ปุวยได้ แต่ความคลาดเคลื่อนทางยาเป็นเหตุการณ์ ที่อาจหลีกเล่ียงหรือปูองกันได้ด้วยระบบควบคุมที่มีประสิทธิภาพและ ความร่วมมอื ระหว่างผูเ้ ก่ียวข้องทุกฝาุ ย ความคลาดเคลอื่ นทางยาอาจแบ่งเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ดงั นี้ 1. Prescribing Error เป็นความคลาดเคลอ่ื นทีข่ ้นึ กับคาส่ังใช้ยาที่ มผี ลหรอื อาจนาไปสู่ ความคลาดเคล่ือนทางยาในข้นั ตอนอนื่ ๆ หรือเกิด เหตุการณไมพึงประสงค์ที่สามารถปูองกันได เน่ืองจากการสั่งใช้ยาน้ัน ไม่เป็นไปตามมาตรฐานทางวิชาการ (การส่ังยาท่ีไม่สมเหตุสมผล ไม่ เหมาะสม ไม่ Effective ไม่ส่ังยาแม้จะมีข้อบ่งชี้ หรือสั่งยาเกินความ จาเปน็ (Under / Over prescribe)) เช่น ส่ังใช้ยา ผิดคน ผิดตัวยา ผิด ขนาด ผิดเวลา ผิดวิธี (Route) หรือผิดเทคนิค สั่งยาท่ีผู้ปุวยมีประวัติ แพ้ หรือมีข้อห้ามใช้ ความคลาดเคล่ือนท่ีเกิดข้ึนกับคาส่ังใช้ยาอาจ นาไปสคู่ วามคลาดเคล่ือนทางยาในข้ันตอนอ่ืนๆได้ หรือเกิดเหตุการณ์ท่ี ไม่พงึ ประสงคไ์ ด้ 2. Transcribing Error เป็นความผิดพลาดท่ีเกิดในข้ันตอนของ การถ่ายทอดคาสัง่ จากต้นฉบับที่สงั่ ไว้ผิดพลาด มักเกิดโดยผ่านบุคลากร ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 81
ตา่ งวชิ าชีพ ไม่วา่ จะเป็นการคัดลอกในการเขียนเบิกยา หรือรับคาสั่งยา ทางวาจาที่มีผลหรืออาจนาไปสู่ความคลาดเคล่ือนทางยาในข้ันตอน อ่ืนๆ 3. Predispensing Error เป็นความคลาดเคลื่อนท่ีเกิดขึ้นใน ข้ันตอนใดข้ันตอนหนึ่งของกระบวนการจัดยาในหน่วยงานเภสัชกรรม ก่อนจ่ายยา เช่น การ เตรียมยา การเขียน/พิมพ์ฉลาก การจัดยาตาม คาสั่งใช้ยา แต่หน่วยงานสามารถตรวจพบความคลาดเคลื่อนดังกล่าว และแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งก่อนจ่ายยาให้ผู้ปวุ ยหรือบุคลากรทางการแพทย์ 4. Dispensing Error เป็นความคลาดเคล่ือนท่ีเกิดขึ้น ในข้ันตอน การจ่ายยา หรือการส่งมอบยาท่ีเตรียมสาหรับผู้ปุวยเฉพาะรายท่ีถึง ผปู้ ุวย หรอื บคุ ลากรทางการแพทย์แล้ว อนั เน่ืองมาจากไม่ตรงตามคาสั่ง ใช้ยา หรอื เป็นความคลาดเคล่ือนทเ่ี ภสชั กรควรตรวจพบได้ เพราะคาส่ัง ใช้ยาไม่เป็นไปตามมาตรฐานทางวิชาการ เช่น จ่ายยาผิดชนิด ผิดสูตร ตารับ ผิดขนาด ไมไดจ่ายยาตามข้อมูลในใบส่ังยา หรือจ่ายยาท่ี เสื่อมสภาพหมดอายุ 5. Pre Administration Error (ในส่วนของคนไข้ในเท่านั้น) เป็น ความคลาดเคล่ือนที่เกิดขึ้นในขั้นตอนใดข้ันตอนหน่ึงของกระบวนการ ก่อนให้ยาบนหอผู้ปุวย หรือหน่วยท่ีมีการให้ยาผู้ปุวย เช่น การเขียน/ การติดฉลากคาส่ังใช้ยาลงในบัตรให้ยา (medication card) หรือแบบ บันทึกการให้ยา (medication administration record: MAR, medication sheet) การจัดยา การผสมยา แต่เจ้าหน้าท่ีสามารถตรวจ พบความคลาดเคล่อื นดังกลา่ วและแก้ไขให้ถกู ต้องก่อนใหย้ าแกผ่ ู้ปวุ ย 6. Administration Error เป็นความคลาดเคล่ือนที่เกิดขึ้นใน ขั้นตอนการให้ยาแก่ผู้ปุวยภายในโรงพยาบาล (ไม่รวมความคลาด เคล่ือนท่ีเกิดจากผู้ปุวยใช้ยาเองท่ีบ้าน) โดยเป็นผลให้ไม่เป็นไปตาม ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 82
หลักการให้ยาในด้าน ถูกคน ถูกยา ถูกขนาด ถูกเวลา ถูกวิถีทาง ถูก เทคนคิ หรอื ไมเ่ ป็นไปตามเปูาประสงคข์ องการรักษา รวมถงึ การที่ผู้ปุวย ไม่ได้รับยาตามที่แพทย์สั่ง หรือ ได้รับยาที่ไม่ได้อยู่ในคาสั่งแพทย์ การ ตรวจสอบซ้าโดยอิสระ (independent double check) โดยพยาบาล คนละคนกันเปน็ สิ่งท่ีต้องทากอ่ นเริ่มใหย้ าผู้ปุวย เพ่ือปอู งกันความคลาด เคลื่อนทเี่ กดิ ข้ึนในขน้ั ตอนการใหย้ าท่อี าจเกดิ ขึ้น ตัวอยา่ งเช่น 1. การให้ยาไม่ครบ (omission error) หมายถึงการให้ยาผู้ปุวยไม่ ครบมื้อ (ไม่ครบ course) ตามท่ีแพทยส์ ่ัง 2. การให้ยาผิดชนิด (wrong drug error) หมายถึงการให้ยาผู้ปุวย คนละชนดิ (คนละตวั คนละชื่อ generic name) กับทแ่ี พทยส์ ง่ั 3. การให้ยาซ่ึงผู้สั่งใช้ยาไม่ได้ส่ัง (unordered or unauthorized drug) 4. การให้ยาผู้ปุวยผิดคน (wrong patient) หมายถึงการให้ยาที่ ไม่ใช่ของผู้ปวุ ยคนน้นั อาจเน่ืองจากสลับตัวผปู้ ุวย 5. การให้ยาผิดขนาด (wrong-dose or wrong-strength error) หมายถึง เป็นความคลาดเคล่ือนจากการให้ยาในขนาดที่สูงกว่าหรือต่า กว่าที่ผู้สัง่ ใช้สง่ั ไว้ 6. การให้ยาผิดวิถีทาง (wrong-route error) หมายถึงการให้ยาไม่ ถูกวิถีทางตามท่ีแพทย์สั่ง เช่น ต้องให้ยา IM มาให้ IV หรือ ส่ังหยอดตา ขวา มาหยอดตาซา้ ย เปน็ ต้น 7. การให้ยาผิดเวลา (wrong-time error) หมายถึงการให้ยาผู้ปุวย ผิดไปจากเวลาที่แพทย์ส่ัง หรือกาหนดไว้ตามตารางให้ยาหรือแนว ทางการให้ยาของหน่วย ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 83
8. การให้ยามากกว่าจานวนครั้งที่ส่ัง (extra-dose error) เป็น ความคลาดเคล่ือนท่ีเกิดขึ้นเมื่อมีการให้ยาแก่ผู้ปุวยเกินจานวนคร้ังหรือ มอื้ ทแี่ พทย์สง่ั รวมถึงมคี าสงั่ ให้หยดุ ยาแล้ว แตย่ ังให้ยานนั้ แกผ่ ปู้ วุ ย 9. การให้ยาในอัตราเร็วท่ีผิด (wrong rate of administration error) เป็นความคลาดเคลื่อนท่ีเกิดจากการให้ยา โดยเฉพาะยาฉีดใน อตั ราทีผ่ ดิ ไปจากที่แพทย์สง่ั หรือผดิ ไปจากวธิ ีปฏิบัติมาตรฐานที่กาหนด 10. การให้ยาผิดเทคนิค (wrong technique error) เป็น ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการให้ยาผิดเทคนิค แม้จะถูกชนิด ถูก ขนาด เช่น การฉีดยาเพ่ือทดสอบการแพ้ยาเพนนิซิลลิน ทาง intradermal แตฉ่ ดี เปน็ subcutaneous เป็นตน้ 11. การให้ยาผิดรูปแบบยา (wrong dosage-form error) เป็น ความคลาดเคลอื่ นที่เกิดจากการใหย้ าผิดรปู แบบจากที่แพทยส์ ่ัง เช่น สั่ง ใชย้ าปูายตา แต่กลับใหย้ าหยอดตา หรือยาที่หา้ มบดหา้ มแบ่งให้กลืนท้ัง เมด็ แตก่ ลับบดยาใหผ้ ปู้ วุ ย ทาให้ยาสูญเสียคณุ สมบัตใิ นการออกฤทธิ์ไป เปน็ ต้น เหตุการณ์ความคลาดเคล่ือนทางยาท่ีเกิดขึ้นน้ัน อาจมีปัจจัย สาเหตไุ ด้หลายประการทค่ี รอบคลุมทง้ั ผลิตภณั ฑ์ยา หรือกระบวนการท่ี เก่ียวข้องในการใช้ยา การให้ความรู้ โดยเฉพาะรายการยาท่ีต้อง ระมดั ระวังสูง ที่อาจก่อให้เกิดความคลาดเคล่ือนทางยา รวมถึงการเก็บ ขอ้ มลู ความคลาดเคล่ือนทางยาท่ีเกิดข้ึนมาวิเคราะห์หาสาเหตุท่ีแท้จริง ร่วมกัน สื่อสารให้ผู้เก่ียวข้องทราบ เพ่ือวางแผนหรือปรับปรุงแนว ทางการปูองกันเชิงระบบในเหตุการณ์ท่ีปูองกันได้ และเหตุการณ์ท่ีจะ นาไปสู่การใช้ยาท่ีไม่เหมาะสมกับผู้ปุวย ส่งผลให้ผู้ปุวยเกิดความ ปลอดภยั จากการใชย้ า ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 84
การคานวณทางเภสัชกรรมเบือ้ งต้น การคานวณทางเภสชั กรรม เป็นการใช้พน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์ มา ใช้ในงานเภสัชกรรม การเตรยี มเภสัชภณั ฑ์ รวมถงึ การบรหิ ารยาให้กับ ผปู้ ุวย เพอ่ื ให้มีการใชย้ าได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย หน่วยนา้ หนัก ปริมาตร ความแรงของสาร (ความเขม้ ขน้ ) ท่ีใชห้ รือ พบบ่อยในทางเภสชั กรรม ทีค่ วรทราบ 1. หน่วยนา้ หนกั ไมโครกรัม microgram เขยี นย่อ µg เชน่ 1000 µg (microgram) = 1 mg มลิ ลกิ รัม milligram เขียนยอ่ mg เช่น 1000 mg = 1 g เกรน grain เขียนย่อ gr. เช่น 1 gr. (grain) = 64.8 mg (60 mg) กรัม gram (gramme) เขยี นย่อ g /gm เช่น 1000 gm = 1 kg ปอนด์ pound เขยี นย่อ lb เชน่ 1 lb (pound) = 454 gm (450 gm) กิโลกรัม kilogram เขียนย่อ kg เช่น 1 kg (kilogram) = 2.20 lb = 1000 gm ตัวอยา่ งหนว่ ยน้าหนกั ท่บี อกขนาดของยา เช่น ยาพาราเซตามอล ขนาด 500 มลิ ลิกรมั ตอ่ เม็ด ในผ้ใู หญ่ แนะนาใหก้ นิ ครั้งละ 1เมด็ ทกุ 4-6 ชั่วโมง หรอื ใชย้ าขนาด 10-15 มลิ ลิกรัม/น้าหนักตัว (กโิ ลกรมั ) และไม่ควรกินเกิน 8 เมด็ ตอ่ วนั หรือ 4 กรัม/วัน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 85
ตัวอยา่ งการคานวณ ยา A ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก คือ 15mg./kg./dose ฉลากยาเขียน ความแรงของยา A วา่ มตี วั ยา 250mg./5 ml ดงั น้ัน เมอื่ ทราบโดสยา คือ 15mg./kg. ความแรงของยา 250mg./5ml. ดังนั้นเอา 5 หาร = 50mg./ml. สมมุตผิ ู้ปุวยเดก็ หนกั 12 kg. ดังน้นั ขนาดยาท่ีใช้ 12x15 = 180 mg/dose ซ่งึ คิดเปน็ 180 หาร 50 = 3.6 ml 2. หน่วยปริมาตร ลติ ร Litre เขยี นยอ่ L เช่น 1L = 1000 ml (milliliter , cc.) แกลลอน gallon เขยี นยอ่ gal เชน่ 1 gallon = 3,785 ml ออนซ์ ounce หรือเรยี กเต็มๆ fluid ounce เขียนยอ่ fl.oz เช่น 1fl.oz = 30 ml ช้อนชา teaspoon เขียนย่อ tsp เชน่ 1 tsp = 5 ml ชอ้ นโต๊ะ tablespoon เขยี นย่อ tbsp เช่น 1 tbsp = 15 ml ตัวอย่างหน่วยปรมิ าตรของยา เช่น แพทย์สง่ั ยาลดกรด Antacid gel 1 ขวด(240 ml) ผใู้ หญ่รับประทาน 1-2 ชอ้ นโต๊ะ รบั ประทานหลงั อาหาร 3 เวลา และก่อนนอน ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 86
3. ความแรงของสาร (ความเขม้ ข้น) ความแรงของสาร หรือความเข้มข้น (concentration) คือ การ บอกปริมาณตัวละลาย (solute) ในตัวทาละลาย (solvent) ที่มี ปริมาตรแน่นอนปริมาตรหน่ึง ในทางเภสัชกรรมท่ีใช้หรือพบบ่อยจะ บอกใน 2 แบบ คือ ความแรงในรูปร้อยละ และ ความแรงในรูปของ อตั ราสว่ น 3.1 ความแรงในรูปร้อยละ คาว่า “ร้อยละ (percent)” หมายถงึ การคานวณโดยคิดเทียบจากร้อยส่วน ซ่ึงอาจใช้สัญลักษณ์ % แทนคาว่าร้อยละ เช่น 50% คือ ร้อยละ 50 หมายถึง 50 ส่วนใน 100 สว่ น หรอื อาจเขียนเป็น 50/100 หรือ 0.50 ท้ังน้ีการระบุความแรงของ ยาเตรียมแบบร้อยละอาจระบุเป็น ร้อยละโดยน้าหนักต่อปริมาตร (% w/v) ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร (%v/v) หรือร้อยละโดยน้าหนัก ต่อน้าหนัก (%w/w) ซ่ึงการเลือกใช้หน่วยความแรงแบบร้อยละนี้ จะ พิจารณาจากสถานะของตวั ถกู ละลาย และสารละลายท่เี ตรยี มได้ 3.1.1 ร้อยละโดยน้าหนักต่อปริมาตร (ร้อยละโดยมวลต่อ ปริมาตร) ; Percentage Weight-by- volume (%W/V) เป็นการ ระบุความแรงโดยคิดเทียบน้าหนักของตัวถูกละลายหน่วยกรัม ต่อ สารละลายปริมาตร 100 มลิ ลลิ ิตร มักใช้กับเภสัชภัณฑ์รูปแบบยาน้าใส ยาน้าแขวนตะกอน ยาอมิ ลั ชันท่ีความหนดื ไม่สูงมากนัก มสี ตู รดงั น้ี เช่น A % โดยมวล/ปรมิ าตร คือสารละลาย 100 ml มตี ัวถูกละลาย A กรมั ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 87
ถ้าสารมีความเข้มข้นเท่ากับ 1%W/V หมายถึง สารละลาย 100 mL มีตัวถูกละลายอยู่ 1 g ดังนัน้ สารละลาย 1000 mL จะมีตัวทาละลาย (1/100)x1000 = 10 g หรือ สาร 1%W/V มีความเข้มข้นเท่ากับ ตัวถูกละลาย 10 g ต่อน้า 1ลิตร หรอื เทา่ กบั 10000 mg ต่อนา้ 1 ลิตร ตัวอย่างเช่น นา้ เกลอื D-5-W ปริมาตร 1000 มิลลิลิตร หมายถึง ใน สารละลาย D-5-W 100 มิลลิลิตร มีปริมาณ Dextrose เท่ากับ 5 กรัม (5% Dextrose in water) ดังนั้นสารละลาย 1000 มิลลิลิตร จะมี Dextrose เท่ากบั 50 กรมั ผู้ปวุ ยเบาหวานทมี่ อี าการของนา้ ตาลในเลือดต่า แพทยส์ ่ัง 50% Glucose 50 ml IV push ซง่ึ ปริมาตร 50% Glucose Solution ท่ี ให้ 50 มิลลลิ ติ ร จึงมปี รมิ าณ Glucose 0.5x50 กรมั = 25 กรัม 3.1.2 ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร ; Percentage Volume-by-volume (%V/V) ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร เป็น การระบคุ วามแรงโดยคดิ เทียบปริมาตรของตัวถูกละลายหน่วยมิลลิลิตร ตอ่ สารละลายปริมาตร 100 มิลลลิ ติ ร มกั ใช้กับเภสัชภัณฑร์ ูปแบบยาน้า ใส ยานา้ แขวนตะกอน ยาอิมลั ชนั ที่ความหนืดไม่สูงมากนกั มีสูตรดงั น้ี เชน่ B %V/V คือในสารละลาย 100 ml มีตัวถูกละลาย B ml ตวั อย่างการเตรยี ม 6 % hydrogen peroxide จาก 30 % V/V hydrogen peroxide เพ่อื นามาใช้เป็น High- level disinfectant สามารถทาลายเชื้อ แบคทเี รีย เชื้อไวรัสและเชอ้ื ราได้ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 88
น้ายา 30 % hydrogen peroxide solution คือในสารละลาย 100 ml มีตัวถูกละลาย hydrogen peroxide 30 ml ถ้าต้องการตัวถูก ละลาย hydrogen peroxide 6 ml จะต้องแบ่งมา 20 ml แล้วเติมน้า สะอาดจนครบ 100 ml จะได้สารละลาย 6 % hydrogen peroxide หรือใช้สารละลายท่ีมีความเข้มข้น30% hydrogen peroxide 1 ส่วน เติมนา้ สะอาด 4 สว่ น 3.1.3 รอ้ ยละโดยน้าหนัก หรือร้อยละโดยมวล (percent mass by mass) ; Percentage Weight-by-weight (%W/W) คือ การบอกน้าหนักตัวถูกละลายหน่วยกรัม (g) ต่อน้าหนักของสารละสาย 100 กรัม (g) มักใช้กับ เภสัชภัณฑ์รูปแบบของแข็ง และกึ่งแข็งก่ึงเหลว เช่น ยาเม็ด ยาผง ยาครมี ยาเจล ยาขผ้ี ้ึง มสี ูตรดงั นี้ เช่น x %W/W คือสารละลาย 100 กรัม มตี ัวถกู ละลาย x กรมั ตวั อย่าง triamcinolone acetonide (T.A.) CREAM ความแรง 0.1%w/w คือ ในยา cream 100 กรัม มีตัวยา triamcinolone acetonide ถูกละลาย 0.1 กรัม ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 89
3.2 ความแรงในรูปของอัตราส่วน Ratio strength เป็นความ เข้มข้นของสารละลายที่บอกปริมาณของตัวถูกละลายในสารละลาย ทั้งหมด เช่นเดียวกับการบอกเป็นเปอร์เซ็นต์ มักใช้กับสารละลายที่มี ความเจือจางมากๆ เพราะถ้าระบุความแรงของสารละลายเป็นร้อยละ จะต้องระบุเป็นเลขทศนิยม ตัวอย่างเช่น 0.5% หมายถึง สาร 0.5 ส่วน ตอ่ สารละลาย 100 สว่ น หรืออาจเขียนเป็น 5:1000 การเขียนสัดส่วนความเข้มข้นของสาร 1:1000 จะมีความหมาย ดงั น้ี สารตัวถูกละลายท่ีเป็นของแข็ง ในของเหลว = 1 g ของสาร ต่อสารละลายทเ่ี ตรยี ม 1000 ml หรอื สารตวั ถูกละลายท่ีเป็นของเหลว ในของเหลว = 1 ml ของสาร ต่อสารละลายทเี่ ตรียม 1000 ml หรือ สารตัวถูกละลายที่เป็นของแข็ง ในของแข็ง = 1 g ของสาร ต่อสารทเ่ี ตรยี มทง้ั หมด 1000 g ตัวอยา่ งยาท่ีมักใชใ้ นรปู แบบ 1:1000 เช่น Epinephrine 1:1000 หมายถึง ขนาดความเข้มข้นของยาใน สารละลาย ประกอบด้วย Epinephrine 1 g ในสารละลาย 1,000 ml. หรือ มี Epinephrine 1000 mg ในสารละลาย 1,000 ml. เท่ากับ 1 mg/ml บางคร้ังการเขียนความเข้มข้นของยาเป็นอัตราส่วน มักมีความ หน่วยความเข้มขน้ ท่ีสื่อสารไม่ตรงกัน เช่น การเขียนปริมาณยาต่อสาร น้าท่ีผสมเป็นน้าหนักต่อปริมาตร (w/v) หน่วยของความเข้มข้นมักจะ เป็นมลิ ลิกรัมตอ่ สารนา้ 1 มิลลิลิตร (mg/ml) โดยการระบุความเข้มข้น ของยาในคาส่งั การใชย้ าเป็นอัตราสว่ น เช่น ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 90
Dopamine 2:1 หมายถึง Dopamine 2 mg ต่อสารนา้ (สารละลาย) 1 ml (วิธีเตรียม ใช้ NSS หรือ D5W 250 ml ดูดนา้ ออก 20 ml จากน้ันนา Dopamine injection 250 mg/10 ml ดดู มา 2 Amp=20ml=500 mg ใส่ในสารน้าทีเ่ ตรยี มไว้จะได้ Dopamine 2:1 ) ดังนั้นจะเห็นว่า การเขียนรูปแบบอัตราส่วนมีความหลากหลาย ควรหลกี เลยี่ งการสงั่ ใชย้ าในรูปแบบอัตราสว่ น โดยเฉพาะอย่างย่ิงกับยา ที่มีความเส่ียงสูง เพราะมักเกิดความเข้าใจท่ีไม่ตรงกันได้ หรือถ้าสั่งใช้ อาจต้องมขี ้อตกลงรว่ มกันในความหมายของอตั ราสว่ น ตวั อยา่ งการคานวณทใ่ี ชใ้ นงานเภสัชกรรม โจทย์1 \"การเตรียมสารแอลกอฮอล์ 95% เป็นแอลกอฮอล์ 70 % จานวน 1000 ml ความเข้มข้น 70% \"สามารถกาจัดเชื้อได้ดีกว่า 95 %\" ให้เตรียมจาก สาร \"เอทิล\" ห้ามเตรยี มจาก \"เมทลิ \" เด็ดขาด หมายเหตุ : จากการคานวณ สมมติให้ความหนาแน่นของแอลกอฮอล์ 95% และ 70% เท่ากัน ซ่ึงอาจจะเกิดความเข้มข้นท่ีคาดเคลื่อนไป ประมาณ 8% ตอบ ใช้วิธีเทียบตามสตู ร C1V1 = C2V2 C1 คือ ความเข้มข้น แอลกอฮอล์ 95% C2 คือ ความ เขม้ ขน้ แอลกอฮอล์ 70% V1 คือ ปริมาตร แอลกอฮอล์ 95% ที่ใช้ V2 คือ ปริมาตร แอลกอฮอล์ 70% ทใ่ี ช้ (ต้องการ) แทนค่าสูตร 95(V1) = 70(1000) V1 = 70(1000)/95 ดังน้นั V1 = 736.84 ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 91
ดังน้นั การเตรียมสารแอลกอฮอล์ 95% เป็นแอลกอฮอล์ 70 % จานวน 1000 ml ทาโดยใช้ แอลกอฮอล์ 95% จานวนประมาณ 736.8 ml เตมิ น้ากลั่น (น้าสะอาด/นา้ ดื่ม) 263.2 ml เพอ่ื ใหค้ รบ 1000 ml โจทย์2 D-5-W ปริมาตร 100 มิลลิลิตร คือในสารละลายมีปริมาณ Dextrose เท่ากับ 5 กรัม ถ้าต้องการเตรียม D-10-W โดยการเติม 50% Dextrose จะทาอย่างไร ตอบ สมมตุ ใิ หเ้ ตมิ 50% Dextrose Solution เท่ากับ M มิลลิลิตร ลง ใน D-5-W ปรมิ าตร 100 มลิ ลลิ ิตร เพ่ือใหไ้ ด้ D-10-W จาก D-5-W ปริมาตร 100 มิลลิลิตร หมายถึง สารละลาย ปริมาตร 100 มิลลิลติ ร มี Dextrose จานวน 5 กรมั โดย 50% Dextrose Solution จานวน M มิลลิลิตร จะมีปริมาณ Dextrose เทา่ กับ 50M/100 หรือ 0.5M และสารละลายใหม่ที่ตอ้ งการเตรยี มเป็น D-10-W จะมีปริมาตรท้ังหมด เทา่ กบั 100+M มลิ ลลิ ติ ร ซง่ึ สารละลายใหม่ D-10-W หมายถึง ในสารละลาย 100 มิลลิลิตร จะ มี dextrose 10 กรมั ดังน้ัน ถ้าสารละลายใหม่ปริมาตรทั้งหมดเท่ากับ 100+M มิลลิลิตร จะ มี Dextrose เป็น (100+M)*10/100 กรมั จากปริมาตร 50% Dextrose Solution ท่ีนามาเติม M มิลลิลิตร จึงมี ปรมิ าณ Dextrose 0.5M กรัม และนาไปรวมกับ ปริมาณ Dextrose ที่ มีอยู่เดมิ ใน D-5-W (100 ml) เทา่ กับ 5 กรัม ดังน้ันสารละลายใหม่จึงมี Dextrose 0.5M+5 กรัม แทนค่าได้ดังนี้ (100+M)*10/100 กรมั เท่ากับ 0.5M+5 กรมั ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 92
(100+M)* 0.1 = 0.5M+5 >>>>>> 10 + 0.1M = 0.5M+5 M = 5/0.4 >>>>>> M = 12.5 จงึ คานวณคา่ M ได้เท่ากบั 12.5 มิลลิลิตร สมมุติให้เติม 50% Dextrose Solution เท่ากับ M มิลลิลิตร ลงใน D- 5-W ปรมิ าตร 100 มิลลลิ ติ ร เพอื่ ให้ได้ D-10-W สรุป วิธีเตรียม D-10-W คือ เติม 50% Dextrose Solution ปริมาตร 12.5 มิลลิลิตร ลงใน D-5-W 100 มิลลิลิตร ซึ่งจะได้ปริมาตรสารน้า ท้งั หมด 112.5 มลิ ลิลติ ร ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 93
การเลอื กใช้ยาและให้คาแนะนาในการใช้ยาสาหรับดูแลสุขภาพ เบอื้ งต้น ในการปฏบิ ตั ิหน้าที่เปน็ บุคลากรทางการแพทย์ของหน่วยแพทย์ปฐม ภูมิ ของ ทร. ในการดูแลสุขภาพเบ้ืองต้นของผู้ปุวย จาเป็นต้องมีทักษะ และองค์ความรู้ ในการสัมภาษณอ์ าการเจ็บปุวย ทราบประวัติการใช้ยา ของผปู้ วุ ย เพอ่ื ประเมินความเจ็บปุวยเบือ้ งต้นได้ถกู ต้อง ก่อให้เกิดความ ร่วมมือในการรักษาพยาบาล เพื่อตัดสินใจเลือกใช้ยารักษาความ เจ็บปุวยเบ้อื งตน้ นน้ั โดยใช้ขอ้ มูลทางวชิ าการที่ถูกต้อง มีการใช้ยาอย่าง สมเหตุผล มคี วามปลอดภยั จากอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา และ ไดร้ ับยาที่เหมาะสมกบั ปญั หาสุขภาพของผู้ปุวยแต่ละราย ในระยะเวลา การรักษาท่ีเหมาะสม รวมถึงการส่งมอบยาให้แก่ผู้ปุวยพร้อมให้ข้อมูล คาแนะนาทจ่ี าเปน็ ตอ่ การใช้ยาไดอ้ ยา่ งเพียงพอ การสื่อสารเพื่อหาข้อมูล ปัญหาสุขภาพของผู้ปุวย การซักประวัติเป็น การรวบรวมข้อมูล เพ่ือเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวินิจฉัยความเจ็บปุวย ของผู้ปุวย ควรสื่อสารเพื่อหาข้อมูลความเจ็บปุวยอย่างมีเปูาหมายและ เหมาะสม ในการตัดสินใจเลือกใช้ยาให้ผู้ปุวย หรือส่งต่อผู้ปุวยไป สถานพยาบาลในกรณที จี่ าเปน็ โดยตงั้ คาถามเพอื่ หาข้อมูลตอ่ ไปน้ี 1. ปัญหาทางสุขภาพของผู้ปุวย ประเด็นที่ต้องสื่อสาร เพื่อหาข้อมูล ความเจบ็ ปุวย ประวัติการแพ้ยา และข้อมูลการใช้ยาในผู้ปุวยโรคท่ัวไป มแี นวทางการซกั ประวัตดิ งั น้ี ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 94
- ใครคอื ผ้ปู วุ ย - อายเุ ทา่ ไร - วันนี้มาดว้ ยโรคหรืออาการอะไร - เริ่มมอี าการดังกลา่ วต้งั แตเ่ มอื่ ไร เป็นมานานเท่าไร - ความรุนแรงของอาการเป็นอย่างไร เม่ือเปรียบเทียบกับวันแรกท่ี เรม่ิ เป็น - เคยมีอาการเช่นนีม้ าก่อนหรอื ไม่ - มอี าการอน่ื ที่เป็นรว่ มหรอื ไม่ (ถา้ มี) มอี าการอย่างไร - มีส่ิงใดที่ทาให้อาการแย่ลงหรือดีข้ึน เช่น ยา อาหาร หรือการ ปฏิบัติตวั อ่ืน ๆ - โรคประจาตัวที่ผปู้ ุวยเป็น (โดยเฉพาะโรคไต และ/ หรือตับ ) และ ยารกั ษาโรคประจาตัว - ใชย้ าหรือผลติ ภณั ฑอ์ ่ืน ๆ เพ่ือบรรเทาอาการมากอ่ นหรือไม่ - ตอนน้ีมีการใช้ยาอื่น สมุนไพร หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอะไรอยู่ หรือไม่ (ถา้ ม)ี ผลติ ภณั ฑ์ดงั กลา่ วคอื อะไร - มปี ระวัติแพ้ยา หรือแพ้อาหารอื่นๆหรือไม่ (ถ้ามี) มีอาการอย่างไร (จาเปน็ อย่างยิง่ ) - มีประวัติอาการไม่พึงประสงค์อ่ืนนอกเหนือจากการแพ้ยาหรือไม่ (ถ้าม)ี มีอาการอยา่ งไร - งานท่ีทาในปัจจุบัน หรือสภาวะแวดล้อมท่ีอาจเก่ียวข้องกับการ เจ็บปุวย - หากผู้ปุวยเป็นหญิงวัยเจริญพันธ์ุ ต้องถามเรื่องการต้ังครรภ์ หรือ ให้นมบุตร โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกรณีท่ีจะจ่ายยาที่อาจทาให้เกิด อันตรายตอ่ ทารก ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 95
- ผู้ปุวยเด็ก ต้องถามเพ่ิมเติมเรื่องอายุ และน้าหนัก เพ่ือนามาใช้ใน การคานวณขนาดยาในเด็ก 2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวหรือชุมชน อันอาจนามาซ่ึงปัญหา สุขภาพ หากพบว่าปัญหาสุขภาพของผู้ปุวยมีสภาพแวดล้อมเป็นปัจจัย กระตุ้น เช่น โรคหืด โรคภูมิแพ้ เป็นต้น ควรแนะนาให้ผู้ปุวยหลีกเลี่ยง ปัจจัยกระตุ้นเหล่าน้ันเพ่ือควบคุมอาการ และปูองกันการเกิดโรคกลับ เป็นซา้ 3. การแนะนา การตรวจเพ่ิมเติม เช่น การตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือการตัดสินใจส่งต่อผู้ปุวยให้แพทย์ หรือโรงพยาบาลได้อย่าง เหมาะสม ควรอธิบายใหผ้ ูป้ ุวยเข้าใจสาเหตุและวิธกี ารส่งต่อหรือรับการ รักษาระดบั ต่างๆตอ่ ไป การเลือกใช้ยาสาหรับปัญหาสุขภาพเบื้องต้น เมื่อรับทราบข้อมูล ความเจบ็ ปุวย สามารถตัดสินใจเลือกยารักษา โดยคานงึ ถงึ 1. เลือกใช้ยาโดยใช้ข้อมูลทางวิชาการท่ีถูกต้อง มีการใช้ยาอย่าง สมเหตุผล (Rational Drug Use) ตามความจาเป็น (Consider the options) ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลัก เวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionally) 2. สื่อสารเพ่ือให้การตัดสินใจร่วมของผู้ปุวยในการใช้ยา เป็นไป บนข้อมูลทางเลือกท่ีถูกต้อง เหมาะกับบริบทและเคารพในมุมมองของ ผู้ปุวย (Reach a shared decision) 3. สามารถส่ังใช้ยาได้อย่างถูกต้อง (Prescribe) โดยพิจารณา ทบทวนประเดน็ เหลา่ น้ี ขนาดยาทอ่ี ยู่ในชว่ งการรกั ษาตามอายุ, น้าหนัก ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 96
ของผู้ปุวยแต่ละราย และระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม การใช้ยา ซา้ ซอ้ นและเสริมฤทธก์ิ นั การใช้ยาโดยไม่มีความจาเป็น การใช้ยาท่ีอาจ เกิดอันตรกิริยาท่ีมีนัยสาคัญ การใช้ยาท่ีขัดกับกฎหมาย รวมถึง อันตรายจากการใช้ยา เช่น การจ่ายยาท่ีผู้ปุวยมีประวัติแพ้ยา ที่เป็นข้อ ห้ามใช้ หรือยาทค่ี วรระมดั ระวังการใช้เป็นพเิ ศษ เช่น ผู้ปุวยโรคตับ โรค ไต ผู้มีภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD เปน็ ต้น 4. สามารถเตรียมฉลากยาและส่งมอบยาพร้อม ให้ข้อมูล คาแ นะน าท่ี จาเ ป็น ต่อก าร ใช้ย าได้ อย่ างเ พีย งพอ ( Provide information) 5. สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจ เกดิ ขึน้ จากการใชย้ าได้ (Monitor and review) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 97
การปฏบิ ัตงิ านตามหลกั การจ่ายยาที่ดี 1. วธิ ีการจ่ายยา 1.1 การหยิบยาและการเกบ็ ยาจากช้นั ยา การหยิบและเก็บยาควรมีทักษะท่ีเหมาะสมในการที่จะลดความเส่ียง ของการหยิบยาผิด และทาให้เป็นนิสัย ด้วยการอ่านช่ือยาที่ภาชนะ บรรจุซ้าอย่างน้อย 3 ครั้ง คร้ังแรกเมื่อมองหาและหยิบยา คร้ังท่ีสอง ก่อนนับยา และครั้งสุดท้าย เมื่อนายากลับไปวางที่เดิม ควรตรวจสอบ วันหมดอายุจากฉลากยาและลกั ษณะกายภาพของยา กอ่ นนับยา 1.2 การประเมินคุณสมบัติของยาที่จะจ่าย เช่น วันหมดอายุ ลักษณะยาเสื่อม ควรตรวจสอบวันหมดอายุจากฉลากยาและลักษณะ กายภาพของยาเพ่ือให้แน่ใจว่ายาไม่เสื่อมก่อนเร่ิมนับยา นอกจากน้ี ควรมีการตรวจสอบช้ันเก็บยาเพื่อดูวันหมดอายุอย่างน้อยทุก 3 เดือน หรอื ตามท่ีกาหนดไว้ หรืออาจใช้ระบบรหัสสีในการบ่งบอกวันหมดอายุ ของยา 1.3 การนับเม็ดยาด้วยถาดนับเม็ดยา (กรณียาเม็ดร่วง) โดยวิธีการ นบั เมด็ ยาดว้ ยถาดนับเม็ดยามีดังนี้ ถาดนบั เมด็ ยา (นบั ยาจากจุดท่ี 1 ไปยังจดุ ที่ 2 ยาที่เหลือเทคนื ลงขวดยาเดมิ ผ่าน จุดที่ 3) ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 98
- เช็ดถาดและท่ีนับยาให้สะอาด ในแต่ละวันควรมีการเช็ดด้วย แอลกอฮอล์เป็นครั้งคราว และควรมีถาดนับยาแยกสาหรับยาบางชนิด เพ่ือปูองกันการปนเป้ือน เช่น ยากลุ่ม Penicillin , ยากลุ่ม NSAIDS, ยาเคมีบาบัด - เม่ือหยิบยาที่ต้องการได้แล้ว เทลงในถาด (จุดท่ี1) ด้วยจานวน พอสมควรกับปริมาณยาท่จี ะนับ โดยยังไมเ่ ปดิ ฝาดา้ นชอ่ งเทยา - เปิดฝาช่องเทยา จับด้านเรียวของที่นับยา นับยาจากถาดลงในช่องเท ยา (จุดท่ี2) นับคร้ังละก่ีเม็ดก็ได้ แต่นิยมนับครั้งละ 5-10 เม็ด เพราะ นบั ได้ง่าย และมีโอกาสผิดพลาดน้อย นับจนครบจานวน หากยาท่ีเทไว้ ไม่พอกับจานวนยาที่ต้องการ ปิดฝาช่องเทยา แล้วจึงเทยาจากขวดลง เพ่มิ ในถาด เปิดฝาช่องเทยาใหม่ นับจนครบ ปิดฝาช่องเทยา แล้วเทยา ทเี่ หลอื ลงในลงขวดยาเดมิ (จดุ ท3่ี ) - เทยาท่ีนับไว้ในช่องเทยา (จุดที่2) ลงในภาชนะ (ซองยา ขวดยา) ท่ี เตรยี มไว้ ปิดภาชนะให้เรียบร้อย - ทาความสะอาดถาดและท่นี ับยาอีกครง้ั หนึ่ง 1.4 การเลือกภาชนะบรรจุให้เหมาะสม เช่น ขนาด ซองสีชาปูองกัน แสง ยาท่ีจ่ายต้องครบถ้วน มีฉลากถูกต้อง ข้อมูลครบถ้วน บรรจุใน ภาชนะท่ีเหมาะสม 1.5 การเขียนฉลากยา เปน็ เอกสารท่ีมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการใช้ ยาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือหน่ึง ในการส่งเสรมิ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในสถานพยาบาล การเขียนฉลากยารับประทาน หรือการเขียนฉลากการให้ยาด้วย วิธีการอื่น ๆ ควรส่ือสารข้อความต่าง ๆ แก่ผู้ปุวยด้วยภาษาและ ใจความที่ผู้ปุวยเข้าใจ ควรพิมพ์หรือเขียนให้อ่านง่าย ปัจจุบันข้อความ ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ การแพทย์ พร. หน้า 99
บนฉลากยามีการทบทวนเป็นระยะอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่ามี ขอ้ มูลทีจ่ าเป็นครบถ้วน โดยควรมีข้อมลู ต่อไปนี้ (1) วนั ที่จ่ายยา (2) ชื่อ-นามสกุลผู้ปวุ ย (3) ช่ือยา ความแรง และจานวน (ควรมีทั้งช่ือสามัญและช่ือ ทางการคา้ ) หลายโรงพยาบาลจะเขียนชื่อยาภาษาไทยกากับไว้บนฉลากยา นอกเหนือจากชื่อยาภาษาอังกฤษ โดยให้ ความสาคัญเป็นพิเศษกับช่ือ สามัญทางยา เพื่อช่วยให้ผู้ปุวยทราบและสามารถจดจาชื่อยาที่ตนเอง หรือผู้เกี่ยวข้องใช้อยู่ได้ ซ่ึงจะช่วยให้การส่ือสารกับบุคลากรทางการ แพทย์เป็นไปอย่างแม่นยา ไม่คลาดเคล่ือน ท้ังยังช่วยปูองกันการใช้ยา ซา้ ซ้อน (4) วธิ ีใชย้ าท่ชี ัดเจน และเข้าใจงา่ ย ไม่สบั สน การระบุขนาดใช้ยาที่ชัดเจน เช่น เขียนคาว่า “ครึ่ง” แทนการ เขียน ½ ระบุขนาดยาเป็น 2.5, 3, 3.5 หรือ 4 ซีซี (มล.) แทนการระบุ ขนาดยาเปน็ ½, 2/3 และ ¾ ช้อนชา เปน็ ตน้ ยาใดทีใ่ ช้แบบ prn ควรระบวุ ิธใี ช้ดว้ ยข้อความ “รับประทานเมื่อ มีอาการ” รวมทั้งระบุสรรพคุณ (ข้อบ่งใช้) ของยาไว้อย่างชัดเจนบน ฉลาก และระบุความถี่ในการใช้ยาด้วยข้อความ “ห่างกันอย่าง น้อย……….ชั่วโมง” แทนคาว่า ทุก……..ชั่วโมง เพ่ือปูองกันความเข้าใจ ผิดของผู้ใช้ยาในการท่ีจะใช้ยาอย่างต่อเน่ืองตามเวลาท่ีระบุ ไว้ท้ังท่ี อาการได้บรรเทาลงแลว้ ยาใดที่ใช้แบบต่อเน่ืองจนยาหมด เช่น ยาปฏิชีวนะ หรือยาท่ีใช้ รักษาโรคเรื้อรัง ควรระบุวิธีใช้ด้วยข้อความ “รับประทานต่อเนื่องทุก วนั ” ความรู้พนื ้ ฐานทางเภสชั วทิ ยา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั ้ สงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์ พร. หน้า 100
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110