Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Banana Stalk (eBook)

Banana Stalk (eBook)

Published by prueksarose, 2019-05-27 05:27:26

Description: Banana Stalk (eBook)

Search

Read the Text Version

ทศั นาสาระ ศิลปะการแทงหยวก สกลุ ชา่ งเพชรบรุ ี



..ทัศนาสาระ.. ศิลปะการแทงหยวก สกลุ ช่างเพชรบรุ ี หนงั สอื เลม่ เลก็ เล่มนีเ้ ป็นสว่ นหนงึ่ ของโครงการจดั การความรู้ เพื่อสบื สานศิลปะการแทงหยวกสกลุ ช่างเพชรบุรี รายวิชา ๔๖๘ ๖๓๓ สัมมนาการออกแบบและพัฒนาระบบการเรียนรใู้ นองคก์ ร หลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ ภาควชิ าเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

คานา หนังสือเลม่ เลก็ “ทัศนาสาระ : ศิลปะการแทงหยวก สกุลช่างเพชรบุรี” จัดทาข้ึนโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือ การจัดการความรู้จากครูช่าง ช่างแทงหยวก และผู้สืบสาน ศิลปะการแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรี และการศึกษาเอกสาร เพิ่มเติมเก่ียวกับศิลปะการแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรี เพ่ือ เป็นเคร่ืองมือหนึ่งในการเข้าถึงความรู้ และแบ่งปันแลก เปล่ียนเรียนรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มเล็กเล่มน้ี จะเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมให้เยาวชนไทยได้รับการถ่าย ทอดความรู้ เพ่ือช่วยสืบสานและอนุรักษ์ศิลปะการแทงหยวก ให้อยู่คู่กับภูมิปัญญาไทยสืบไป หากมีสิ่งผิดพลาดประการใด ในหนงั สือเลม่ น้ี ผูจ้ ดั ทาตอ้ งขออภยั มา ณ โอกาสน้ี พฤกษา ดอกกุหลาบ พฤษภาคม ๒๕๖๑

สารบัญ หนา้ ความหมายของศิลปะการแทงหยวก ๑ ประวัติความเป็นมาของศิลปะการแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรี ๓ เอกลักษณข์ องศิลปะการแทงหยวกสกุลชา่ งเพชรบุรี ๕ ลวดลายที่ใช้ในศิลปะการแทงหยวกสกุลชา่ งเพชรบุรี ๗ ต้นกล้วยทใ่ี ชใ้ นการแทงหยวก ๑๑ วัสดแุ ละอปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการแทงหยวก ๑๓ พิธไี หวค้ รกู ่อนการแทงหยวก ๑๕ ข้ันตอนกระบวนการแทงหยวก ๑๗ เทคนิควธิ กี ารทีส่ าคญั ในการแทงหยวก ๒๐ เสน้ ทางส่กู ารเป็นผู้สืบสานศิลปะการแทงหยวก ๒๑ บุคลานุกรม ๒๓ บรรณานุกรม ๓๐

ความหมายของศลิ ปะการแทงหยวก การแทงหยวก เป็นการนาเอาเปลือกหุ้มลาต้นของ กล้วย ท่เี รยี กวา่ “กาบกลว้ ย” มาฉลุ โดยการใช้มีดปลายแหลม ท่มิ แทงลงไปใหเ้ กดิ เปน็ ลวดลายตา่ ง ๆ ตามท่ีเราต้องการ แล้ว จงึ นาเอาลวดลายนนั้ มาประกอบเขา้ ดว้ ยกัน ศิ ล ป ะ ก า ร แ ท ง ห ย ว ก ใช้สาหรับนาไปประดับตกแต่งสิ่ง ต่าง ๆ ใหเ้ กิดความสวยงาม ซ่ึง ๑ มักเป็นสิ่งปลกู สรา้ งชัว่ คราวท่ี ใช้ในพิธกี รรมตา่ ง ๆ ท้ังงานมงคล และงานอวมงคล เชน่ การประดบั ตกแตง่ เชิงตะกอน การประดับตกแต่งเบญจารดน้า ประเพณแี ห่ปราสาทผง้ึ ประเพณลี อยกระทง

ศิลปะการแทงหยวก เ ป็ น ง า น ท่ี เ ส่ื อ ม ส ภ า พ เ ร็ ว เน่ืองจากลักษณะทางกายภาพ ของหยวกกล้วย ทาให้มีระยะ เ ว ล า ก า ร ใ ช้ ง า น ใ น เ ว ล า อั น ส้ั น การแทงหยวกจึงจาเป็นต้องใช้ เว ลา ใน การ สร้ างส รร ค์ งา น อย่างจากดั ถึงแม้ว่างานแทงหยวกจะจัดว่า ๒ เป็นงานท่ีเส่ือมสภาพเร็ว แต่ก็สามารถ สร้างช้ินงานขึ้นมาใหม่ได้อย่างรวดเร็ว เชน่ กนั น่ีคอื ลักษณะเฉพาะและจุดเด่นของ งานแทงหยวก ท่ีแตกต่างจากวัสดุอ่ืน ๆ จึงถือเป็นศิลปะท่ีน่าสนใจในการศึกษาเพ่ือ พั ฒ น า แ ล ะ สื บ ส า น ใ ห้ ค ง อ ยู่ คู่ กั บ ค น ไ ท ย สืบไป

ประวัติความเป็นมาของ ศิลปะการแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรี ๓ ศิลปะการแทงหยวก สันนิษฐานว่าน่าจะเริ่มมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เน่ืองจากในยุคสมัยน้ันมกี ารนิยมนาต้นกล้วยมาใช้ประโยชน์ โดยประดิดประดอย เป็นช้ินงานเพื่อใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ และเริ่มเข้ามาในจังหวัดเพชรบุรีประมาณ สมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งพัฒนาและสืบทอดต่อกันมาท้ังรูปแบบ กระบวนการ และวธิ ีการ จนกลายเป็นศิลปะแขนงหน่งึ ในสกลุ ชา่ งเพชรบุรี จากคาบอกเล่า ศิลปะการแทงหยวกน่าจะมีบ่อเกิดมาจากการศึก สงครามที่มีการสูญเสียกลางสนามรบ เมื่อกษัตริย์หรือแม่ทัพนายกองออกศึก แล้วสิ้นชีพ ก็จะจัดพิธีปลงศพ ณ บริเวณสนามรบน้ัน โดยการก่อสร้างเมรุ อย่างเรียบง่าย หยวกกล้วยจึงถูกนามาดัดแปลงเพ่ือประกอบเชิงตะกอนเผาศพ ด้วยคณุ ประโยชน์ของต้นกล้วยท่ีเป็นฉนวนกันความร้อน เม่ือนามาบังฟนื ไว้จะทา ให้เปลวไฟไมเ่ กดิ การลกุ ลามไปสู่ภายนอก และห่อหุม้ ไฟให้เผาไหม้ร่างจนเหลือเป็น เถ้าอัฐิ ต่อมาจึงมีการพัฒนาโดยการแกะฉลุหยวกกล้วยให้เป็นลวดลายไทย อยา่ งวิจติ รและงดงาม

ในอดีต ศิลปะการแทงหยวก สกุลช่างเพชรบุรีจะมีการถ่ายทอดวิชา ความรู้เฉพาะในหมู่ของตน ซ่ึงมีศูนย์ รวมของช่างแต่ละสกุลอยู่ตามวัดต่าง ๆ เชน่ สกุลช่างวัดใหญ่สุวรรณาราม สกุล ช่างวัดเกาะ สกุลช่างวัดพระทรง สกุล ชา่ งวัดยาง ครชู ่างกลมุ่ อนุรักษ์ศิลปะการแทงหยวกสกุลชา่ งเพชรบุรี อาจารย์ประสม สุสุทธิ ๔ เกิดเม่อื วันท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ครูเล่ยี ม เครือนาค เกิดเมอื่ วนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๒ ครหู อม วงศ์ทองดี เกิดเมอ่ื วนั ที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๗

เอกลักษณข์ องศิลปะ การแทงหยวกสกุลชา่ งเพชรบุรี ในสมัยก่อนน้ัน ช่างแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรีมี อยู่มากมาย จนมีการกล่าวว่าใคร ๆ ก็สามารถแทงหยวกได้ เจ้าอาวาสวัดในจังหวัดเพชรบุรีจะสามารถแทงหยวกได้ทุกรูป เม่อื ถงึ งานศพใด ก็จะมีชา่ งฝีมอื หลายแขนงมาร่วมแรงร่วมใจ กันเตรียมงาน รวมถึงช่างแทงหยวกและช่างแกะสลักเคร่ือง สด ต่างก็ไดแ้ สดงฝีมอื ประกวดประชนั กนั อยา่ งเตม็ ท่ี ๕ ตามคาบอกเล่าของช่างแทงหยวกสกุลชา่ งเพชรบรุ ี หลาย ๆ ท่านต่างก็กล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า ความเป็น เอกลักษณ์ของศิลปะการแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรีน่ันก็คือ

การท่ีช่างแทงหยวกสามารถแทงหยวกได้ โดยไม่ต้องร่างลายลงบนหยวกก่อน หรือท่ี เรียกกันว่า “การแทงหยวกแบบฟรีแฮนด์” ซ่ึงช่างต้องผ่านการฝึกฝนการเขียนลาย ไทยให้คล่อง เพ่ือให้สามารถจาลายได้อย่าง แมน่ ยา และพรอ้ มท่จี ะแทงฉลลุ วดลายนัน้ ๆ ลงบนหยวกกลว้ ยได้ทนั ที ๖ อีกประการหน่ึงคือ เอกลักษณ์ ของศิลปะการแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรี จ ะ มี ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ล า ย โ ด ย ก า ร เ ลี ย น แ บ บ ธรรมชาติ มกี ารแทงฉลหุ ยวกเป็นลวดลาย ธรรมชาติท่ีมีความอ่อนช้อย งดงาม ซ่ึง ตัวลายจะมีความเพรียวและเรียว มีการ สะบัดปลายท่ีวิจิตรพิสดารกว่าศิลปะการ แทงหยวกของท่ีอ่ืน ๆ

ลวดลายทใี่ ชใ้ นศิลปะ การแทงหยวกสกลุ ชา่ งเพชรบรุ ี ลวดลายที่ใช้ในศิลปะการแทงหยวกสกุลช่างเพชรบุรีนิยมใช้ ลายไทยมาแต่โบราณ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการประยุกต์ข้ึนมาใหม่บ้าง แต่ก็ ยังคงยึดหลักของลักษณะลายไทยแบบด้ังเดิมอยู่ ลวดลายที่ใช้ในการ แทงหยวกแบง่ ออก เป็นประเภทตา่ ง ๆ ได้ดงั นี้ ๑. ลายพื้นฐาน ลาย ๗ ฟนั หนงึ่ ลาย ฟนั สาม ลาย ฟนั ห้า ลายพ้ืนฐาน เป็นลายท่ีแทงแล้วสามารถนามาใช้ทั้ง ๒ ด้าน ผู้ท่ีเริ่มฝึกแทงหยวกใหม่ ๆ จะต้องฝึกฝนในลายพ้ืนฐาน โดยเฉพาะลาย ฟนั หนึ่งให้มีความชานาญ ซึ่งขนาดของฟนั จะต้องมีขนาดเท่ากันทุกซ่ี และตอ้ งแทงใหเ้ ป็นเส้นตรงเดยี วกันไม่คดโค้ง

๒. ลายหนา้ กระดาน ๘ ลายรกั รอ้ ย ลายกนกเปลว ลายกนก ลายเถา ลายเสา ใบเทศ หางโต

ลายหน้ากระดาน เป็นลายท่ีพัฒนามาจากลายพื้นฐาน โดย การแทงฉลุให้เกิดเป็นลวดลายอยู่ในกรอบ แล้วนาไปปิดทับบนแผ่นพนัง ในการประกอบหยวกใหม้ ีสสี ันต่าง ๆ ๓. ลายประยกุ ต์ หรือ ลายวจิ ติ ร ลายกระจงั รวน ๙ ลายนอ่ งสิงห์ ลายใบเทศ ตวั เหงา ลายสาหร่าย

ลายประยุกต์ หรือ ลายวิจิตร เป็นลายที่พั ฒนามาจาก ความคิดและจินตนาการของช่างแทงหยวกที่ต้องการให้เกิดความวิจิตร สวยงาม ละเอียด และอ่อนช้อย โดยมากเม่ือแทงฉลุแล้วแกะลายออกจะ สามารถใช้ไดเ้ พียงดา้ นเดียว ๑๐

ต้นกล้วยท่ใี ชใ้ นการแทงหยวก พันธุ์กล้วยท่ีดีท่ีสุดในการใช้แทงหยวก คือ ๓ เมตรข้ึนไป กล้วยตานที ่ยี ังไม่ออกเครอื ด้วยคุณสมบตั ขิ องกล้วย ตานีท่มี ีรวงผ้งึ ดา้ นในกาบกลว้ ยค่อน ๒๐ ซม. ข้างถ่กี วา่ กล้วยพันธ์ุอ่ืน ๆ ทาให้หยวกกลว้ ยมี ความชุ่มน้า สง่ ผลให้ ผวิ ของกาบกลว้ ย ตานีมคี วามคงทน สวยงาม ไม่เปราะบาง หรือแตก ๑๑ งา่ ย ไม่เนา่ เป่ อื ย แตจ่ ะเห่ยี วแหง้ ไปตามกาลเวลา ลักษณะพิเศษของกล้วยตานีอีก ประการหนึ่งคือ เน้อื ผวิ หยวกมีสีขาวนวลสวย และ มีเสน้ ใยท่สี ามารถมองเหน็ เป็นแนวได้ ต้นกล้วยท่ีจะนามาใช้ในการแทงหยวก ควรเล้ียงให้ลาต้นมีความสูงตั้งแต่ ๓ เมตรข้ึนไป และมีเส้นผ่านศูนย์กลางของโคนต้นประมาณ ๒๐ เซนติเมตร จงึ จะเหมาะกบั การฉลลุ ายได้ดี ในการดาเนินการตัดต้นกล้วยนั้น จะ ต้องมีการทาพิธีขอขมาต้นกล้วยเสียก่อน ซึ่งช่าง แ ท งห ย ว ก จ ะ ท า พิ ธี ข อ ข ม า โ ด ย ใ ช้ ใ บ ต อ ง ห่ อ เ ศ ษ เงินท่ีมีอยู่ในกระเป๋า จากนั้นจึงกล่าวบทสวดขอ ขมา แล้วซกุ ของเงนิ ไว้บริเวณโคนต้นกล้วย

เม่ือได้ต้นกล้วยตามท่ีต้องการแล้วจึงนามาตัดหัวตัดท้าย ออก จากนัน้ ทาการลอกกาบออกทีละชั้นด้วยความระมดั ระวงั โดยใชน้ ้วิ มือสอดเข้าไปในกาบกล้วยแล้วค่อย ๆ ดันมือไปพร้อม ๆ กันท้ังสอง ข้าง ลอกไปจนเกือบถึงช้ันในสุดแล้วทาการคัดแยกขนาดของกาบไว้ เปน็ กลุม่ ๆ กาบกล้วยท่จี ะนาไปแทงหยวกนัน้ ประกอบด้วย กาบเปลอื ก กาบเขียว กาบเขยี ว ท่ีค่อนข้างไปทางขาว และแกนหยวก ซึง่ สว่ นท่ี ใช้ในการแทงหยวกจริง ๆ ควรเป็นกาบเขียวท่ี ค่อนขา้ งไปทางขาว เน่อื งจากเป็นกาบท่ีมี ความสมบูรณ์ มีน้าหล่อเล้ียงภายใน รวงผึง้ ทาให้ชมุ่ ฉา่ อย่ตู ลอดเวลา ๑๒

วสั ดแุ ละอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการแทงหยวก ๑. หยวกกล้วย ท่ีได้ทาการลอกกาบ คัดแยกขนาดของกาบกล้วย และเช็ด ผิวทาความสะอาดเรยี บร้อยแลว้ ๒. กระดาษสี ใช้สาหรับประกอบงาน แทงหยวกเพ่ือเน้นลวดลายท่ีได้ฉลุลง บนหยวกให้มีสีสันสวยสดงดงาม ซ่ึง ๑๓ นิยมใช้กระดาษอังกฤษสีมันวาวคล้าย กระดาษตะก่ัว ท่มี ีคุณสมบัติสาคัญคือ เม่ือถูกน้าแล้วจะไม่ยับย่น สีไม่ลอก เน่ืองจากเม่ือแทงหยวกเสร็จแล้วต้อง มีการพ่นนา้ อย่เู สมอ ๓. มีดแทงหยวก เป็นมีดปลายแหลมท่ีมีคมทั้งสอง ดา้ น เพ่ือให้สามารถแทงลวดลายในลกั ษณะเดนิ หน้า ถอยหลังได้อย่างสะดวก ทาจากเหล็กลานนาฬิกา หรือใบเล่ือยโลหะ นามาเจียรและลับให้คม ใบมีดมี ขนาดความกวา้ งประมาณ ๕ มลิ ลิเมตร มีความยาว ประมาณ ๓-๓ นิ้วคร่ึง หรือแตกต่างกันไปตาม ความตอ้ งการและความถนดั ของชา่ งแต่ละคน

๔ . หิน ลั บ มีด ใช้ ส า ห รั บลั บมีด แ ท ง หย ว ก เน่ืองจากเม่ือมีการใช้งานนาน ๆ จะทาให้มีด แทงหยวกน้ันหมดคม ระหว่างใช้งานจึงต้อง หมั่นลับมีดใหค้ มอยู่เสมอ เม่ือมีดมีความคมก็จะ ทาใหล้ วดลายบนหยวกมคี วามคมชดั สวยงาม ๕. ตอก ใชส้ าหรับประกอบหยวกเขา้ เป็นลายชุด โดย ๑๔ ใช้ตอกรัดตรึงหยวกท่ีแทงแล้วแต่ละชิ้นให้เป็นส่วน เดียวกัน ตอกท่ีใช้สาหรับงานศิลปะการแทงหยวก นิยมทาจากไม้ไผ่ โดยมีความกว้างประมาณ ๑-๑.๕ เซนติเมตร และยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร ซึ่ง ปลายตอกทั้งสองข้างจะมีความเรียวแหลมและคม เพ่ือให้สามารถเจาะเข้าไปในเน้ือหยวกได้งา่ ย ๖. ไม้เสียบ ๗ . มี ด บ า ง ห รื อ มี ด ท า ค รั ว ใ ช้ ใช้สาหรับปักยดึ สาหรับตกแต่งกาบกล้วย หรือตัด หรอื ช่วยเสรมิ ห ย ว ก ก ล้ ว ย ใ ห้ ไ ด้ ข น า ด ต า ม ท่ี ความแข็งแรงจาก ต้องการ โดย เฉพาะเม่ือนาลายมา การประกอบหยวก ประกอบเป็นลายชุด และในช่วงท่ี ดว้ ยตอกอกี ที ต้องตัดต่อเพ่ือนาลายชุดไปประดับ ตกแตง่ ณ สถานท่ตี ่าง ๆ

พธิ ไี หวค้ รูกอ่ นการแทงหยวก ๑๕ ก่อนเริ่มทาการแทงหยวก ช่างแทงหยวกจะต้องทาการไหว้ครู เ พ่ื อ ร ะ ลึ ก ถึ ง พ ร ะ คุ ณ ข อ ง ค รู บ า อาจารย์ท่ใี ห้วิชาความรู้เหมือนกับช่าง ศิลปะแขนงอ่ืน ๆ ซึ่ง “เคร่ืองไหว้” ท่ี ใ ช้ ใ น พิ ธี ไ ห ว้ ค รู ก่ อ น ก า ร แ ท ง ห ย ว ก จะประกอบด้วย ดอกไม้ ธูปเทียน น้า เหล้า บุหร่ี อุปกรณ์เคร่ืองมือต่าง ๆ ท่ีใช้ และแผ่นหยวกท่ีแทงเป็นลาย แลว้ สาหรับไหวค้ รู

เคร่ืองไหว้ท้ังหมดจะ นามาใส่ในถาดรวมกัน แล้วตั้ง ไว้บนโต๊ะใกล้ ๆ บริเวณท่ีทา การแทงหยวก ซึ่งช่างทุกคนจะ ต้องไหว้ครูและเคร่ืองมือก่อน ทางานโดยการว่าตามบทสวด (ต้งั นะโม ๓ จบ) ๑๖ “ ลู ก ข อ ไ ห ว้ คุ ณ ค รู ผู้ ป ร ะ ส า ท วิ ช า ให้แก่ตัวลูก ลูกของไหว้พระอินทร์ พระพรหม พระยม พระกาฬ พระ จตุโลกบาลท้ังส่ี พระภูมิเจ้าท่ี พระ ธรณี พระแม่คงคา แม่พระพาย ส่ิง ศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลายในสากลโลก พระ วิษณุกรรม ท้าวเวสสุวรรณ ครูพัก ลักจา ครูแนะครูนา ครูสั่งครูสอน ท่ีได้ประสาทพรให้แก่ลูกมา พุ ทธัง ประสทิ ธิเม สังฆังประสิทธิเม” (กราบ ๓ ครง้ั )

ข้นั ตอนกระบวนการแทงหยวก กระบวนการข้ันตอนในการแทงหยวก โดยทั่วไปจะแบง่ ออกเป็น ๕ ข้ันตอน ดงั น้ี ๑๗ ๑. กา รเตรีย มหย วกกล้วย หลังจากทาพิธีไหว้ครูเรียบร้อย แล้ว ทาการตัดท่อนต้นกล้วย ตามความยาวที่ต้องการลอก กาบออกเป็นชั้น ๆ โดยระวังมิ ให้กาบกล้วยแตกหรือช้า จาก น้ันทาการคัดแยกกาดที่มีความ ย า ว แ ล ะ สี ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น ไ ว้ เ ป็ น กลุ่ม ๆ ๒. การแทงหยวก นากาบกล้วยที่ ได้คัดแยกไว้มาทาการแทงฉลุเป็น ลวดลายต่าง ๆ โดยใช้ปลายคมมีด แทงเข้าไปในเนื้อหยวกกล้วย โดย ส่ ว น ม า ก ช่ า ง จ ะ น า ก า บ ม า ซ้ อ น กั น ๒-๓ ชั้น แล้วแทงเป็นลายพ้ืนฐาน อย่างลายหน่ึง ฟนั สาม ฟนั ห้า เพ่ือ ความรวดเร็ว แต่จะไม่นิยมใช้วิธีน้ีใน การแทงลายหน้ากระดาน ลายเสา หรือลายประยกุ ต์อื่น ๆ

๓. การประกอบเป็นลายชุด เมื่อได้ หยวกท่ีมีการแทงฉลุลวดลายต่าง ๆ แล้ว ช่างจะนากระดาษอังกฤษสีแวว วาวไปชุบน้าแล้วนามาติดกับหยวก อกี ชัน้ ใช้มอื ลบู ให้กระดาษแนบติดสนิทกบั ความ โค้งของหยวก จากน้นั นาหยวกอกี ชั้นทแี่ ทงลวดลายเว้น พ้ืนหลงั เรยี บรอ้ ยแลว้ มาวางประกอบ โดยกดใหห้ ยวกทงั้ สองชิน้ เขา้ กันได้สนิท เม่ือได้กาหนดลวดลายท่ีจะนามาเข้าชุดกันแล้ว จึงเลือกลาย มาจดั วางใหเ้ หล่อื มล้ากัน หากวางได้รูปแบบแล้วจึงจะใช้ตอก แทงเขา้ ไปในเนอ้ื หยวก จากด้านหนง่ึ ทะลอุ อกไปอีกด้านหน่ึง ซ่ึงขณะแทงตอก ต้องใช้ มือจับหยวกกล้วยท้ังหมด ใหแ้ น่น ไม่ให้ขยับเขย้อื น ๑๘ จากน้ันยกชุดลายคว่า เพื่อใช้ปลายตอก สอดรัดกลับมาด้านหลัง มัดชิ้นลายให้ ค ร บ ทุ ก ส่ ว น ต า ม ค ว า ม ย า ว ข อ ง ชุ ด ล า ย เม่อื ครบทกุ สว่ นเรยี บร้อยแลว้ ให้มัดเส้น ตอกโดยการหมุนบิดเสน้ ตอกให้แน่นท้ังสองด้าน จากน้นั จงึ ทาการตัดส่วนเกินของปลายหยวกที่วางซ้อนกันออก เพ่ือให้เรียบร้อย และสะดวกตอ่ การนาไปติดตั้ง ทาการแกะพ้ืนหลังของลวดลายออก จะปรากฏ สีสนั ของกระดาษองั กฤษท่ีชัดเจน และสวยงาม พรอ้ มท่ีจะนาไปประดับตามสว่ นประกอบต่าง ๆ

๔. การประดับ เม่ือมีการ ประกอบหยวกเป็นลาย ชุดต่าง ๆ แล้ว จึงนามา ติดตั้งเข้ากับโครงหรือ ฐานที่ใช้ในงานพิธี โดย ใช้ตะปู เป็ นวัส ดุในการ ตอกยึดชุดหยวกกล้วย ให้ติดอยกู่ ับฐาน ๑๙ ๕. การตกแตง่ ด้วยเครื่องสด เช่น พุ่มดอกไม้ หรือดอกไม้ท่ี ร้อยเป็นม่านรัก และการแกะ สลักผักผลไม้ท่ีเรียกว่า “การ แทงหยวกประกอบเครื่องสด”

เทคนิควิธกี ารทีส่ าคญั ในการแทงหยวก การแทงหยวกเป็นงานท่ีต้องอาศัยความชานาญ และสมาธอิ ย่างสูง ช่างแทงหยวกต้องเป็นช่างท่ีมีฝีมือ เพราะ จะไม่มีการวาดลวดลายหรือร่างภาพลงบนหยวกก่อน ช่างจึง จาเป็นต้องจดจาแบบแผนของลายท่ีจะฉลุลงไปบนหยวกได้ อยา่ งแม่นยา ๒๐ ส่งิ ท่ีควรคานึงถงึ อีกอยา่ งหน่ึงคือ วธิ ีการจบั มดี การลงมดี นัน้ จะต้องให้ มดี ต้ังฉากกับหนา้ ตดั ของหยวก จึงจะทาให้รอยแทงฉลตุ ัด ตง้ั ฉากสวยงาม

เสน้ ทางสูก่ ารเปน็ ผู้สบื สาน ศิลปะการแทงหยวก สิ่ ง ท่ี เ ป็ น เ ส น่ ห์ แ ล ะ เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ศิ ล ป ะ ก า ร แทงหยวก นั่นก็คือ ความงดงามท่ีเป็นธรรมชาติจากสีของ หยวกกล้วยท่ีขาวสดสะอาด และลวดลายไทยท่ีแฝงอยู่บน ชน้ิ งาน ชว่ ยสง่ เสรมิ ให้งานแทงหยวกมีความงดงามอ่อนช้อย อย่างลงตัว เป็นภูมิปัญญาของช่างไทยท่ีไม่มีชาติใดเหมือน จึงควรสง่ เสริมให้เยาวชนไทยไดร้ บั การถา่ ยทอดความรู้น้ี เพ่ือ ๒๑ สืบสานและอนรุ กั ษ์ศิลปะการแทงหยวกให้มั่นคงสืบไป

สาหรับผู้ท่ีจะมาทา ๒๒ ศิลปะการแทงหยวกนั้น ควร เป็นผู้ท่ีมีใจรักในความเป็นไทย สนใจในศิลปะลวดลายไทย มี ความอดทน และมีความเพียร พยายามในการฝึกฝน เริ่ม ตั้งแต่กา รเรียนรู้ เร่ืองกา ร เขียนลาย จนกระทั่งได้ฝึก แ ท ง ฉ ลุ จ ะ ต้ อ ง มีก า ร ห ม่ั น ฝึ ก ซ้ อ ม ใ น เ ร่ื อ ง ข อ ง จั ง ห ว ะ ความห่างช่องไฟของลายแทง และต้องเป็นคนท่ีช่างสังเกต ห มั่ น เ ข้ า ไ ป ค ลุ ก ค ลี กั บ ช่ า ง แทงหยวก เพ่ือสังเกต จดจา แล้วนามาฝึกฝนจนเกิดความ ชานาญ ดงั คากลา่ วท่ีวา่ ความชานาญ มกั จะเกิดกับผทู้ ่ีหม่นั ฝกึ ฝน

บคุ ลานุกรม ในการจดั ทาหนงั สอื เลม่ เลก็ “ทศั นาสาระ : ศิลปะการแทงหยวกสกลุ ช่างเพชรบรุ ี” เลม่ น้ี ๒๓ ผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคณุ ครชู า่ ง ช่างแทงหยวก และผสู้ บื สานศิลปะการแทงหยวกสกลุ ช่างเพชรบรุ ี ทไ่ี ดใ้ หค้ วามอนเุ คราะหข์ อ้ มลู เพ่ือการจดั การความรู้ ทาใหห้ นงั สอื เลม่ เลก็ เลม่ นเี้ สรจ็ สมบรู ณ์ โดยมรี ายนามดังตอ่ ไปน้ี

๒๔ อาจารยว์ ริ ิยะ สุสุทธิ ครศู ิลปะและภมู ปิ ญั ญา โรงเรยี นเซนตโ์ ยเซฟเพชรบุรี

๒๕ อาจารยส์ งกรานต์ สสุ ุทธิ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนคงคาราม จังหวดั เพชรบรุ ี

๒๖ อาจารยส์ ุพจน์ วงศ์ทองดี ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาล ๔ วัดไชยสรุ นิ ทร์ จงั หวัดเพชรบรุ ี

๒๗ คณุ สรุ ชยั จุยมี ช่างเทคนิค ศูนย์บรกิ ารทรบี รอดแบนด์ จงั หวดั เพชรบรุ ี

๒๘ อาจารยส์ ุภา สิงหโ์ ตแกุว ครผู ้ชู ่วย โรงเรยี นวดั จนั ทราวาส (ศุขประสารราษฎร์) จงั หวดั เพชรบรุ ี

๒๙ อาจารย์ดวงจนั ทร์ สุสุทธิ ครูโรงเรยี นเอกชน โรงเรยี นเซนตโ์ ยเซฟเพชรบุรี

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๕๓). งานช่างพื้นถ่นิ . กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์. ๓๐ ชลากร สถวิ ัสส.์ (๒๕๕๔). แทงหยวก...มหาศิลป์บนต้นกลว้ ยท่ีกาลงั เลือน หาย. ใน เมื่อวยั ใสเขียนเร่อื งภูมปิ ญั ญาไทย. (หนา้ ๗๗-๘๘). นนทบรุ ี: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. ชูศักดิ์ ไทพาณชิ ย์. (๒๕๕๕). ศิลปะการแทงหยวก. กรงุ เทพฯ: วาดศิลป์. ดวงจันทร์ สุสทุ ธิ. (๒๕๕๑). ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ด้านศิลปะการแทงหยวก จังหวดั เพชรบุรี. สารนพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าธุรกจิ ศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. นฤทธ์ิ วฒั นภ.ู (๒๕๕๕). ศิลปหตั ถกรรมพ้ืนบา้ น. กรงุ เทพฯ: วาดศิลป์ สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดเพชรบุรี. (๒๕๕๒). เพชรบุรเี มืองงาม งามงาน สกลุ ช่างเมอื งเพชร (พิมพ์ครัง้ ที่ ๓). กรุงเทพฯ: เอ็นทีเอส พรนิ้ ท์ ติ้ง. สพุ จน์ วงศ์ทองดี. (๒๕๕๘). ชุดฝึกทกั ษะตามแนวคิดการถา่ ยโยงการเรยี นรู้ เรอ่ื งพ้ืนฐานศิลปะการแทงหยวกพ้ืนถ่นิ เพชรบุรี. เพชรบรุ ี: โรงเรยี นเทศบาล ๔ วดั ไชยสุรนิ ทร์ จงั หวัดเพชรบรุ .ี

ประมวลภาพ ๓๑

ประมวลภาพ ๓๒





หนงั สอื เลม่ เลก็ เลม่ น้ีเปน็ สว่ นหนงึ่ ของ โครงการจดั การความรเู้ พ่ือสบื สานศิลปะการแทงหยวกสกุลชา่ งเพชรบรุ ี จัดทาโดย นางสาวพฤกษา ดอกกหุ ลาบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook