Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พฤติกรรมของสัตว์

พฤติกรรมของสัตว์

Published by Nurida Jitdamri, 2020-11-22 23:12:43

Description: กลุ่มนูรีด้า

Search

Read the Text Version

พฤตกิ รรมของสัตว์ ANIMAL BEHAVIOR

ANIMAL BEHAVIOR สตั ว์มีการตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงทั้งการ เปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อมและการ เปลี่ยนแปลงภายในตัวสัตว์เอง โดยการแสดง พฤติกรรมออกมาเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง นั้น และทาให้สตั ว์ สามารถดารงชีวิตอยู่ไดต้ ่อไป

การศึกษา Proximate cause พฤติกรรมของสัตว์ กลไกการแสดงออกของพฤตกิ รรมและสงิ่ เรา้ ทีท่ าใหเ้ กดิ พฤตกิ รรม รวมถงึ พัฒนาการของพฤติกรรมทีเ่ กดิ ข้นึ Ultimate cause เป็นการศกึ ษาผลของพฤติกรรมที่สตั วแ์ สดง ออกต่อการปรับตัวในสงิ่ แวดลอ้ มท่แี ตกตา่ งกนั

กลไกการเกดิ พฤตกิ รรม การเกิดพฤตกิ รรมของสัตว์ ได้ผา่ นกลไก 2 กลไก ไดแ้ ก่ กลไกทางสรรี วทิ ยา (Physiology) คือการอธิบายกลไกการเกดิ พฤติกรรมโดย อาศัยกลไกการท างานของระบบอวัยวะตา่ งๆ ในร่างกาย ซง่ึ ถูกควบคุมโดยระบบประสาท กลไกทางจติ วทิ ยา (Psychology) คือการศึกษาผลของปจั จัยภายนอกและ ปจั จัยภายในตัวสัตวต์ ่อการเกิดพฤตกิ รรม

ประเภทพฤติกรรมของสตั ว์ พฤติกรรมที่มมี าแต่กาเนดิ พฤตกิ รรมที่เกดิ จากการเรยี นรู้ พฤติกรรมที่สัตว์ทุกตวั ในประชากรมัก พฤตกิ รรมทีเ่ กิดจากการเรยี นร้จู ะได้รับ แสดงออกไดเ้ หมือนกันและเปน็ แบบ การพฒั นาใหด้ ีขึน้ เพือ่ ใหเ้ หมาะกับ แผนเดียวกันโดยไม่ต้องมีประสบการณ์ สภาพแวดล้อมทีเ่ ปลี่ยนแปลงโดยอาศัย ประสบการณท์ ี่ผา่ ยเข้ามาในชว่ งชีวิต

พฤติกรรมที่ ฟกิ ซ์แอกชัน แพทเทริ น์ โอเรยี นเทชัน เปน็ มาแตก่ าเนิด เป็นการแสดงออกของพฤติกรรมอยา่ สิง่ มีชีวิตจะตอบสนองต่อปัจจยั ทาง เปน็ ลาดบั ขั้นทีถ่ กู กระตนุ้ โดยสิง่ เร้า กายภาพที่มีอยู่ โดยทีส่ ่ิงมีชีวิตอยู่ใน ตาแหนง่ ท่สี อดคลอ้ งกับปัจจยั นัน้ ที่เปน็ เครอื่ งหมาย รีเฟลก็ ซ์ รีเฟลก็ ซต์ อ่ เนอื่ ง เป็นการสนองตอ่ สิ่งเรา้ ที่มากระตนุ้ ได้ เปน็ การทเี่ มอื่ เกดิ รเี ฟล็กซแ์ รกแลว้ จะ โดยไม่จาเป็นที่ต้องผา่ นการประมวลผล ส่งผลต่อรีเฟล็กซ์อนื่ ๆไปเรื่อยๆจนกวา่ จะ ได้รับสิ่งทีต่ ้องการถงึ จะหยุดแสดง จากสมอง พฤติกรรม

ตวั อยา่ งประเภทพฤตกิ รรมของสตั ว์ พฤติกรรมทมี่ มี าแตก่ าเกดิ โอเรยี นเทชัน รีเฟลก็ ซต์ อ่ เนอื่ ง การบินเขา้ หาแสง การชักใยของแมงมุม ของผีเสอ้ื กลางคืน ฟิกซ์แอกชัน แพทเทริ น์ รีเฟลก็ ซ์ แมห่ ่านกลิง่ ไขก่ ลับเขา้ รงั การมว้ นตัวของกงิ้ กอื เมือ่ ถูกสมั ผัส

พฤตกิ รรมท่ีเกดิ จากการเรยี นรู้ แฮบชิ เู อชัน การฝงั ใจ การใชเ้ หตผุ ล สตั วจ์ ะเรียนรู้ที่จะลดการตอบสนองตอ่ สงิ่ สตั ว์แรกเกิดหรือสัตวอ์ ายุนอ้ ย เกิดจากการเรยี นรขู้ นั้ สูง สตั ว์ท่จี ะแสดง เร้าที่เผชิญอยู่ เพราะเห็นว่าส่ิงนัน้ ไมเ่ กิด มีการเรียนร้ทู จี่ ะสร้างความผูกผนั กับแมห่ รอื สัตวท์ ีม่ ีอายุมากกวา่ พฤติกรรมแบบนีจ้ ะมีสมองเจรญิ ดี ประโยชนห์ รือโทษกบั การดารงชีวติ สามารถตอบสนองในรปู แบบใหมท่ ี่ไมใ่ ช่ จากการลองผิดลองถูก การมเี งอื่ นไข การเชอื่ มโยง การลองผดิ ลองถกู เกดิ ข้นึ หลงั จากสตั ว์ไดร้ ับสิ่งเร้า ทีท่ าให้เกดิ การตอบสนอง แบบเดิมหลายครัง้

ตวั อย่างประเภทพฤตกิ รรมของสัตว์ พฤตกิ รรมทีเ่ กดิ จากการเรยี นรู้ การฝงั ใจ การมเี งอื่ นไข ลูกเป็ดเดนิ ตามแม่เปด็ การทดลองของพฟั ลอฟ แฮบชิ เู อชัน การใชเ้ หตผุ ล การลองผดิ ลองถกู ในห่นุ ไลก่ า การใช้เหตุผล การทดลอง ของลงิ ชมิ แปนซี ของสกินเนอร์

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและ ววิ ฒั นาการของระบบประสาท ชนิดสงิ่ มชี ีวติ ระบบประสาท พฤตกิ รรมทสี่ าคญั - มนุษย์ - สมองส่วนหนา้ เจรญิ ดี - มีการใชเ้ หตุผลทีส่ บั ซ้อน - สตั วเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยนมและนก - สมองส่วนหน้าเจริญข้ึน - มีการเรียนรทู้ ีส่ ับซอ้ น - สมองสว่ นกลางขนาดลดลง - มีการใชเ้ หตุผลบ้าง - สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั ชัน้ ต่า สมองส่วนหน้ายังไมพ่ ัฒนามาก - มีการเรียนรแู้ บบงา่ ย - สตั ว์ไมม่ ีกระดูกสนั หลงั - ไมม่ ีสมองที่แท้จรงิ - มีพฤตกิ รรมทีม่ ีมาแตก่ าเนดิ - ระบบประสาทไม่สับซ้อน - รีเฟลก็ ซแ์ ละรเี ฟลก็ ซต์ อ่ เนอื่ ง - มีปมประสาทอยู่บ้าง - เซลล์ประสาทต่อกันเปน็ ร่างแห - โพรโทซวั ไมม่ ีระบบประสาท - มีพฤตกิ รรมที่เปน็ มาแตก่ าเนดิ - โอเรียนเทชัน

การสื่อสารระหว่างสตั ว์ การสื่อสารดว้ ยทา่ ทาง การสื่อสารดว้ ยสารเคมี เปน็ การสื่อสารของสัตวท์ ี่ โดยสรา้ งสารเคมีทผี่ ลติ จาก สามารถสื่อความหมายไดช้ ัดเจน ต่อมมีท่อที่สรา้ งออกมาซ่ึงจะ ไม่มีผลตอ่ รา่ งกายตนเอง การสื่อสารดว้ ยเสียง การสือ่ สารดว้ ยการสมั ผัส สัตว์ทีม่ ีกลอ่ งเสียงและสาย จะมีความสาคัญในสัตวท์ อ่ี าศัย เสียงทีท่ าให้เกิดเสียงหรือการ เคลือ่ นไหวของอวยั วะที่ทาให้ รวมกันเปน็ กลุม่ หรือสังคม มักจะใชไ้ ด้ผลในระยะใกล้ เกดิ เสียง

สมาชิกในกลมุ่ นางสาวโซเฟีย หลาหมัด นายสืบสกุล เมา๊ ะสนิ นายภาณุวัฒน์ ละซอ นางสาวนูรีดา้ จิตดาริ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook