Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน ม4 เทอม 1 64

แผนการสอน ม4 เทอม 1 64

Published by saowanee021238, 2021-05-10 12:41:17

Description: แผนการสอน ม4 เทอม 1 64

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ ภาษาไทย ท 31101 มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 นางสาวเสาวนีย์ ต๊ะต๋า ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

สารบญั เรื่อง หน้า คาชี้แจงแผนการจดั การเรียนรู้ 1 7 ตารางวเิ คราะห์สาระมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั ช้ันปี กบั หน่วยการเรียนรู้ 8 9 โครงสร้างการแบ่งเวลารายช่ัวโมงในการจดั การเรียนรู้ 13 - 22 14 แผนปฐมนิเทศก่อนเรียน 18 23 - 44 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา 24 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของภาษาและธรรมชาติของภาษา 30 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ลกั ษณะของภาษาไทย 35 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การใช้ภาษาในการส่ือสาร 40 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ความรู้เก่ียวกบั การส่ือสาร แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 การรับสารและส่งสารเพื่อกิจธุระ 45 - 85 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 การใชค้ า กลุ่มคาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์การส่ือสาร 46 51 กบั บุคคลต่าง ๆ 56 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 การใชค้ าที่มีความหมายคลา้ ยกนั และการใชค้ าที่ทาให้มองเห็น 61 66 ภาพหรือใหค้ วามรู้ สึกชดั ข้ึนเป็นพิเศษ 71 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา 76 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 แนวทางในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม 81 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมยั สุโขทยั แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมยั อยธุ ยาตอนตน้ 86 - 113 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 การอา่ นบทละครเร่ือง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง 87 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11 การอ่านทานองเสนาะ 91 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 12 การอ่านตีความ 95 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 13 การเขียนแสดงความคิดเห็น 100 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 14 การใชส้ านวนโวหาร หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การฟังการดู และการพดู ให้สัมฤทธ์ิผล แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 15 หลกั การฟังและการดู แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16 การฟังใหส้ มั ฤทธ์ิผล แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 17 มารยาทในการฟังและการดู แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 18 หลกั ทว่ั ไปของการพดู

(สารบญั ตอ่ ) เร่ือง หน้า แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 19 การพดู ในโอกาสต่าง ๆ 104 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 20 การพดู ในโอกาสต่าง ๆ (ต่อ) 109 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ส่งสารด้วยการเขยี น 114 - 164 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 21 กระบวนการเขียนและกระบวนการคิด 115 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 22 การเขียนเพ่ือกิจธุระ 121 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 23 การเขียนเชิงวิชาการ 126 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 24 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ 130 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 25 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 135 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 26 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 141 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 27 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 146 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 28 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 151 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 29 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 155 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 30 การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ต่อ) 160 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 นิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 165 - 176 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 31 การอา่ นนิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 166 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 32 การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ 172 ภาคผนวก 177 - มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ช่วงช้นั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 - ใบความรู้ ใบงาน แบบบนั ทึก และแบบประเมิน

1 คำชี้แจงกำรจัดแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ รำยวชิ ำภำษำไทย ท31101 ช้ันมธั ยมศึกษำปี ท่ี 4 ภำคเรียนที่ 1 ปี กำรศึกษำ 2564 1. แนวทำงกำรใช้แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ภาษาไทยเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางใหค้ รูใชป้ ระกอบการจดั การ เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซ่ึงการแบ่งหน่วยการเรียนรู้สาหรับจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ราย ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้เล่มน้ี แบ่งเน้ือหาออกเป็ น 6 หน่วย ประกอบดว้ ยหน่วยการเรียนรู้ ดงั น้ี หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 1 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 การใชภ้ าษาในการส่ือสาร หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 3 อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 4 การฟัง การดู และการพดู ใหส้ มั ฤทธ์ิผล หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 5 การส่งสารดว้ ยการเขียน หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 6 นิทานเวตาลเร่ืองที่ 10 แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีได้นาเสนอรายละเอียดไวค้ รบถ้วนตามแนวทางการจัดทา แผนการจดั การเรียนรู้ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน นอกจากน้ียงั ไดอ้ อกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนใหน้ กั เรียนไดพ้ ฒั นาองคค์ วามรู้ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม สถานการณ์ และสภาพของนกั เรียน ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะแบ่งแผนการจดั การเรียนรู้ออกเป็ นรายชวั่ โมง ซ่ึงมีจานวนมาก นอ้ ยไม่เท่ากนั ข้ึนอยู่กบั ความยาวของเน้ือหาสาระ และในแต่ละหน่วยการเรียนรู้มีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี 1. ผงั มโนทัศน์เป้ำหมำยกำรเรียนรู้และขอบข่ำยภำระงำน แสดงขอบข่ายเน้ือหาการจดั การ เรียนรู้ท่ีครอบคลุมความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ทกั ษะและกระบวนการ และภาระงาน / ชิ้นงาน 2. กรอบแนวคิดกำรออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็นกรอบแนวคิดในการจดั การเรียนรู้ของ แต่ละหน่วยการเรียนรู้ แบ่งเป็น 3 ข้นั ไดแ้ ก่

2 ข้นั ท่ี 1 ผลลพั ธ์ปลายทางท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั นกั เรียน ข้นั ท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซ่ึงเป็นหลกั ฐานท่ีแสดงวา่ นกั เรียนมี ผลการเรียนรู้ตามท่ีกาหนดไวอ้ ยา่ งแทจ้ ริง ข้นั ที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้ จะระบุวา่ ในหน่วยการเรียนรู้น้ีแบ่งเป็นแผนการจดั การ เรียนรู้ก่ีแผน และแต่ละแผนใชเ้ วลาในการจดั กิจกรรมก่ีชวั่ โมง 3. แผนกำรจัดกำรเรียนรู้รำยช่ัวโมง ประกอบดว้ ย 3.1 ชื่อแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ประกอบดว้ ยลาดบั ท่ีของแผน ช่ือแผน และเวลา เรียน เช่น แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ควำมหมำยของภำษำและธรรมชำติของภำษำ เวลา 1 ชว่ั โมง 3.2 สำระสำคัญ เป็ นความคิดรวบยอดของเน้ือหาท่ีนามาจดั การเรียนรู้ในแต่ละ แผนการจดั การเรียนรู้ 3.3 ตัวชี้วัดช่วงช้ัน เป็ นตวั ช้ีวดั ท่ีใชต้ รวจสอบนกั เรียนหลงั จากเรียนจบเน้ือหาที่ นาเสนอในแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้น้ัน ๆ ซ่ึงสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ของ หลกั สูตร 3.4 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เป็นส่วนที่บอกจุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนแก่นกั เรียน ภายหลังจากเรียนจบในแต่ละแผน ท้ังในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม (A) และดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P) ซ่ึงสอดคลอ้ งสัมพนั ธ์กบั ตวั ช้ีวดั ช่วงช้นั และเน้ือหาในแผนการจดั การเรียนรู้น้นั ๆ 3.5 กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ เป็ นการตรวจสอบผลการจดั การเรียนรู้ว่า หลงั จากจดั การเรียนรู้ในแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้แลว้ นกั เรียนมีพฒั นาการ มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนตามเป้าหมายท่ีคาดหวงั ไวห้ รือไม่ และมีส่ิงที่จะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาปรับปรุง ส่งเสริมในด้านใดบ้าง ดังน้ัน ในแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและ เคร่ืองมือในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นต่าง ๆ ของนักเรียนไวอ้ ย่างหลากหลาย เช่น การทาแบบทดสอบ การตอบคาถามส้ัน ๆ การตรวจผลงาน การประเมินพฤติกรรมท้งั ที่ เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม โดยเน้นการปฏิบตั ิให้สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั ตวั ช้ีวดั และ มาตรฐานการเรียนรู้ 3.6 สำระกำรเรียนรู้ เป็ นหัวขอ้ ย่อยที่นามาจดั การเรียนรู้ในแต่ละแผนการจดั การ เรียนรู้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3.7 แนวทำงบูรณำกำร เป็นการเสนอแนะแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่อง ท่ีเรียนรู้ของแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพนั ธ์กับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์

3 คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาษาต่างประเทศ ศิลปะ สุขศึกษาและพล ศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี เพื่อใหก้ ารเรียนรู้สอดคลอ้ งและครอบคลุมสถานการณ์ จริง 3.8 กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็ นการเสนอแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เน้ือหาในแต่ละเร่ือง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ท้งั น้ี เพื่อให้ครูนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการจดั การเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึง กระบวนการจดั การเรียนรู้ประกอบดว้ ย 5 ข้นั ไดแ้ ก่ ข้นั ที่ 1 นาเขา้ สู่บทเรียน ข้นั ท่ี 2 กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ 3 ฝึกฝนผเู้ รียน ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ ข้นั ท่ี 5 สรุป 3.9 กิจกรรมเสนอแนะ เป็ นกิจกรรมเสนอแนะสาหรับให้นักเรียนไดพ้ ฒั นาเพ่ิมเติม ในดา้ นต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ไดจ้ ดั การเรียนรู้มาแลว้ ในชวั่ โมงเรียน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลกั ษณะ คือ กิจกรรมสาหรับผทู้ ่ีมีความสามารถพิเศษและตอ้ งการศึกษาคน้ ควา้ ในเน้ือหาน้นั ๆ ให้ลึกซ้ึงกวา้ งขวางย่ิงข้ึน และกิจกรรมสาหรับการเรียนรู้ให้ครบตามเป้าหมาย ซ่ึงมี ลกั ษณะเป็นการซ่อมเสริม 3.10 ส่ือ / แหล่งกำรเรียนรู้ เป็ นรายชื่อส่ือการเรียนรู้ทุกประเภทที่ใช้ในการจดั การ เรียนรู้ ซ่ึงมีท้งั สื่อธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือเทคโนโลยี และสื่อบุคคล เช่น หนงั สือ เอกสาร ความรู้ รูปภาพ เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต วีดิทศั น์ ปราชญช์ าวบา้ น 3.11 บันทึกหลังกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็ นส่วนที่ให้ครูบันทึกผลการจดั การเรียนรู้ว่า ประสบความสาเร็จหรือไม่ มีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดข้ึนบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและ อุปสรรคน้ันอย่างไร ส่ิงที่ไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผนมีอะไรบา้ ง และขอ้ เสนอแนะสาหรับการ ปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป ควำมเข้ำใจทค่ี งทนจะเกดิ ขึน้ ได้ นักเรียนจะต้องมีควำมสำมำรถ 6 ประกำร ไดแ้ ก่ 1. กำรอธบิ ำย ชี้แจง เป็นความสามารถที่นกั เรียนแสดงออกโดยการอธิบายหรือช้ีแจงในส่ิง ท่ีเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง สอดคลอ้ ง มีเหตุมีผล และเป็นระบบ 2. กำรแปลควำมและตีควำม เป็นความสามารถที่นกั เรียนแสดงออกโดยการแปลความและ ตีความไดอ้ ยา่ งมีความหมาย ตรงประเดน็ กระจ่างชดั และทะลุปรุโปร่ง

4 3. กำรประยุกต์ ดัดแปลง และนำไปใช้ เป็ นความสามารถท่ีนักเรียนแสดงออกโดยการนา ส่ิงท่ีไดเ้ รียนรู้ไปสู่การปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคลอ่ งแคลว่ 4. กำรมีมุมมองที่หลำกหลำย เป็ นความสามารถท่ีนักเรียนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่ น่าเชื่อถือ เป็นไปได้ มีความลึกซ้ึง แจ่มชดั และแปลกใหม่ 5. กำรให้ ควำมสำคัญและใส่ ใจในควำมรู้สึกของผู้อื่น เป็ นความสามารถท่ีนักเรียน แสดงออกโดยการมีความละเอียดรอบคอบ เปิ ดเผย รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ระมดั ระวงั ที่จะ ไม่ใหเ้ กิดความกระทบกระเทือนต่อผอู้ ่ืน 6. กำรรู้จักตนเอง เป็ นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู้ สามารถประมวลผลขอ้ มูลจากแหล่งที่หลากหลาย ปรับตวั ได้ รู้จกั ใคร่ครวญ และมีความเฉลียว ฉลาด นอกจากน้ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนด สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียนหลงั จากสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรไว้ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร เป็นความสามารถของนกั เรียนในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษา ถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเอง เพ่ือแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารและ ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกท่ีจะรับและไม่รับขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและ ความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ิธีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อ ตนเองและสงั คม 2. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็ นความสามารถของนักเรียนในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างมี วิจารณญาณ การคิดอยา่ งสร้างสรรค์ การคิดเชิงคุณธรรม และการคิดอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศ เพอ่ื การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถของนกั เรียนในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรม และขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพนั ธแ์ ละการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตดั สินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่ เกิดข้ึนต่อตนเอง สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม

5 4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทกั ษะชีวติ เป็ นความสามารถของนักเรียนในด้านการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานและการอยู่ร่วมกนั ใน สงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งบุคคล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ให้ทนั กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงคซ์ ่ึงจะส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน 5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถของนกั เรียนในการเลือกใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ มีทกั ษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคมในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ แกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม นอกจากสมรรถนะสาคญั ของนักเรียนหลงั จากสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรท่ีกล่าวแลว้ ขา้ งตน้ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไดก้ าหนดคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคเ์ พ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ื่นในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุขในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ พลโลก ดงั น้ี 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต 3. มีวินยั 4. ใฝ่ เรียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 6. มุ่งมนั่ ในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ ดงั น้นั การกาหนดภาระงานใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิ รวมท้งั การเลือกวิธีการและเคร่ืองมือวดั และ ประเมินผลการเรียนรู้น้ัน ครูควรคานึงถึงความสามารถของนักเรียน 6 ประการ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรียนหลงั จากสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรท่ีไดก้ ล่าวไว้ ขา้ งตน้ เพ่ือใหภ้ าระงาน วิธีการ และเครื่องมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ครอบคลุมส่ิงที่สะทอ้ น ผลลพั ธป์ ลายทางท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั นกั เรียนอยา่ งแทจ้ ริง นอกจากน้ีการออกแบบการจดั การเรียนรู้ ครูจะตอ้ งคานึงถึงภาระงาน วิธีการ เคร่ืองมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ที่มีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้ มีประสิทธิภาพ ตรงกบั สภาพจริง มีความ ยดื หยนุ่ และสร้างความสบายใจแก่นกั เรียนเป็นสาคญั

7 ตำรำงวิเครำะห์สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตวั ชี้วดั ช้ันปี กบั หน่วยกำรเรียนรู้ รำยวชิ ำภำษำไทย รหัสวชิ ำ ท31101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษำปี ที่ 4 ภำคเรียนท่ี 1 ปี กำรศึกษำ 2564 มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั ช้ันปี / สำระท่ี 1 สำระท่ี 2 สำระที่ 3 กำรฟัง สำระท่ี 4 หลกั กำรใช้ สำระที่ 5วรรณคดี หน่วยกำรเรียนรู้ กำรอ่ำน กำรเขียน กำรดู และกำรพูด ภำษำไทย และวรรณกรรม มำตรฐำน 1.1 มำตรฐำน 2.1 มำตรฐำน 3.1 มำตรฐำน 4.1 มำตรฐำน 5.1 1234567891 23456781 234561234567123456 หน่วยที่ 1 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา ✓ ✓✓ ✓✓ หน่วยที่ 2 การใชภ้ าษาในการส่ือสาร ✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓ หน่วยท่ี 3 อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง ✓ ✓✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓ หน่วยท่ี 4 การฟัง การดู และการพดู ให้ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ สมั ฤทธ์ิผล ✓ ✓✓✓✓✓✓✓ ✓ หน่วยท่ี 5 ส่งสารดว้ ยการเขยี น หน่วยที่ 6 นิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 ✓✓✓✓✓✓ ✓✓

8 โครงสร้ำงกำรแบ่งเวลำรำยชั่วโมงในกำรจดั กำรเรียนรู้ รำยวชิ ำภำษำไทย รหัสวิชำ ท31101 ช้ันมัธยมศึกษำปี ที่ 4 ภำคเรียนท่ี 1 ปี กำรศึกษำ 2564 หน่วยกำรเรียนรู้ / เรื่อง เวลำ / จำนวนชั่วโมง แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ 1 แผนปฐมนิเทศ ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรียน 3 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา 9 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใชภ้ าษาในการสื่อสาร 10 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การฟัง การดู และการพดู ใหส้ มั ฤทธ์ิผล 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การส่งสารดว้ ยการเขียน 40 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 นิทานเวตาลเรื่องท่ี 10 ทดสอบกลำงภำคเรียน ทดสอบปลำยภำคเรียน รวม

9 แผนปฐมนิเทศ ปฐมนเิ ทศและข้อตกลงในการเรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 หน่วยการเรียนรู้ท่ี - ภาคเรียนที่ 1 เรื่อง ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรียน เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ การปฐมนิเทศเป็ นการสร้างความเขา้ ใจอนั ดีต่อกนั ระหว่างครูกบั นักเรียน เป็ นการตกลงกนั ในเบ้ืองตน้ ก่อนที่จะเริ่มการเรียนการสอน ทาใหค้ รูไดร้ ู้จกั นกั เรียนดียงิ่ ข้ึน ไดร้ ู้ถึงความตอ้ งการ ความรู้สึก และเจตคติท่ีมีต่อ วิชาที่เรียนในขณะเดียวกนั นักเรียนก็จะไดร้ ู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั แนวทางในการจดั การเรียนรู้ และการวดั ผลและ ประเมินผล ซ่ึงกิจกรรมต่าง ๆ ดงั กล่าว จะนาไปสู่การเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ครูสามารถจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ช่วยใหน้ กั เรียนคลายความวิตกกงั วล สามารถเรียนไดอ้ ยา่ งมีความสุข ซ่ึงจะมีผล ใหน้ กั เรียนประสบความสาเร็จบรรลุเป้าหมายที่ไดก้ าหนดไว้ 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน – 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเก่ียวกบั ขอ้ ตกลงและแนวทางในการเรียนวิชาภาษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (K) 2. มีทกั ษะและนาความรู้ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั (P) 3. มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนภาษาไทย (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สงั เกตการตอบคาถามและ 1. สังเกตการทางานตามหน้าท่ีที่ได้รับ 1. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบัติ การแสดงความคิดเห็น มอบหมายด้วยความกระตือรือร้นและ กิจกรรม 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ความขยนั หมน่ั เพยี ร 2. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ 2. ประเมินพฤติกรรมตามแบบประเมิน ประเมินดา้ นทกั ษะและกระบวน ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม การ 5. สาระการเรียนรู้ 1. เทคนิคและวธิ ีการจดั การเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย 2. แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย

10 3. ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ช่วงช้นั กบั สาระการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ 4. คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.4 5. โครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4 6. โครงสร้างเวลาเรียนรายชว่ั โมง รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.4 6. แนวทางบูรณาการ การปฏิบตั ิตนตามบทบาทหนา้ ท่ีของสมาชิกในกลุม่ สงั คมศึกษา ฟัง อ่าน เขียน คาศพั ทท์ ่ีเก่ียวกบั ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน ช่ัวโมงท่ี 1 1. ครูแนะนาตนเองและใหน้ กั เรียนแนะนาตนเองทีละกลุ่มตวั อกั ษรหรือตามหมายเลขประจาตวั หรือตามแถวท่ีนงั่ ตามความเหมาะสม 2. ครูถามคาถาม ใหน้ กั เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นตามประเดน็ คาถามต่อไปน้ี 1) นกั เรียนคิดวา่ ทาไมเราจึงตอ้ งเรียนภาษาไทย 2) วิชาภาษาไทยมีความสาคญั หรือจาเป็นต่อเราหรือไม่ อยา่ งไร 3. ครูสรุปความรู้ แลว้ แนะนากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูระบุส่ิงที่ต้องเรียนในรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4 และอธิบายเพ่ือทาความเขา้ ใจกับ นกั เรียนในเร่ืองต่อไปน้ี 1) คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4 2) โครงสร้างรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4 3) โครงสร้างเวลาเรียนรายชวั่ โมง รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4 2. ครูบอกเทคนิคและวธิ ีการจดั การเรียนรู้วา่ มีเทคนิคและวิธีการจดั การเรียนรู้อะไรบา้ ง เช่น – ครูบรรยายใหฟ้ ัง – การนาเร่ืองราว บทความ ขา่ ว เหตุการณ์ ฯลฯ ใหอ้ ่าน แลว้ ร่วมแสดงความคิดเห็น และหาขอ้ สรุป – การปฏิบตั ิงานหรือทาใบงาน – การศึกษาคน้ ควา้ นอกสถานท่ี – การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 3. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเพื่อทาความเขา้ ใจถึงแนวทางการวดั ผลและประเมินผลการ เรียนรู้ รวมท้งั เกณฑต์ ดั สินผลการเรียนรู้ในประเดน็ ต่าง ๆ เช่น

11 1) รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.4 มีเวลาเรียนเท่าไร 2) รายวชิ าน้ีจะสอบและเกบ็ คะแนนอยา่ งไร และเท่าไร 3) รายวิชาน้ีจะตดั สินผลการเรียนอยา่ งไร 4. ครูแนะนาส่ือการเรียนรู้ที่จะใช้ประกอบการเรี ยนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4 โดยใช้ ขอ้ มูลจากหนา้ บรรณานุกรมในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4 ของบริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นา พานิช จากดั นอกจากน้ี ครูควรแนะนาแหล่งสืบคน้ ความรู้ขอ้ มูล เพิ่มเติมเก่ียวกบั เรื่องต่าง ๆ ที่ไดร้ ะบุไว้ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เพอื่ ใหน้ กั เรียนไปใชป้ ระโยชน์ในการเรียนได้ 5. ครูสนทนากบั นักเรียนและร่วมกนั ทาขอ้ ตกลงในการเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4ใน ประเดน็ ต่าง ๆ ดงั น้ี 1) เวลาเรียน ตอ้ งเขา้ เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวิชาน้ี กรณีป่ วย ตอ้ งส่งใบลา โดยผปู้ กครองลงช่ือรับรองการลา 2) ควรเขา้ หอ้ งเรียนตรงเวลาและรักษามารยาทในการเรียน 3) เม่ือเริ่มเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะมีการทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียนจบ แต่ละหน่วยการเรียนรู้แลว้ จะมีการทดสอบหลงั เรียน 4) ในชวั่ โมงท่ีมีการฝึกปฏิบตั ิงาน ควรเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ และเครื่องมือใหพ้ ร้อม โดยจดั หาไวล้ ่วงหนา้ 5) รับผดิ ชอบการเรียน การสร้างชิ้นงาน และการส่งงานตามเวลาที่กาหนด 6) รักษาความสะอาดบริเวณที่ปฏิบตั ิกิจกรรม วสั ดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือที่ใชง้ านทุกคร้ัง ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. ใหน้ กั เรียนดูหนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.4 แลว้ ซกั ถามขอ้ สงสยั 2. ครูให้นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั แหล่งการเรียนรู้และแหล่งสืบคน้ ความรู้อ่ืน ๆ ท่ีจะนามาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ แลว้ ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปและบนั ทึกผล ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้เกี่ยวกบั แนวทางการเรียนและขอ้ ตกลงในการเรียนไปปฏิบตั ิเม่ือเรียนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการเรียนหวั ขอ้ น้ี และการ ปฏิบตั ิกิจกรรม ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้เรื่อง ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.4โดยให้นักเรียนบนั ทึกขอ้ สรุปลงในแบบบนั ทึกความรู้ หรือสรุปเป็ นแผนภาพความคิด หรือผงั มโนทศั น์ลงในสมุด พร้อมท้งั ตกแต่งใหส้ วยงาม 2. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาเร่ือง ท่าราทางนาฏศิลป์ (นาฏยศพั ท)์ เพ่ือร่วมแสดงความคิดเห็นวา่ ท่า

12 ราสามารถส่ือสารใหเ้ กิดความเขา้ ใจท่ีตรงกนั ไดห้ รือไม่ เป็นการบา้ นเพือ่ เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ นกั เรียนควรศึกษา ปฏิบตั ิกิจกรรมท่ีไดร้ ับมอบหมายมาลว่ งหนา้ เพ่ือประกอบการเรียนในคร้ังต่อไป 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 2. แบบฝึกหดั รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 3. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. ส่ิงทไ่ี ม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงช่ือ ผู้สอน / /

13 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาตแิ ละลกั ษณะของภาษา เวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของภาษาและธรรมชาติของภาษา เวลา 1 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ลกั ษณะของภาษาไทย เวลา 2 ชวั่ โมง

14 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของภาษาและธรรมชาตขิ องภาษา รหัสวชิ า ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา ภาคเรียนที่ 1 เร่ือง ความหมายของภาษาและธรรมชาติของภาษา เวลา 1 ช่ัวโมง 1. สาระสาคัญ ภาษาเป็ นเคร่ืองมือในการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความตอ้ งการให้ผอู้ ื่นทราบ การเขา้ ใจ ความหมายและธรรมชาติของภาษาจะเป็ นพ้ืนฐานในการวิเคราะห์ลกั ษณะของภาษาไทยไดอ้ ย่างกวา้ งขวางและ ถูกตอ้ ง รวมถึงสามารถใชภ้ าษาในการสื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียงั ช่วยใหเ้ รียนรู้ภาษาต่างประเทศ ไดง้ ่ายและรวดเร็วยง่ิ ข้ึน 2. ตัวชี้วดั ช่วงช้ัน 1. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอา่ น ท 1.1 (ม.4–6/2) 2. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา และลกั ษณะของภาษา ท 4.1 (ม.4–6/1) 3. ใชค้ าและกลุม่ คาสร้างประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ ท 4.1 (ม.4–6/2) 4. วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ท 4.1 (ม.4–6/5) 5. อธิบายและวเิ คราะห์หลกั การสร้างคาในภาษาไทย ท 4.1 (ม.4–6/6) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของภาษาและธรรมชาติของภาษาได้ (K) 2. ขยายความและตีความหมายของคาหรือขอ้ ความไดถ้ ูกตอ้ ง (K, P) 3. ใชท้ กั ษะทางภาษาในการสื่อสารกนั ในชีวติ ประจาวนั (P) 4. เห็นความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (A) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ การแสดงความคิดเห็น รายบุคคลในด้านความสนใจและต้ังใจ 2. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 2. ตรวจผลการทากิจกรรม เรียน ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุ่ม 3. ตรวจแบบทดสอบก่อน ความมีระเบียบวินยั ในการทางาน ฯลฯ เรียน 2. ประเมินเจตคติท่ีดีต่อการเรียนภาษาไทย

15 5. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของภาษา 2. ธรรมชาติของภาษา 6. แนวทางบูรณาการ  ศึกษาสานวนภาษาต่างประเทศท่ีนามาใชใ้ นภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ  ศึกษาท่าราทางนาฏศิลป์ / วาดภาพประกอบท่าทางในการสื่อสาร ศิลปะ  เล่นเกมส่ือความหมาย ขยายความ สุขศึกษาฯ  ทาสมุดภาพอธิบายภาษาท่าทาง การงานอาชีพฯ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. นกั เรียนดูภาพท่าราทางนาฏศิลป์ หรือวดี ิทศั น์การแสดงโขน แลว้ ร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั ท่าทาง ต่าง ๆท่ีใชใ้ นการแสดงวา่ สามารถใชส้ ื่อสารใหเ้ กิดความเขา้ ใจท่ีตรงกนั ไดห้ รือไม่ 3. นักเรียนช่วยกนั ตอบว่าภาพแต่ละภาพส่ือความหมายอะไรบา้ ง จากน้ันครูอธิบายเพิ่มเติมให้ นักเรียนเขา้ ใจว่า ท่าทางจากภาพสามารถส่ือสารให้เกิดความเขา้ ใจตรงกนั ได้ เรียกว่า ภาษา ท่าทาง ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสนทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกบั ภาษาที่ใชส้ ่ือสารในชีวิตประจาวนั วา่ มีลกั ษณะใดบา้ ง 2. ครูอธิบายเรื่อง ความหมายของภาษา ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษา ปี ท่ี 4 แลว้ ให้นักเรียนวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ความหมายและความสาคญั ของ ภาษาตามแนวคาถามต่อไปน้ี แลว้ ช่วยกนั สรุปผล 1) ภาษาที่มนุษยใ์ ชใ้ นการติดต่อส่ือสารมีอะไรบา้ ง 2) คนในสมยั ก่อนกบั คนในสมยั ปัจจุบนั มีการติดต่อสื่อสารเหมือนหรือต่างกนั อยา่ งไร 3) หากมนุษยไ์ ม่มีภาษาใชใ้ นการติดต่อสื่อสารกนั นกั เรียนคิดวา่ จะเป็นอยา่ งไร 3. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่มละ 4 คน ให้แต่ละคนศึกษาเรื่อง ธรรมชาติของภาษา ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 คนละ 1 หัวขอ้ ภายในเวลาที่ครูกาหนดโดยจบั สลากกนั เองภายในกลุม่ ตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 1) ภาษาใชเ้ สียงส่ือความหมาย 2) ภาษาประกอบดว้ ยหน่วยเลก็ ซ่ึงประกอบกนั เป็นหน่วยใหญข่ ้ึน 3) ภาษามีการเปล่ียนแปลง 4) ภาษามีลกั ษณะเฉพาะที่ต่างและเหมือนกนั

16 4. เม่ือหมดเวลา ครูใหน้ กั เรียนที่ศึกษาหวั ขอ้ เดียวกนั ในแต่ละกลุ่มมาร่วมกนั สนทนาอภิปรายกลุ่ม ยอ่ ยแลว้ สรุปความรู้ที่ได้ โดยให้ครูซกั ถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ และอธิบายเพิม่ เติม 5. เมื่อครูตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนเรียบร้อยแลว้ ให้นักเรียนแต่ละคนกลบั มารวมกลุ่ม ตามเดิม และสลบั กนั อธิบายใหส้ มาชิกในกลุ่มฟังจนครบทุกหวั ขอ้ ครูสุ่มเรียกนกั เรียน 4 – 5 คน ใหอ้ ธิบายใหเ้ พ่อื นฟังคนละ 1 หวั ขอ้ เพ่ือเป็นการสรุป 6. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นว่า เสียงในภาษาไทยที่เปล่งออกมาแลว้ ไม่มีความหมายจะ สามารถสื่อสารไดห้ รือไม่ อยา่ งไร 7. ครูยกตวั อย่างคาว่า “ของ” (ช่ือแม่น้า) ซ่ึงเป็ นคาท่ีแสดงถึงการเปล่ียนแปลงของภาษาโดยการ เปลี่ยนเสียงสระจาก ออ เป็ น โอ ในคาว่า “โขง” แล้วอธิบายเพ่ิมเติมว่า แม่น้าโขงเกิดจาก เทือกเขาหิมาลยั ไหลผ่านประเทศจีน เมียนมา ลาว ไทย กัมพูชา และออกสู่ทะเลที่ประเทศ เวียดนาม และยงั เป็นเส้นเขตแดนระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศลาว 8. นกั เรียนเล่นเกมส่ือความหมาย ขยายความ โดยครูต้งั ประโยค 1 ประโยค แลว้ ครูช้ีไปท่ีกลุ่มใด ให้กลุ่มน้ันขยายความประโยคท่ีครูต้งั ให้ได้ ภายในเวลา 30 วินาที ให้มีเน้ือความต่อเน่ืองกนั เช่น ต้งั ประโยควา่ ฉันนอนหลบั กลุ่มท่ีครูช้ีกลุ่มท่ี 1 ขยายว่า ฉันนอนหลบั ต้ังแต่พ่อยังไม่กลับ บ้าน กลุ่มที่ครูช้ีกลุ่มท่ี 2 ขยายต่อวา่ ฉนั นอนหลบั ต้งั แต่พอ่ ยงั ไม่กลบั บา้ นก่อนข่าวจบ กลุ่มที่ครู ช้ีกลุ่มที่ 3 ขยายต่อจากกลุ่มที่ 2 ว่า ฉันนอนหลบั ต้งั แต่พ่อยงั ไม่กลบั บา้ นก่อนข่าวจบเพราะฉัน ไม่สบาย เลน่ ต่อไปเรื่อย ๆ กลุ่มใดที่ขยายความไม่ทนั ภายในเวลา 30 วินาที ตอ้ งออกไปทาตามท่ี เพอ่ื นตอ้ งการ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ความหมายของภาษาและธรรมชาติของภาษา แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่มละ 4 คน ครูแจกวารสารให้นักเรียนกลุ่มละ 1 เล่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือก บทความจากวารสารที่ครูแจก 1 บทความ ท่ีเห็นวา่ มีการเปล่ียนแปลงของภาษา แลว้ ช่วยกนั วเิ คราะห์ วา่ เป็นการเปล่ียนแปลงของภาษาในรูปแบบใดบา้ ง พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบใหเ้ ห็นชดั เจน 3. นักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการนาสานวนภาษาต่างประเทศมาใช้ใน ภาษาไทยวา่ ส่งผลอยา่ งไรต่อการใชภ้ าษาไทยบา้ ง แลว้ ช่วยกนั สรุปความรู้จากการสนทนา ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ นกั เรียนนาความรู้เร่ืองความหมายของภาษาและธรรมชาติของภาษาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเรื่อง ความหมายของภาษาและธรรมชาติของภาษา แลว้ บนั ทึกลงสมุด 2. ครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนรู้ว่า หากนักเรียนเขา้ ใจธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา จะทาให้ใช้ ภาษาได้อย่างถูกต้องและสื่อสารกับผูอ้ ื่นได้อย่างสัมฤทธ์ิผลดีข้ึน และไม่ทาให้ภาษาเกิดการ

17 เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีไม่ดีหรือภาษาวิบตั ิ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั หลกั การมีภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ครูให้นักเรียนสังเกตความเหมือนและความต่างของภาษาไทยกบั ภาษาองั กฤษ และจดบนั ทึกเพ่ือ บอกลกั ษณะของภาษาไทย เป็นการบา้ นเพอื่ เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนคิดท่าทางต่าง ๆ แลว้ วาดภาพประกอบหรือรวบรวมภาพท่าทางต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นการสื่อสารกนั ใน ชีวิตประจาวนั ทาสมุดภาพอธิบายภาษาท่าทาง 2. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่มละ ๔ คน ใหแ้ ต่ละกลุ่มรวบรวมขอ้ ความในการโฆษณาสินคา้ ประเภทต่าง ๆ แลว้ วเิ คราะห์การใชส้ านวนภาษาวา่ เหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 2. วีดิทศั นก์ ารแสดงโขนหรือภาพท่าราทางนาฏศิลป์ 3. วารสาร 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 5. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 6. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 7. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 10. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งทไ่ี ม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงช่ือ ผ้สู อน / /

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 18 ลกั ษณะของภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ธรรมชาติและลกั ษณะของภาษา เวลา 2 ช่ัวโมง เร่ือง ลกั ษณะของภาษาไทย 1. สาระสาคญั การศึกษาลกั ษณะควรสังเกตบางประการในภาษาไทย จะช่วยใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การเขียน สะกดคาและการออกเสียงคาไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั เกณฑ์ของภาษา สามารถเขา้ ใจความหมายของคาและขอ้ ความ โดยพิจารณาจากบริบทและเรียงคาเขา้ กบั ประโยคไดด้ ียง่ิ ข้ึน 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา และลกั ษณะของภาษา ท 4.1 (ม.4–6/1) 2. ใชค้ าและกลุม่ คาสร้างประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ ท ท 4.1 (ม.4–6/2) 3. อธิบายและวเิ คราะห์หลกั การสร้างคาในภาษาไทย ท ท 4.1 (ม.4–6/6) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะควรสงั เกตบางประการในภาษาไทยได้ (K) 2. ใชค้ าหรือกลุ่มคาแต่งประโยคไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ (K , P) 3. วเิ คราะห์หลกั การสร้างคาในภาษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 4. มีทกั ษะในการใชภ้ าษาและสามารถนาความรู้ทางภาษาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ (P) 5. เห็นความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการแสวงหา แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม รายบุคคลในด้านความสนใจและ ความรู้ คิดเห็น ต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบในการทา 2. ประเมินทักษะกระบวน 2. ตรวจผลการทากิจกรรม กิจกรรม ความมีระเบียบวินัยในการ การคดิ 3. ตรวจแบบทดสอบหลัง ทางาน ฯลฯ 3. ประเมินทักษะกระบวน เรียน 2. ป ระเมิ น เจ ต ค ติ ท่ี ดี ต่ อ ก ารเรี ยน การกลุ่ม ภาษาไทย

19 5. สาระการเรียนรู้ ลกั ษณะของภาษาไทย 6. แนวทางบูรณาการ เขียนแผนภาพความคดิ สรุปลกั ษณะของภาษาไทย คณิตศาสตร์  เปรียบเทียบความแตกต่างของประโยคภาษาองั กฤษกบั ประโยคภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ  จดั ป้ายนิเทศ การงานอาชีพ  7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน ชั่วโมงที่ 1 1. นักเรียนอ่านแถบประโยคท่ีครูเขียนบนกระดาน แลว้ ร่วมกนั สนทนาถึงความแตกต่างของ ประโยคภาษาไทยกบั ภาษาองั กฤษ – ฉนั เล้ียงสุนัขไว้ ๑ ตัว = I have a dog. – ฉนั มีหมา ๑ ตวั = I have a dog. 2. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ ประโยคท้งั ๒ ประโยค เมื่อเปล่ียนเป็นภาษาองั กฤษจะเปลี่ยน ได้เหมือนกนั แต่ภาษาไทยจะมีระดบั ภาษา คือ หมา เป็ นภาษาปาก สุนัข เป็ นคาสุภาพ และ ลกั ษณนามซ่ึงเป็นลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยท่ีภาษาองั กฤษไม่มี ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ลกั ษณะเฉพาะหรือเอกลกั ษณ์ของภาษาไทย แลว้ ครูซกั ถาม ประกอบการอธิบายเพม่ิ เติม 2. ครูอธิบายเรื่อง ระบบตวั เขียนและวิวฒั นาการของอกั ษรชาติต่าง ๆ ให้นักเรียนฟัง พร้อม ยกตวั อยา่ งประกอบ 3. นักเรียนร่วมกนั สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั อกั ษรแต่ละประเภท ท้งั อกั ษรแทนคา อกั ษรแทนพยางค์ อกั ษรแทนเสียง วา่ ต่างกนั อยา่ งไร 4. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเร่ือง ลกั ษณะควรสังเกตบางประการใน ภาษาไทย อกั ษรไทย จากใบความรู้ ตามฐานการเรียนรู้ท่ีครูจดั ข้ึนฐานละ 5 นาที โดยวนให้ ครบทุกฐาน ฐานที่ 1 พยญั ชนะ ฐานที่ 2 สระ ฐานที่ 3 วรรณยกุ ต์

20 5. นกั เรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองภายในกลุ่มของตนเอง สนทนาแสดงความคิดเห็น ตอบคาถาม ตามแนวคาถามต่อไปน้ี 1) เราใชอ้ ะไรเป็นส่ือแทนภาษาพดู 2) ภาษาเขียนมีววิ ฒั นาการอยา่ งไร 3) อกั ษรไทยมีลกั ษณะอยา่ งไร 6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน ครูอธิบายสรุปหลงั จบการรายงาน ของนกั เรียนทุกกลุม่ 7. ครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นกั เรียนรู้วา่ อกั ษรไทยไดร้ ับอิทธิพลมาจากอกั ษรขอมของเขมร ซ่ึงไทย กับเขมรมีความสัมพนั ธ์กันมานับพนั ปี ไทยถือว่าอกั ษรขอมมีความศกั ด์ิสิทธ์ิ จึงมกั บันทึก เรื่องราวเกี่ยวกบั ศาสนาลงบนแผ่นหิน ในใบลาน และใชต้ วั อกั ษรขอมเขียนคาถาอาคมต่าง ๆ ดว้ ย ชั่วโมงท่ี 2 1. ครูสุ่มเรียกนกั เรียน ๕–๖ คน ให้อธิบายรูปและเสียงของพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เป็ น การทบทวน 2. ครูอธิบายเรื่ อง การประสมอักษร ในหนังสื อเรี ยน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ 3. นกั เรียนช่วยกนั สรุปหนา้ ที่ของพยญั ชนะในการประสมอกั ษร และตาแหน่งของรูปสระ รูป วรรณยกุ ตใ์ นคาหรือพยางค์ 4. นกั เรียนช่วยกนั ประสมอกั ษรจากคาที่ครูกาหนดให้ และบอกวา่ เป็ นการประสมอกั ษรแบบ ใด ผ้า เปี ยก เล่ห์ บาตร พนั ธ์ุ ศาสตร์ อดตี วเิ ศษณ์ 5. ครูซักถามนกั เรียนเกี่ยวกบั ความหมายของบริบท และให้นกั เรียนช่วยกนั บอกความสาคญั ของบริบท 6. จากน้นั ครูอธิบายเร่ือง คา ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ใหน้ กั เรียนฟัง และยกตวั อยา่ งขอ้ ความ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั อธิบายความหมายของคา 7. ครูบอกคาให้นักเรียนแต่งประโยคให้มีบริบทแตกต่างกนั แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูก ตอ้ ง 8. ครูอธิบายโครงสร้างของประโยคในภาษาไทย และยกตวั อยา่ งประกอบการอธิบาย 9. ครูยกตวั อยา่ งประโยคในหนงั สือเรียน ใหน้ กั เรียนช่วยกนั วิเคราะห์จุดเนน้ ของประโยค แลว้ ใหค้ ิดประโยคข้ึนใหม่ใหม้ ีจุดเนน้ โดยใชต้ วั อยา่ งเป็นแนวเทียบ 10. นกั เรียนช่วยกนั ตอบคาถามตามแนวคาถามต่อไปน้ี แลว้ เขียนสรุปความรู้ลงสมุดเป็นขอ้ ๆ

21 1) ความหมายของคากบั บริบท มีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งไร 2) การเรียงลาดบั คาในประโยคเปลี่ยนแปลงไปตามความประสงคข์ องผพู้ ูดหรือผเู้ ขียน ใช่หรือไม่ อยา่ งไร 3) นกั เรียนมีวิธีการสืบสานภาษาไทยใหค้ งอยดู่ ว้ ยวธิ ีใดบา้ ง ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ลกั ษณะของภาษาไทย แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. นกั เรียนทาใบงานที่ 1 เรื่อง ลกั ษณะของภาษาไทย แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 3. ครูแจกขอ้ ความให้นกั เรียนอ่าน แลว้ ช่วยกนั ตีความหมายของคา กลุ่มคา หรือประโยคจาก บริบทแลว้ ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง 4. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุ่มแบ่งหวั ขอ้ ยอ่ ยจากเรื่อง ลกั ษณะของภาษาไทย แลว้ เขียนแผนภาพความคดิ เพอ่ื นามาศึกษาร่วมกนั ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ นกั เรียนนาความรู้เรื่อง ลกั ษณะของภาษาไทย ไปใชใ้ นการอ่านตีความ และการเขียนสะกดคาใน ชีวิตประจาวนั ได้ ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนช่วยกนั สรุปลกั ษณะของภาษาไทย โดยเขียนเป็นแผนภาพความคิด 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 3. ครูใหน้ กั เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นในประเด็นท่ีวา่ การเขา้ ใจธรรมชาติและลกั ษณะของภาษามีผล ต่อการใชภ้ าษาในการส่ือสารหรือไม่ อย่างไร แลว้ มอบหมายให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาในหน่วยการ เรียนรู้ ท่ี 2 เรื่อง การใช้ภาษาในการสื่อสาร ในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 เป็นการบา้ นเพอ่ื เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนเลือกบทความและบทร้อยกรองที่มีคาศัพท์ที่ต้องอาศัยการตีความจากบริบท อย่างละ 1 ตวั อยา่ ง เขียนอธิบายความหมายของคาศพั ทน์ ้นั ๆ แลว้ นาเสนอใหเ้ พ่ือนฟังหนา้ ช้นั เรียน 2. นกั เรียนจดั ทาแผน่ ป้ายความรู้เก่ียวกบั ลกั ษณะของภาษาไทย ออกแบบตกแต่งให้สวยงาม แลว้ นาไป จดั ที่ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียนเพอื่ เผยแพร่ความรู้ 3. นักเรียนเขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั ภาษา เช่น การจัดนิทรรศการ เสวนา ปาฐกถาเก่ียวกับการใช้ ภาษาไทยในปัจจุบนั หรือการใชภ้ าษาไทยในส่ือต่าง ๆ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 2. แถบประโยค

22 3. ใบความรู้เรื่อง อกั ษรไทย 4. ใบงานท่ี 1 เร่ือง ลกั ษณะของภาษาไทย 5. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 6. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 7. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 8. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. ส่ิงท่ไี ม่ได้ปฏบิ ตั ิตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงช่ือ ผ้สู อน / /

23 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใช้ภาษาในการส่ือสาร เวลา 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ความรู้เก่ียวกบั การส่ือสาร เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การรับสารและส่งสารเพื่อกิจธุระ เวลา 1 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 การใชค้ า กลมุ่ คาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตาม เวลา 1 ชวั่ โมง สถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 การใชค้ าท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั และการใช้ คาที่ทาใหม้ องเห็นภาพหรือใหค้ วามรู้สึกชดั ข้ึนเป็นพเิ ศษ เวลา 1 ชว่ั โมง

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 24 ความรู้เกยี่ วกบั การสื่อสาร ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การใชภ้ าษาในการสื่อสาร เวลา 1 ช่ัวโมง เรื่อง ความรู้เก่ียวกบั การส่ือสาร 1. สาระสาคัญ การสื่อสาร เป็ นการติดต่อระหวา่ งบุคคลเพื่อให้เกิดความเขา้ ใจตรงกนั การสื่อสารน้นั มีท้งั ที่บรรลุจุดประสงคแ์ ละไม่บรรลุจุดประสงค์ ซ่ึงการสื่อสารที่ไม่บรรลุจุดประสงคน์ ้ันอาจเกิดจาก อปุ สรรคต่าง ๆ ท่ีตอ้ งพิจารณาหาทางแกไ้ ขใหเ้ หมาะสม 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. วิเคราะห์แนวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดูอยา่ งมีเหตุผล ท 3.1 (ม.4–1/2) 2. ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แลว้ กาหนดแนวทางนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิต ท 3.1 (ม.4–1/3) 3. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ ดว้ ยภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม ท 3.1 (ม.4–1/5) 4. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ังคาราชาศัพท์อย่าง เหมาะสม ท 4.1 (ม.4–1/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมาย ความสาคญั และจุดมุ่งหมายของการส่ือสารได้ (K) 2. บอกองคป์ ระกอบของการสื่อสารและสามารถสื่อสารใหส้ มั ฤทธ์ิผลได้ (K , P) 3. บอกอุปสรรคของการส่ือสารและพิจารณาวธิ ีแกไ้ ขได้ (K , P) 4. ใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ (P) 5. เห็นความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (A)

25 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะและกระบวนการ (P) และค่านิยม (A) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการ 1. ประเมินทักษะการฟังและ แล ะก ารแส ด งค วาม ทางานเป็นรายบุคคลในดา้ น การดู คดิ เห็น ความสนใจและต้ังใจเรียน 2. ประเมินทกั ษะการพดู 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ความรับผิดชอบในการทา 3. ประเมินทักษะกระบวน 3. ตรวจแบบทดสอบก่อน กิจกรรม ความมีระเบียบ การคดิ เรียน วินยั ในการทางาน ฯลฯ 4. ประเมินทักษะกระบวน 2. ประเมินมารยาทในการฟัง การกลุ่ม และการดู 3. ประเมินมารยาทในการพดู 4. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการ เรียนภาษาไทย 5. สาระการเรียนรู้ 1. ความสาคญั ของการส่ือสาร 2. องคป์ ระกอบของการสื่อสาร 3. จุดมุ่งหมายของการสื่อสาร 4. ภาษาในการส่ือสาร 5. สถานการณ์ในการสื่อสาร 6. ผลของการส่ือสาร 7. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 8. อปุ สรรคของการส่ือสารและวิธีแกไ้ ข 6. แนวทางบูรณาการ  เขียนแผนภาพความคิด ความรู้เกี่ยวกบั การสื่อสาร คณิตศาสตร์  มีมารยาทในการส่ือสาร และสื่อสารได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ สงั คมศึกษาฯ บุคคล และสถานการณ์

26 ภาษาต่างประเทศ  ใชภ้ าษาองั กฤษส่ือสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ศิลปะ  แสดงบทบาทสมมุติ การงานอาชีพฯ  ศึกษาส่ือเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั ท่ีใชใ้ นการสื่อสาร 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครูติดป้ายขอ้ ความใหน้ กั เรียนอ่าน / ขอ้ ความ ดงั น้ี ป้ายหน้าร้านเต้าหู้ทอด เผอื กทอด เตา้ หูท้ อด ใชเ้ ทา้ ทอด ป้ายประกาศหน้าห้องประชุม หา้ มนกั เรียนหญิงนุ่งกางเกงในเวลาประชุม 3. แลว้ สนทนาเกี่ยวกบั จุดมุ่งหมายของการสื่อสารและผลของการส่ือสารจาก ขอ้ ความวา่ จะบรรลุตามจุดมุ่งหมายของผสู้ ่งสารหรือไม่ อยา่ งไร ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ความสาคญั ของการสื่อสาร แลว้ สรุปความรู้ท่ีได้ 2. แบ่งนักเรียนออกเป็ น 7 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มจบั สลากเลือกศึกษาตามหัวขอ้ ท่ี กาหนดให้ จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หรือแหล่งการเรียนรู้อ่ืน แลว้ รายงานใหเ้ พอื่ นฟังหนา้ ช้นั เรียน 1) องคป์ ระกอบของการส่ือสาร 2) จุดมุ่งหมายของการส่ือสาร 3) ภาษาในการสื่อสาร 4) สถานการณ์ในการส่ือสาร 5) ผลของการสื่อสาร 6) การส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ

27 7) อุปสรรคของการส่ือสารและวิธีแกไ้ ข 3. ครูสรุปและอธิบายประกอบการซกั ถามเพมิ่ เติมเม่ือจบการรายงานในแต่ละกลุม่ 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกซองสถานการณ์ในการสื่อสารท่ีครูเตรียมมา กลุ่มละ 1 ซอง แลว้ สนทนาในกลุ่มของตน เลือกวิธีการส่ือสารให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ที่ ได้ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน โดยบอกสถานการณ์ท่ีได้รับ แล้วแสดง บทบาทสมมุติใหเ้ พื่อนดูหนา้ ช้นั เรียน 6. เม่ือจบการแสดงบทบาทสมมุติของนกั เรียนแต่ละกลุ่ม ให้ร่วมกนั วิเคราะห์ตาม หวั ขอ้ ที่กาหนดใหจ้ นครบทุกกลุ่ม 1) องค์ประกอบของการสื่ อสารครบหรื อไม่ ใช้ส่ื อเหมาะสมกับ สถานการณ์ในการส่ือสารหรือไม่ อยา่ งไร 2) จุดมุ่งหมายของการส่ือสารตามสถานการณ์น้ีคืออะไร 3) ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารเป็ นภาษาระดับใด เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล และสถานการณ์หรือไม่ อยา่ งไร 4) การส่ือสารมีผลเป็นอยา่ งไร 5) การส่ือสารน้ีมีอุปสรรคในการส่ือสารหรือไม่ ถ้ามีคืออะไร และมี วิธีแกไ้ ขอยา่ งไร 7. ครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนรู้ว่า การใช้ภาษาในการส่ือสารได้เหมาะสมกับ กาลเทศะ บุคคล และสถานการณ์ แสดงถึงการมีมารยาทในการสื่อสารของผใู้ ช้ ซ่ึง สอดคลอ้ งกบั เงื่อนไขคุณธรรมตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกบั ความรู้ท่ีเกี่ยวกบั การส่ือสาร แลว้ ช่วยกนั เฉลย คาตอบ 2. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ในการส่ือสาร 5 ตัวอย่าง ให้นักเรียนทาตาราง วเิ คราะห์องคป์ ระกอบของการส่ือสารใหถ้ ูกตอ้ ง ส่งครู 3. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ครูแจกขอ้ ความที่เป็นการสื่อสารใหน้ กั เรียนทุกกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มอ่านแลว้ วิเคราะห์ขอ้ ความว่า มีจุดเด่นหรือขอ้ บกพร่องในการ ส่ือสารอยา่ งไรบา้ ง แลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน

28 4. นักเรียนศึกษาค้นควา้ เพิ่มเติมเก่ียวกับวิธีการสื่อสารท่ีใช้สื่อเทคโนโลยีท่ี ทนั สมยั เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ จากแหล่งการเรียนรู้อื่น แลว้ ร่วมกนั สนทนาแสดงความคิดเห็น ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนส่ือสารกบั ผอู้ ่ืนในชีวิตประจาวนั สมั ฤทธ์ิผลตามความตอ้ งการ 2. นกั เรียนแกไ้ ขอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนในการส่ือสาร ทาใหก้ ารส่ือสารสมั ฤทธิผล ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการสื่อสาร โดยการเขียนเป็ นแผนภาพ ความคดิ 2. ครูให้นักเรียนค้นควา้ ความหมายของคาว่า กิจธุระ และ ธุรกิจ เพื่อนามา สนทนาเปรียบเทียบใหเ้ ห็นความแตกต่าง เป็ นการบา้ นเพ่ือเตรียมจดั การเรียนรู้ คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนสงั เกตการสื่อสารของตนเองใน ๑ วนั วา่ สาเร็จตามจุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการมากนอ้ ย เพยี งใด และควรพฒั นาหรือแกไ้ ขเร่ืองใดใหก้ ารสื่อสารในแต่ละวนั ประสบความสาเร็จ 2. นักเรียนสมมุติสถานการณ์ในการสื่อสารกบั ชาวต่างชาติ เช่น แนะนาสถานที่ท่องเท่ียว บอกเสน้ ทางในการเดินทาง แลว้ แสดงบทบาทสมมุติโดยการสนทนาเป็นภาษาองั กฤษ 3. นกั เรียนคน้ ควา้ ตวั อยา่ งบทสนทนาภาษาอาเซียนจากสื่ออินเทอร์เน็ต นามาสนทนา แลว้ แปลเป็นภาษาไทยใหเ้ พอ่ื นฟังหนา้ ช้นั เรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 2. ป้ายขอ้ ความ 3. สลาก 4. ซองสถานการณ์ในการส่ือสาร 5. ขอ้ ความท่ีเป็นการส่ือสาร

29 6. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 8. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 9. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งท่ีไม่ได้ปฏบิ ตั ิตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงช่ือ ผ้สู อน / /

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 30 การรับสารและส่งสารเพ่ือกจิ ธุระ ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใชภ้ าษาในการสื่อสาร เวลา 1 ช่ัวโมง เรื่อง การรับสารและส่งสารเพื่อกิจธุระ 1. สาระสาคัญ การส่ือสารเพื่อกิจธุระในชีวิตประจาวนั เราใชท้ ้งั การติดต่องาน แจง้ ข่าวสาร และพูดคุยธุระ ส่วนตวั ซ่ึงผูส้ ่ือสารควรใชส้ ารท่ีส้ัน กระชบั ตรงไปตรงมาและชดั เจน และตอ้ งระมดั ระวงั การใช้ ภาษาใหเ้ หมาะสมดว้ ย 2. ตัวชี้วดั ช่วงช้ัน 1. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โนม้ น้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ดว้ ย ภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม ท 3.1 (ม.4–6/5) 2. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู ท 3.1 (ม.4–6/6) 3. ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้งั คาราชาศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม ท 4.1 (ม.4–6/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกคุณสมบตั ิของผรู้ ับสารและผสู้ ่งสารท่ีมีประสิทธิภาพได้ (K) 2. บอกวิธีการส่ือสารและส่ือสารดว้ ยโทรศพั ทแ์ ละโทรสารได้ (K , P) 3. ใชภ้ าษาในการส่ือสารในชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งสมั ฤทธ์ิผล (P) 4. มีมารยาทในการส่ือสาร (A)

31 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) และค่านิยม (A) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ประเมินทกั ษะการพดู แล ะก ารแส ด งค วาม เป็นรายบุคคลในดา้ นความสนใจ 2. ประเมินทักษะกระบวน คดิ เห็น และต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบ การคิด 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ใน ก ารท ากิ จ ก รรม ค ว าม มี 3. ประเมินทักษะกระบวน ระเบียบวนิ ยั ในการทางาน ฯลฯ การกลุม่ 2. ประเมินมารยาทในการพดู 3. ประเมินเจตคติท่ีดีต่อการเรี ยน ภาษาไทย 5. สาระการเรียนรู้ การรับสารและส่งสารเพ่ือกิจธุระ 6. แนวทางบูรณาการ นาความรู้เรื่อง การรับสารและการส่งสารเพ่ือกิจธุระมาใช้ใน สังคมศึกษาฯ  ชีวติ ประจาวนั /สง่ั ซ้ือสินคา้ โดยการส่งแฟกซ์ แสดงบทบาทสมมุติ ศิลปะ  ศึกษาวิธีการช่วยเหลือผอู้ ่ืนเมื่อเกิดอุบตั ิเหตุ สุขศึกษาฯ  7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนช่วยกนั บอกความหมายของคาวา่ “กิจธุระ” และ “ธุรกิจ” แลว้ พิจารณา วา่ เหมือนหรือต่างกนั อยา่ งไร 2. ครูนาสนทนาโยงเขา้ เรื่อง การรับสารและส่งสารเพ่ือกิจธุระ ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนศึกษาเรื่อง การรับสารและส่งสารเพ่ือกิจธุระ ในหนงั สือเรียน รายวชิ า พ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 แลว้ ช่วยกนั สรุปคุณสมบตั ิของผูร้ ับ สารและผสู้ ่งสาร

32 2. ครูยกตัวอย่างสารท่ีบกพร่อง และอธิบายความบกพร่องให้นักเรียนเข้าใจ จากน้ันครูยกตัวอย่างสาร ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่ามีความบกพร่องหรือไม่ บกพร่องอยา่ งไร และมีวธิ ีแกไ้ ขความบกพร่องอยา่ งไร 3. นกั เรียนช่วยกนั อธิบายวิธีการใชโ้ ทรศพั ทแ์ ละโทรสาร 4. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มฟังตัวอย่างการใช้โทรศัพท์และ โทรสารท่ีครูอ่านให้ฟัง แลว้ ร่วมสนทนาแสดงความคิดเห็นตามแนวคาถามท่ี กาหนดให้ ตวั อย่าง – อมุ้ โทรศพั ทห์ าออ้ ยเพื่อถามการบา้ น เมื่อเขา้ ใจแลว้ กค็ ุยเรื่องอ่ืน ต่ออีก 2 ชวั่ โมง จึงวางสาย – ต้นส่งแฟกซ์แผนที่ให้ตาล พร้อมคาอธิบายเส้นทางในการ เดินทางความยาว 5 หนา้ กระดาษ คาถาม 1) การใชโ้ ทรศพั ทข์ องอุม้ เหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร 2) นกั เรียนควรปฏิบตั ิตนในการใชโ้ ทรศพั ทเ์ หมือนอุม้ หรือไม่ เพราะเหตุ ใด 3) การส่งแฟกซ์ของตน้ เหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร 4) หากนักเรียนเป็ นตน้ นักเรียนมีวิธีส่งแฟกซ์อย่างไรให้มีจานวนหน้า นอ้ ยท่ีสุด 5. นกั เรียนแต่ละกลุ่มสนทนาแสดงความคิดเห็นภายในกลุ่มของตนเองวา่ นอกจาก โทรศพั ท์ และโทรสารแลว้ ยงั มีวิธีการส่ือสารใดที่สามารถรับและส่งสารเพ่ือกิจ ธุระไดอ้ ีกบา้ ง บอกเหตุผลประกอบ แลว้ นาเสนอใหเ้ พื่อนฟังหนา้ ช้นั เรียน ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นักเรียนทากิจกรรมท่ีเก่ียวกับการรับสารและการส่งสารเพื่อกิจธุระ แล้ว ร่วมกนั เฉลยคาตอบ

33 2. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มคิดสถานการณ์ในการส่ือสารเพ่ือกิจ ธุระ โดยเขียนขอ้ ความสื่อสารเพ่ือส่งแฟกซ์ แลว้ นาเสนอให้เพ่ือนฟังหน้าช้นั เรียน 3. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาวิเคราะห์ขอ้ ความที่เพื่อนแต่ละกลุ่มนาเสนอวา่ มีความ เหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนแนะนาการใชโ้ ทรศพั ทแ์ ละการส่งแฟกซ์ให้ผอู้ ื่นใชใ้ นการสื่อสารเพ่ือ กิจธุระถูกตอ้ ง 2. นกั เรียนใชโ้ ทรศพั ท์และส่งแฟกซ์ในการส่ือสารเพ่ือกิจธุระในชีวิตประจาวนั อยา่ งเหมาะสมและสมั ฤทธ์ิผล ข้นั ที่ 5 สรุป 1. นกั เรียนช่วยกนั สรุปการรับสารและการส่งสารเพอื่ กิจธุระ แลว้ บนั ทึกลงสมุด 2. ครูให้นักเรียนสังเกตการใชค้ า กลุ่มคา ตามสถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคล ต่าง ๆ คนละ 1 สถานการณ์ จดบันทึก แล้วพิจารณาว่าใช้คา กลุ่มคา ได้ เหมาะสมตามสถานการณ์หรือไม่ เป็ นการบ้านเพื่อเตรียมจดั การเรียนรู้คร้ัง ต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติตามหวั ขอ้ ท่ีกาหนด ดงั น้ี 1) โทรศพั ทข์ อความช่วยเหลือเม่ือเกิดอุบตั ิเหตุ 2) ส่งแฟกซแ์ สดงรายการสงั่ ซ้ือสินคา้ 2. นกั เรียนคน้ ควา้ รหสั หมายเลขโทรศพั ทท์ างไกลของประเทศสมาชิกอาเซียน นามาจดั ป้าย นิเทศใหค้ วามรู้หนา้ ช้นั เรียน 3. ครูให้นักเรียนปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) จากสถานการณ์เรื่อง แกป้ ัญหาการส่ือสาร แลว้ นาเสนอผลงาน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ตวั อยา่ งการใชโ้ ทรศพั ทแ์ ละโทรสาร 2. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4

34 3. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 4. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 5. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 10. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ บันทกึ ผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. ส่ิงที่ไม่ได้ปฏิบัตติ ามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงช่ือ ผู้สอน / /

35 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 การใช้คา กล่มุ คาให้ถูกต้องเหมาะสมตามสถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใชภ้ าษาในการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 เร่ือง การใชค้ า กลุ่มคาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ เวลา 1 ช่ัวโมง 1. สาระสาคัญ การส่ือสารอย่างมีมารยาท ผูส้ ื่อสารควรเลือกใช้คาหรือกลุ่มคาให้ถูกต้องเหมาะสมตาม สถานการณ์ โอกาส และฐานะท่ีแตกต่างกนั ของผสู้ ื่อสาร 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ยง้ โนม้ นา้ วใจ และเสนอแนวคิดใหม่ดว้ ย ภาษาท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม ท 3.1 (ม.4–6/5) 2. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู ท 3.1 (ม.4–6/6) 3. ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้งั คาราชาศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม ท 4.1 (ม.4–6/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เลือกใชค้ าและกลุ่มคาตามสถานการณ์ โอกาส และฐานะของผสู้ ่ือสารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (K , P) 2. ใชภ้ าษาในการสื่อสารในชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งสมั ฤทธ์ิผล (P) 3. เห็นคุณคา่ ของการใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (A) 4. มีมารยาทในการส่ือสาร (A)

36 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะและกระบวนการ (P) และค่านิยม (A) 1. สังเกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ประเมินทกั ษะการพดู การแสดงความคิดเห็น เป็ นรายบุคคลในดา้ นความสนใจ 2. ประเมินทักษะกระบวน 2. สั ง เก ต ก าร เลื อ ก ใ ช้ ค า และต้ังใจเรียน ความรับผิดชอบ การคดิ และกลุม่ คาในการสื่อสาร ใน ก าร ท ากิ จ ก ร ร ม ค ว าม มี 3. ประเมินทักษะกระบวน 3. ตรวจผลการทากิจกรรม ระเบียบวินยั ในการทางาน ฯลฯ การกลุม่ 2. ประเมินมารยาทในการพดู 3. ประเมิ น ความภูมิ ใจใน การใช้ ภาษาไทย 5. สาระการเรียนรู้ การใชค้ า กลุม่ คาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ 6. แนวทางบูรณาการ คณิตศาสตร์  เขียนแผนภาพความคิด แสดงความสมั พนั ธ์ของการใชภ้ าษากบั การใชค้ า กลุม่ คาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์การส่ือสาร สงั คมศึกษาฯ  มีมารยาทในการใชค้ า กลุ่มคาในการสื่อสารไดเ้ หมาะสมตาม สถานการณ์/ส่ือสารโดยใชภ้ าษาไทยถิ่น ภาษาต่างประเทศ  เป รี ยบ เที ยบ การใช้คา กลุ่มคาให้ ถูกต้องเห มาะส มตาม สถานการณ์ การส่ือสารกับบุคคลต่าง ๆ ของภาษาอังกฤษกับ ภาษาไทย ศิลปะ  แสดงบทบาทสมมุติ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนอ่านบทสนทนา แลว้ ร่วมแสดงความคิดเห็นว่ามีการใชค้ าเหมาะสม ตามสถานการณ์การสื่อสารกบั บุคคลต่าง ๆ หรือไม่ อยา่ งไร

37 เอ : ขอประทานโทษนะคะนอ้ งบี พี่ขออนุญาตยมื หนงั สือเลม่ น้ีหน่อยนะคะ บี : หยบิ ไดเ้ ลยคะ่ พ่ี เอ : ขอบพระคุณมากคะ่ 2. ครูอธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจว่า จากบทสนทนามีการใช้คาพูดไม่เหมาะสมกบั ฐานะของผสู้ ื่อสาร ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนศึกษาเรื่อง การใชค้ า กลุ่มคาให้ถูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์การ สื่อสารกับบุคคลต่าง ๆ ในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 2. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาแสดงความคิดเห็นว่า ระดบั ภาษามีความสัมพนั ธ์กบั การเลือกใช้คา และกลุ่มคาให้ถูกต้องเหมาะสมตามสถานการณ์การสื่อสาร หรือไม่ อยา่ งไร 3. นักเรียนฟังตัวอย่างการเลือกใช้คาและกลุ่มคาในการส่ือสาร แล้วช่วยกัน พิจารณาวา่ เหมาะสมหรือไม่ และหากไม่เหมาะสมควรแกไ้ ขอยา่ งไร ตวั อย่าง – ครูผมยงั ไม่เขา้ ใจ อธิบายใหม่อีกที – เตย้ นายเก่งภาษาองั กฤษ ติวใหเ้ ราบา้ งนะ – ลุงวานหลานส่งจดหมายใหห้ น่อย – อาตมาไม่สามารถจดั การเรื่องน้ีแทนโยมท้งั หลายได้ 4. นกั เรียนจบั คู่กบั เพ่ือนสมมุติสถานการณ์ในการสื่อสารและฐานะของผสู้ ่ือสาร เช่น พ่อกบั ลูก เพื่อนกบั เพื่อน แลว้ แสดงบทบาทสมมุติใหเ้ พ่ือนดูหนา้ ช้นั เรียน โดยใชภ้ าษาไทยถ่ิน 5. เมื่อจบการแสดงของแต่ละคู่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั การ ใชค้ าและกลุ่มคาว่าเหมาะสมกบั สถานการณ์และฐานะของผูส้ ื่อสารหรือไม่ อยา่ งไร

38 ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นักเรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกับการใช้คา กลุ่มคาให้ถูกต้องเหมาะสมตาม สถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. นักเรียนทาใบงานท่ี 2 เร่ือง ใช้คาตามสถานการณ์ แล้วช่วยกันตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง 3. นกั เรียนศึกษาเรื่อง การใชค้ า กลุ่มคาให้ถูกตอ้ งตามสถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคล ต่าง ๆ เพิ่มเติมจากแหลง่ การเรียนรู้อ่ืน 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นกั เรียนรู้ว่า การใชค้ า กลุ่มคาไดถ้ ูกตอ้ งตามสถานการณ์ การส่ือสารเหมาะสมกบั ฐานะของบุคคล โอกาส และกาลเทศะ โดยคานึงถึง วัฒนธรรมการใช้ภาษาของคนไทย แสดงถึงการมีความรู้ที่ดีในการใช้ ภาษาไทยของผใู้ ช้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั เง่ือนไขความรู้ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ นักเรี ยนเลือกใช้คาและกลุ่มคาเหมาะสมตามสถานการณ์ การส่ื อสารใน ชีวติ ประจาวนั ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นักเรียนช่วยกนั สรุปความสัมพนั ธ์ของการใช้ภาษากบั การใช้คา กลุ่มคา ให้ ถูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์การส่ือสารกบั บุคคลต่าง ๆ โดยเขียนเป็ น แผนภาพความคิด 2. ครูให้นกั เรียนยกตวั อยา่ งคาที่มีความหมายคลา้ ยกนั และแต่งประโยคประกอบ ใหถ้ ูกตอ้ งตามความหมาย เป็นการบา้ นเพอ่ื เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนรวบรวมตวั อย่างการเลือกใชค้ าและกลุ่มคาในการส่ือสารท้งั ท่ีเหมาะสมและไม่ เหมาะสม จากเรื่องส้นั หรือนวนิยาย แลว้ นามาพิจารณาร่วมกนั ในช้นั เรียน 2. นักเรียนศึกษาการใชค้ าและกลุ่มคาให้ถูกตอ้ งเหมาะสมตามสถานการณ์การสื่อสารกบั บุคคลต่าง ๆ ของภาษาองั กฤษเพอ่ื เปรียบเทียบกบั ภาษาไทย 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ตวั อยา่ งบทสนทนาในการส่ือสาร

39 2. ตวั อยา่ งการเลือกใชค้ าและกลุ่มคาในการส่ือสาร 3. ใบงานที่ 2 เร่ือง ใชค้ าตามสถานการณ์ 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 5. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 6. คูม่ ือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 7. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ บันทกึ ผลการจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งทไี่ ม่ได้ปฏบิ ัติตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงช่ือ ผู้สอน / /

40 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 การใช้คาทีม่ ีความหมายคล้ายกนั และการใช้คาท่ีทาให้มองเห็นภาพหรือให้ความรู้สึกชัดขึน้ เป็ นพเิ ศษ รหัสวิชา ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใชภ้ าษาในการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 เรื่อง การใชค้ าท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั และการใชค้ าที่ทาใหม้ องเห็นภาพ เวลา 1 ชั่วโมง หรือใหค้ วามรู้สึกชดั ข้นึ เป็นพเิ ศษ 1. สาระสาคญั การสื่อสารท่ีสัมฤทธ์ิผล ผูส้ ื่อสารควรเลือกใชค้ าให้ถูกตอ้ งตรงตามความหมายและใชค้ าท่ี ทาใหม้ องเห็นภาพหรือใหค้ วามรู้สึกชดั ข้ึน จะทาใหผ้ รู้ ับสารเขา้ ใจสารไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจน 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อา่ น ท 1.1 (ม.4–6/2) 2. บนั ทึกการศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือนาไปพฒั นาตนเองอยา่ งสม่าเสมอ ท 2.1 (ม.4–6/7) 3. วิเคราะห์แนวคิด การใชภ้ าษา และความน่าเช่ือถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ท 3.1 (ม.4–6/2) 4. วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากส่ือส่ิงพมิ พแ์ ละสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ท 4.1 (ม.4–6/7) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เลือกใชค้ าและกลุ่มคาไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามความหมาย (K , P) 2. ใชค้ าและกลุ่มคาเรียบเรียงประโยคในการส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 3. อ่านเรื่องท่ีกาหนดให้ แลว้ ตีความหรือแปลความคาหรือกลุ่มคาในเน้ือเรื่องไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 4. นาความรู้จากการศึกษาคน้ ควา้ ไปใชใ้ นการพฒั นาตนเอง (K , P) 5. เห็นความสาคญั ของการใชภ้ าษาในการส่ือสารท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม (A)

41 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะและกระบวนการ (P) และค่านิยม (A) 1. สังเกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ประเมินทักษะการแสวงหา การแสดงความคิดเห็น เป็ นรายบุคคลในด้านความ ความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม สนใจและต้ังใจเรี ยน ความ 2. ประเมินทกั ษะกระบวนการคดิ 3. ตรวจแบบทดสอบหลัง รับผิดชอบในการทากิจกรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการ เรียน ความมีระเบี ยบวินัยใน การ กลุม่ ทางาน ฯลฯ 2. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรียน ภาษาไทย 5. สาระการเรียนรู้ 1. การใชค้ าท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั 2. การใชค้ าท่ีทาใหม้ องเห็นภาพหรือใหค้ วามรู้สึกชดั ข้ึนเป็นพเิ ศษ 6. แนวทางบูรณาการ รวบรวมคาศพั ทว์ ิทยาศาสตร์ท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั วทิ ยาศาสตร์  รวบรวมคาศพั ทค์ ณิตศาสตร์ท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั คณิตศาสตร์  รวบรวมคาศพั ทท์ างสงั คมศาสตร์ท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั สงั คมศึกษาฯ  รวบรวมคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษที่มีความหมายคลา้ ยกนั ภาษาต่างประเทศ  รวบรวมคาศพั ทศ์ ิลปะท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั ศิลปะ  รวบรวมคาศพั ทท์ างสุขศึกษาฯ ที่มีความหมายคลา้ ยกนั /เล่นเกม สุขศึกษาฯ  รู้คาทาประโยค รวบรวมคาศพั ทท์ ่ีเก่ียวกบั การงานอาชีพฯ ท่ีมีความหมาย การงานอาชีพฯ  คลา้ ยกนั /สมุดการเลือกใชค้ า 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน

42 นักเรียนอ่านแถบประโยคท่ีครูติดบนกระดาน แล้วร่วมกันพิจารณาคาที่พิมพ์ ตวั หนาวา่ มีความหมายตรงตามท่ีตอ้ งการส่ือสารหรือไม่ อยา่ งไร – ประเทศไทยมีผลผลิตทางการเกษตรมาก หลายชนิดมากเกินไปจน ตอ้ งนาไปแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑข์ องทอ้ งถิ่น – บริษทั ทุกบริษทั มีสวสั ดิภาพใหพ้ นกั งาน – พวกเรามาสวสั ดีคุณตาเพ่ือลากลบั บา้ น คุณตาจึงอวยพรใหพ้ วกเรา เดินทางโดยสวสั ดิการถึงบา้ นอยา่ งปลอดภยั ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนศึกษาเร่ือง การใช้คาที่มีความหมายคลา้ ยกันและการใช้คาที่ทาให้ มองเห็นภาพหรือให้ความรู้สึกชัดข้ึนเป็ นพิเศษ ในหนังสือเรียน รายวิชา พ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 2. นักเรียนช่วยกนั ยกตวั อย่างคาที่มีความหมายคลา้ ยกัน และการใช้คาที่ทาให้ มองเห็นภาพหรือให้ความรู้สึกชดั ข้ึนเป็ นพิเศษ แลว้ ร่วมกนั ตรวจสอบความ ถูกตอ้ ง 3. แบ่งนกั เรียนออกเป็ น 5 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเขียนประโยคจากคาท่ีครูบอก โดย พิจารณาจานวนคาตามความเหมาะสม แต่ให้มีคาท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั และ คาท่ีทาให้มองเห็นภาพหรือให้ความรู้สึกชดั ข้ึนเป็ นพิเศษ เพ่ือตรวจสอบความ เขา้ ใจในการใชค้ าของนกั เรียน 4. ครูแจกบทความและบทร้อยกรองกลุ่มละ 1 ชุด ใหแ้ ต่ละกลุ่มอ่านแลว้ ใหห้ าคา ที่มีความหมายคลา้ ยกนั และคาท่ีทาให้มองเห็นภาพหรือให้ความรู้สึกชดั ข้ึน เป็ นพิเศษที่พบ ในเรื่องที่อ่าน แลว้ นาเสนอให้เพ่ือนฟังหน้าช้นั เรียนโดยการ สรุปบทความที่อ่านและอ่านบทร้อยกรองให้เพื่อนฟังก่อน แลว้ จึงบอกคาที่มี ความหมายคลา้ ยกนั และคาท่ีทาให้มองเห็นภาพหรือให้ความรู้สึกชดั ข้ึนเป็ น พิเศษ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกบั การใชค้ าที่มีความหมายคลา้ ยกนั และคาท่ีทาให้ มองเห็นภาพหรือความรู้สึกชดั ข้ึนเป็ นพิเศษ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูก ตอ้ ง

43 2. นกั เรียนทาใบงานที่ 3 เร่ือง การเลือกใชค้ า แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 3. แบ่งนกั เรียนออกเป็ น 5 กลุ่ม เล่นเกมรู้คาทาประโยค โดยให้กลุ่มท่ี 1 บอกคา แลว้ กลุ่มที่ 2 แต่งประโยคโดยใชค้ าใหถ้ ูกตอ้ งตรงตามความหมาย ให้กลุ่มที่ 2 บอกคา แลว้ กลุ่มท่ี 3 แต่งประโยค เล่นวนไปเร่ือย ๆ หากกลุ่มใดแต่งประโยค ไม่ถูกตอ้ งใหอ้ อกไปทาตามท่ีเพื่อนตอ้ งการหนา้ ช้นั เรียน ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ นักเรียนนาความรู้เร่ือง การเลือกใชค้ า ไปใชส้ ื่อสารในชีวิตประจาวนั ให้ถูกตอ้ ง ตามความหมาย ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาสรุปเรื่อง การเลือกใชค้ าท่ีมีความหมายคลา้ ยกนั และ คาท่ีทาใหม้ องเห็นภาพหรือใหค้ วามรู้สึกชดั ข้ึนเป็นพเิ ศษ แลว้ บนั ทึกลงสมุด 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 3. ครูใหน้ กั เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นในประเดน็ ที่วา่ ▪ การออกเสียงและการสะกดคามีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งไร ▪ สาเหตุที่คนไทยออกเสียงภาษาไทยไม่ถูกตอ้ ง เกิดจากอะไร แลว้ มอบหมายให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง อิเหนา ตอน ศึกกระหมงั กหุ นิง ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 เป็นการบา้ นเพ่ือเตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ นักเรี ยนรวบรวมคาท่ีมีความหมายคล้ายกันจากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาต่างประเทศ ศิลปะ สุขศึกษาฯ และการงานอาชีพฯ นามาแต่ง ประโยคตวั อยา่ ง แลว้ รวบรวมทาเป็นสมุดการเลือกใชค้ า 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 2. แถบประโยค 3. บทความ 4. บทร้อยกรอง 5. ใบงาน เร่ือง การเลือกใชค้ า

44 6. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 7. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 8. คู่มือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 9. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแกไ้ ข 3. สิ่งท่ีไม่ได้ปฏบิ ตั ิตามแผน เหตุผล 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ ลงช่ือ ผ้สู อน / /

45 แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา 1 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 อเิ หนา ตอน ศึกกระหมังกหุ นิง เวลา 1 ชว่ั โมง เวลา 1 ชว่ั โมง เวลา 9 ช่ัวโมง เวลา 2 ชว่ั โมง เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 แนวทางในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมยั สุโขทยั เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 ประวตั ิวรรณคดีและวรรณกรรมสมยั อยธุ ยาตอนตน้ เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 10 การอา่ นบทละครเรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นิง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11 การอ่านทานองเสนาะ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 การอา่ นตีความ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 การเขียนแสดงความคิดเห็น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 การใชส้ านวนโวหาร

46 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 แนวทางในการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรม รหัสวชิ า ท 31101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อิเหนา ตอน ศึกกระหมงั กหุ นิง ภาคเรียนท่ี 1 เร่ือง แนวทางในการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรม เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ การวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม เป็ นการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีและ วรรณกรรมว่ามีคุณค่าหรือขอ้ บกพร่องอย่างไร โดยมีเหตุผลมาอธิบายประกอบ ผูว้ ิจารณ์จึงต้องมี ความรู้เร่ืององคป์ ระกอบของงานประพนั ธ์ท่ีสาคญั คือ รูปแบบ เน้ือหา และภาษา งานประพนั ธ์เรื่องใด ท่ีมีรูปแบบเหมาะสมกบั เน้ือหา ก่อให้เกิดความกลมกลืนกนั อยา่ งมีศิลปะ เรียกว่า วรรณคดี ส่วนงาน ประพนั ธ์ท่ียงั ไม่ถึงข้นั วรรณคดี เรียกวา่ วรรณกรรม 2. ตวั ชี้วดั ช่วงช้ัน 1. ตอบคาถามจากการอา่ นงานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนด ท 1.1 (ม.4–6/6) 2. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์เบ้ืองตน้ ท 5.1 (ม.4– 6/1) 3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ น มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ ท 5.1 (ม.4–6/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรมได้ (K) 2. บอกคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นได้ (K) 3. บอกแนวทางในการวิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม และวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมได้ (K , P) 4. แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกบั วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านไดอ้ ยา่ งมี เหตุผลได้ (K , P) 5. เห็นคุณคา่ และความสาคญั ของการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A)

47 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะและกระบวนการ (P) และค่านิยม (A) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางาน 1. ประเมิ น ทักษ ะการอ่าน จับ และแสดงความคิดเห็น เป็นรายบุคคลในดา้ นความสนใจ ใจความ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม และต้งั ใจเรียนความรับผิดชอบ 2. ประเมินทักษะการพูดแสดง 3. ตรวจแบบทดสอบก่อน ใน ก ารท ากิ จ ก รรม ค ว าม มี ความคดิ เห็น เรียน ระเบียบวนิ ยั ในการทางาน ฯลฯ 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 2. ประเมินมารยาทในการอ่านและ 4. ประเมินทักษะกระบวนการ นิสยั รักการอ่าน กลุม่ 3. ประเมินมารยาทในการพดู 5. สาระการเรียนรู้ แนวทางในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม 6. แนวทางบูรณาการ คณิตศาสตร์  เขียนแผนภาพความคิดสรุปแนวทางในการวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรม ภาษาต่างประเทศ  วจิ ารณ์วรรณคดีหรือวรรณกรรมต่างประเทศที่แปลเป็นภาษาไทย ศิลปะ  จดั ป้ายนิเทศ สุขศึกษาฯ  เล่นเกมรู้จกั วรรณคดีและวรรณกรรม 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครูสุ่มถามนักเรียน 2 – 3 คน ว่าช่ืนชอบวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องใดมาก ที่สุด เพราะเหตุใด 3. ครูนาเหตุผลต่าง ๆ ในการช่ืนชอบวรรณคดีและวรรณกรรมของนกั เรียน อธิบาย เพิ่มเติมเพื่อโยงให้เห็นว่า การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีและ วรรณกรรมเป็นแนวทาง พ้ืนฐานในการวจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสุ่มถามนกั เรียน 2 – 3 คน เพอ่ื ทบทวนลกั ษณะของวรรณคดีและวรรณกรรม 2. นกั เรียนช่วยกนั บอกคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมวา่ มีอะไรบา้ ง พร้อมยกตวั อยา่ ง ช่ือวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีมีคุณค่าในดา้ นน้นั ๆ

48 3. ครูใหค้ วามรู้เสริมนกั เรียนวา่ วรรณกรรมของประเทศต่าง ๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียนมี ลกั ษณะเช่นเดียวกบั วรรณกรรมของไทย คือ มีการถ่ายทอดวฒั นธรรม ค่านิยม ความเชื่อ สภาพสังคมในยุคสมัยน้ันไว้ด้วย การอ่านวรรณกรรมจึงเปรียบเสมือนได้เรียนรู้ วัฒนธรรมของชาติน้ัน ๆ เพราะวัฒนธรรมได้ถูกถ่ายทอดผ่านทางวรรณกรรม วรรณกรรมจึงเป็ นเคร่ืองมืออยา่ งหน่ึงท่ีจะทาใหไ้ ดเ้ รียนรู้ประเทศสมาชิกอาเซียนไดเ้ ป็ น อย่างดี สาหรับกิจกรรมทางด้านงานวรรณกรรมของประเทศสมาชิกอาเซียนท่ีได้ทา ร่วมกนั มาเป็ นเวลานาน คือ รางวลั วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน หรือ รางวลั ซีไรตเ์ ป็นรางวลั ประจาปี ท่ีมอบใหแ้ ก่กวแี ละนกั เขียนใน ๑๐ ประเทศอาเซียน 4. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเล่นเกมรู้จกั วรรณคดีและวรรณกรรม โดยครู เตรียมบตั รชื่อวรรณคดีหรือวรรณกรรมไวป้ ระมาณ 20 ใบ ให้ตวั แทนแต่ละกลุ่มออกมา หยิบบตั รชื่อกลุ่มละ 1 ใบ แลว้ ให้ตอบคาถามว่าเป็ นช่ือของวรรณคดีหรือวรรณกรรม และเรื่องที่หยิบไดน้ ้นั มีคุณค่าในดา้ นใดบา้ ง เช่น นกั เรียนหยิบไดบ้ ตั รชื่อเรื่องส่ีแผ่นดิน นกั เรียนตอ้ งตอบว่า เป็ นหนังสือประเภทวรรณกรรม มีคุณค่าดา้ นสังคม กลุ่มที่ตอบถูก ครบทุกประเดน็ จะได้ 2 คะแนน กลุม่ ที่ตอบถูกตอ้ งและไดค้ ะแนนมากท่ีสุดเป็นผชู้ นะ 5. นักเรียนกลุ่มเดิมอ่านจับใจความสาคัญเร่ือง แนวทางในการวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 เล่ม 2 ใน หวั ขอ้ รูปแบบ เน้ือหา ภาษา แลว้ ร่วมกนั สรุป เขียนเป็นแผนภาพความคิด ครูสุ่มเรียก 3 – 4 กลุ่มใหอ้ ธิบายส้นั ๆ ใหเ้ พอ่ื นฟังหนา้ ช้นั เรียน 6. ครูแจกตัวอย่างบทความการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงของ นกั เขียนที่มีชื่อเสียงหรือตวั อยา่ งการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมที่ครูทาข้ึนเอง แลว้ ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั รูปแบบ เน้ือหา และภาษาท่ีใช้ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั แนวทางในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ถึงมูลเหตุและปัจจัยท่ีทาให้วรรณกรรมไทยมีแนวโน้ม เปลี่ยนแปลงไปตามแบบตะวนั ตก แล้วร่วมกันสรุปผลการวิเคราะห์ ครูอธิบายและ แนะนาเพม่ิ เติม 3. นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั แนวทางในการวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมในประเดน็ ต่าง ๆ เช่น 1) นกั เรียนคิดวา่ บทเจรจาหรือบทราพงึ ราพนั ที่ดีควรเป็นอยา่ งไร 2) นกั เรียนคิดวา่ การพิจารณาแก่นเร่ืองท่ีดีน้นั ผอู้ ่านควรทาอยา่ งไร 3) นกั เรียนคิดวา่ การใชค้ าท่ีมีเสียงสัมผสั ในงานเขียนมีความสาคญั มากนอ้ ย เพยี งใด เพราะอะไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook