Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทำฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทำฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Description: สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทำฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Keywords: ศาสนา,ประเพณีท้องถิ่น,เชียงราย

Search

Read the Text Version

จัดทำโดย สภาวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย สรุปผลการดำเนินงาน กิ จ ก ร ร ม ม ร ด ก ภู มิ ปั ญ ญ า ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร จั ด ทำ ฐ า น ข้ อ มู ล ด้ า น ศ า ส น า วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

คำนำ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเป็นส่ิงที่มีควบคู่มากับสังคมไทย และส่ิงเหล่านี้ ถือเป็นมรดก ท่ีสาคัญของแต่ละท้องถ่ิน ซ่ึงแสดงถึงเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ความภาคภูมิใจ ที่คนไทยทุกคนควรจะต้องร่วมกัน อนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟู เผยแพร่ สบื สานสิง่ เหล่าน้ีสืบไป วัฒนธรรมเป็นส่ิงสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถ่ินต่าง ๆ ได้พัฒนาและ สร้างสรรค์ข้ึนเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการดาเนินชีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย ท้ังใน รูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญา และศิลปะ เป็นต้น เพ่ือเป็นการปลูกจิตสานึก และกระตุ้นให้คนในชุมชนทอ้ งถิน่ เกิดความตระหนัก มีความต่นื ตัว และเข้ามามีสว่ นรว่ มในการฟืน้ ฟูเผยแพร่ และ สบื สานภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ของตน จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ มีวัฒนธรรมและมีองค์ความร้ภู ูมิ ปัญญาท้องถิ่นที่แตกต่าง และความหลากหลายในองค์ความรู้ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่ นที่มี การส่ังสมและสืบทอดมาอย่างต่อเน่ืองและปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน การพัฒนาจังหวัดเชียงราย เพ่ือสร้างความเข้มแข็ง ใหก้ บั ชมุ ชนทอ้ งถิ่น ทีส่ าคัญประการหน่งึ คือ การพลกิ ฟืน้ ศิลปะ และวัฒนธรรมท้องถนิ่ ที่มอี ยูใ่ นท้องถน่ิ นั้น ๆ ใน ด้านต่าง ๆ ได้แก่ ภมู ปิ ัญญาในแต่ละสาขา โดยเฉพาะภูมปิ ญั ญาในการประกอบอาชพี เปน็ ภูมปิ ญั ญาความรู้เชิงศิลป์ แขนงต่าง ๆ ท่ีมีศลิ ปินทอ้ งถ่ินและศิลปินแหง่ ชาติตลอดจนช่างฝมี ือ ซง่ึ วฒั นธรรมและองค์ความรู้ภูมิปญั ญาดงั กล่าว เป็นทรพั ยากรทีส่ าคัญสามารถใช้ประโยชน์หรือเก้ือกูลชุมชนท้องถ่ินผู้เป็นเจ้าของได้ เพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุน สืบสาน และอนุรักษ์ฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน รวมทั้งการเสริมสร้างคุณค่าทางสังคมและจิตใจต่อมรดกทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งสาคัญ ในการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และเป็นผู้สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งให้ประชาชน และเยาวชนในท้องถน่ิ ได้เรียนรู้ความสาคัญของวถิ ีชวี ิต คุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น ความเปน็ มาและวัฒนธรรม ประเพณี อันจะสร้างความภาคภูมิใจและจิตสานึกในการดูแลรักษาวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และ เอกลักษณ์ของชาติ เกิดการสืบสานและต่อยอดในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชาติให้สืบต่อไป กรมส่งเสริมวัฒนธรรม จึงได้สนับสนุนงบประมาณให้สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ในการดาเนินงานโครงการ มรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ภายใตโ้ ครงการจดั ทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วฒั นธรรม และจารตี ประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี ๒๕๖๔ สภาวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงราย มกราคม ๒๕๖๕

สารบญั หน้า บทที่ 1 บทนา ๑ ช่ือโครงการ 1 หน่วยงานดาเนินงานหลกั ๒ หนว่ ยงานทีร่ ่วมดาเนินการ ๒ งบประมาณ ๓ วนั เวลา และสถานที่จดั โครงการ ๓ กลมุ่ เป้าหมาย ๕ บทที่ 2 เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ๕ ความหมายมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม หมวดหม่ขู องมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม ๙ - วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา ๑๘ - สาขาศิลปะการแสดง ๑๙ - แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคม พิธีกรรม ประเพณี และงานเทศกาล - ความร้แู ละการปฏิบัตเิ กย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล ๒๐ - งานช่างฝีมือด้ังเดมิ - การเล่นพื้นบ้าน กฬี าพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อส้ปู ้องกนั ตัว ๒๔ กลุ่มชาตพิ นั ธ์ใุ นพื้นทีจ่ งั หวดั เชียงราย อาหาร ๓๙ ผ้าหรือเครื่องนุ่งหม่ ๓๙ ๓๙ บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินกจิ กรรม ๔๐ วธิ กี ารดาเนินกิจกรรม ๔๐ บทที่ 4 ผลการดาเนินกิจกรรม ๕๑ ผลการดาเนนิ กจิ กรรม ๕๑ โซนท่ี ๑ (อ.เมอื งเชียงราย เวียงชัย เวียงเชยี งรุง้ และแม่ลาว) ๕๒ - จานวนผเู้ ขา้ รว่ ม ๕๒ - จานวนศลิ ปินแห่งชาติ/ศลิ ปินพน้ื บา้ น ๕๓ - การจาหน่ายสนิ ค้าทางวฒั นธรรม - จานวนรายได้ที่เกดิ ขนึ้ ทั้งหมด - ภาพการจดั กิจกรรม โซนที่ ๒ (อ.เชยี งของ เวียงแกน่ เทงิ ขนุ ตาล และพญาเม็งราย) - จานวนผูเ้ ขา้ ร่วม - จานวนศลิ ปินแห่งชาต/ิ ศิลปินพ้นื บา้ น - การจาหน่ายสนิ คา้ ทางวัฒนธรรม - จานวนรายได้ทเี่ กดิ ข้นึ ทั้งหมด - ภาพการจดั กจิ กรรม

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า โซนท่ี ๓ (ปา่ แดด พาน แมส่ รวย และเวียงปา่ เป้า) ๖๗ - จานวนผเู้ ขา้ รว่ ม ๖๗ - จานวนศลิ ปินแหง่ ชาติ/ศลิ ปินพนื้ บ้าน ๖๘ - การจาหนา่ ยสนิ ค้าทางวัฒนธรรม ๖๘ - จานวนรายไดท้ ี่เกิดข้ึนทงั้ หมด ๖๙ - ภาพการจดั กิจกรรม โซนท่ี ๔ (เชียงแสน แม่จนั แมส่ าย แม่ฟ้าหลวง และดอยหลวง) ๘๓ - จานวนผู้เข้ารว่ ม ๘๔ - จานวนศลิ ปินแหง่ ชาต/ิ ศลิ ปินพื้นบา้ น ๘๔ - การจาหน่ายสนิ คา้ ทางวัฒนธรรม ๘๕ - จานวนรายไดท้ ่เี กิดขนึ้ ทง้ั หมด ๘๕ - ภาพการจดั กิจกรรม ๑๐๘ บทท่ี 5 สรุปการดาเนนิ กิจกรรม ๑๑๐ ผลทไ่ี ดจ้ ากการจัดโครงการ ๑๑๑ ปญั หาและอปุ สรรค ขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ และประเด็นต้องตดิ ตาม ภาคผนวก

บทท่ี 1 บทนา ชื่อโครงการ โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารตี ประเพณที ้องถิน่ ประจาปี ๒๕๖๔ ๑. กิจกรรมส่งเสริมอัตลักษณ์ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จานวน ๔ ครั้ง โดยแบ่งอาเภอต่าง ๆ ออกเปน็ ๔ โซน ประกอบด้วย โซนท่ี ๑ ประกอบด้วย อาเภอเมอื งเชียงราย อาเภอเวยี งชัย อาเภอเวียงเชียงรงุ้ และอาเภอแม่ลาว โซนที่ ๒ ประกอบดว้ ย อาเภอเชียงของ อาเภอเวยี งแก่น อาเภอเทงิ อาเภอขนุ ตาล และอาเภอพญาเมง็ ราย โซนที่ ๓ ประกอบด้วย อาเภอป่าแดด อาเภอพาน อาเภอแม่สรวย และอาเภอเวยี งปา่ เป้า โซนท่ี ๔ ประกอบด้วย อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่จัน อาเภอแม่สาย อาเภอแม่ฟ้าหลวง และ อาเภอดอยหลวง ๒. กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูลองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านศาสนาวัฒนธรรม และจารตี ประเพณที ้องถนิ่ หน่วยงานดาเนนิ งานหลัก ๒.๑ สภาวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งราย ๒.๒ สภาวัฒนธรรมอาเภอเมอื งเชยี งราย ๒.๓ สภาวัฒนธรรมอาเภอเวียงชยั ๒.๔ สภาวัฒนธรรมอาเภอเวยี งเชยี งรงุ้ ๒.๕ สภาวัฒนธรรมอาเภอแม่ลาว ๒.๖ สภาวฒั นธรรมอาเภอเชยี งของ ๒.๗ สภาวัฒนธรรมอาเภอเวียงแก่น ๒.๘ สภาวัฒนธรรมอาเภอเทิง ๒.๙ สภาวฒั นธรรมอาเภอขุนตาล ๒.๑๐ สภาวฒั นธรรมอาเภอพญาเมง็ ราย ๒.๑๑ สภาวัฒนธรรมอาเภอป่าแดด ๒.๑๒ สภาวฒั นธรรมอาเภอพาน ๒.๑๓ สภาวฒั นธรรมอาเภอแม่สรวย ๒.๑๔ สภาวัฒนธรรมอาเภอเวียงป่าเป้า ๒.๑๕ สภาวฒั นธรรมอาเภอเชียงแสน ๒.๑๖ สภาวัฒนธรรมอาเภอแมจ่ ัน ๒.๑๗ สภาวฒั นธรรมอาเภอแมส่ าย ๒.๑๘ สภาวฒั นธรรมอาเภอแม่ฟา้ หลวง ๒.๑๙ สภาวฒั นธรรมอาเภอดอยหลวง /๒.๒๐ สภาวฒั นธรรม...

-๒- ๒.๒๐ สภาวฒั นธรรมระดบั ตาบลทุกตาบลในจงั หวดั เชียงราย ๒.๒๑ สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย หนว่ ยงานทรี่ ว่ มดาเนนิ การ ๓.๑ ท่ที าการปกครองอาเภอเวยี งเชียงรุง้ (เจ้าภาพอาเภอ โซนท่ี ๑) ๓.๒ ที่ทาการปกครองอาเภอขนุ ตาล (เจา้ ภาพอาเภอ โซนที่ ๒) ๓.๓ ทที่ าการปกครองอาเภอแมส่ รวย (เจา้ ภาพอาเภอ โซนที่ ๓) ๓.๔ ทท่ี าการปกครองอาเภอแมจ่ นั (เจา้ ภาพอาเภอ โซนท่ี ๔) ๓.๕ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งราย ๓.๖ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอขุนตาล อาเภอแม่สรวย และอาเภอแม่จนั ๓.๗ โรงเรยี นอนุบาลองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลปา่ ซาง (สถานที่จดั กิจกรรม โซนท่ี ๑) ๓.๘ เทศบาลตาบลป่าตาล (สถานทีจ่ ดั กจิ กรรม โซนท่ี ๒) ๓.๙ สานกั สงฆ์ปา่ ซางพเิ ชษฐล์ าวัณย์ (สถานทจ่ี ัดกิจกรรม โซนที่ ๓) ๓.๑๐ โรงเรยี นแมจ่ ันวทิ ยาคม (สถานทีจ่ ดั กิจกรรม โซนท่ี ๔) ๓.๑๑ สมาคมศิลปนิ ป่ซี อลา้ นนา เชียงราย (เครอื ขา่ ยทางวัฒนธรรมระดบั จงั หวดั ) ๓.๑๒ ภูมิปัญญาการแพทยแ์ ละหมอพ้นื บ้าน จังหวัดเชียงราย (เครอื ขา่ ยทางวัฒนธรรมระดบั จงั หวัด) ๓.๑๒ เครอื ข่ายทางวัฒนธรรมระดบั อาเภอทุกอาเภอ ๓.๑๓ เครอื ข่ายทางวฒั นธรรมระดบั ตาบลทกุ ตาบล ๓.๑๔ ชมรมกานันผ้ใู หญ่บ้าน ๓.๑๖ กล่มุ พฒั นาสตรี งบประมาณ ๔.๑ งบประมาณรวม เป็นเงนิ - บาท ๔.๒ งบประมาณสมทบจากกรมส่งเสริมวฒั นธรรม เปน็ เงนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ๔๐,๐๐๐ บาท ๔.๒.๑ ค่าจัดสถานที่ ๖๐,๐๐๐ บาท ๔.๒.๒ คา่ อาหารกลางวัน และอาหารวา่ งและเครื่องด่มื ๙๐,๐๐๐ บาท ๔๘,๐๐๐ บาท ๔.๒.๓ คา่ ตอบแทนการสาธิตมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม ๒,๐๐๐ บาท ๔.๒.๔ คา่ เงนิ รางวลั การประกวดขันโตกอาหารชาติพันธุ์ ๑,๐๐๐ บาท ๔.๒.๕ คา่ น้ามันเช้อื เพลงิ ๙,๐๐๐ บาท ๕๐,๐๐๐ บาท ๔.๒.๖ คา่ อาหารว่างและเครอื่ งดื่ม ๔.๒.๗ คา่ รวบรวมขอ้ มลู มรดกภูมปิ ญั ญาของแต่ละอาเภอ ๔.๒.๗ ค่าจดั ทาฐานข้อมลู องคค์ วามรู้มรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม ดา้ นศาสนาวฒั นธรรม และจารีตประเพณีท้องถิน่ /วัน เวลา...

-๓- วนั เวลา และสถานทจ่ี ัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริมอัตลักษณ์ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมลู ด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณที ้องถนิ่ ประจาปี ๒๕๖๔ ประกอบดว้ ย ๕.๑ โซนที่ ๑ (อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอเวียงชัย อาเภอเวียงเชียงรุ้ง และอาเภอแม่ลาว) กาหนดจัดในวันพฤหัสบดีท่ี ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ ณ หอประชุมอาคารเอนกประสงค์ พวงแสด 4 โรงเรียนอนุบาล องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลปา่ ซาง ตาบลป่าซาง อาเภอเวยี งเชยี งรุ้ง จงั หวัดเชียงราย ๕.๒ โซนที่ ๒ (อาเภอเชียงของ อาเภอเวยี งแก่น อาเภอเทงิ อาเภอขุนตาล และอาเภอพญาเมง็ ราย) กาหนดจัดในวันศุกร์ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๔ ณ ศูนย์สุขภาวะเทศบาลตาบลป่าตาล หมู่ 1 ตาบลป่าตาล อาเภอ ขนุ ตาล จงั หวดั เชียงราย ๕.๓ โซนที่ ๓ (อาเภอป่าแดด อาเภอพาน อาเภอแม่สรวย และอาเภอเวียงป่าเป้า) กาหนดจัด ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๔ ณ สานักสงฆ์ป่าซางพิเชษฐ์ลาวัณย์ ตาบลแม่พริก อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ๕.๔ โซนท่ี ๔ (อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่จัน อาเภอแม่สาย อาเภอแม่ฟ้าหลวง และอาเภอ ดอยหลวง) กาหนดจัดในวันศุกร์ที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๔ ณ โรงเรียนแม่จันวิทยาคม ตาบลแม่จัน อาเภอแม่จัน จังหวดั เชยี งราย กลุ่มเปา้ หมาย เครือข่ายทางวัฒนธรรมระดับตาบล ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ผนู้ าชุมชน และประชาชนทัว่ ไป ไมน่ ้อยกว่า ๑๕๐ ราย ตอ่ การจดั กจิ กรรมแต่ละโซน รวมทั้งส้นิ ไมน่ อ้ ยกว่า ๖๐๐ คน /บทท่ี 2...

บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง วัฒนธรรม เป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถิ่นต่าง ๆ ได้พัฒนาและ สร้างสรรค์ขึ้นเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการดาเนินชีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบและวิธีการท่ีหลากหลาย ทั้งใน รูปแบบของวถิ ชี ีวติ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ภมู ิปัญญา และศิลปะ เป็นต้น เพือ่ เปน็ การปลกู จิตสานกึ และ กระต้นุ ให้คนในชุมชนท้องถ่ินเกิดความตระหนัก มีความต่ืนตัว และเข้ามามีส่วนร่วมในการฟ้ืนฟูเผยแพร่ และสืบสาน ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินของตน จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ มีวัฒนธรรมและมีองค์ความรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินทแ่ี ตกต่าง และความหลากหลายในองค์ความร้ภู ูมิปญั ญาและศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นท่ีมกี ารส่ังสม และสบื ทอดมาอย่างตอ่ เนอ่ื งและปรากฏให้เหน็ ในปัจจุบนั การพฒั นาจังหวัดเชียงราย เพอ่ื สรา้ งความเข้มแข็งให้กับ ชุมชนท้องถ่ิน ท่ีสาคัญประการหน่ึงคือ การพลิกฟ้ืน ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินนั้น ๆ ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ภูมิปัญญาในแต่ละสาขา โดยเฉพาะภูมิปัญญาในการประกอบอาชีพเป็นภูมิปัญญาความรู้เชิงศิลป์แขนงต่าง ๆ ที่มีศลิ ปินท้องถน่ิ และศิลปินแหง่ ชาตติ ลอดจนชา่ งฝีมอื ซ่ึงวัฒนธรรมและองค์ความรภู้ มู ิปัญญาดังกล่าวเป็นทรัพยากร ทีส่ าคญั สามารถใชป้ ระโยชน์หรือเกอื้ กลู ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ผูเ้ ป็นเจา้ ของได้ ปัจจุบันวัฒนธรรมท้องถ่ิน ประเพณี และวิถีชีวิตท่ีดีงามขาดการถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นใหม่น้อยมาก ในขณะท่ีความหลากหลายทางวัฒนธรรมจากสังคมภายนอกได้เข้ามาคุกคามสังคมไทยมากขึ้น นอกจากนี้ สังคมไทย ยังเป็นสงั คมท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภาษา และชาติพนั ธ์ุ แตค่ วามหลากหลายดังกล่าวกาลงั ถกู ทาลาย โดยกระแสโลกาภิวัตน์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทาให้การเช่ือมต่อของข้อมูล เป็นไปอย่างท่ัวถึงและรวดเร็ว การพยายามนาความหลากหลายมาเก้ือกูลสังคมไทยถือเป็นภารกิจหน่ึงของกระทรวงวัฒนธรรม แต่วัฒนธรรม เป็นเร่ืองใหญ่ท่ีไม่สามารถดาเนินการได้สาเร็จโดยกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้ังใน ด้านความหมาย คุณค่า และแนวทางการนาวัฒนธรรมมาสร้างประโยชน์ให้กับท้องถ่ินชุมชน และภาคส่วนต่าง ๆ จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิง ท่ีเครือข่ายทางด้านวัฒนธรรมจะเข้ามามีบทบาทสาคัญในการดารงความหลากหลาย ทางวฒั นธรรมของชมุ ชนได้ มรดกทางวัฒนธรรม เป็นรูปแบบของวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์และมีคุณค่าซ่ึงเกิดขึ้นในอดีตและ ได้รับการสืบทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่อีกรุ่นหน่ึง มรดกทางวัฒนธรรมบางอย่างกลายเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรม ที่มีความสาคัญและเป็นความภาคภูมิใจของคนในสังคมสืบเน่ืองมาจนกระทั่งปัจจุบัน ซ่ึงองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ และกฎหมายประเทศตา่ ง ๆ ท้ังในแถบทวีปยุโรปและเอเชยี ไดแ้ บ่ง ประเภทของวัฒนธรรมออกเป็นสองประเภท คือ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ (Tangible Cultural Heritage) เช่น โบราณวัตถุ โบราณสถาน แหล่งโบราณคดีงานจิตรกรรม เป็นต้น และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Int Tangible Cultural Heritage) หรือตามกฎหมายไทยที่เรียกว่า “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” ได้แก่ ภาษา ศิลปะการแสดง งานชา่ งฝมี อื ดง้ั เดมิ เปน็ ต้น /ความหมาย...

-๕- ความหมายมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” หมายถึง การปฏิบัติ การแสดงออก ความรู้ ทักษะ ตลอดจน เครื่องมือ วัตถุ สิ่งประดิษฐ์ และพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนือ่ งกับสิ่งเหล่าน้ัน ซ่ึงชุมชน กลุ่มชน หรือในบางกรณี ปัจเจกบุคคลยอมรับว่า เป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของตน มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมซงึ่ ถ่ายทอด จากคนรุ่นหน่ึงไปยังคนอีกรุ่นหน่ึงนี้ เป็นส่ิงซึ่งชุมชนและกลุ่มชนสร้างขึ้นมาอย่างสม่าเสมอ เพื่อตอบสนอง ต่อสภาพแวดล้อมของตน เป็นปฏิสัมพันธ์ของพวกเขาท่ีมีต่อธรรมชาติและประวัติศาสตร์ของตน และทาให้คน เหล่านั้นเกิดความภูมิใจในตัวตนและความรู้สึกสืบเนื่องก่อให้เกิดความเคารพต่อความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการคดิ สรา้ งสรรคข์ องมนษุ ย์มรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม หมวดหมู่ของมรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม กรมส่งเสริมวฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม ไดจ้ าแนกออกเปน็ 6 สาขา ดังน้ี 1. วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา ภาษา หมายถึง เครื่องมือที่ใช้สื่อสารในวิถีชีวิตของแต่ละกลุ่มชน ซ่ึงสะท้อนโลกทัศน์ ภูมิปัญญา และวฒั นธรรมของแต่ละกลุ่มชน ทั้งเสียงพดู ตวั อกั ษร หรอื สญั ลักษณ์ ภาษา แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ดังตอ่ ไปนี้ (1) ภาษาไทย หมายความว่า ภาษาประจาชาติ หรือภาษาราชการท่ีใช้ในประเทศไทย (2) ภาษาไทยถ่ิน หมายความว่า ภาษาไทยท่ีใช้ส่ือสารในแต่ละภูมิภาค ได้แก่ ภาษาไทยถ่ินกลาง ภาษาไทยถ่นิ อสี าน ภาษาไทยถ่นิ เหนือ และภาษาไทยถ่ินใต้ (3) ภาษากลุ่มชาติพันธุ์ หมายความว่า ภาษาท่ีใช้ติดต่อสื่อสารในชุมชนท้องถิ่นของประเทศไทย เช่น ภาษาเขมรถ่นิ ไทย ภาษามง้ ภาษาชอง ภาษามอแกน ภาษาลอ้ื ภาษาพวน หรอื ภาษาอ่ืนท่มี ลี กั ษณะเป็นภาษาชาติพันธุ์ (4) ภาษาสัญลักษณ์ หมายความว่า ภาษาท่ีใช้ติดต่อสื่อสารด้วยภาษามือ ภาษาท่าทาง อักษร หรอื สญั ลักษณ์อนื่ ทใี่ ช้ในการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร วรรณกรรมพ้ืนบ้าน หมายความว่า เรื่องราวที่ถ่ายทอดอยู่ในวิถีชีวิตชาวบ้าน ด้วยวิธีการบอกเล่าเขียน เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร หรือเป็นภาพ วรรณกรรมพนื้ บา้ น แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ดังต่อไปนี้ (1) นิทานพ้ืนบ้าน หมายความว่า เร่ืองเล่าพื้นบ้านท่ีสืบทอดกันมา เช่น นิทานจักร ๆ วงศ์ ๆ นิทานประจาถิ่น นิทานคติ นิทานอธิบายเหตุ นิทานเร่ืองสัตว์ นิทานเรื่องผี นิทานมุขตลก นิทานเร่ืองโม้ นิทานลูกโซ่ หรอื เรอื่ งเลา่ อ่นื ทมี่ ีลกั ษณะเป็นนิทานพนื้ บ้าน (2) ตานานพื้นบ้าน หมายความว่า เรื่องเล่าท่ีมีความสัมพันธ์กับความเช่ือ ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ พิธีกรรม ศาสนา และประวัตศิ าสตร์ในท้องถิ่น (3) บทร้องพื้นบ้าน หมายความว่า คาร้องที่สืบทอดกันมาในแต่ละโอกาส เช่น บทกล่อมเด็ก บทร้องเล่น บทเกยี้ วพาราสี บทจอ๊ ย คาเซ้งิ หรือคาร้องอ่ืนทม่ี ลี กั ษณะเป็นบทรอ้ งพื้นบ้าน (4) บทสวดหรือบทกล่าวในพธิ กี รรม หมายความว่า คาสวดท่ีใช้ประกอบในพิธีกรรม เช่น คาบูชา คาสมา คาเวนทาน คาให้พร คาอธิษฐาน คาถา บททาขวัญ บทอานิสงส์ บทประกอบการรักษาโรคพ้ืนบ้าน หรือคาสวดอ่ืน ท่มี ลี ักษณะเป็นบทสวดหรือบทกล่าวในพิธีกรรม (5) สานวน ภาษิต หมายความว่า คาพูดหรือคากล่าวที่มีสัมผัสคล้องจองกัน เพื่อความสนุกสนาน หรือใช้ในการส่ังสอน เช่น โวหาร คาคม คาพังเพย คาอุปมาอุปไมย คาผวน หรือคาพูดหรือคากล่าวอื่นที่มีลักษณะ เป็นสานวน ภาษติ /(๖) ปริศนา...

-๖- (6) ปริศนาคาทาย หมายความว่า ข้อความที่ต้ังเป็นคาถาม เพ่ือให้ผู้ตอบได้ทายหรือตอบปัญหา เช่น คาทาย ปัญหาเชาวน์ ผะหมี หรอื ขอ้ ความอ่ืนที่มลี ักษณะเป็นปรศิ นาคาทาย (7) ตารา หมายความวา่ องคค์ วามรู้ท่มี กี ารเขียนบนั ทกึ ในเอกสารโบราณ เชน่ ตาราโหราศาสตร์ ตาราดูลักษณะคนและสตั ว์ ตารายา หรอื องคค์ วามรอู้ ืน่ ทม่ี ลี ักษณะเปน็ ตารา 2. สาขาศลิ ปะการแสดง หมายความว่า การแสดงดนตรี การขับร้อง การรา การเต้น และละครที่แสดงเป็นเรื่องราว ทั้งที่ เป็นการแสดงตามขนบแบบแผน หรือมีการประยุกต์เปล่ียนแปลง การแสดงที่เกิดข้ึนนั้นเป็นการแสดงสดต่อหนา้ ผู้ชม และมีจุดมุ่งหมายเพื่อความงาม ความบันเทิง หรือเป็นงานแสดงท่ีก่อให้เกิดการคิด วิพากษ์ นาสู่การพัฒนา และเปล่ยี นแปลงสงั คม ศิลปะการแสดง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังตอ่ ไปนี้ (1) ดนตรแี ละเพลงรอ้ ง หมายความว่า เสยี งทเ่ี กิดจากเครื่องดนตรีและการขับร้องทป่ี ระกอบกัน เป็นทานองเพลง ทาให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึก และจินตนาการ เพ่ือบรรเลงขับกล่อม ประกอบพิธีกรรม และประกอบการแสดง ดนตรีและเพลงร้อง แบ่งออกเป็น ดนตรีและเพลงร้องในพิธีกรรม ดนตรีและเพลงร้อง ในการแสดง ดนตรีและเพลงรอ้ งเพอื่ การประกวดประชัน ดนตรแี ละเพลงรอ้ งเพ่ือความร่นื เรงิ (2) นาฏศิลป์และการละคร หมายความว่า การแสดงที่ใช้ร่างกายท่วงท่าการเคลื่อนไหว ท่าเต้น ท่าราการเชิด อาจสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับการพากย์ เจรจา การใช้เสียงดนตรี บทร้อง บทละคร และอุปกรณ์ ประกอบการแสดง ซ่ึงสื่อถึงอารมณ์ ความรู้สึก และเร่ืองราวอาจแสดงร่วมกับดนตรีและการขับร้องหรือไม่ก็ได้ นาฏศิลป์และการละคร แบ่งออกเป็น นาฏศิลป์และการละครในพิธีกรรม นาฏศิลป์และการละครท่ีเป็นเร่ืองราว และแสดงเป็นชดุ แตไ่ ม่เป็นเร่อื งราว 3. แนวปฏบิ ัตทิ างสงั คม พธิ ีกรรม ประเพณี และงานเทศกาล หมายความว่า การประพฤติปฏิบัติและการกระทากิจกรรมในแนวทางเดียวกันของคนในชุมชน ทส่ี บื ทอดกันมาบนหนทางของมงคลวิถี นาไปสูส่ งั คมแหง่ สันติสุข แสดงให้เห็นอัตลกั ษณ์ของชุมชนหรือกลุ่มชาติพันธุ์ แนวปฏิบัติทางสงั คม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดงั ต่อไปน้ี (1) มารยาท หมายความว่า การประพฤติปฏิบัติท่ีดีงามต่อผู้อื่น เช่น การแสดงความเคารพ การส่งและการรบั ส่ิงของ การกิน การพดู การยืน การเดิน การนั่ง การนอน การแต่งกาย (2) ประเพณี หมายความวา่ ส่งิ ท่นี ิยมถือประพฤตปิ ฏบิ ตั สิ ืบทอดกนั มาจนเป็นแบบแผนขนบธรรมเนยี ม หรือจารีตประเพณี ซ่งึ เกยี่ วกับศาสนา เทศกาล วงจรชวี ิตทามาหากิน (ก) ประเพณีเก่ียวกับศาสนา เช่น การสวดมนต์ การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า ประเพณี แหเ่ ทียนพรรษา ประเพณีลากพระ ประเพณแี หผ่ ้าข้นึ พระธาตุ (ข) ประเพณีเก่ียวกับเทศกาล เช่น งานสงกรานต์ งานลอยกระทง งานบุญเดือนสิบ งานตานกว๋ ยสลาก งานผีตาโขน งานแขง่ เรือ งานบญุ บ้งั ไฟ (ค) ประเพณีเกี่ยวกับวงจรชีวิต เช่น การเกิด การต้ังชื่อ การบวช การแต่งงาน พิธีบายศรี สู่ขวญั พธิ ีกรรมเหยา ประเพณผี กู เส่ยี ว การขน้ึ บา้ นใหม่ การตาย (ง) ประเพณีเกี่ยวกับการทามาหากิน เช่น พิธีบูชาแม่โพสพ พิธีทาขวัญข้าว พิธีไหว้ครู พธิ ีกรรมขอฝน พิธวี างศิลาฤกษ์ ประเพณีลงเล /๔. ความร.ู้ ..

-๗- 4. ความรู้และการปฏิบัตเิ กีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล หมายความว่า องค์ความรู้ วิธีการ ทักษะ ความเชื่อ แนวปฏิบัติและการแสดงออกที่เกิดจาก การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เพ่ือการดารงชีวิต ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจกั รวาล แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท ดังต่อไปนี้ (1) อาหารและโภชนาการ หมายความว่า สิ่งที่มนุษย์บริโภค รวมถึงวิธีการปรุงและการประกอบอาหาร รูปแบบการบรโิ ภค และคณุ ค่าทางโภชนาการ (2) การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์พ้นื บ้านไทย (ก) การแพทย์แผนไทย หมายความว่า กระบวนการทางการแพทย์เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บาบัด รักษา หรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์หรือสัตว์ การผดุงครรภ์ การนวดไทย และรวมถึง การเตรียมการผลิตยากแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์และเคร่ืองมือทางการแพทย์ ทั้งนี้ โดยอาศัยความรู้หรือตารา ทไี่ ดถ้ ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อกนั มา (ข) การแพทย์พ้ืนบ้านไทย หมายความว่า การตรวจ การวินิจฉัย การบาบดั การรกั ษา การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟ้ืนฟูสุขภาพ โดยใช้องค์ความรซู้ ึ่งสืบทอดกันมาในชุมชนท้องถน่ิ หรือกลุ่มชาติพันธ์ุ ทัง้ นี้ ด้วยกรรมวิธี การแพทยแ์ ผนไทย หรือการแพทย์พ้นื บา้ นไทย (3) โหราศาสตร์และดาราศาสตร์ (ก) โหราศาสตร์ หมายความว่า ความรู้ ความเชอ่ื ในการทานายโชคชะตา ทานายอนาคตของบุคคล และบ้านเมอื งโดยอาศัยตาแหน่งของดวงดาวในเวลาที่เกิดเหตุการณน์ น้ั (ข) ดาราศาสตร์ หมายความว่า ความรู้จากการสังเกตและอธิบายธรรมชาติของดวงดาวและเทหวัตถุ ในทอ้ งฟา้ ทน่ี ามาใช้ในการดารงชวี ิต (4) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมายความว่า ความรู้ในการจัดการระบบนิเวศ เพอ่ื การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยนื (5) ชัยภูมิและการตั้งถ่ินฐาน หมายความว่า ความรู้และความเชื่อในการเลือกท่ีตั้ง เพ่ือการอยู่อาศัย หรอื วตั ถปุ ระสงคอ์ ื่นตามสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของชุมชน 5. งานช่างฝีมอื ดัง้ เดิม หมายความว่า งานที่สร้างสรรค์ขึ้นจากภูมิปัญญา ทักษะฝีมือช่าง การเลือกใช้วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ และกลวธิ ีการสร้างสรรค์ที่แสดงถึงลักษณะเฉพาะ สะทอ้ นพฒั นาการทางสงั คมและวฒั นธรรมที่สืบทอดกนั มา งานชา่ งฝีมือ ดั้งเดิม แบ่งออกเป็น 9 ประเภท ดงั ต่อไปน้ี (1) ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า หมายความว่า งานท่ีสร้างสรรค์ข้ึนจากเส้นใย ด้วยกรรมวิธีในการผลิต เช่น ทอ ถัก ปัก ตีเกลียว มัดหมี่ ขิด ยก จก เกาะล้วง พิมพ์ลาย ย้อม หรือกรรมวิธีอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตผ้า และผลิตภัณฑ์จากผ้า (2) เครือ่ งจักสาน หมายความว่า งานทสี่ รา้ งสรรค์จากวัตถุดิบ ดว้ ยกรรมวิธีในการผลิต เช่น จัก ตอก สาน ถัก ผูกรดั มัด ร้อย หรอื กรรมวิธอี นื่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการผลติ เครือ่ งจกั สาน (3) เครื่องรัก หมายความว่า งานที่ใช้ยางรักเปน็ วัสดุสาคัญ ดว้ ยกรรมวิธีในการผลิต เช่น ถม ทบั ปิดทอง รดนา้ กามะลอ ประดบั มกุ ประดบั กระจกสี ประดับกระดูก ปัน้ กระแหนะ หรือกรรมวิธีอ่ืนที่เกยี่ วข้องกับการผลิตเครื่องรัก (4) เครื่องป้ันดินเผา หมายความว่า งานท่ีสร้างจากดินเป็นวัสดุหลัก ด้วยวิธีการป้ัน ผึ่งแห้ง เผา เคลือบ เหรือวิธีการอื่นท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การผลิตเครอื่ งปัน้ ดนิ เผา /(๕) เครือ่ งโลหะ...

-๘- (5) เคร่ืองโลหะ หมายความว่า งานที่สร้างสรรค์จากโลหะเป็นวัสดุหลัก ด้วยกรรมวิธีในการผลิต เชน่ หลอม เผา ตี หล่อ ตัด ติด ขัด เจยี ร เชอื่ ม หรือกรรมวธิ อี ่นื ท่ีเกีย่ วข้องกบั การผลิตเครือ่ งโลหะ (6) เครอ่ื งไม้ หมายความวา่ งานที่สร้างสรรค์จากไม้เปน็ วสั ดุหลัก ด้วยกรรมวิธีในการผลิต เช่น แปรรปู ตดั เลื่อย แกะ สลัก สับ ขุด เจาะ ถาก กลึง ขูด ขดั ตกแตง่ ผวิ หรือกรรมวิธอี น่ื ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการผลิตเคร่ืองไม้ (7) เครื่องหนัง หมายความว่า งานที่สร้างสรรค์จากหนังสัตว์เป็นวัสดุหลัก ด้วยกรรมวิธีในการผลิต เชน่ หมัก ฟอก ตากแหง้ ตัด เจาะ ฉลุ ลงสี หรอื กรรมวธิ ีอน่ื ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการผลิตเครอ่ื งหนงั (8) เครอื่ งประดับ หมายความวา่ งานทปี่ ระดษิ ฐ์จากวัสดุ เชน่ หนิ เปลือกหอย โลหะมีค่าและอัญมณี ดว้ ยกรรมวธิ ีในการผลิต เชน่ หลอม หล่อ ดงึ ตี ทุบ บุ ดุน เลย่ี ม แกะ สลัก ร้อย เชอื่ ม ติด หรือกรรมวธิ ีอื่นทเ่ี กี่ยวข้องกับ การผลิตเคร่ืองประดับ (9) งานช่างฝมี อื ทีไ่ ม่สามารถจัดอยู่ใน 8 ประเภทท่ีกล่าวมาข้างต้น เช่น ปราสาทศพ งานช่างแทงหยวก หรอื งานอนื่ ที่เกี่ยวขอ้ งกับงานช่างฝมี อื ด้ังเดิม 6. การเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศิลปะการต่อสปู้ อ้ งกนั ตัว หมายความว่า กิจกรรมทางกายและการออกแรง เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน เพ่ือชัยชนะ เพื่อการ ปอ้ งกนั ตวั หรือเพ่อื เชอื่ มความสามัคคี มรี ูปแบบและวธิ กี ารเล่นตามลักษณะเฉพาะของท้องถน่ิ ท่ีปฏบิ ตั ิกนั อยู่ในประเทศไทย และมีเอกลักษณ์สะท้อนวิถีไทย การเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) การเล่นพื้นบ้าน หมายความว่า กิจกรรมการเคล่ือนไหวที่ทาด้วยความสมัครใจ เพ่ือความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไมม่ งุ่ เน้นการแข่งขนั และไม่หวงั ผลแพช้ นะ เช่น จ้าจี้ รรี ีข้าวสาร งกู ินหาง มอญซ่อนผ้า (2) เกมพื้นบ้าน หมายความว่า กิจกรรมการเคลื่อนไหวที่มีลักษณะของการแข่งขัน เพื่อความสนุกสนาน มกี ฎกตกิ าท่ยี อมรบั กนั ในหมู่ผู้เล่น เช่น หมากเกบ็ อตี กั มวยตับจาก ปิดตาตีหมอ้ (3) กีฬาพ้ืนบ้าน หมายความว่า การแข่งขันทักษะทางกายท่ีต้องใช้ความสามารถทางการเคลื่อนไหว ตามกฎกติกา โดยมุง่ หวงั ผลแพช้ นะ เช่น แยล้ งรู แขง่ เรือ ว่งิ ควาย ตะกร้อลอดหว่ ง (4) ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว หมายความว่า วธิ ีการหรอื รูปแบบการต่อสู้หรอื การปอ้ งกันตัวท่ีใชร้ ่างกาย หรืออปุ กรณ์ โดยไดร้ บั การฝึกฝนตามวฒั นธรรมทไ่ี ด้รับการถ่ายทอดกันมา เช่น มวยไทย กระบี่กระบอง ซลี ะ /กล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ...

-๙- กลุม่ ชาตพิ นั ธุ์ในพนื้ ที่จงั หวัดเชียงราย จังหวดั เชยี งรายเป็นจังหวัดหนง่ึ ในแถบภาคเหนือตอนบนท่มี ีประวตั ศิ าสตรย์ าวนานมากกว่า ๗๕๐ ปี มีร่องรอยและปรากฏการณ์การเคล่ือนย้ายและตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในพื้นท่ีมาตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเข้ามาจากประเทศเพ่ือนบ้านโดยผ่านชายแดน โดยเกิดข้ึนหลายระลอก หลายเง่ือนไข หลายปจั จยั มที ง้ั กลุม่ ชาตพิ นั ธ์ดุ งั้ เดิม และกลุม่ ชาตพิ ันธท์ุ ี่อพยพเคล่อื นยา้ ยเข้ามาตง้ั ถน่ิ ฐานอยใู่ หม่ ส่งผลใหส้ ถานะ ทางสังคมแตกต่างกัน การยอมรับการเปิดเผยตนเอง การปรับตัว การคงอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์แตกต่างกันตาม เงื่อนไขของการเข้ามาแต่ละกลุ่มชาติพันธ์ุ นอกจากน้ี ด้วยลักษณะของภูมิศาสตร์และภูมิวัฒนธรรมของจังหวัด เชียงรายมีเขตติดต่อกับจังหวัดอ่ืน ๆ ในภาคเหนือของไทย รวมท้ังมีเขตติดต่อกับชายแดนประเทศเพ่ือนบ้านที่มี การเคลือ่ นย้ายและตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพนั ธ์อุ ยูก่ ระจัดกระจายตามพื้นท่ตี ่าง ๆ ทงั้ พน้ื ท่ีราบ และพื้นที่สงู เช่น ด้านทศิ เหนือ ติดกับประเทศเมียนมาร์ จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดพะเยา ทิศตะวันออกติดกับประเทศลาว เป็นต้น จงั หวดั เชียงรายจึงถือว่าเปน็ อกี จงั หวัดหนึง่ ท่มี ีกลุ่มชาตพิ นั ธุ์อาศัยอยู่หลากหลาย และมีการกระจายตัวทัว่ จังหวัดเชียงราย ซงึ่ แตล่ ะกลุ่มชาติพนั ธน์ุ นั้ กย็ ังคงมีลักษณะสงั คมและวัฒนธรรม รวมถงึ อกั ลกั ษณข์ องชาตพิ ันธทุ์ ีแ่ ตกต่างกนั ออกไป ท้ังน้ี จังหวัดเชียงราย มีกลุ่มชาติพันธุที่กระจายอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีอาเภอต่าง ๆ โดยแบ่งออกเป็น ๑๘ ชาติพันธุ์ ดังนี้ ๑. ไทยวน กลุ่มชาติพันธุ์ไทยวน เป็นชนกลุ่มใหญ่ที่อาศัยอยู่ในดินแดนล้านนามาเป็นเวลานาน เรียกตนเองว่า “คนเมือง” มีการกระจายกันอยู่ท่ัวจังหวัดเชียงราย เพียงแต่มีต้นกาเนิดที่สามารถบ่งช้ีอัตลักษณ์ได้ชัดเจนที่สุดคือ ที่อาเภอเชยี งแสน ชาวไทยวนเป็นสังคมเครือญาติอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการสร้างบ้านอยู่ในรั้วเดียวกัน มีการปลูกบ้าน สามารถเชอ่ื มตอ่ กันไปมาได้ สามารถเรียกระบบครอบครัวเช่นนี้ว่า “แบบครอบครวั รวม” และชาวไทยวนจะถือญาติฝ่าย แมเ่ ป็นสาคญั ดังทกี่ ฎจารีตของการแตง่ งานตอ้ งเขา้ บ้านฝ่ายหญิงและลูกหลานตอ้ งนับถือญาติฝา่ ยหญงิ อัตลักษณ์ท่ีโดดเด่นในเร่ืองความเช่ือพ้ืนฐานของชาวไทยวน เช่น ความเชื่อพ้ืนบ้านท่ีสืบทอดมา จากบรรพบุรุษ ความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ ความเชือ่ ในศาสนาพุทธ ทงั้ สามความเชอื่ น้ีไดถ้ กู บูรณาการผสมผสาน เปน็ ชุดความเช่ือในวฒั นธรรม ศาสนา และมีบทบาทตอ่ วิถชี วี ติ และพฤติกรรมของชาวไทยวนในล้านนา ชาวไทยวนมอี ัตลักษณ์ทางพธิ กี รรมเก่ยี วกับผ้าทอไทยวน ในพิธีกรรมเก่ียวกบั การเกิด ในอดีตมกี ารทอผ้า พื้นเมืองไทยวนไว้ใช้เป็นของกานัลสาหรับคนทาคลอดหรือหมอตาแย เพ่ือแสดงถึงความขอบคุณ หลังจากคลอด เดก็ แลว้ แมจ่ ะนาทีเ่ ตรียมไวห้ ่อเมือ่ เดก็ คลอดออกมา ในพธิ บี วช คนไทยวนมคี วามเชือ่ เล่ือมใสในพระพุทธศาสนาว่า มารดาผู้ทที่ อผ้าใหน้ าคไดส้ วมใส่ ในพธิ ีจะได้รบั อานิสงสไ์ ม่นอ้ ยไปกว่าลกู ชายท่ีมโี อกาสไดอ้ อกอปุ สมบท /ไทใหญ่...

- ๑๐ - ๒. ไทใหญ่ (Shan) กลุ่มชาติพันธ์ุไทใหญ่ กระจายตัวตั้งถ่ินฐานอยู่ใน ๘ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอ แม่สาย อาเภอพาน อาเภอแม่ฟา้ หลวง อาเภอแมจ่ ัน อาเภอเชียงของ อาเภอเชยี งแสน และอาเภอแมส่ รวย การปกครองของชาวไทใหญ่ ในอดีตจะมีผู้นาชุมชุมเป็นผู้นาในการปกครองคนในหมู่บ้าน แต่ใน ปัจจบุ ันการปกครองจะเปน็ ไปตามระเบียบการปกครองของประเทศไทย ระบบเครือญาติและระบบอาวุโส เป็นพ้ืนฐานความสัมพันธ์ทางสังคมของชาวไทใหญ่ แต่ระบบ เครือญาตจิ ะมีผู้อาวโุ สเป็นกลไกสาคญั ในการสรา้ งความสัมพนั ธ์ ซึ่งระบบเครอื ญาติจะมีคาเรียกแบ่งไปตามร่นุ และ ลาดับอายุ เช่น พ่ี ป้า นา้ อา ปู่ ย่า ตา ยาย เป็นต้น โดยป่ยู ่าตายายเปน็ ผู้อาวุโสสูงสดุ และมีความสาคัญต่อสมาชิกในครอบครัว ระบบครอบครัวของชาวไทใหญ่จะอาศัยอยรู่ ่วมกันในระบบเครือญาติ เร่ิมต้นจากหน่ึงครัวเรือน ประกอบด้วย พ่อ แม่ และลูก รวมถึง ปู่ ย่า ตา ยาย หรือลูกพ่ีลูกน้อง มีพ่อเป็นผู้นาครอบครัวทาหน้าท่ีดูแล คนในครอบครวั การแบง่ พื้นท่ใี ชส้ อยชายและหญิงใหค้ วามสาคัญกับเพศชายมากกว่าเพศหญิง การสัก เป็นอัตลักษณ์การแสดงการยอมรับและเกิดความสัมพันธ์กันระหว่างกลุ่มชนต่าง ๆ ในกลุ่มชาติพันธ์ุไทใหญ่ เป็นความเชื่อท่ีสัมพันธ์กับจารีตประเพณี เหตุท่ีการสักมีอิทธิพลต่อไทใหญ่ในอดีต เน่ืองจากต้องเผชิญศึกสงครามและการอพยพหนีภัย จึงต้องมีการสักอย่างแพร่หลายเพ่ือสร้างขวัญและกาลังใจ ลดความหวาดกลวั ภัยจากอันตรายต่าง ๆ ศิลปะการแสดงที่มีเอกลักษณ์ ได้แก่ การฟ้อนนกกิ่งกะหล่า ราโต ในด้านสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น เป็นการก่อสร้างวัด หรือ จอง ในภาษาไทใหญ่ นิยมสร้างอาคารต่าง ๆ ประกอบด้วย อุโบสถ วิหาร หอฉัน กุฏิสงฆ์ อยู่ติดกันในลักษณะเรือนหมู่แบบคนไทย แต่สร้างหลังคาของอาคารต่าง ๆ ทรงยอดปราสาทแบบพม่ามอญ เรียกว่า ทรงพญาธาตุ ชาวไทใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุเดียวในล้านนาที่นิยมทานข้าวเจ้าเป็นหลัก ใช้ผักเป็นวัตถุดิบหลัก ในการประกอบอาหาร โดยเครื่องปรงุ ได้มาจากพชื ผักธรรมชาติ เช่น พริก เกลือ หอม กระเทียม เคร่ืองปรุงสาคัญ ทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์ของอาหารไทใหญ่คอื “ถ่วั เน่า” ๓. ไทลื้อ กลุ่มชาติพันธ์ุไทล้ือ กระจายตัวตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ๑๐ อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จัน อาเภอขุนตาล อาเภอเชียงของ อาเภอเทิง อาเภอเวียงแก่น อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอเชียงแสน อาเภอพาน และอาเภอแมส่ าย ลักษณะความสัมพันธ์ทางครอบครัวและเครือญาติ เป็นระบบอาวุโส การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ จะรับฟังคาแนะนาของครอบครัวและผู้อาวุโสเป็นหลัก ครอบครวั ของกลมุ่ ชาตพิ ันธไุ์ ทลื้อเป็นครอบครัวแบบขยาย หากมีการแต่งงาน ฝ่ายชายจะยา้ ยเข้าอย่ใู นบ้านของครอบครัวฝา่ ยหญิงเพอื่ เป็นแรงงานแกค่ รอบครวั ฝ่ายหญงิ วัฒนธรรมของชาวไทลื้อน้ันเกี่ยวเน่ืองกับพุทธศาสนาอย่างมากซ่ึงคล้ายกับทางล้านนา โดยพิธีกรรม ที่เป็นอัตลักษณโ์ ดดเดน่ คอื พธิ ีกรรมแหพ่ ระอปุ คุต จะมีขึน้ ก่อนพธิ ีการสาคญั เชน่ หากจะมงี านระดับชุมชน เช่น “ตานหลวง” หรืองานฉลองวิหาร ศาลา กุฏิ กาแพงวัด ฯลฯ ชาวไทลื้อจะมีการแห่อัญเชิญพระอุปคุตเพ่ือมาช่วยห้ามมาร ช่วยรักษางาน ไมใ่ หม้ ารท้ังหลายหรอื สงิ่ ช่วั ร้ายทั้งหลายมารบกวน อาหารของชาติพันธ์ุไทลื้อ ที่มีเอกลักษณ์และเป็นเมนูหารับประทานยาก คือ “ลูกอ๊อดเขียดคั่ว ไทลอ้ื โบราณ” /๔. ไทยอง...

- ๑๑ - ๔. ไทยอง กลุ่มชาติพันธุ์ไทยอง กระจายตัวต้ังถิ่นฐานอยู่ใน ๔ อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จัน อาเภอพาน และอาเภอเชยี งแสน พธิ ีกรรมของกลมุ่ ชาติพันธ์ไุ ทยองน้ันมบี ทบาทในการเชอ่ื มโยงความสมั พันธ์ฉนั ท์เครอื ญาติของคน ในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงซึ่งต้องพ่ึงพากันในฤดูกาลหรือเทศกาลต่าง ๆ พิธีกรรม ความเชื่อ ส่วนใหญ่เป็น การปฏิบัติพิธีทางพุทธศาสตร์บนพื้นฐานแบบพราหมณ์ อันประกอบด้วย ความเช่ือด้านไสยศาสตร์ การนับถือผี การสักการะเทวดาประจาบ้าน ประจาเมือง เทวดาประจา พระธาตุ ผีปู่ย่า หรือแม้กระท่ังการเรียกขวัญ สู่ขวัญ สง่ เคราะห์ เป่าคาถา เป่ากระหม่อม อัตลักษณ์งานประเพณีและกจิ กรรมในรอบปขี องชาวไทยองมักเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณทผี่ ่านประเพณีทางศาสนา เชน่ การสรงน้าพระธาตแุ ละพระพุทธรูป การตานสลากภัต ส่วนประเพณี ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตในการแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ บุพการี ผู้ใหญ่ที่นับถือ เช่น การฟ้อนผี การรดน้าดาหัว พธิ เี ลย้ี งบูชาใจบา้ น อัตลักษณ์ในการทอผ้าของชาวไทยอง จะใช้เทคนิคการขิด (Continuous Supplementary Weft) เป็นเทคนิคทชี่ าวไทยองคุ้นเคยและทอสืบทอดกันมานาน ๕. ไทยอสี าน (Tai Esan) กลุ่มชาติพันธ์ุไทยอีสานกระจายตัวต้ังถ่ินฐานอยู่ใน ๖ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอ เชียงแสน อาเภอดอยหลวง อาเภอปา่ แดด อาเภอเทงิ และอาเภอเวยี งชยั ระบบเครือญาติของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวอีสานในอดีต จะมีการนบั ถือญาติทั้งสองฝ่าย เม่ือชายหญงิ แต่งงานแล้วจะอาศัยอยู่บา้ นฝ่ายหญงิ ระยะหนึ่ง หลังจากนั้นจะย้ายออกไปตัง้ เรอื นใหม่ ลูกสาวมักได้รบั มรดกจาก พ่อแมแ่ ละมกั จะอาศยั อยกู่ ับพอ่ แม่ของตนหลังจากแตง่ งาน อัตลักษณ์ในงานช่างฝีมือของชาวไทยอีสานการถักทอผ้า การสานเสื่อ และสานเคร่ืองใช้จากกก มีลายเป็นเอกลกั ษณ์ของตนเองท่คี ล้ายกบั ลายบนผ้าถงุ หรอื ผ้าซน่ิ ชาวไทยอีสาน ยึดมั่นในจารีตประเพณี ดาเนินชีวิตตาม \"ฮีตสิบสอง\" (คือกิจกรรมประเพณี ในรอบ ๑๒ เดือน) นบั ถือศาสนาพุทธแบบชาวบ้าน คือ พุทธศาสนาทปี่ รบั เข้ากับจารีตของชาวบา้ นมงุ่ ทจ่ี ะส่ังสอน ให้เปน็ พลเมืองดี ๖. ไทเขนิ (Tai Kern) กลมุ่ ชาติพันธ์ุไทเขิน กระจายตัวต้ังถ่นิ ฐานอยู่ใน ๓ อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอแมส่ าย อาเภอเชยี งแสน และอาเภอเมืองเชยี งราย โครงสร้างทางสังคมของชาวไทเขิน จะมีการนับญาติท้ังญาติจริง ญาติจากการแต่งงาน และสืบทอด มรดกจะมีการนับถืออาวุโสตามอายุ โดยมีการครองคู่ในลักษณะผัวเดียวเมียเดียว และไม่พบปัญหาการหย่าร้าง และชสู้ าว หากเกิดปัญหาจะมีผู้อาวโุ สชาวไทเขนิ เป็นผู้ไกล่เกลี่ย ในอดีตชาวไทเขิน จะกระจายไปตามกลุ่มบ้านภายในเมือง มีท้ังการปลูกเรือนแบบเก่า คือ ก่อสรา้ งดว้ ยไม้หรอื ก่ออฐิ แดงและมงุ หลังคาด้วยดินขอเช่นเดียวกับบ้านเรอื นในชนบท ซ่งึ ปลกู เรอื นในแบบเรยี บง่าย มีใต้ถุน เรอื นบนเป็นหอ้ งโถง ห้องนอน หอ้ งครัว และชานบา้ น /ศิลปะ...

- ๑๒ - ศิลปะการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์คือ การฟ้อนนางนก หรือ ฟ้อนกินรีกินรา เป็นศิลปะการแสดง ของทั้งชาวไทเขินและชาวไทใหญ่ เป็นการฟ้อนเลียนแบบการเคลื่อนไหวของกินนร และการฟ้อนมองเซิ้งใช้แสดง ในงานบญุ ฉลองสมโภชและขบวนแห่ต่าง ๆ งานหัตถกรรมพื้นบา้ นของชาวไทเขนิ ไดแ้ ก่ การทาตุง คอื ธง หรือ ธงตะขาบ แบ่งเปน็ ๒ ประเภท คอื ตงุ มงคล ตงุ รปู คน ตงุ ไส้จา๊ ง และตงุ อวมงคล ๗. ลาหู่ (Lahu) กลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่มกี ารกระจายตัวตามเขตพ้ืนที่ต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงรายเป็นจานวนมาก ซึ่งจะ สามารถพบกลุ่มชาติพันธ์ุลาหู่กระจายตัวตั้งถ่ินฐานอยู่ใน ๑๓ อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จัน อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอเชียงแสน อาเภอเชียงของ อาเภอเวียงแก่น อาเภอแม่สาย อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเทงิ อาเภอพาน อาเภอเมอื งเชยี งราย และบ้านปุยคา ตาบลป่าอ้อดอนชัย อาเภอแม่ลาว โครงสรา้ งการปกครองในอดตี ประกอบดว้ ย อาดอ (คะแซ) หรือผนู้ ำหมูบ่ ้าน โตโบ คือ พระหรอื นักบวช จาหลี๋ คือช่างตีเหล็ก ในปัจจุบัน นอกจากมีการปกครองตามจารีตประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา ท้ังน้ี ยังมีการปกครองโดยผใู้ หญบ่ า้ น และผูน้ าชมุ ชนทไ่ี ด้รับการแต่งต้งั ขนึ้ มาจากสว่ นราชการอีกดว้ ย ลักษณะบ้านเรือนของชาวลาหู่ในปัจจุบันจะมีลักษณะผสมผสานกับโครงสร้างสมัยใหม่ มีท้ัง บ้านชั้นเดียว หรือบ้านแบบปลูกยกพื้นใต้ถุนบ้าน บางบ้านมีการแยกส่วนระหว่างตัวบ้าน ห้องครัว และบริเวณ เล้ียงสัตว์ออกจากกันอย่างชัดเจน แต่ก็ยังสามารถพบลักษณะบ้านเรือนท่ีคล้ายคลึงกับแบบด้ังเดิมได้ในบางพื้นที่ คอื ปลกู ยกพื้นใต้ถนุ บา้ น ส่วนของใต้ถุนบ้านนัน้ มกี ารเลี้ยงสตั ว์ งานหัตถกรรมปักผ้าเอกลักษณ์ลวดลายการปักผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ได้รังสรรค์ลวดลาย ของตนเองกับส่ิงต่าง ๆ ที่เปล่ียนแปลงไปท้ังจากลักษณะของธรรมชาติ บางลวดลายจะเก่ียวข้องกับชีวิตการเป็น นักลา่ สัตว์ ตลอดจนถึงลวดลายที่มีที่มาจากความเชือ่ เรื่องผี วญิ ญาณ และลวดลายท่ีมคี วามสอดคลอ้ งกับความเช่ือ ในพระคมั ภรี ์ของครสิ ต์ศาสนา เช่น ลายง้าแป่ (ตาข่าย) ลายอ๊าเผ่เว้ (ลายดอกพริก) อ่าพู้ (ลายน้าเตา้ ) เป็นตน้ การเต้นจะคึ (ปอย เต เว) เป็นการเต้นราในวันสาคัญเช่น วันศีล งานประเพณีปีใหม่กินวอ หรือแสดงเพื่อต้อนรับและขอบคุณแขกที่มาร่วมพิธีกรรม การเต้นจะคึจะเป็นการเต้นเป็นจังหวะ โดยจะมีท่าทาง ประกอบหลากหลายทา่ อยา่ ง พรอ้ มเพรียงกัน เช่น ท่าเกยี่ วข้าว ทา่ ตักข้าว และ ทา่ ตขี า้ ว เปน็ ต้น ๘. ลซี ู (Lisu) กลุ่มชาติพันธ์ุลีซูกระจายตัวตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ๘ อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเมือง เชยี งราย อาเภอแมส่ รวย อาเภอแม่จัน อาเภอเวยี งป่าเป้า อาเภอพาน อาเภอเวียงชยั และบา้ นเวียงราชพลี ตาบลดงมหาวัน อาเภอเวียงเชียงร้งุ โครงสรา้ งการปกครองในอดีต ประกอบด้วย ฆว่าทวู ์ โชโหม่วโชตี มือหมือผะ และหน่ผี ะ แต่ในปจั จุบัน มกี ารปกครองโดยผู้ใหญ่บา้ น และผู้นาชมุ ชนทีไ่ ดร้ บั การแต่งตั้งขึ้นมา และมีกฎระเบียบของชมุ ชนท่ีกาหนดเพ่ิมขน้ึ มา บ้านเรือนของชาติพันธุ์ลีซู ยังสามารถพบเห็นลักษณะบ้านที่คล้ายคลึงกับในอดีตท่ีผ่านมา ซึ่งหลังคาบ้านยงั เป็นการมงุ หลังคาด้วยหญ้าไพ รวมถึงลกั ษณะบ้านท่ีทันสมยั โครงสร้างท่ใี ชว้ ัสดุที่ทนทานแข็งแรง แปรเปล่ียนไปตามกาลเวลา /ในปัจจบุ นั ...

- ๑๓ - ในปัจจบุ นั นิยมประกอบอาชีพทาการเกษตรเปน็ อาชพี หลัก ได้แก่ การปลูกขา้ ว ข้าวโพด ถั่วเหลอื ง ขงิ สวนลิ้นจี่ และการทาสวนแบบผสมผสาน ยังมีการท่องเท่ียว การทาโฮมสเตย์ อาทิเช่น ในหมู่บ้านปางสา อาเภอแม่จัน มีการทาปางสาโฮมสเตยท์ ีด่ าเนินการโดยคนในชมุ ชน การแต่งกายของผู้หญิงชาติพันธ์ุลีซู ท่ีทุกวัยจะแต่งกายด้วยผ้าสีสดใส สวมใส่เสื้อตัวหลวม แขนกระบอก สว่ นกางเกงมีการเปล่ยี นแปลงไปจากในอดีตโดยหนั มาใช้ผ้าทมี่ สี สี ันสดใสมากขึ้น การเต้นรา ร้องเพลงกนั อย่างสนกุ สนานในประเพณตี ่าง ๆ โดยเฉพาะประเพณสี าคญั เชน่ ประเพณปี ีใหม่ หรอื เรียกกวา่ “โข่เซย่ีย” ทาให้ชาติพนั ธ์ุลีซมู ีการสร้างเครอ่ื งดนตรขี องตนเอง เชน่ ฝหู่ ลู ชือบอื และหย่ีลุ เป็นต้น การถนอมอาหารเพื่อที่จะสามารถเก็บไว้กินในยามแล้ง ได้แก่ ผักกาดดอง ผักกาดตากแห้ง ไส้กรอก หมรู มควนั รากหอมชูดอง เป็นต้น ๙. อาข่า (Akha) กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์อาข่ากระจายตัวต้งั ถิน่ ฐานอยู่ใน ๑๒ อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่ฟา้ หลวง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จัน อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอพาน อาเภอเวียงชัย อาเภอเชียงแสน อาเภอเวียงเชียงรงุ้ อาเภอแม่สาย อาเภอเชยี งของ และอาเภอแมล่ าว ในสงั คมอาข่า สมาชิกครอบครัวจะมสี ัมพันธ์กนั แบบเครือญาติ ความเป็นญาติเกิดขึน้ ทางสายบรรพบุรุษ คนอาข่าจะถือการสบื สกุลสายบิดาเป็นหลัก บุตรชายคนโตถอื ว่าเป็นผ้สู บื สกุลและเป็นผู้รักษาสบื ทอดประเพณี กลุ่มชาติพันธุอ์ าข่าในอดีตถอื ได้ว่าเป็นกลมุ่ ทไ่ี ม่มี “ศาสนา” แตม่ ีคาว่า “บัญญัติอาขา่ ” ซึ่งครอบคลุม ไปถงึ ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละพิธกี ารทุกอยา่ งในการดาเนินชีวติ มีความเชือ่ ในเรือ่ งผี โชคลาง และการเสีย่ งทาย อตั ลกั ษณท์ างพิธกี รรมโล้ชงิ ช้า หรอื “แยะขู่ อา่ โผ่ว จาแบ” พธิ ีนที้ าหลงั จากพธิ ีปลกู ข้าวคร้ังแรก เพือ่ เป็นการฉลองและระลึกถึงและยกย่องวีรบุรุษชาวอาขา่ คอื “แยะขู่” ผ้สู ร้าง หรือ “อา่ โผ่ว หมี่แยะ” ผู้ซ่งึ ไดย้ อม สละชีวิตเพ่ือชาวอาขา่ ในอดีตเพ่ือต่อสู้กับแมลงศัตรพู ืช ในพิธีน้ีมีการสร้างและโล้ชิงช้าขนาดใหญ่เรียกวา่ “หล่ะเฉอ” เพือ่ เปน็ การฉลองชยั ชนะของชาวอาข่าท่ีมีตอ่ แมลงศัตรพู ชื ปีใหม่ลูกข่าง (ค๊าท้องอ่าเผ่ว) เป็นประเพณีเปลี่ยนฤดูกาลทามาเลี้ยงชีพ เป็นประเพณีที่แสดงให้เห็น ถึงการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลทามาหากิน ถือเป็นประเพณีของผู้ชาย โดยผู้ชายทั้งเด็กและผู้ใหญ่จะมีการทาลูกข่าง “ฉอ่ ง” แล้วมีการละเล่นแขง่ ตกี ันเพื่อฉลองการเปลี่ยนแปลงวัยที่มอี ายุมากข้นึ ๑๐. อ้วิ เมยี่ น (Yumian) กลมุ่ ชาตพิ ันธอุ์ ิว้ เมี่ยน กระจายตวั ต้งั ถิน่ ฐานอยูใ่ น ๑๔ อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองเชยี งราย อาเภอ เชียงแสน อาเภอเวียงแก่น อาเภอดอยหลวง อาเภอแม่ฟ้าหลวงอาเภอแม่สรวย อาเภอแม่จันอาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเทิง อาเภอพาน อาเภอขุนตาล อาเภอเชียงของ และอาเภอแมล่ าว ชาวอ้ิวเมี่ยนมีทัศนคติที่นิยมความเป็นอิสระ ประกอบกับการตั้งหมู่บ้านอยู่อย่างกระจัดกระจาย เป็นผลให้ระเบียบการปกครองแบบเดิมเป็นระบบท่ีนิยมยดึ ถืออยู่อย่างยืดหยุ่น ไม่มีผู้นาชาติพันธุ์ที่มีอานาจสงู สดุ ดังน้ัน ชุมชนอิ้วเม่ียนจึงต่างเป็นอิสระไม่ข้ึนต่อกัน ในแต่ละชุมชนจะมีหัวหน้าหมู่บ้าน ผู้ประกอบพิธีกรรม และคณะผู้อาวุโส เป็นผู้นาที่มอี านาจทางการเมืองการปกครอง ครอบครวั ของอวิ้ เมี่ยนน้นั ส่วนมากจะเป็นครอบครวั ขยาย คอื มคี ู่สมรสในครอบครวั หลายคู่ เช่น ปู่ - ยา่ พอ่ - แม่ ลูกชาย- ลกู สะใภ้ และหากครอบครวั ใดมลี ูกชายหลายคน ก็อาจจะมีคูส่ มรสมากขน้ึ สมาชิกในครอบครัวก็อาจจะ มีตั้งแต่ ๒- ๒๐ คน ซง่ึ ประกอบด้วย ปู่ ย่า บดิ า มารดา ลกู ชาย ลกู สะใภ้ ลูกสาวท่ยี งั ไมแ่ ตง่ งาน หลาน (ลูกของลูกชาย) /ลกั ษณะ...

- ๑๔ - ลักษณะการปักผ้าของชาวอวิ้ เม่ยี นจะแตกต่างจากชาตพิ นั ธอุ์ ่ืน โดยจะปกั ผ้าจากด้านหลังผ้าข้ึนมา ดา้ นหน้าของผา้ ดงั นั้น จึงตอ้ งจบั ผ้าให้ด้านหนา้ คว่าลง เมื่อปกั เสรจ็ แต่ละแถวแลว้ ก็มว้ นและใช้ผ้าหอ่ ไว้อีกช้ันหน่ึง เพอ่ื ป้องกันส่งิ สกปรก ชาวอิ้วเมี่ยนมวี ธิ ีการปักลายผ้า ๔ แบบ ไดแ้ ก่ การปกั ลายเสน้ (กว่ิ กวิ่ ) การปกั ลายขัด (โฉง่ เกียม) การปักลายแบบกากบาท (โฉง่ ทวิ ) และการปักไขว้ (โฉ่ง ดับ ยบั ) การแสดงราถาดเป็นการแสดงที่จัดแสดงข้ึนเพ่ือต้อนรับและอวยพรแขกในงาน โดยใช้ถาดเป็น อุปกรณ์ประกอบการแสดงกเ็ พื่อสื่อถึงธรรมเนียมการต้อนรับแขกของชาวอิว้ เม่ียนท่ีมักจะนาถ้วยนา้ ชาวางบนถาด และยกไปต้อนรบั แขก ๑๑. ลัวะ (Lua) กลุ่มชาติพันธ์ุลัวะกระจายตัวตั้งถ่ินฐานอยู่ใน ๑๐ อาเภอได้แก่ อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอพาน อาเภอแม่จัน อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่สาย อาเภอแม่ลาว อาเภอเชียงของ และอาเภอแม่สรวย ระบบเครือญาติของลัวะมีระบบการแต่งงานแบบผัวเดยี วเมียเดยี ว โดยฝ่ายหญิงจะเข้าไปอยู่บ้าน ฝ่ายชายและนับถือผบี รรพบรุ ษุ ฝา่ ยชาย บตุ รที่เกิดมา อยูใ่ นสวยเครอื ญาติของฝ่ายพอ่ ในครวั เรือนหนึ่ง ๆ โดยทั่วไป ประกอบดว้ ยสามี ภรรยา บตุ ร บุตรชายคนโตต้องไปสรา้ งใหม่เม่ือแตง่ งาน ชาวลัวะมีวัฒนธรรมประเพณีพื้นฐานจาก การนับถือผี ความเชื่อเรื่องผี แม้ส่วนใหญ่ถือพุทธ แต่ก็ไม่ทิง้ การนบั ถอื ผี พธิ กี รรมทป่ี ฏบิ ตั ิตามกลุ่มเครือญาติ “ผตี ระกูล” ความเช่อื ทส่ี ืบทอดกนั มามีเหนยี วแน่นมาก ดังนี้ การเล้ียงผีหลักเมือง (โนก สไปต) การเล้ียงผีตะตู (โนก ตะตู) การเลี้ยงผีหัวบันใด (โนกไกญโบง) การเล้ียงผี เรยี กขวญั (โนกรบกุ ) และการเลีย้ งผีไร่, นา ๑๒. ขมุ (Khamu) กลุ่มชาติพันธุข์ มุกระจายตวั ตั้งถน่ิ ฐานอยู่ใน ๒ อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเชียงของ และอาเภอเวยี งแก่น โครงสร้างการปกครองในอดีต เป็นสังคมที่ยอมรับระบบอาวุโส ผู้มีอานาจจึงประกอบไปด้วย ตวั แทนของทุกสายตระกูล หรอื คณะผูอ้ าวุโส มบี ทบาทในการตัดสนิ ใจแทนคนในชุมชนได้ แตป่ จั จุบันภาครัฐได้จัด ระเบียบการปกครอง จึงมีการปกครองที่เป็นรูปแบบทางการ กล่าวคือ มีผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย และคณะกรรมการ หมูบ่ า้ น จงึ มีผลทาให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งอานาจแบบใหม่ การนับถือศาสนาในปัจจุบันนี้หันมานับถือศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์มากข้ึน ดังนั้น จึงลด การประกอบพิธีกรรมรูปแบบเดิมอัตลักษณ์ทางความเช่ือจึงมีลักษณะที่ผสมผสานกัน เช่น เม่ือมีการข้ึนบ้านใหม่ ก็จะเอาพระสงฆ์ ปู่จารยห์ รอื มคั นายก ประกอบพธิ บี า้ นใกลเ้ รือนเคยี ง หรอื ท่ีตนรจู้ กั มาประกอบพธิ ีกรรมดว้ ย การแต่งกายของคนขมุนั้นส่วนใหญ่ยังคงมีความเช่ือที่เช่ือมโยงกับถิ่นฐานบ้านเกิดเดิมอยู่น่ันคือ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว การแต่งกายของผหู้ ญิงมอี ัตลักษณ์ คือผ้าโพกหัวสีแดง การขบั รอ้ งเพลง ท่เี ป็นเสมอื นชีวิตจติ ใจ บทเพลงทีข่ บั ขานออกมาสะทอ้ นความรู้สึกของคนขมุ อาหารชาติพันธ์ุขมุมีเอกลักษณ์ด้านรสชาติท่ีแตกต่างไปจากชาติพันธุ์พ้ืนเมือง ซึ่งแม้จะมีวัตถุดิบ ที่คล้ายคลงึ กัน แตก่ ารใชเ้ ครอื่ งปรุงรสมคี วามแตกต่างกนั โดยชาวขมุจะไม่นิยมใสเ่ คร่ืองปรุงรสสมัยใหม่ /๑๓. ดาราอ้ัง...

- ๑๕ - ๑๓. ดาราอั้ง (Dara-ang) กลมุ่ ชาติพนั ธุด์ าราอ้ัง กระจายตัวตัง้ ถ่ินฐานอยู่ใน ๒ อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอแม่สาย และอาเภอเชยี งแสน ในอดีตชาวดาราอ้ัง มผี ูน้ าที่จะดูแล เรยี กว่า “พ่อใหญ่” จะมีหน้าทีเ่ หมอื นหัวหนา้ ชาติพันธ์ุ ทุกคน ในชาติพันธ์ุ ตอ้ งเช่ือฟงั คาสงั่ ทกุ อย่างทีพ่ อ่ ใหญ่ไดบ้ อก ในปจั จุบันมีการปกครองที่เป็นรปู แบบทางการ ชาวดาราอั้ง จะยึดถือคติธรรมคาสอนของพระพทุ ธเจ้าอย่างเคร่งครัด วิถีชีวิตของชาวบ้านอยู่กนั อยา่ งสุขสงบ ปราศจากอบายมขุ มปี ระเพณบี ้านทเ่ี กี่ยวพนั กับพทุ ธศาสนาอย่างแนน่ แฟ้น พอ่ แมช่ าวดาราอ้ัง จะยึดถือธรรมเนียมปฏิบตั ิเช่นเดยี วกับชาวพุทธโดยทว่ั ไป คอื การสนบั สนุนให้ ลกู ชายบวชเณรเพ่อเลา่ เรียนธรรมะ และบวชพระ เพ่อื แผ่สว่ นบญุ ส่วนกศุ ลใหแ้ ก่บิดามารดา ชาวดาราอัง้ มฝี ีมือในการทอผ้า ซึ่งเกอื บทกุ หลังคาเรือนจะมีการทอผา้ เพื่อเอามาใช้ในการตัดเสื้อ และผา้ ซิ่น ในการสวมใสเ่ ปน็ ชดุ ประจาถิน่ การทอผา้ จะเนน้ สแี ดง เขียว ขาว นา้ เงนิ อตั ลักษณใ์ นด้านภูมิปญั ญาในการถนนอมอาหาร โดยการนาผกั ท่ีปลกู มาถนอมอาหารใชว้ ธิ ีนามา ตากแห้ง และนาไปดอง เพอื่ เก็บไวท้ าน ๑๔. ม้ง (Hmong) กลุม่ ชาติพันธมุ์ ง้ กระจายตัวตัง้ ถ่ินฐานอยใู่ น ๑๐ อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเวียงแกน่ อาเภอเทิง อาเภอเชยี งของ อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอเชียงแสน อาเภอพญาเม็งราย อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอขุนตาล อาเภอเมืองเชียงราย และอาเภอเวยี งเชียงรุง้ สังคมม้งเป็นระบบสังคมที่สืบทอดผีเรือนและมรดกผ่านฝ่ายผู้ชายเป็นหลัก เป็นระบบแซ่ตระกูล มี ๓ ระดับ คือ ระดับพี่น้องทีร่ ่วมสายโลหิตหรือร่วมผีเรือนเดียวกนั เป็นกลุ่มพ่ีน้องทยี่ ังสามารถสืบทอดกลับไปหา บรรพบุรุษคนเดียวกันได้ และมีรายละเอียดของพิธีกรรมสาคัญเป็นแบบเดียวกัน ระดับที่สองเป็นพี่น้องร่วม แซ่ตระกูล จากตานานเช่ือว่าคนท่ีมีแซ่เดียวกันคือพี่น้องร่วมสายเลือดเดียวกัน แม้พวกเขาจะไม่รู้จักกันมาก่ อน เพียงแต่เป็นคนในแซ่ท่ีเหมือนกัน และระดับท่ีสาม เป็นความสัมพันธ์ระหว่างแซ่ น่ันคือคนที่ไม่มีแซ่เดียวกัน กส็ ามารถเป็นเครือญาติกนั ได้โดยผ่านการแตง่ งาน อัตลักษณ์ในการใช้ใบไม้ คนม้งจะมีการใช้ใบไม้ในการติดต่อส่ือสาร โดยเฉพาะการติดต่อสื่อสาร ของคู่บ่าวสาวในระยะที่ค่อนข้างไกล หากใช้ภาษาธรรมดาในการติดต่อสื่อสาร ก็จะทาให้คนอ่ืนรู้เสียงของผู้พูด และที่สาคัญเสียงของใบไม้เดินทางได้ไกลกว่าเสียงตะโกนของคน จึงมีการเลือกเป่าใบไม้แทนการใช้คาพูดเพ่ือ การสอื่ สารทแี่ นบเนียน ไพเราะ ท้ังนี้ กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ม้ง มีอตั ลักษณ์ทโี่ ดดเด่น คอื การเขียนเทยี นลายผา้ ม้ง การเป่าเฆง้ (แคนม้ง) การเล่น ลูกขา่ ง และการยิงหนา้ ไม้ ๑๕. บีซู (Bisu) กลมุ่ ชาติพันธ์บุ ีซู กระจายตวั ตง้ั ถิน่ ฐานอยูใ่ น ๓ อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่ลาว อาเภอเมอื งเชยี งราย และอาเภอพาน การปกครองของชาวบีซู มีผู้ใหญ่บ้านที่เป็นผู้นาชุมชนและตัวแทนส่วนราชการ และมีผู้นาทาง จิตวญิ ญาณทีส่ ืบทอดทางเช้อื สายด้วยในตาแหน่ง เรียกวา่ “ปตู่ ัง้ ” หรอื “ปูต่ ้าง” ชาวบีซูต้ังถิ่นฐานตามสายตระกูลข้างพ่อและมีการนับถือผีตามสายตระกูล ในภาษาบีซูเรียก สายตระกูลว่า “องั เจอ” /เป็นอัตลักษณ.์ ..

- ๑๖ - เป็นอัตลักษณ์ที่สามารถพบเห็นได้หากผ่านหมู่บ้านของชาวบซี ู คือ ตาเหลว ซึ่งเป็นเคร่ืองจักสาน ท่ีมีบทบาทสาคญั ของชาวบีซู ใชใ้ นประกอบพธิ กี รรม หรอื ใชเ้ ปน็ สัญลักษณ์ในการป้องกันสง่ิ ไมด่ ี หรอื ส่งิ ชัว่ รา้ ยตามความเชือ่ อาหารที่นิยมรับประทานกันมาอย่างยาวนาน และยังคงเหลืออยู่ในปัจจุบันคือ ลาบพริก ซ่ึงเป็น อาหารทีค่ นบซี ภู ูมิใจนาเสนอแก่คนภายนอกเปน็ อย่างมาก เป็นอาหารทส่ี ืบทอดมาตัง้ แต่รุ่นปยู่ ่าตายาย และคนบีซู ยงั มีภาษาเปน็ ของตนเอง ๑๖. กะเหร่ยี ง (Karen) กล่มุ ชาตพิ นั ธ์กุ ะเหร่ียง กระจายตัวตั้งถน่ิ ฐานอย่ใู น ๕ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมอื งเชยี งราย อาเภอเวียงชยั อาเภอเวยี งป่าเป้า อาเภอแม่สรวย และอาเภอดอยหลวง ในอดีตสังคมปกาเกอะญอมีผู้นาชุมชนท่ีเรียกว่า “ฮ่ีโข่” ซ่ึงมีบทบาทเป็นผู้นาด้านจิตวิญญาณ โดยดแู ลการประกอบพิธกี รรมต่างๆ การควบคมุ จารตี ตามกรอบวัฒนธรรมที่เปน็ ที่ยอมรบั ของชมุ ชน การแต่งงานของกะเหร่ียงไม่นิยมแต่งงานกับคนภายนอก เพราะประเพณีความเชื่อต่างกัน หนุ่มสาว มีอสิ ระในการเลอื กคคู่ รองของตนเอง เมือ่ แต่งงานแล้วจะอยดู่ ว้ ยกนั แบบผวั เดียวเมยี เดยี วเท่าน้ันตลอดไป การหยา่ รา้ งแทบจะไม่ปรากฏในสงั คมกะเหรย่ี ง อัตลักษณ์การทอผ้าของผู้หญิงชาวกะเหร่ียงจะได้รับการกล่าวขานว่ามีฝีมือในการทอผ้าเก่งที่สดุ เผ่าหนงึ่ โดยจะได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะฝมี อื มาจากผเู้ ป็นแม่โดยท่ีผหู้ ญงิ ชาวกะเหร่ียงมักจะทอเส้ือผ้า ไวใ้ ชส้ วมใส่เองท้ังของตนเองและครอบครัว รวมถึงสาหรับในงานพธิ สี าคญั ต่าง ๆ ข้าวเบ๊อะ เป็นอาหารพ้ืนบ้านของชาวปกาเกอะญอ มีลักษณะคล้าย ๆ ข้าวต้มทรงเคร่ือง ที่ประกอบไปดว้ ยเนอ้ื ผักพ้นื บ้าน นาต้มรวมกัน โดยมเี รื่องเล่าเก่ียวกบั เมนูนีว้ ่าหากฤดกู าลใดที่ปลูกข้าวไดผ้ ลผลิต ไม่ดี สง่ ผลใหข้ า้ วไมพ่ อชาวปกาเกอะญอจะนาข้าวมาต้มรวมกบั หัวเผือก หัวมัน ผักหรอื พชื ผลอืน่ ๆ ที่ยังมเี หลืออยู่ เพื่อใหไ้ ดอ้ าหารท่ีเพยี งพอสาหรบั สมาชกิ ในครอบครวั เครื่องดนตรี “เตหน่า” ทาด้วยไม้ออ่ นเหลาและกลึงให้เป็นรูปเหมือนกล่องรูปทรงรีมีก้านยาวโก่ง และโคง้ สูงขึน้ ไป ใชส้ าหรับดดี และรอ้ งเพลงประกอบ โดยเฉพาะหนุ่ม ชาวปกาเกอะญอจะใชเ้ ตหนา่ ในการเกี้ยวพาราสี หญิงสาวในยามคา่ คนื ๑๗. จนี ยูนนาน (Chinese Yunnan) กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุจีนยูนนาน กระจายตวั ตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ใน ๖ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่ จัน อาเภอแม่สรวย อาเภอแมฟ่ า้ หลวง อาเภอเชยี งของ อาเภอเวียงแกน่ และอาเภอแม่สาย ในอดีตการปกครองในชุมชนชาวจนี ยนู นานบนดอยแมส่ ลองให้ความเคารพผูอ้ าวโุ สโดยเฉพาะผู้นา กองทัพทางทหาร รูปแบบการปกครองค่อนข้างเข้มงวดเพราะใช้ระเบียบวินัยแบบทหาร ในปัจจุบันมีการปกครอง ที่เปน็ รปู แบบทางการ การรวมตัวภายในวัฒนธรรมหรือการเป็นส่วนหนึง่ ของความเป็นชาตพิ ันธุข์ องชาวจีนยูนนานเป็น การนาความเชอ่ื ที่ปรากฏในพิธกี รรมมา ควบคมุ ใหค้ นอยูร่ วมกนั เปน็ ชมุ ชนและสงั คม ลักษณะทางควมเชื่อของชาวจีนยูนนานมีความเชื่อเรื่องสิ่งสักการบูชา ๕ ประการ ได้แก่ ฟ้า ดิน กษัตริย์ บิดา มารดา และครู วัฒนธรรมทางภาษา ที่สืบทอดมาจนปัจจุบันนี้ คือ ยังคงใช้ภาษาจีนกลางและภาษาถ่ินยูนนาน สื่อสารกนั ในชีวิต ประจาวนั /อตั ลักษณ.์ ..

- ๑๗ - อัตลกั ษณด์ า้ นภมู ิปัญญาในดา้ นการแปรรูปอาหารทมี่ ีชอ่ื เสียง ไมว่ า่ จะเป็นอาหารประเภทเนอ้ื สัตว์ หรอื พืชผกั โดยการแขวนผึ่งลมไวต้ ามชายคาบา้ นเพ่อื เกบ็ รักษาไว้กนิ ผลไม้บางอยา่ งกน็ าไปดองเค็ม เชน่ ลกู ทอ้ จนกลาย เป็นสินค้าจาหน่ายให้แก่นัก ท่องเทีย่ ว อาหารท่ีขึ้นชื่อประเภทหน่อไม้แห้ง เต้าหู้ยี้ ไส้กรอก ยูนนาน เป็นอาหารจีนยูนนานบนดอยแม่สลอง ที่ดึงดูดใจนักทอ่ งเทยี่ วไดเ้ ปน็ อยา่ ง ๑๘. ไตหยา่ (Tai Ya) กลุ่มชาติพันธ์ุไตหย่ากระจายตัวต้ังถ่ินฐานอยู่ใน ๓ อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่สาย อาเภอแม่จัน และอาเภอเมอื งเชยี งราย การปกครอง ชาวไตหย่าที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยได้ปฏิบัติตนตามกฎหมายไทย โดยมีกลุ่มผูน้ า อย่างเป็นทางการคือคณะกรรมการปกครองหมู่บ้าน กลุ่มผู้นาทางศาสนาที่มีตาแหน่งเรียกว่า ผู้ปกครอง และ มัคนายก และมีการจดั สรรงานออกเปน็ กล่มุ ย่อยอกี ๓ กลุ่ม คอื กล่มุ บุรุษ กลุม่ สตรี และกลุ่มอนชุ น ชาวไตหย่า เป็นสังคมท่ีมีความผูกพันกันทางสายโลหิต แบ่งเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สืบสายโลหิต ชั้นตน้ หรอื กลมุ่ สายตรง สว่ นกล่มุ ท่ีสองคือกล่มุ สายรองหรอื สายอ้อม คือกลมุ่ ญาติของเขยและสะใภ้ ซ่ึงทง้ั สองสาย นบั วา่ เปน็ ญาติกันทง้ั สิ้น การสืบสายตระกลู นับทางบดิ า เส่ือไตหย่า (เสื่อทอกก) เป็นพืชเศรษฐกิจ ชาวไตหย่ามีการปลูก และนามาทอเป็นเสื่อ จนถูก เรียกวา่ “เสอื่ ไตหย่า” การรักษาโรค ที่เรียกว่า การก่าแล้ง หรือการขูดหลัง เป็นวิธีการรักษาโรคของชาวไตหย่าที่ยัง สามารถพบเจอได้ในปจั จบุ ัน เครือ่ งจักสานที่โดดเดน่ ท่ีชาวไตหย่ายังคงทาไว้ใชง้ าน เรยี กว่า ขอนกูลา่ น ท่ีเปน็ ภาชนะเอนกประสงค์ ใช้บรรจุส่ิงของเพื่อหาบไปยงั ท้องนา ไร่ สวน ด้านอาหารที่ยังคงมีเอกลักษณ์โดดเด่นคือการปรุงอาหารที่มีรสชาติแบบเดิม ผักต่าง ๆ จะมีการ นามาดองเพอื่ เกบ็ ไวท้ านได้นาน เชน่ ดองแตงกวา หัวไชเท้า หวั ผกั กาด อกี ทงั้ ยงั มกี ารดองเนื้อต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเป็น เปด็ ไก่ ห่าน หมู วัว ปลา โดยจะดองในโอง่ ซ่งึ เป็นภาชนะดินเผาที่ชาวไตหย่าเรยี กวา่ ตอ่ ม หรอื ออม /อาหาร...

- ๑๘ - อาหาร อาหาร เป็นปัจจัยสาคัญข้ันพ้ืนฐาน สาหรับการดารงชีวิตของมนุษย์ให้อยู่รอด ซ่ึงก็ถือว่าเป็นหนึ่ง ในปจั จยั สท่ี ีม่ นุษย์ไม่อาจขาดได้ ในทกุ ชนชาติ ทกุ ภาษา และทกุ วัฒนธรรม ตอ้ งบรโิ ภคอาหารเพ่อื เป็นเคร่ืองหล่อเล้ียงบารุง รา่ งกายใหม้ คี วามสมบูรณ์แขง็ แรงและมีคุณภาพชวี ิตทีด่ ี การรับประทานอาหารของมนษุ ย์ ถอื ไดว้ ่าเป็นหนงึ่ ในกระบวนการ เรียนรู้และปรับตัวเพ่ือการอยู่รอดของมนุษย์ สิ่งหน่ึงท่ีสามารถบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของความเป็นไทยได้เป็นอย่างดี คืออาหารไทย เนื่องจากความหลากหลายทางวัฒนธรรมผสมผสานกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยถ่ายทอดออกมา เป็นอาหารท่มี ีรสชาติความอร่อยไม่แพ้ชาติใดในโลก อีกท้งั คุณค่าทางอาหาร และโภชนาการ ทาให้อาหารไทยถูกกล่าวขาน ไปท่ัวโลก และแม้จะได้ขึ้นช่ือว่าอาหารไทย เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สาคัญของประเทศ มีการสั่งสมจากบรรพบุรุษ ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นนับเป็นภูมิปัญญาท่ีแท้จริงและควรหวงแหนยิ่งของชาติ จากหลักฐานพบว่าอาหารไทยมีการพัฒนา ตั้งแต่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์เร่ือยมาจนสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบัน อาหารไทยนับว่า เปน็ อาหารทีม่ ีลกั ษณะโดดเด่นทง้ั ในเร่อื งของรสชาตคิ ุณคา่ ทางโภชนาการ ตลอดจนการตกแต่งท่ีเป็นเอกลักษณ์ อาหารพื้นบ้าน ก็คืออาหารท่ีประชาชนบริโภคอยู่ในชีวิตประจาวันและบริโภคในโอกาสต่าง ๆ โดยอาศัย เครื่องปรุง วัสดุที่นามาประกอบอาหารจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งจากแหล่งธรรมชาติท่ีแวดล้อมอยู่ ด้วยการเก็บของป่า การล่าสัตว์ การจับสัตว์น้า และจากการผลิตขึ้นมาเอง เช่น การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ หรือจากการซ้ือขายแลกเปลี่ยน โดยมกี รรมวิธี ทาเป็นเอกลักษณ์ รวมทั้งรสชาติที่เป็นเฉพาะถ่ินแตกต่างกัน อาหารพ้ืนบ้านจัดได้ว่าเป็นอาหารที่แสดงออกถึงความเป็น ตัวตนในท้องที่ต่าง ๆ ได้อย่างแท้จริง เนื่องจากว่าอาหารในแต่ละพ้ืนที่ก็จะมีความแตกต่างกันออกไปข้ึนอยู่กับปัจจัย ในหลาย ๆ ด้านของพ้ืนท่ีดังกล่าวท่ีทาให้ออกมาเป็นอาหารอันมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใคร ไม่ว่าจะเป็นเร่ือง ของชีวิตความเป็นอยู่ สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ และอ่ืน ๆ อีกมากมาย ทุกอย่างถูกผสมผสานกันจนออกมา เป็นวฒั นธรรมอาหารท่แี สดงถึงความเปน็ ตัวเองได้อยา่ งชัดเจนทสี่ ุด วัฒนธรรมของอาหารล้านนา เกิดจากการผสมผสานวัฒนธรรมเดิมกับวัฒนธรรมของกลุ่มคน หลากหลายที่มีอาณาเขตติดต่อกบั ชายแดนไทย หรอื กลมุ่ ชาติพันธใ์ุ นพนื้ ที่ อาทิ แกงฮังเลจากพม่า ขนมจนี น้าเง้ียว จากไทยใหญ่ การดื่มน้าชา อาหารประเภทก๋วยเตี๋ยว และอาหารท่ีทาจากหมู ซึ่งรับมาจากวัฒนธรรมอาหารจีน โดยอาหารเหลา่ น้ีล้วนมรี สชาตอิ าหารทแ่ี ตกตา่ งไปจาก “อาหารของคนเมอื ง” หรอื “อาหารล้านนา” คนลา้ นนา นิยมเรยี กลุ่มชาติพันธุ์ของตนเองวา่ “คนเมอื ง” มีวฒั นธรรมการดารงชีวติ ความเปน็ อยู่ ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองท้ังด้านวัฒนธรรม ภาษา ความเชื่อ ประเพณี และอาหารการกินของท้องถิ่น โดยอาหารพื้นเมืองถือว่าเป็นทุนทางวัฒนธรรมท่ีมีการสั่งสมองค์ความรู้ ภูมิปัญญา และถ่ายทอดกันมาอย่าง ต่อเน่ือง จากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน อาหารการกินของคนเมืองโดยทั่วไปมีความเป็นธรรมชาติ ส่วนปรุงแต่งน้อย อาหารท่ีทารบั ประทานส่วนใหญม่ ักจะเปน็ ไปตามฤดูกาล ซึง่ หาวตั ถดุ บิ ได้งา่ ยในทอ้ งถ่นิ น้ัน ๆ ทาให้อาหารพ้ืนเมือง ของแต่ละทอ้ งถ่ินมีความแตกต่างกนั บ้างตามสภาพพื้นท่ี นอกจากน้ี อาหารล้านนาหรืออาหารของชนชาติพันธ์ุจะใช้พืชผักท่ีข้ึนอยู่ตามป่าเขาหรือบริเวณ โดยรอบของท่ีอยู่อาศัย นามาผสมกับเครื่องปรุงต่าง ๆ อาทิ พริก เกลือ กระเทียม โดยอาหารที่ทาจากเน้ือสตั ว์จะ ได้มาจากธรรมชาติและป่า เช่น ปลา กบ และสัตว์ป่า ส่วนในปัจจุบันเน้ือสัตว์ท่ีนิยมรับประทานเป็นหมู ไก่ และ ปลา ทั้งน้ี อาหารของคนล้านนาส่วนใหญ่จะมีรสเผ็ด เค็ม เปร้ียว แต่ไม่หวานมาก อาหารภาคเหนือไม่นิยมใส่น้าตาล ความหวานจะไดจ้ ากสว่ นผสมท่นี ามาประกอบอาหาร เชน่ หวานจากผกั ปลา มะเขือส้ม (มะเขือเทศ) เปน็ ต้น การปรงุ อาหาร มหี ลายวธิ ี เช่น การแกง การจอ การส้า การยา การเจยี ว การปิง้ การคว่ั หรือการผัด การหลู้ การตา ซง่ึ อาหารของภาคเหนือ มักจะทาให้สกุ และอาหารแต่ละประเภท จะมีเอกลักษณ์ในรสชาติของอาหารซึ่งเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ ในวิธกี ารปรุง อาหารจากรุน่ สู่รนุ่ /ผา้ หรือ...

- ๑๙ - ผ้าหรือเครอ่ื งนุ่งหม่ ผ้าหรือเคร่ืองนุ่งห่ม เป็นหน่ึงในปัจจัยสี่ท่ีมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ในสังคมไทย นับตง้ั แต่สมัยบรรพบุรุษ ทกุ ครัวเรือนจะมกี ารทอผ้าเพ่ือใชส้ าหรับตนเองและบุคคลในครอบครัว ไม่ว่าจะใชส้ าหรับ การนุ่งห่ม หรือเป็นเคร่ืองใช้ในบ้านรวมไปถึงเป็นส่ิงประดับตกแต่งบ้าน โดยทักษะการทอผ้าจะมรดกภูมิปัญญา ถ่ายทอดองค์ความรู้ กรรมวธิ ี รวมไปถงึ เปน็ งานฝมี ือทส่ี ่อื ถงึ ความเป็นศิลปะของแต่ละบุคคล และจะมกี ารถา่ ยทอด ใหแ้ กส่ มาชกิ ในครัวเรือน จนกลายเป็นมรดกทางวฒั นธรรมทีไ่ ดร้ ับการสืบทอดจากบรรพบุรษุ จากรุ่นหนึง่ ไปสู่อีกร่นุ หนง่ึ ในชุมชนทางภาคเหนือ ผ้าทอยังคงมีบทบาทสาคัญทางสังคมและวัฒนธรรม นอกเหนือจาก บทบาททางการคา้ แลว้ ไมว่ า่ จะเป็นการใชใ้ นประเพณี พิธกี รรมตา่ ง ๆ การใชเ้ ป็นเสือ้ ผ้าเครอ่ื งนุง่ ห่มในหลายชุมชน ในพธิ ีขึน้ เฮือนใหม่ พธิ ีสบื ชะตาหรอื พิธีทีม่ กี ารใช้ขนั หลวงยงั คงมีการใช้ผ้าขาว-ผ้าแดงเปน็ เคร่อื งประกอบพธิ ีกันอยู่ โดยเช่ือว่าเป็นสัญลักษณ์ของผีบรรพบุรุษ ในหลายชุมชนยังคงมีการใช้ผ้าขาวท่ีทอด้วยมือเป็นผ้าหลองคาบ ใช้รองหรอื ห่อรา่ งของผู้ทล่ี ่วงลับไปแล้ว และยังใชท้ าตงุ สามหางและถงุ ขาวทใี่ ช้ในพิธีศพเช่นกนั การแต่งกายพื้นเมืองของภาคเหนือมีลักษณะแตกต่างกันไปตามเช้ือชาติของกลุ่มชนคนเมือง เน่อื งจากผู้คนหลากหลายชาตพิ ันธ์อุ าศยั อยู่ในพื้นที่ซ่งึ บง่ บอกเอกลักษณข์ องแตล่ ะพ้ืนถ่นิ เนือ่ งจากจงั หวัดเชยี งราย เป็นจังหวัดท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ มีวัฒนธรรมและมีองค์ความรภู้ ูมปิ ัญญาด้านผ้าท่ีแตกต่าง และความ หลากหลายในองคค์ วามรูภ้ มู ิปญั ญาทีม่ กี ารสง่ั สมและสืบทอดมาอย่างตอ่ เนอื่ ง /บทท่ี 3...

บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินกจิ กรรม วิธีการดาเนนิ กิจกรรม กิจกรรมส่งเสริมอัตลักษณ์ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใตโ้ ครงการจัดทาฐานข้อมูลดา้ นศาสนา วัฒนธรรม และจารตี ประเพณีทอ้ งถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ 1. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินโครงการ/กิจกรรมทางวัฒนธรรมท่ีเก่ียวกับ การส่งเสริมมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม (อาหารลาภรณ์) ตลอดจนเพอื่ บรรเทาผลกระทบที่เกิดจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยกรมส่งเสริมวฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม พิจารณาแล้วเห็นว่า โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ โครงการท่ีดาเนินการซ่ึงสอดคล้องกับพันธกิจของ กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรมในการส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนรว่ มของเครือข่ายทางวฒั นธรรมของทุกภาคสว่ นให้มี ความเข้มแข็ง จึงให้สันบสนุนงบประมาณ จานวนเงิน 300,000.-บาท (สามแสนบาทถ้วน) กิจกรรมโครงการ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ ประกอบด้วย เครือข่ายสภาวัฒนธรรมระดับตาบล ระดับอาเภอและระดับจังหวัด เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้นาชุมชน และประชาชนท่ัวไปข้าราชการ และเจ้าหน้าท่ีของสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เพือ่ รว่ มกันดาเนนิ กจิ กรรมโครงการมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมลู ด้านศาสนา วฒั นธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ และร่วมกันสนับสนุนการดาเนินงานของกิจกรรมให้เป็นไปด้วยความ เรียบร้อยและตรงตามวัตถุประสงค์ 2. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการจัดประชุมคณะกรรมการสภาวัฒนธรรม ในวันจันทร์ท่ี 15 พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๓๐ น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมธรรมลังกา ช้ัน 3 ศาลากลางจังหวัด เชียงราย ตาบลริมกก อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เพ่ือหารือแนวทางการดาเนินงานด้านวัฒนธรรมและการเก็บ ขอ้ มลู ภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ตามโครงการมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ 3. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการจัดทาประกาศแต่งต้ังคณะกรรมการตัดสิน การประกวดขนั โตกอาหารพันธ์ุ ตามโครงการมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม ภายใตโ้ ครงการจัดทาฐานขอ้ มูลด้าน ศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ เพ่ือให้การจัดการประกวดเป็นไปด้วยความเป็นไป ด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ ประกอบด้วย ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย รองประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรายที่ได้รับมอบหมาย รองประธานเครือข่ายวัฒนธรรมที่ได้รับมอบหมาย ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย และเจ้าหน้าท่ีสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย พร้อมกับ หนังสือขอความอนุเคราะห์ในการร่วมเป็นคณะกรรมการตัดสินการประกวดขันโตกอาหารชาติพันธ์ุ โดยกาหนด จดั ประกวดขันโตกอาหารชาติพันธุ์ ดังนี้ โซนที่ 1 ได้แก่ อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอเวียงชัย และอาเภอแม่ลาว โดยมี อาเภอเวียงเชียงรุ้ง เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีท่ี 1 ๖ ธันวาคม 2564 ณ หอประชุมอาคารเอนกประสงค์ พวงแสด 4 โรงเรียนอนุบาลองค์การบริหารส่วนตาบลป่าซาง ตาบลป่าซาง อาเภอเวียงเชียงรุ้ง จงั หวดั เชยี งราย /โซนท่ี ๒...

- ๒๑ - โซนท่ี 2 ได้แก่ อาเภอขุนตาล อาเภอเทิง อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเชียงของ และ อาเภอเวียงแก่น โดยมี อาเภอขุนตาล เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันศุกร์ท่ี 17 ธันวาคม 2564 ณ ศูนยส์ ขุ ภาวะเทศบาลตาบลปา่ ตาล หมู่ 1 ตาบลปา่ ตาล อาเภอขนุ ตาล จงั หวดั เชยี งราย โซนท่ี 3 ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอพาน อาเภอป่าแดด อาเภอเวียงป่าเป้า โดยมี อาเภอแม่สรวย เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีที่ 23 ธันวาคม 2564 ณ สานักสงฆ์ป่าซางพิเชษฐ์ลาวัณย์ ตาบลแม่พริก อาเภอแมส่ รวย จังหวดั เชียงราย โซนท่ี 4 ได้แก่ อาเภอแม่จัน อาเภอแมฟ่ า้ หลวง อาเภอแม่สาย อาเภอเชยี งแสน และอาเภอดอยหลวง โดยมี อาเภอแม่จัน เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม 2564 ณ โรงเรียนแม่จันวิทยาคม ตาบลแมจ่ ัน อาเภอแม่จัน จงั หวดั เชยี งราย 4. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทาประกาศหลักเกณฑ์การประกวดขันโตกอาหารชาติพันธ์ุ โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณี ท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ เพื่อให้การจัดการประกวดเป็นไปด้วยความเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ รวมท้ังให้สภาวัฒนธรรมอาเภอทุกอาเภอประกวดนาไปใช้ เป็นแนวทางในการเตรียมตัว เพื่อเขา้ รว่ มการประกวด และเป็นแนวทางในการตัดสินการประกวดของคณะกรรมการตัดสนิ 5. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทาอินโฟกราฟิกเพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณี ทอ้ งถนิ่ ประจาปี ๒๕๖๔ ผ่านเฟซบุ๊กของ สภาวัฒนธรรม จงั หวัดเชยี งราย FACEBOOK : สภาวฒั นธรรม จังหวัดเชยี งราย และ ผ่านทางกลมุ่ ไลน์ต่าง ๆ 6. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทาหนังสือเชิญวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เข้าร่วม กิจกรรมโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีต ประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี ๒๕๖๔ และขอให้มอบหมายนักวิชาการผู้ประสานงานอาเภอ ดาเนินการเก็บข้อมูล แบบสารวจมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม (แบบ มภ.1) ๗. สภาวัฒนธรรมอาเภอของแต่ละโซน ได้มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางการดาเนินการจดั กิจกรรมโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีต ประเพณีท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔ โดยมีการนัดหมายจัดประชุมหรือการประสานงานผ่านทางโทรศัพท์ หรือทางกลุ่ม ไลน์ โดยมนี กั วิชาการวฒั นธรรมผู้ประสานงานแตล่ ะอาเภอคอยอานวยความสะดวกในการดาเนนิ กิจกรรม ๘. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ร่วมกับสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการจัด โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณี ท้องถ่นิ ประจาปี ๒๕๖๔ โซนท่ี 1 ไดแ้ ก่ อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอเมืองเชยี งราย อาเภอเวียงชัย และอาเภอแม่ลาว โดยมี อาเภอเวียงเชียงรุ้ง เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีที่ 1๖ ธันวาคม 2564 ณ หอประชุม อาคารเอนกประสงค์ พวงแสด 4 โรงเรียนอนุบาลองค์การบริหารส่วนตาบลป่าซาง ตาบลป่าซาง อาเภอ เวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย โดยสภาวัฒนธรรมอาเภอ จานวน 4 อาเภอ มาร่วมโครงการฯ กิจกรรมประกอบด้วย การจัดบูธนิทรรศการสาธิตมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของแต่ละอาเภอ ซึ่งภายในบูธจะมีทั้งการจัดแสดงมรดก ภมู ปิ ัญญาด้านต่าง ๆ การสาธิตให้ความรโู้ ดยปราชญ์ชาวบ้าน และทเ่ี ปน็ จุดเน้นของการจัดกิจกรรมในปีน้ี คือ การแสดง แฟช่นั โชว์ชดุ ชาติพนั ธ์ุ และจดั ทาขันโตกอาหารชาตพิ ันธต์ุ อ่ หน้าคณะกรรมการตัดสนิ ประกอบดว้ ย /๑. สภาวฒั นธรรม...

- ๒๒ - ๑. สภาวฒั นธรรมอาเภอเวยี งเชยี งรุ้ง ๒. สภาวัฒนธรรมอาเภอเมืองเชยี งราย ๓. สภาวัฒนธรรมอาเภอเวียงชยั ๔. สภาวฒั นธรรมอาเภอแม่ลาว โซนท่ี 2 ได้แก่ อาเภอขุนตาล อาเภอเทิง อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเชียงของ และ อาเภอเวียงแก่น โดยมี อาเภอขุนตาล เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม 2564 ณ ศูนย์สุขภาวะเทศบาลตาบลป่าตาล หมู่ 1 ตาบลป่าตาล อาเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย โดยสภาวัฒนธรรม อาเภอ จานวน ๕ อาเภอ มาร่วมโครงการฯ กิจกรรมประกอบด้วยการจัดบูธนิทรรศการสาธิตมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมของแต่ละอาเภอ ซ่ึงภายในบูธจะมีท้ังการจัดแสดงมรดกภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ การสาธิตให้ความรู้ โดยปราชญ์ชาวบ้าน และทีเ่ ป็นจุดเนน้ ของการจัดกิจกรรมในปีนี้ คือ การแสดงแฟช่นั โชวช์ ุดชาติพันธ์ุ และจดั ทาขันโตก อาหารชาตพิ ันธ์ตุ ่อหน้าคณะกรรมการตัดสนิ ประกอบดว้ ย ๑. สภาวัฒนธรรมอาเภอขนุ ตาล ๒. สภาวฒั นธรรมอาเภอเทงิ ๓. สภาวฒั นธรรมอาเภอพญาเมง็ ราย ๔. สภาวัฒนธรรมอาเภอเชยี งของ 5. สภาวัฒนธรรมอาเภอเวยี งแกน่ โซนที่ 3 ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอพาน อาเภอป่าแดด อาเภอเวียงป่าเป้า โดยมี อาเภอแม่สรวย เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีที่ 23 ธันวาคม 2564 ณ สานักสงฆ์ป่าซางพิเชษฐ์ลาวัณย์ ตาบลแม่พริก อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย โดยสภาวัฒนธรรมอาเภอ จานวน 4 อาเภอ มาร่วมโครงการฯ กิจกรรมประกอบด้วยการจัดบูธนิทรรศการสาธิตมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของแต่ละอาเภอ ซึ่งภายในบูธจะมี ทั้งการจัดแสดงมรดกภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ การสาธิตให้ความรู้โดยปราชญ์ชาวบ้าน และที่เป็นจุดเน้นของการจัด กิจกรรมในปีน้ี คือ การแสดงแฟช่ันโชว์ชุดชาติพันธ์ุ และจัดทาขันโตกอาหารชาติพันธุ์ต่อหน้าคณะกรรมการตัดสิน ประกอบดว้ ย ๑. สภาวฒั นธรรมอาเภอแมส่ รวย ๒. สภาวฒั นธรรมอาเภอพาน ๓. สภาวัฒนธรรมอาเภอปา่ แดด ๔. สภาวฒั นธรรมอาเภอเวียงป่าเปา้ โซนท่ี 4 ได้แก่ อาเภอแม่จัน อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอแม่สาย อาเภอเชียงแสน และ อาเภอดอยหลวง โดยมี อาเภอแม่จัน เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม 2564 ณ โรงเรียนแม่จันวิทยาคม อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย โดยสภาวัฒนธรรมอาเภอ จานวน ๕ อาเภอ มาร่วม โครงการฯ กิจกรรมประกอบด้วยการจัดบูธนิทรรศการสาธิตมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของแต่ละอาเภอ ซึ่งภายในบูธจะมีทั้งการจัดแสดงมรดกภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ การสาธิตให้ความรู้โดยปราชญ์ชาวบ้าน และท่ีเป็นจุดเน้น ของการจัดกิจกรรมในปนี ้ี คือ การแสดงแฟชั่นโชว์ชุดชาตพิ ันธ์ุ และจดั ทาขนั โตกอาหารชาติพันธ์ุตอ่ หน้าคณะกรรมการ ตดั สิน ประกอบดว้ ย ๑. สภาวัฒนธรรมอาเภอแมจ่ ัน ๒. สภาวัฒนธรรมอาเภอแม่ฟ้าหลวง /๓. สภาวฒั นธรรม...

- ๒๓ - ๓. สภาวัฒนธรรมอาเภอแม่สาย ๔. สภาวฒั นธรรมอาเภอเชียงแสน ๕. สภาวฒั นธรรมอาเภอดอยหลวง คณะกรรมการตดั สินการอาหารชาติพนั ธ์ุ ประกอบดว้ ย ๑. นางสลกั จฤฎดิ์ ตยิ ะไพรยั ประธานกรรมการ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งราย ๒. รองประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรายที่ไดร้ บั มอบหมาย กรรมการ ๓. นางสาววรชั ยา โกแสนตอ กรรมการ รองประธานเครือขา่ ยวฒั นธรรมระดบั จังหวดั ๔. นางเบญ็ จมาส บญุ เทพ กรรมการ นักวชิ าการวัฒนธรรมชานาญการพิเศษ สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งราย 5. นางสาวธญั วัตม์ วรรณสอน เลขานุการ นักวชิ าการวฒั นธรรม สานักงานวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งราย 6. นางสาวฐฒิ กิ า วงศ์มา ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร เจ้าหน้าที่มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม 9. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทาเกียรติบัตรเพ่ือมอบให้แก่สภาวัฒนธรรมอาเภอ ทุกอาเภอเป็นรายอาเภอ และมอบรางวัลการประกวดขันโตกอาหารชาติพันธ์ุให้แก่อาเภอที่ได้รับรางวัล โดยมอบเป็นเงนิ สดพร้อมเกียรตบิ ัตร เพ่ือให้กจิ กรรมดังกล่าวสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี กิจกรรมการจัดทาฐานข้อมูลองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านศาสนาวัฒนธรรม และจารตี ประเพณีทอ้ งถน่ิ สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จ้างมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ในการจัดเก็บข้อมูลมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท้ัง 4 โซน จานวน 18 อาเภอ โดยมีค่าจัดทาฐานข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จานวน 50,000.- บาท (หา้ หม่นื บาทถ้วน) เพ่อื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลกจิ กรรมภมู ิปัญญาในแต่ละด้าน จานวน 6 ด้าน ดังนี้ ๑. วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา ๒. ศลิ ปะการแสดง ๓. แนวทางการปฏิบตั ทิ างสงั คม พิธกี รรม ประเพณี และเทศกาล ๔. ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล ๕. งานช่างฝีมอื ดง้ั เดมิ 6. การเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู้ อ้ งกันตวั ใหค้ งอยสู่ บื ต่อไป /บทท่ี ๔...

บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ กจิ กรรม ผลการดาเนินกจิ กรรม ตามทสี่ ภาวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งราย ได้รบั การจดั สรรงบประมาณเพื่อเปน็ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ จัดกิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีต ประเพณีท้องถิ่น ประจาปี 2564 ดังนั้น เพ่ือให้การดาเนินโครงการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุ วัตถุประสงค์ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้กาหนดจัดกิจกรรมมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี 2564 โดยแบง่ อาเภอต่าง ๆ ออกเปน็ 4 โซน คือ โซน วัน/เดอื น/ปี สถานที่จัด หมายเหตุ วนั พฤหัสบดที ่ี 16 ธนั วาคม หอประชุมอาคารเอนกประสงค์ อาเภอเจา้ ภาพ โซนที่ ๑ ประกอบด้วย พวงแสด 4 โรงเรยี นอนบุ าล เวียงเชียงรงุ้ 1. อ.เวยี งเชยี งรงุ้ 2564 องค์การบรหิ ารส่วนตาบลป่าซาง 2. อ.เวยี งชยั ตาบลปา่ ซาง อาเภอเวยี งเชยี งรงุ้ อาเภอเจ้าภาพ 3. อ.เมืองเชียงราย วันศกุ รท์ ่ี 17 ธนั วาคม ขนุ ตาล 4. อ.แมล่ าว 2564 จังหวัดเชยี งราย ศูนย์สุขภาวะเทศบาลตาบลป่าตาล อาเภอเจ้าภาพ โซนที่ 2 ประกอบด้วย วันพฤหัสบดที ่ี 23 ธันวาคม หมู่ 1 ตาบลปา่ ตาล อาเภอขุนตาล แม่สรวย 1. อ.ขนุ ตาล 2564 2. อ.เชยี งของ จงั หวัดเชยี งราย อาเภอเจา้ ภาพ 3. อ.เวียงแกน่ วนั ศุกรท์ ี่ 10 ธนั วาคม แม่จัน 4. อ.เทงิ 2564 สานกั สงฆป์ า่ ซางพเิ ชษฐล์ าวัณย์ 5. อ.พญาเม็งราย ตาบลแมพ่ รกิ อาเภอแม่สรวย โซนท่ี 3 ประกอบด้วย จงั หวดั เชยี งราย 1. อ.แม่สรวย 2. อ.ปา่ แดด ณ โรงเรยี นแมจ่ ันวทิ ยาคม 3. อ.พาน อาเภอแมจ่ ัน จังหวัดเชยี งราย 4. อ.เวียงป่าเป้า โซนท่ี 4 ประกอบด้วย 1. อ.แม่จัน 2. อ.เชียงแสน 3. อ.แม่สาย 4. อ.แมฟ่ ้าหลวง 5. อ.ดอยหลวง /ภายในงาน...

- ๒๕ - โดยการดาเนินโครงการดังกล่าว กาหนดให้มีการจัดบูธนิทรรศการสาธิตมรดกภูมิปัญญาทาง วฒั นธรรมของแต่ละอาเภอ ซง่ึ ภายในบธู จะมีทง้ั การจัดแสดงมรดกภมู ิปัญญาด้านต่าง ๆ การสาธิตให้ความรู้โดยปราชญ์ ชาวบ้าน จานวน 6 ด้าน ได้แก่ วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา, ศิลปะการแสดง, แนวทางการปฏิบัติทางสังคม พิธกี รรม ประเพณี และเทศกาล, ความร้แู ละการปฏิบตั เิ กยี่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล, งานชา่ งฝีมือดัง้ เดมิ และการ เล่นพ้นื บ้าน กีฬาพืน้ บา้ น และศลิ ปะการต่อสู้ปอ้ งกันตัวและที่เปน็ จุดเน้นของการจัดกิจกรรมในปนี ้ี คือ การแสดงแฟชั่น โชว์ชดุ ชาติพนั ธ์ุ และการประกวดขันโตกอาหารชาติพนั ธุ์ของแต่ละอาเภอ โดยมผี ลการดาเนินกจิ กรรม ดงั น้ี ๑. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการจัดทาประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสิน การประกวดขนั โตกอาหารชาติพนั ธุ์ กิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลดา้ นศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี 2564 โดยกาหนดให้มีการประกวดแข่งขันมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนาธรรมด้านความรู้ และการปฏิบัติเกย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล (อาหารพ้ืนถิ่นตามแต่ละชาติพนั ธ)ุ์ ท่โี ดนเด่น นามาจัดเป็นขันโตก ไม่ซ้ากันในแต่ละโซน/อาเภอ ตามชาติพันธ์ุ 18 อาเภอ เพื่อให้การจัดการประกวดเป็นไปด้วย ความเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ รายละเอียดตามประกาศสภาวัฒนธรรมจังหวัด เชยี งราย ลงวนั ที่ ๑ ธันวาคม 2564 โดยคณะกรรมการตัดสนิ การประกวด ประกอบด้วย 1. ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งราย ประธานกรรมการ ๒. รองประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรายทีไ่ ด้รบั มอบหมาย กรรมการ ๓. นางสาววรัชยา โกแสนตอ กรรมการ ๔. นางเบ็ญจมาส บญุ เทพ กรรมการ นกั วิชาการวฒั นธรรมชานาญการพิเศษ 5. นางสาวธญั วรัตม์ วรรณสอน เลขานกุ าร นักวชิ าการวฒั นธรรม 6. นางสาวฐฒิ กิ า วงศ์มา ผชู้ ่วยเลขานกุ าร เจา้ หน้าทมี่ รดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม ประกาศสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรายและรายช่ือคณะกรรมการ ลงวนั ที่ ๑ ธันวาคม 2564 /ท้ังน้ี...

- ๒๖ - ทัง้ นี้ ไดจ้ ัดทาหนงั สือขอความอนุเคราะห์ในการร่วมเป็นคณะกรรมการตัดสนิ การประกวดขันโตก อาหารชาติพันธ์ุ กิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี 2564 รายละเอียดตามหนังสือสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ท่ี สว.ชร. ๐๖๗/๒๕๖๔ ลงวนั ท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔ และหนังสือสภาวฒั นธรรมจังหวดั เชียงราย ท่ี สว.ชร. ๐๖๘/๒๕๖๔ ลงวนั ท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ หนงั สือถึงคณะกรรมการตดั สินการประกวดขันโตกอาหารชาตพิ นั ธุ์ กาหนดการจดั กจิ กรรม โซนท่ี ๑ /กาหนดการ...

- ๒๗ - กาหนดการจัดกิจกรรม โซนท่ี ๒ กาหนดการจดั กิจกรรม โซนท่ี ๓ กาหนดการจัดกจิ กรรมที่ โซน ๔ /๒. สภาวฒั นธรรม...

- ๒๘ - ๒. สภาวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงราย ไดจ้ ดั ทาประกาศหลักเกณฑ์การประกวดขันโตกอาหารชาตพิ ันธุ์ กจิ กรรมมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม ภายใตโ้ ครงการจดั ทาฐานขอ้ มูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารตี ประเพณี ท้องถิ่น ประจาปี 2564 เพอ่ื ใหก้ ารจดั การประกวดเป็นไปดว้ ยความเปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย โปรง่ ใส เปน็ ธรรม และตรวจสอบได้ รวมทั้งให้สภาวัฒนธรรมอาเภอทุกอาเภอประกวดนาไปใช้เป็นแนวทางในการเตรียมตัว เพ่ือเข้าร่วมการประกวด และเป็นแนวทางในการตัดสินการประกวดของคณะกรรมการตัดสิน ท้ังน้ี ได้กาหนดเกณฑ์ และวิธกี ารประกวด ดังน้ี ๑. องค์ประกอบ/รูปแบบการแสดงท่ีบ่งบอกถึงเอกลกั ษณแ์ ละอัตลกั ษณข์ องชาตพิ ันธ์ุ ๒. แสดงให้เหน็ ถงึ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วถิ ีชวี ิตอันดีงามด้งั เดิม และเปน็ สิง่ ท่ีสืบทอดต่อกนั มา จากคนรนุ่ สู่รนุ่ ๓. คณุ ค่าและความสาคัญทางวัฒนธรรม ๔. เปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งไดร้ บั การคุม้ ครอง/เสย่ี งตอ่ การสญู หาย ๕. การนาเสนอที่ชดั เจนและน่าสนใจ รายละเอียดวัน เวลา และสถานท่ี การตัดสนิ การประกวดขันโตกอาหารชาตพิ นั ธุ์ตามชาตพิ นั ธ์ุ 18 อาเภอ โดยแบง่ ออกเปน็ โซนกลุ่ม อาเภอ จานวน 4 กลมุ่ ดงั น้ี โซนที่ 1 ได้แก่ อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอเวียงชัย และอาเภอแม่ลาว โดยมี อาเภอเวียงเชียงร้งุ เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันพฤหสั บดีที่ 1๖ ธนั วาคม 2564 ณ หอประชมุ อาคารเอนกประสงค์ พวงแสด 4 โรงเรียนอนุบาลองค์การบริหารส่วนตาบลป่าซาง อาเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัด เชียงราย โซนที่ 2 ไดแ้ ก่ อาเภอขุนตาล อาเภอเทิง อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเชียงของ และอาเภอ เวยี ง แก่น โดยมี อาเภอขุนตาล เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม 2564 ณ ศูนย์สุขภาวะเทศบาลตาบลปา่ ตาล หมู่ 1 ตาบลปา่ ตาล อาเภอขุนตาล จังหวัดเชยี งราย โซนท่ี 3 ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอพาน อาเภอป่าแดด อาเภอเวียงป่าเป้า โดยมี อาเภอแม่สรวย เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีท่ี 23 ธันวาคม 2564 ณ สานักสงฆ์ป่าซาง พิเชษฐ์ลาวณั ย์ ตาบลแมพ่ รกิ อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย โซนท่ี 4 ได้แก่ อาเภอแม่จัน อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอแม่สาย อาเภอเชียงแสน และอาเภอดอยหลวง โดยมี อาเภอแม่จัน เป็นเจ้าภาพ และกาหนดจัดกิจกรรมในวันศุกร์ท่ี 10 ธันวาคม 2564 ณ โรงเรียนแม่จนั วิทยาคม อาเภอแม่จนั จังหวัดเชยี งราย เกณฑ์การให้คะแนนตัดสนิ การตัดสินการประกวด จะกระทาโดยคณะกรรมการตัดสินผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน ๖ ท่าน การตัดสินของคณะกรรมการถอื เป็นอันทีส่ ิ้นสดุ โดยมเี กณฑ์การให้คะแนนตัดสนิ ดงั นี้ ๑. องค์ประกอบ/รปู แบบการแสดง ทบี่ ง่ บอกถงึ เอกลกั ษณ์และอัตลักษณข์ องชาติพนั ธุ์ ๓๐ คะแนน ๒. แสดงให้เหน็ ถงึ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วถิ ชี วี ิตอันดีงามดัง้ เดมิ และเป็นสิง่ ทสี่ บื ทอดตอ่ กนั มาจากคนร่นุ สูร่ ุ่น ๒๐ คะแนน /๓. คุณค่า...

- ๒๙ - ๓. คณุ ค่าและความสาคัญทางวัฒนธรรม ๒๐ คะแนน ๔. เป็นเร่ืองท่ตี ้องได้รบั การคุ้มครอง/เส่ยี งตอ่ การสูญหาย ๒๐ คะแนน ๕. การนาเสนอที่ชดั เจนและน่าสนใจ ๑๐ คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน รางวัล ๑. รางวลั การประกวดขันโตกอาหารชาตพิ ันธุ์ โซนท่ี 1 และ โซนท่ี 3 ๑.๑ รางวัลชนะเลิศ เงินรางวลั จานวน ๓,5๐๐ บาท พร้อมเกยี รตบิ ัตร จานวน ๒ รางวัล ๑.๒ รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ ๑ เงินรางวัล จานวน ๓,๐๐๐ บาท พร้อมเกยี รติบตั รจานวน ๒ รางวัล ๑.๓ รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ ๒ เงนิ รางวลั จานวน ๒,๕๐๐ บาท พร้อมเกยี รตบิ ัตร จานวน ๒ รางวัล ๑.๔ รางวัลชมเชย เงินรางวัล จานวน ๒,๐๐๐ บาท พรอ้ มเกียรติบตั ร จานวน ๒ รางวัล (รวมท้ังส้ิน จานวน ๘ รางวัล) ๒. รางวัลการประกวดขันโตกอาหารชาตพิ นั ธ์ุ โซนที่ ๒ และ โซนท่ี ๔ ๒.๑ รางวัลชนะเลศิ เงินรางวลั จานวน ๓,5๐๐ บาท พร้อมเกียรตบิ ัตร จานวน ๒ รางวัล ๒.๒ รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๑ เงินรางวลั จานวน ๓,๐๐๐ บาท พร้อมเกียรติบัตร จานวน ๒ รางวลั ๒.๓ รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๒ เงินรางวัล จานวน ๒,๕๐๐ บาท พร้อมเกียรตบิ ัตร จานวน ๒ รางวลั ๒.๔ รางวลั ชมเชย เงินรางวัล จานวน ๒,๐๐๐ บาท พร้อมเกียรตบิ ตั ร จานวน ๔ รางวลั (รวมท้ังสน้ิ จานวน ๑๐ รางวัล) ๓. สภาวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงราย ไดจ้ ดั ทาอินโฟกราฟิกเพ่ือเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ข่าวสาร การ จัดกิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีต ประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี 2564 ผ่านเฟซบุ๊กของสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย FACEBOOK : สภาวัฒนธรรม จงั หวดั เชยี งราย และเฟซบุ๊กของสานกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงราย FACEBOOK : สนง.วัฒนธรรม เชยี งราย เผยแพรว่ ิดีโอ ผ่านชอ่ งทาง YouTube : สานกั งานวัฒนธรรม จงั หวดั เชยี งราย และเผยแพร่ผ่านทางกลุ่มไลน์ต่าง ๆ /อินโฟ...

- ๓๐ - อินโฟกราฟิกเผยแพร่ขา่ วสารการจัดกจิ กรรมมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม โซนที่ ๑ อินโฟกราฟิกเผยแพร่ขา่ วสารการจัดกิจกรรมมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม โซนท่ี ๒ /อนิ โฟ...

- ๓๑ - อนิ โฟกราฟิกเผยแพร่ขา่ วสารการจัดกิจกรรมมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม โซนท่ี ๓ อินโฟกราฟกิ เผยแพร่ขา่ วสารการจัดกิจกรรมมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม โซนท่ี ๔ /การเผยแพร.่ ..

- ๓๒ - การเผยแพร่ผา่ นเฟซบุ๊กของสภาวฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย FACEBOOK : สภาวัฒนธรรม เชียงราย การเผยแพรก่ ารเขา้ ร่วมกิจกรรมมรดก การเผยแพร่การเขา้ รว่ มกิจกรรมมรดก ภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม โซนที่ ๑ ผ่านทางเฟซบกุ๊ ภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม โซนท่ี ๒ ผา่ นทางเฟซบุ๊ก การเผยแพรก่ ารเข้าร่วมกิจกรรมมรดกภูมปิ ญั ญา การเผยแพร่การเขา้ รว่ มกจิ กรรมมรดกภูมิปญั ญา ทางวฒั นธรรม โซนท่ี ๓ ผ่านทางเฟซบุก๊ ทางวัฒนธรรม โซนที่ ๔ ผ่านทางเฟซบ๊กุ /การเผยแพร.่ ..

- ๓๓ - การเผยแพร่ผ่านเฟซบุ๊กของสานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย FACEBOOK : สนง.วัฒนธรรม เชยี งราย และเผยแพร่วิดโี อผ่านทาง YouTube : สานกั งานวัฒนธรรม จังหวดั เชียงราย การเผยแพร่การเขา้ รว่ มกิจกรรมมรดกภมู ปิ ัญญา การเผยแพรก่ ารเขา้ รว่ มกิจกรรมมรดก ทางวัฒนธรรม โซนที่ ๑ ผ่านทางเฟซบกุ๊ ภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม โซนท่ี ๒ ผ่านทางเฟซบุ๊ก การเผยแพร่การเข้าร่วมกจิ กรรมมรดกภูมปิ ัญญา การเผยแพร่การเข้าร่วมกจิ กรรมมรดกภมู ปิ ัญญา ทางวัฒนธรรม โซนท่ี ๓ ผ่านทางเฟซบุก๊ ทางวฒั นธรรม โซนที่ ๔ ผ่านทางเฟซบ๊กุ /การเผยแพร่...

- ๓๔ - การเผยแพรเ่ ชญิ ชวนเขา้ ร่วมกจิ กรรมมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม ผ่านทาง YouTube : สานกั งานวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย เม่ือวนั ที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ ๔. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทาหนังสือเชิญวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย เข้าร่วมกิจกรรมโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี ๒๕๖๔ และขอให้มอบหมายนักวิชาการผู้ประสานงานอาเภอ ดาเนินการ เก็บขอ้ มูลแบบสารวจมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม (แบบ มภ.1) หนงั สอื ถึงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งราย /หนงั สอื ...

- ๓๕ - หนังสือมอบหมายนักวชิ าการผปู้ ระสานงานอาเภอ ดาเนินการเกบ็ ขอ้ มลู แบบสารวจ มรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม (แบบ มภ.1) แบบสารวจมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงราย ประจาปี ๒๕๖๔ /แบบสารวจ...

- ๓๖ - แบบสารวจมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม (แบบ มภ.1) /๕. สภาวฒั นธรรม...

- ๓๗ - ๕. สภาวัฒนธรรมอาเภอของแต่ละโซน ได้มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางการดาเนินการ จัดกิจกรรมโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี ๒๕๖๔ โดยมีการนัดหมายจัดประชุมหรือการประสานงานผ่านทางโทรศัพท์ หรือทางกลุ่มไลน์ โดยมีนักวิชาการวัฒนธรรมผู้ประสานงานแต่ละอาเภอคอยอานวยความสะดวกในการดาเนิน กิจกรรม การประชุมปรึกษาหารอื แนวทางการดาเนินการจัดกิจกรรมแต่ละโซน /๖. สภาวัฒนธรรม...

- ๓๘ - ๖. สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการกิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้ โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถ่ิน ประจาปี 2564 และกิจกรรมการ ประกวดขันโตกอาหารชาตพิ ันธ์ุ โดยมีสภาวฒั นธรรมอาเภอทุกอาเภอ เขา้ รว่ มกิจกรรมดงั กล่าว จานวน ๑๘ อาเภอ ไดแ้ ก่ โซนท่ี ๑ (อ.เมอื งเชียงราย เวียงชยั เวยี งเชียงรุ้ง และแม่ลาว) สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้ โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี 2564 โซนท่ี 1 ได้แก่ อาเภอเวยี งเชยี งรงุ้ อาเภอเมอื งเชยี งราย อาเภอเวยี งชยั และอาเภอแม่ลาว โดยมี อาเภอเวยี งเชียงรุ้ง เปน็ เจ้าภาพ ในการจัดกิจกรรม และกาหนดจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีที่ 1๖ ธันวาคม 2564 ณ หอประชุมอาคาร เอนกประสงค์ พวงแสด 4 โรงเรยี นอนุบาลองค์การบรหิ ารส่วนตาบลป่าซาง อาเภอเวียงเชยี งรงุ้ จงั หวัดเชยี งราย กาหนดการโซนท่ี 1 ได้แก่ อาเภอเวียงเชยี งรุ้ง อาเภอเมอื งเชียงราย อาเภอเวียงชยั และอาเภอแมล่ าว ป้ายประชาสัมพนั ธ์ โครงการมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม ภายใต้โครงการจดั ทาฐานข้อมลู ด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณที อ้ งถ่ิน ประจาปี 2564 โซนที่ ๑ โดยไดร้ บั การสนับสนุนงบประมาณจากกรมสง่ เรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม /จานวน...

- ๓๙ - จานวนผู้เขา้ ร่วม การดาเนินโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วฒั นธรรม และจารีตประเพณีท้องถนิ่ ประจาปี 2564 โซนที่ ๑ ได้มผี ูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมดังกลา่ ว จานวน ๑๖๐ คน ประกอบดว้ ย เครือขา่ ยสภาวฒั นธรรมระดับตาบล ระดบั อาเภอและระดบั จังหวัด เดก็ เยาวชน ผู้สูงอายุ ผนู้ าชมุ ชน และประชาชนทว่ั ไป จานวนศิลปนิ แห่งชาต/ิ ศิลปินพ้นื บ้าน โดยมีศลิ ปินพน้ื บ้านแต่ละอาเภอ เขา้ รว่ มกิจกรรมดังกล่าว จานวน ๗ คณะ ไดแ้ ก่ ๑. ชุดการแสดงระบาดอกบัว แสดงโดย โรงเรียนอนุบาลองค์กรบรหิ ารส่วนตาบลป่าซาง อาเภอ เวยี งเชียงรุง้ จังหวัดเชยี งราย ๒. ชุดการแสดงฟ้อนโปรยดอกไม้ แสดงโดย นางวไิ ล ปัญญาผาบ เครอื ข่ายทางวฒั นธรรมอาเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชยี งราย ๓. ชุดการแสดงฟ้อนพื้นเมือง แสดงโดย ทีงานตาบลนางแล เครือข่ายวัฒนธรรมอาเภอ เมืองเชยี งราย จงั หวัดเชียงราย ๔. ชดุ การแสดงฟอ้ นทีและญวนราพัด แสดงโดย ทมี งานตาบลป่าอ้อดอนชยั อาเภอเมอื งเชยี งราย จังหวดั เชยี งราย ๕. ชุดการแสดงฟอ้ นศลี ๕ และฟ้อนเลบ็ แสดงโดย เครือขา่ ยออาเภอแม่ลาว จงั หวดั เชียงราย ๖. ชุดการแสดงขับปี่ซอ คณะแสนคานางแลเจ็ด แสดงโดย ทีมงานของแม่กครูคาแสน แก้วสืบ เครือขา่ ยวัฒนธรรมอาเภอเมืองเชยี งราย จังหวดั เชยี งราย ๗. ชุดการแสดงขบั ปซ่ี อ คณะทองสรอ้ ยหนองเกา้ หอ้ ง แสดงโดย ทมี งานของแมค่ รูสร้อยสดุ า ภริ าษร เครือขา่ ยสมาคมศลิ ปินปซ่ี อลา้ นนา เชียงราย จงั หวัดเชยี งราย การจาหน่ายสินค้าทางวฒั นธรรม การดาเนินโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี 2564 โซนท่ี ๑ ได้มีเครือข่ายทางวัฒนธรรมนาสินค้าทางวัฒนธรรม มาจาหน่าย จานวน ๖ รายการ โดยมีรายได้ทั้งหมด คิดเป็นจานวนเงิน ๘,๐๐๐ บาท (แปดพันบาทถ้วน) ประกอบด้วยสินคา้ ทางวฒั นธรรม ดังนี้ ๑. ผ้าทออีสานล้านนา (อาเภอเวียงเชียงรุง้ และอาเภอเวยี งชยั ) จานวนเงนิ ๓,๕๐๐ บาท ๒. เครอ่ื งจกั สานไม้ไผ่ (อาเภอเวยี งชัย) จานวนเงิน ๘๐๐ บาท ๓. เคร่อื งจกั สานหวาย (อาเภอเมืองเชยี งราย) จานวนเงนิ ๑,๕๐๐ บาท ๔. พริกทอดทรงเครื่อง (อาเภอเวียงชัย) จานวนเงนิ ๕๐๐ บาท ๕. ไม้กวาดดอกหญา้ (อาเภอแม่ลาว) จานวนเงนิ ๕๐๐ บาท ๖. ดอกไม้ประดิษฐ์ (อาเภอเวยี งเชียงรงุ้ ) จานวนเงิน ๑,๒๐๐ บาท /จานวน...

- ๔๐ - จานวนรายไดท้ ่ีเกดิ ข้นึ ทง้ั หมด รายได้ที่เกิดข้ึนจากการดาเนินโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทา ฐานขอ้ มูลดา้ นศาสนา วฒั นธรรม และจารตี ประเพณที ้องถิ่น ประจาปี 2564 โซนที่ ๑ ดังนี้ ๑. ค่าตอบแทนสาธติ ภูมิปญั ญาแต่ละอาเภอ จานวน ๔ อาเภอ x ๕,๐๐๐ = ๒๐,๐๐๐.- บาท ๒. ค่าเงินรางวลั การประกวดขันโตก โซน ๑ - รางวัลชนะเลิศ (อาเภอเมืองเชียงราย) = ๓,๕๐๐.- บาท - รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ๑ (อาเภอเวยี งชัย) = ๓,๐๐๐.- บาท - รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดับ ๒ (อาเภอเวียงเชียงรงุ้ ) = ๒,๕๐๐.- บาท - รางวลั ชมเชย (อาเภอแมล่ าว) = ๒,๐๐๐.- บาท รายได้จากการจัดจาหน่ายสินคา้ ทั้ง ๔ อาเภอ = ๘,๐๐๐.- บาท รวมทัง้ ส้ิน (สามหมืน่ เกา้ พนั บาทถ้วน) = ๓๙,๐๐๐.- บาท ภาพการจดั กิจกรรม ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมและการประกวดขนั โตกอาหารชาตพิ นั ธุ์ ได้ทยอยเดินทางมาลงทะเบียน พธิ เี ปดิ โครงการโดยชุดการแสดงจากสภาวฒั นธรรมอาเภอเวียงเชียงรุ้งให้ผู้เขา้ ร่วมงานไดร้ ับชม /นายบดินทร.์ ..

- ๔๑ - นายทรงเกียรติ ศรกี นั ชยั ประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอเวยี งเชียงรงุ้ รองปลัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลป่าซาง กล่าวรายงานพร้อมด้วย อาเภอเมอื งเชียงราย กล่าวต้อนรบั อาเภอเวียงชัย และอาเภอแม่ลาว นายบดินทร์ เทียมภกั ดี นายอาเภอเวียงเชียงรงุ้ นางสลักจฤฎดิ์ ตยิ ะไพรชั เปน็ ประธานการเปดิ งานดงั กลา่ ว ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย บรรยายพิเศษ หวั ข้อ การดาเนนิ งานของ สภาวฒั นธรรมจังหวัดเชียงรายในปีท่ผี ่านมา และแนวทางการขับเคลอ่ื นงานด้านวัฒนธรรม ภาพบรรยากาศข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และผู้เข้าร่วม ภายในงาน /อีกทัง้ ...

- ๔๒ - อกี ทัง้ สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ไดด้ าเนินการจัดการประกวดขนั โตกอาหารชาตพิ ันธ์ุโซนที่ 1 โดยสภาวัฒนธรรมอาเภอ เข้าร่วมการประกวด จานวน 4 อาเภอ และได้มาร่วมจัดทาอาหารชาติพันธุ์ ต่อหน้าคณะกรรมการตัดสิน ประกอบด้วย สภาวัฒนธรรมอาเภอเวยี งเชียงรุ้ง สภาวัฒนธรรมอาเภอเมืองเชียงราย สภาวัฒนธรรมอาเภอเวยี งชัย และสภาวฒั นธรรมอาเภอแม่ลาว คณะกรรมการตัดสินการอาหารชาตพิ นั ธุ์ ประกอบด้วย ๑. นางสลักจฤฎด์ิ ติยะไพรชั ประธานกรรมการ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวดั เชียงราย กรรมการ ๒. ผศ.ดร.ณรงค์ เจนใจ รองประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงราย ๓. นางสาววรัชยา โกแสนตอ กรรมการ รองประธานเครอื ขา่ ยวฒั นธรรมระดับจังหวัด ๔. นางเบ็ญจมาส บญุ เทพ กรรมการ นักวชิ าการวฒั นธรรมชานาญการพเิ ศษ สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งราย ๕. นางสาวธญั วรัตม์ วรรณสอน เลขานกุ าร นกั วชิ าการวฒั นธรรม สานกั งานวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งราย ๖. นางสาวฐฒิ ิกา วงศ์มา ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร เจา้ หน้าท่ีมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม ท้ังนี้ คณะกรรมการได้ดาเนินการพิจารณาตัดสินผลงานตามเกณฑ์การให้คะแนนด้านต่าง ๆ และคณะกรรมการได้รว่ มกนั ตัดสินการประกวดขันโตกอาหารชาตพิ นั ธ์ุโดยมผี ูไ้ ด้รับรางวลั ดังนี้ ๑. รางวลั ชนะเลศิ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองเชียงราย (ชาตพิ นั ธุไ์ ทใหญ่) ๒. รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดับ ๑ ได้แก่ อาเภอเวยี งชัย (ชาติพนั ธ์ุไทยอง) ๓. รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ ๒ ได้แก่ อาเภอเวียงเชยี งรุ้ง (ชาติพันธไ์ุ ทยอสี าน) ๔. รางวัลชมเชย ไดแ้ ก่ อาเภอแม่ลาว (ชาตพิ ันธบ์ุ ซี ู) อาหารชาติพนั ธ์ุไทใหญ่ อาหารชาตพิ ันธไุ์ ทยวน โดยสภาวฒั นธรรมอาเภอเมืองเชียงราย โดยสภาวฒั นธรรมอาเภอเวียงชัย /อาหาร...

- ๔๓ - อาหารชาตพิ นั ธไ์ุ ทยอีสาน อาหารชาติพนั ธบ์ุ ซี ู โดยสภาวฒั นธรรมอาเภอเวียงเชยี งรุง้ โดยสภาวฒั นธรรมอาเภอแม่ลาว ป้ายประชาสัมพันธ์ โครงการมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม ภายใตโ้ ครงการจัดทาฐานขอ้ มูล ด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีทอ้ งถนิ่ ประจาปี 2564 โดยได้รบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากกรมส่งเริมวฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม สภาวฒั นธรรมแต่ละอาเภอรว่ มการทาอาหารขันโตกชาตพิ นั ธ์ุ /คณะกรรมการ...

- ๔๔ - คณะกรรมการตดั สินการประกวด ได้ร่วมชมบูธและ สังเกตการณข์ ัน้ ตอนการทาอาหารชาติพันธุ์ คณะกรรมการตัดสนิ การประกวด ได้รว่ มชมบูธและ สงั เกตการณข์ นั้ ตอนการการทาอาหารชาตพิ นั ธุ์ คณะกรรมการตัดสินการประกวด ไดร้ ่วมชมบูธและ สังเกตการณข์ ั้นตอนการการทาอาหารชาติพันธ์ุ /นางสลักจฤฎด.ิ์ ..

- ๔๕ - นางสลักจฤฎดิ์ ติยะไพรัช ประธานสภาวฒั นธรรม นางสลักจฤฎดิ์ ติยะไพรัช ประธานสภาวฒั นธรรม จงั หวัดเชยี งราย มอบเงินรางวลั และเกยี รตบิ ัตรกับ จงั หวัดเชียงราย มอบเงินรางวัลและเกยี รติบัตรกับ สภาวัฒนธรรมอาเภอเมืองเชียงรายท่ไี ดร้ ับรางวัล สภาวัฒนธรรมอาเภอเวียงชัยที่ได้รับรางวัล “ชนะเลิศ” การประกวดขันโตกอาหารชาติพนั ธุ์ “รองชนะเลิศอนั ดับ 1 ” การประกวดขันโตกอาหารชาติพันธุ์ นางสาวทัศนยี ์ ดอนเนตร ผอ.กลุ่มกิจการพเิ ศษ นางสาวทัศนีย์ ดอนเนตร ผอ.กลุ่มกิจการพิเศษ สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงราย ผู้แทน สานักงานวฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย วฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย ผแู้ ทนวฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย มอบเงินรางวัลและเกียรติบัตรกับ มอบเงนิ รางวัลและเกียรตบิ ัตรกบั สภาวฒั นธรรมอาเภอเวียงเชียงรงุ้ ทีไ่ ดร้ ับรางวัล สภาวฒั นธรรมอาเภอเวยี งแม่ลาว ท่ีได้รับรางวัล “รองชนะเลิศอันดับ 2” การประกวดขันโตก “ชมเชย” การประกวดขนั โตกอาหารชาตพิ ันธุ์ อาหารชาตพิ นั ธ์ุ /นอกจากนี้...

- ๔๖ - นอกจากน้ี ภายในงานมีการจดั การแสดงแฟชัน่ โชว์ชุดชาตพิ นั ธุ์ของแต่ละอาเภอ และมกี ารแสดง/ สาธิตมรดกภูมิปัญญา และจัดจาหน่ายสินค้าทางวัฒนธรรม แต่ละอาเภอ จานวน ๖ ด้าน เช่น วรรณกรรมและ นิทานพื้นบ้าน เครื่องจักสาน การนวดแผนไทย สมุนไพรพ้ืนบ้าน พิธีอ่วงข้าว/หมอดูล้านนา ผ้าทอพื้นเมือง และ การละเลน่ พ้นื บ้าน เปน็ ต้น บรรยากาศการจาหนา่ ยสนิ ค้า/ผลติ ภณั ฑ์ของเครือขา่ ยทางวฒั นธรรมภายในงาน บรรยากาศการจาหนา่ ยสนิ ค้า/ผลิตภัณฑข์ องเครอื ข่ายทางวัฒนธรรมภายในงาน เครอื ขา่ ยทางวัฒนธรรมไดม้ าร่วมสาธติ การประดิษฐ์ดอกไม้พรอ้ มจาหน่ายให้กับผู้เข้ารว่ มงาน /มรดกภูมปิ ัญญา...