Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter2

Chapter2

Published by Hana, 2020-08-23 22:14:18

Description: Chapter2

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง การศกึ ษารวบรวมเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้อง ท่ีนามาใชใ้ นงานวิจยั เรอื่ ง ผลของการจดั การเรียนรแู้ บบ Tribe ท่มี ีต่อความเขา้ ใจในการอ่าน แบ่งออกเปน็ 7 หวั ข้อดังตอ่ ไปน้ี 1. แนวคดิ ทฤษฎีและหลักการเกีย่ วกบั พหุวัฒนธรรมศึกษา (Multicultural Education) 1.1 ความหมายของพหวุ ัฒนธรรมศึกษา 1.2 ความสาคัญและแนวทางในการจัดการศึกษาตามแนวคิดพหุวัฒนธรรม 2. แนวคดิ ทฤษฎีและหลักการเกย่ี วกบั การเรียนรู้แบบร่วมมอื (Cooperative Learning) 2.1 ความหมายของการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื 2.2 องค์ประกอบของการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื 2.3 ข้อดแี ละประโยชน์ของการเรียนรูแ้ บบรว่ มมอื 2.4 บทบาทของครูผสู้ อนในการจดั การเรยี นรู้แบบรว่ มมือ 2.5 รปู แบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ 3. แนวคิดและหลกั การจดั การเรียนรู้แบบสงั คมกล่มุ ชนเผ่า (Tribe Learning Community course) 4. แนวคดิ และหลกั การเก่ียวกบั การคดิ เชงิ วเิ คราะห์ (Analytical Thinking) 4.1 ความหมายของการคิดเชิงวิเคราะห์ 4.2 กระบวนการคดิ เชงิ วิเคราะห์ 4.3 ลกั ษณะของการคิดเชิงวิเคราะห์ 4.4 องคป์ ระกอบหรอื คุณสมบตั ิของการคิดเชงิ วิเคราะห์ 4.5 ประโยชนข์ องการคิดเชิงวเิ คราะห์ 4.6 แนวการสอนเพอ่ื พัฒนาทักษะการคดิ เชิงวิเคราะห์ 5. แนวคดิ และหลักการเกีย่ วกับเจตคติ (Attitude) 5.1 ความหมายของเจตคติ 5.2 ลกั ษณะของเจตคติ 5.3 ประเภทของเจตคติ 5.4 องค์ประกอบของเจตคติ 8

9 6. แนวคดิ และหลกั การเกยี่ วกับการอ่าน 6.1 ความหมายของการอ่าน 6.2 ความสาคญั และประโยชน์ของการอ่าน 7. งานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง 1. แนวคดิ ทฤษฎีและหลักการเกยี่ วกบั พหุวัฒนธรรมศกึ ษา (Multicultural Education) 1.1 ความหมายของพหุวัฒนธรรมศกึ ษา พหวุ ฒั นธรรมศกึ ษา หรอื การศกึ ษาแบบพหุวัฒนธรรม ได้เรม่ิ มีการศกึ ษาข้ึนเป็น คร้งั แรกในประเทศสหรฐั อเมริกา เนือ่ งจากในอเมริกามกี ารอพยพย้ายถ่นิ ของผ้คู นเขา้ ไปอยู่เป็น จานวนมากจากหลากหลายเชอ้ื ชาติศาสนา ตา่ งวัฒนธรรม ทาให้เป็นประเทศที่มคี วามตนื่ ตวั ดา้ นพหุ วัฒนธรรมศึกษาที่ก้าวหน้าประเทศหนึ่ง แตก่ อ่ นที่สหรัฐอเมรกิ าจะมีความต่นื ตัวดา้ นพหวุ ฒั นธรรม ศกึ ษาดังเชน่ ทกุ วันน้ี กไ็ ด้ผา่ นข้ันตอนการปรบั ความคดิ หลายช่วง ซ่ึงนักการศึกษาตา่ งกไ็ ด้ให้ ความหมายของ Multicultural Education ไว้ดังนี้ Banks J. (1993) ได้ให้ความหมายของการศึกษาแบบพหวุ ฒั นธรรมไว้ว่าเปน็ การศึกษาทม่ี ีจดุ ประสงคเ์ พ่อื ใหเ้ กิดโอกาสทางการศกึ ษาทีเ่ ท่าเทียมกันในหมู่ผ้เู รียนทม่ี าจากเช้อื ชาติ ชาตพิ ันธ์ุ ฐานะทางสังคม และวัฒนธรรมท่ตี า่ งกัน จุดมุ่งหมายหลักอกี ประการหนึง่ ของการศกึ ษา แบบพหวุ ฒั นธรรมท่ี Banks กลา่ วถงึ ก็คอื เพือ่ ช่วยใหน้ ักเรยี นทุกคนได้รบั ความรแู้ ละทักษะรวมถงึ ทัศนคติทีจ่ าเปน็ ในการดารงชีวติ อย่ใู นสังคมทเ่ี ป็นประชาธปิ ไตยและมคี วามหลากหลาย Gollnick, Donna M. (2009 : 4) กลา่ วว่า พหุวฒั นธรรมศกึ ษา คือ ยทุ ธศาสตร์ใน การศกึ ษาวฒั นธรรมของผู้เรยี น ที่นามาใช้ในการพัฒนาประสิทธภิ าพของการเรียนการสอนในชน้ั เรียนและสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี น พหวุ ัฒนธรรมศึกษาสามารถสนบั สนนุ และขยายแนวคิดของ วฒั นธรรม ความเสมอภาค ความยุติธรรมในสังคมและความเสมอภาคทางสงั คมเข้าไปในโรงเรยี น เชน่ การต้ังกฎเกณฑ์ หรือการใชก้ ฏเกณฑต์ า่ งๆทจี่ ะนาไปสคู่ วามเขา้ ใจของการพัฒนาและการ ฝึกฝนเกี่ยวกบั พหุวฒั นธรรมศกึ ษา จรญู จวั นาน (อ้างถงึ ในสธุ ารา โยธาขันธ์, 2541 : 12) ไดก้ ล่าวสรปุ ความหมาย ของพหุวัฒนธรรมศึกษาไว้ดงั น้ี การศกึ ษาแบบพหวุ ฒั นธรรมเป็นมโนคติหรอื แนวคดิ ในการจัด การศึกษาสาหรบั สังคมที่มวี ฒั นธรรมหลากหลายโดยการจัดการศึกษาให้สอดคลอ้ งกลมกลืนกบั ส่งิ แวดล้อม และความตอ้ งการของนักเรยี น ด้วยการบรู ณาการเพ่ือให้นกั เรยี นทกุ คนไดร้ ับความ เสมอภาคในการเรยี น สาหรับความแตกตา่ งทท่ี าให้เกิดความหลากหลายจะรวมถงึ ความแตกตา่ ง

10 ด้านสผี ิว เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ชน้ั ของสังคม และเศรษฐกจิ เพศ เด็กพิเศษ อายุและวฒั นธรรมถิ่น ตา่ งๆ สุธารา โยธาขนั ธ์ (2541: 13) ได้สรปุ ความหมายของการศกึ ษาพหุวฒั นธรรมไวว้ า่ การศกึ ษาแบบพหวุ ฒั นธรรมนัน้ หมายถงึ การจัดการศกึ ษาเกี่ยวกับความหลากหลายของวัฒนธรรม ในสังคมซงึ่ เป็นกระบวนการเปลย่ี นแปลงระบบโครงสรา้ งของหลกั สูตรในโรงเรียนใหย้ อมรับและ เคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของนกั เรยี นทเี่ ปน็ ผลมาจากวฒั นธรรมในสังคมนน้ั นาไปส่กู ารเปลย่ี นแปลงการจัดการศกึ ษาทค่ี านงึ ถึงความต้องการของผู้เรียนในด้านต่างๆ ตลอดจน คานึงถงึ ความสอดคลอ้ งกับบริบทของผเู้ รียนทงั้ ในและนอกโรงเรยี นเพื่อส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นประสบ ความสาเรจ็ ในการเรียนและอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ในสงั คมอยา่ งสรา้ งสรรค์และเป็นสุข จากความหมายของพหวุ ัฒนธรรมศกึ ษาทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ อาจสรปุ ไดว้ า่ พหุ วฒั นธรรมศึกษา คือ การจัดการศกึ ษาทีม่ ุง่ ใหเ้ กดิ ความเทา่ เทยี มกันในด้านโอกาสทางการศกึ ษาของ ผูเ้ รยี นทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั โดยการจัดการศกึ ษาจะตอ้ งมีความสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดล้อมและ ตอบสนองความตอ้ งการของผูเ้ รยี นและสังคม สรา้ งผเู้ รยี นที่เห็นคณุ ค่าในวฒั นธรรมของตนเอง และยอมรบั ความแตกตา่ งของผู้อนื่ เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถอยู่ในสังคมท่ีมคี วามแตกต่างไดอ้ ย่างมี ความสขุ 1.2 ความสาคญั และแนวทางในการจัดการศึกษาตามแนวคดิ พหวุ ฒั นธรรม สังคมใดทขี่ าดความหลากหลายทางวัฒนธรรม อาจจะไม่สามารถท่ีจะเผชิญความ เปลี่ยนแปลงได้ แลว้ จะตอ้ งล่มสลายไปในที่สดุ หรือไม่ก็จะต้องไปเลือกวัฒนธรรม ซึง่ ไมเ่ หมาะกับ สังคมตนเองมาใช้ แต่อย่างไรกต็ ามความหลากหลายทางวัฒนธรรมไมไ่ ดห้ มายถึงการมเี สรีภาพ เต็มท่ีท่จี ะประพฤติปฏิบตั ิตามใจตนเอง จนส่งผลให้เกิดปญั หาการอย่รู ่วมกันกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งขาดความ สมดุล แต่หมายถงึ การยอมรบั และอยู่ร่วมกันบนพืน้ ทแี่ หง่ ความหลากหลายทางความคดิ และการ ดารงชีวิต (livelihood) ซ่งึ ก็ไมไ่ ด้หมายถึงการทาให้ “อนวุ ฒั นธรรม” เป็นเพียงตวั ประกอบใน วฒั นธรรมกระแสหลกั เทา่ น้ัน ดังนนั้ การสร้างความเข้าใจข้ามวัฒนธรรมเปน็ การสร้างฐานรากที่ สาคัญของมิตรภาพและความสมั พนั ธ์ใกล้ชิดระหวา่ งชาติ ในโลกทีม่ กี ารตดิ ต่อสมั พันธ์ดา้ นตา่ งๆ อย่างรวดเร็ว จะตอ้ งเสรมิ ความเข้าใจระหวา่ งกันด้านความคดิ วถิ ชี วี ิต และคา่ นยิ มที่ยงั หลากหลาย มากในโลกปัจจุบัน (เยน็ จติ ร ถิน่ ขาม, 2550 http://smf.sdmkku.com/index.php?topic=65.0 ) หลกั การพน้ื ฐานของการยอมรับและเคารพในความแตกตา่ งกันของปจั เจกชนและ ของกลุ่มชน หมายความวา่ นโยบายการศึกษาจะต้องมีความหลากหลายอย่างพอเหมาะพอควร และ

11 จะต้องไม่เปน็ สาเหตุของการแบ่งแยกทางสังคม (วไล ณ ป้อมเพชร, 2545 : 34-40) โรงเรยี นทุก โรงเรียนจาเปน็ ต้องมกี ารจดั การศกึ ษาแบบพหุวัฒนธรรมอยา่ งหลีกเลย่ี งไมไ่ ด้ เพราะแม้นักเรียน และผู้ทเ่ี กีย่ วข้องกับการจดั การศึกษาไม่ได้เรียนรเู้ รือ่ งความหลากหลายวัฒนธรรมจากกจิ กรรมของ โรงเรยี น ก็เรยี นรู้สง่ิ เหลา่ นจ้ี ากภายนอกในสังคม ซง่ึ ทกุ ๆคนจะไดป้ ระสบกับความหลากหลายของ มนษุ ย์ตลอดชีวิต (เกสรี สุวรรณเรอื งศรี, 2542 : 43) Gollnick, Donna M. (2009 : 18) ไดก้ ลา่ วถึงลักษณะเฉพาะของวฒั นธรรม (Cultural Identity) ว่าหมายถึง ฐานของสมาชิกในกลุ่มท่ีมีความหลากหลาย มีปฏิกริ ยิ าต่อกนั และมี อิทธพิ ลต่อคนอืน่ ๆ ลักษณะเฉพาะภายในกลมุ่ เปน็ การสะทอ้ นดว้ ยปฏกิ ริ ยิ ากบั บทบาทสาคญั ของ กลมุ่ และพลังเครอื ข่ายระหว่างกลุ่มต่างๆ ในสังคม องค์ประกอบที่ทาใหเ้ กดิ ลักษณะเฉพาะของ วฒั นธรรมย่อยในสังคมมี 8 ประการดังน้ี (1) ชาตพิ ันธ์ุ และเชื้อชาติ (Ethnicity and Race) (2) ชนช้ันและฐานะทางสังคม (Class and Socioeconomic Status) (3) เพศ (Gender and Sexual Orientation) (4) กล่มุ พเิ ศษ เชน่ พกิ ารหรือมรี ะดับปญั ญาเป็นเลิศ (Exceptionality ) (5) ภาษา (Language) (6) ศาสนา (Religion ) (7) ภูมปิ ระเทศทอี่ ยู่อาศัย (Geography ) (8) อายุ (Age) จากความสาคัญของการศกึ ษาพหวุ ฒั นธรรมขา้ งตน้ จะเหน็ ได้วา่ การยอมรบั และ เขา้ ใจกันในสังคมนั้นเป็นส่ิงจาเปน็ การทาให้ผ้คู นเกิดการยอมรบั และเขา้ ใจในความหลากหลาย ทางวฒั นธรรมนนั้ จึงต้องเกดิ ข้ึน ซง่ึ วัยเด็กเปน็ วนั ท่ีมีอคติและความยดึ มน่ั ถอื มั่นนอ้ ยกว่าผู้ใหญ่จงึ เปน็ วัยท่ีเราควรให้ความสาคัญในการปลูกฝงั ใหเ้ กดิ แนวคดิ การยอมรบั ความหลากหลายทาง วฒั นธรรมโดยสอดแทรกเขา้ ไปในการใหก้ ารศึกษา ผู้วจิ ยั จงึ สนใจนา องคป์ ระกอบท้งั 8 ประการ มาเป็นตัวแปรในงานวจิ ยั ครัง้ นี้ เน่ืองจาก หากเดก็ ทราบและยอมรบั ในความแตกต่างกนั ของ องคป์ ระกอบทงั้ 8 ประการที่ทาให้เกดิ ความแตกต่างกนั ของผูค้ นในวัฒนธรรมหรือภมู ภิ าคต่างๆ ดงั กล่าวกจ็ ะทาให้ ผู้เรยี นมแี นวโน้มที่จะยอมรบั ความเป็นพหุวัฒนธรรมไดม้ ากข้นึ ในอนาคต

12 2. แนวคดิ ทฤษฎีและหลักการเกีย่ วกบั การเรียนรู้แบบร่วมมอื (Cooperative Learning) 2.1 ความหมายของการเรยี นร้แู บบรว่ มมอื Alice F.Artzt and C.M. Newman, (1999 : 448-449) ไดใ้ ห้ความหมายของการ เรยี นรู้แบบร่วมมือไวซ้ ง่ึ สรปุ ไดว้ า่ เป็นการเรียนรูท้ ่ผี เู้ รยี นเรยี นรว่ มกนั เป็นกลุ่มเล็กๆ เพื่อเรียนรู้ การแก้ปัญหาร่วมกัน เพื่อให้กลมุ่ ประสบผลสาเรจ็ หรอื บรรลุเปา้ หมายร่วมกนั โดยสมาชิกในกลมุ่ เป็นสว่ นหนึ่งท่ีจะทาใหก้ ลุ่มประสบผลสาเรจ็ หรือล้มเหลว การทีส่ มาชกิ จะบรรลเุ ป้าหมายรว่ มกัน นนั้ ทุกคนตอ้ งปรกึ ษาหารือกนั และกัน ชว่ ยเหลือกันใหเ้ กิดการเรยี นรู้ในการแก้ปัญหา ครมู บี ทบาท เปน็ ผู้คอยใหค้ วามช่วยเหลอื จัดหา และชี้แนะแหล่งค้นควา้ ข้อมลู ซึง่ ผู้เรียนเปน็ ผู้คน้ คว้าเอง ซึ่งตวั ผู้เรียนจะเปน็ ผ้ทู ี่มคี วามสาคัญในการที่จะทาใหเ้ พอ่ื นในกล่มุ เข้าใจในเน้อื หาทีเ่ รียน Slavin, Robert E. (1995 : 5) ไดก้ ลา่ วไว้วา่ การเรียนรู้แบบรว่ มมือเป็นการเรยี นที่ ผู้เรียนมีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดกัน โดยผูเ้ รยี นจะมีการโต้ตอบกันภายในกลุ่ม ร่วมมอื กนั ทางาน เพื่อนาไปสเู่ ป้าหมายและความสาเร็จร่วมกันของกลุ่ม วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข์ (2542 : 34) กลา่ ววา่ การเรียนร้แู บบรว่ มมือ เป็นวธิ ีการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่เี น้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรยี นให้แก่ผเู้ รยี นไดเ้ รียนร้รู ว่ มกนั เป็นกลุ่มเล็กๆ แตล่ ะกลุ่มประกอบด้วยสมาชกิ ท่มี คี วามรู้ ความสามารถแตกตา่ งกนั โดยแต่ละคนมี สว่ นรว่ มอย่างแทจ้ ริงในการเรียนรู้ และในความสาเร็จของกลมุ่ จันทรา ตนั ติพงศานุรกั ษ์ (2544 : 4) กลา่ วว่า การจดั การเรียนรแู้ บบรว่ มมอื หมายถงึ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนที่แบ่งผู้เรียนออกเปน็ กลุ่มยอ่ ย สง่ เสริมให้ผู้เรยี นทางาน รว่ มกัน โดยในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกทีม่ คี วามสามารถแตกต่างกัน มกี ารแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น มีการชว่ ยเหลือพึ่งพาซ่ึงกันและกนั และมีความรบั ผดิ ชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและ สว่ นรวม เพอื่ ให้ตนเองและสมาชกิ ทกุ คน ในกลุ่มประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายที่กาหนด สวุ ิทย์ มลู คา และอรทยั มูลคา (2545 : 134) กล่าววา่ การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็น กระบวนการเรยี นรทู้ ่จี ดั ให้ผูเ้ รียนไดร้ ่วมมอื และชว่ ยเหลือกันในการเรียนร้โู ดยแบง่ กลมุ่ ผู้เรยี นที่มี ความสามารถตา่ งกนั ออกเป็นกลุ่มเล็กๆ ซงึ่ เปน็ ลกั ษณะการรวมกลุ่มอย่างมีโครงสร้างที่ชัดเจนมี การทางานร่วมกนั มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มกี ารชว่ ยเหลอื พง่ึ พาอาศยั ซ่งึ กนั และกัน มีความ รบั ผดิ ชอบร่วมกนั ทง้ั ในสว่ นของตนและสว่ นรวม เพอื่ ใหต้ นเองและสมาชกิ ทกุ คนในกลุ่มประสบ ความสาเรจ็ ตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้

13 จากความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมอื ทไี่ ดร้ วบรวมมาขา้ งตน้ อาจสรปุ ไดว้ ่า การเรยี นร้แู บบร่วมมอื เปน็ การเรียนรทู้ ่ีเน้นกจิ กรรมกลุ่มยอ่ ย เพอื่ ส่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นซงึ่ มีความ แตกตา่ งกนั ได้มสี ่วนร่วมกนั อย่างแทจ้ ริงในการร่วมกันคิด การแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และการ ช่วยเหลอื กันเพือ่ ให้เกิดการเรียนรูร้ ่วมกนั โดยสมาชิกในกลมุ่ จะต้องมคี วามรบั ผิดชอบทงั้ ภาระกจิ ของตนเองและของกลมุ่ เพ่อื นาพาใหก้ ลุม่ ประสบความสาเรจ็ รว่ มกนั 2.2 องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมอื Johnson, Johnson and Holubec,(1994) (อ้างถงึ ในทิศนา แขมมณี, 2550 : 99-101) กล่าวว่าการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ ไมเ่ พียงแต่เปน็ การแบ่งกลุ่มให้นักเรียนชว่ ยกันทางานทไี่ ด้รบั มอบหมายให้ประสบความสาเร็จเทา่ นน้ั การเรยี นรู้แบบร่วมมอื จะตอ้ งมอี งค์ประกอบสาคญั ครบ 5 ประการดังน้ี (1) การพงึ่ พาและเกอื้ กูลกัน (Positive Interdependence) กลมุ่ การเรียนรูแ้ บบร่วมมอื จะต้องตระหนกั วา่ สมาชกิ กลุ่มทกุ คนมี ความสาคัญ และความสาเร็จของกลุ่มข้ึนกับสมาชกิ ทุกคนในกลมุ่ ในขณะเดยี วกันสมาชิกแต่ละคน ประสบความสาเรจ็ ไดก้ ต็ ่อเม่อื กลุ่มประสบความสาเรจ็ ความสาเร็จของบคุ คลและของกลมุ่ ข้นึ อยู่ กับกนั และกัน ดงั นนั้ แต่ละคนต้องรบั ผิดชอบในบทบาทหนา้ ที่ของตนและในขณะเดียวกนั ก็ ช่วยเหลอื สมาชกิ คนอ่นื ๆด้วย เพ่ือประโยชน์รว่ มกัน การจัดกลมุ่ เพื่อชว่ ยใหผ้ เู้ รียนมีการพึง่ พา ชว่ ยเหลอื เก้ือกลู กันนี้ทาไดห้ ลายทาง เชน่ การให้ผ้เู รยี นมเี ป้าหมายเดยี วกัน หรอื ให้ผูเ้ รยี นกาหนด เปา้ หมายในการทางาน/การเรียนร้รู ่วมกนั (Positive Goal Interdependence) การใหร้ างวัลตาม ผลงานของกลุ่ม (Positive Reward Interdependence) การให้รางวลั ตามผลงานของกลมุ่ (Positive Resource Interdependence) การมอบหมายบทบาทหนา้ ทใี่ นการทางานร่วมกันให้แตล่ ะคน (Positive Role Interdependence) (2) การปรึกษาหารอื กันอยา่ งใกล้ชดิ (Face-to-face promotive interaction) การทส่ี มาชกิ ในกลุ่มมีการพึ่งพาชว่ ยเหลอื เกื้อกูลกนั เปน็ ปจั จยั ท่ีจะ ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นมีปฏิสัมพนั ธ์ต่อกันในทางท่จี ะช่วยใหก้ ล่มุ บรรลเุ ป้าหมาย สมาชกิ กลมุ่ จะห่วงใย ไว้วางใจ สง่ เสริมและชว่ ยเหลือกนั และกนั ในการทางานต่างๆรว่ มกัน สง่ ผลใหเ้ กดิ สมั พันธภาพทดี่ ี ต่อกนั (3) ความรับผดิ ชอบทต่ี รวจสอบไดข้ องสมาชกิ แตล่ ะคน (Individual Accountability)

14 สมาชกิ ในกลุ่มการเรียนรทู้ ุกคนจะต้องมีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ และพยายาม ทางานทีไ่ ด้รับมอบหมายอย่างเตม็ ความสามารถ ไม่มใี ครที่จะได้รบั ประโยชน์โดยไม่ทาหน้าทีข่ อง ตน ดงั น้ันในกลมุ่ จงึ จาเป็นตอ้ งมรี ะบบการตรวจสอบผลงาน ทั้งท่ีเปน็ รายบคุ คลและเปน็ กลุ่ม วิธีการทส่ี ามารถส่งเสริมให้ทกุ คนไดท้ าหนา้ ท่ขี องตนอยา่ งเต็มทม่ี ีหลายวธิ ี เช่น การจดั กลุ่มให้เล็ก เพื่อจะได้มีการเอาใจใส่กนั และกนั ไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ การทดสอบเปน็ รายบุคคล การส่มุ เรยี กชื่อให้ รายงาน ครูสงั เกตพฤติกรรมของผเู้ รียนในกลุ่ม การจัดใหก้ ลุม่ มผี ู้สงั เกตการณ์ การใหผ้ ู้เรียนสอน กนั และกัน เปน็ ต้น (4) การใช้ทักษะการปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและทกั ษะการทางานกล่มุ ย่อย (Interpersonal and Small-group skills) การเรยี นร้แู บบร่วมมอื จะประสบความสาเร็จได้ต้องอาศยั ทักษะทส่ี าคญั ๆ หลายประการ เชน่ ทกั ษะทางสงั คม ทกั ษะการปฏสิ ัมพันธก์ บั ผู้อืน่ ทกั ษะการทางานกลมุ่ ทกั ษะการ สอ่ื สาร และทกั ษะการแกป้ ัญหาขัดแยง้ รวมทั้งการเคารพ ยอมรับ และไวว้ างใจกันและกนั ซ่งึ ครู ควรสอนและฝึกใหแ้ กผ่ ู้เรียนเพ่ือชว่ ยใหด้ าเนนิ งานไปได้ (5) การวิเคราะห์กระบวนการกล่มุ (Group Processing) กลุม่ การเรียนรแู้ บบรว่ มมอื จะตอ้ งมกี ารวเิ คราะหก์ ระบวนการทางานของ กลุ่มเพือ่ ช่วยใหก้ ลุ่มเกดิ การเรียนรู้และปรบั ปรงุ การทางานให้ดขี ้ึน การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม ครอบคลุมการวเิ คราะห์เก่ยี วกับวธิ กี ารทางานของกลุม่ พฤตกิ รรมของสมาชกิ กลมุ่ และผลงานของ กลมุ่ การวเิ คราะห์การเรียนรู้น้ีอาจทาโดยครู หรือผ้เู รียน หรือท้งั สองฝ่าย การวเิ คราะห์กระบวนการ กลุม่ น้เี ปน็ ยุทธวิธีหนึ่งท่สี ่งเสรมิ ให้กลุ่มตงั้ ใจทางาน เพราะรวู้ า่ จะได้รบั ข้อมลู ป้อนกลับ และชว่ ย ฝกึ ทักษะการรู้คิด (Metacognition) คอื สามารถทจ่ี ะประเมินการคดิ และพฤตกิ รรมของตนที่ไดท้ าไป 2.3 ข้อดีและประโยชน์ของการเรยี นรู้แบบร่วมมือ อารี สัณหฉวี (2543 : 36-37) ได้กลา่ วถงึ คณุ ค่าของการเรียนรู้แบบรว่ มมอื ทีม่ ีต่อ นกั เรียนมีดังต่อไปนี้ (1) ทาให้นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขนึ้ (2) ทาให้นักเรียนมยี ุทธวธิ ีในการเรียนท่ีดี (3) ทาใหน้ กั เรยี นมคี วามทรงจาดีขน้ึ (4) ทาให้นักเรยี นมแี รงจูงใจภายในมากขน้ึ (5) ทาใหน้ ักเรียนมีทกั ษะทางสงั คมเพิ่มข้นึ (6) ทาให้นักเรียนชอบเรียนวชิ าตา่ งๆมากข้นึ

15 (7) ทาใหน้ กั เรียนมเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ ครู (8) ทาใหน้ ักเรียนมคี วามรู้สกึ ทดี่ ีตอ่ เพือ่ นนักเรียนด้วยกันมากขน้ึ (9) ทาใหน้ กั เรียนร้สู กึ ว่าตนเปน็ ทยี่ อมรับและได้รบั การสนบั สนุนจาก เพื่อน (10) ทาใหน้ กั เรียนมีความรู้สกึ ท่ดี ตี อ่ ตนเอง (มีความภาคภูมิใจในตนเอง) จันทรา ตนั ตพิ งศานุรกั ษ์ (2544 : 41) ได้กล่าวถงึ ประโยชน์ของการจดั การเรยี นรู้ แบบรว่ มมอื วา่ มปี ระโยชนต์ ่อนกั เรยี น ทงั้ ในด้านสังคมและวชิ าการดังนี้ (1) สร้างความสมั พันธ์ทีด่ รี ะหว่างสมาชกิ เพราะทกุ ๆคนรว่ มมอื ในการ ทางานกลมุ่ ทุกๆคนมีสว่ นร่วมเทา่ เทยี มกนั ทาให้เกดิ เจตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรยี น (2) สง่ เสริมให้สมาชกิ ทกุ คนมโี อกาสคิด พูด แสดงออก แสดงความ คดิ เห็น ลงมอื กระทาอย่างเทา่ เทยี มกัน (3) ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนรจู้ กั ช่วยเหลือซงึ่ กันและกนั เชน่ เด็กเกง่ ชว่ ยเด็กท่ี ไมเ่ ก่ง ทาใหเ้ ดก็ เกง่ ภาคภมู ิใจ รจู้ ักสละเวลา สว่ นเด็กอ่อนเกดิ ความซาบซ้ึงในน้าใจของเพ่อื น สมาชิกด้วยกนั (4) ทาใหร้ จู้ กั รบั ฟังความคดิ เห็นของผ้อู ่นื การรว่ มคดิ การระดมความคิด นาข้อมลู ท่ไี ดม้ าพิจารณาร่วมกัน เพอ่ื หาคาตอบทเ่ี หมาะสมทส่ี ุด เป็นการส่งเสริมใหช้ ว่ ยคิดหา ขอ้ มูลใหม้ าก คดิ วเิ คราะหแ์ ละเกิดการตัดสินใจ (5) สง่ เสรมิ ทกั ษะทางสงั คม ทาให้ผ้เู รียนรจู้ ักปรับตัวในการอยู่ร่วมกนั ด้วยมนุษยสมั พนั ธ์ทด่ี ีต่อกนั เข้าใจกนั และกัน (6) สง่ เสริมทักษะการสอ่ื สาร ทักษะการทางานเป็นกล่มุ สามารถทางาน รว่ มกบั ผ้อู ่ืนได้ สง่ิ เหล่านล้ี ว้ นสง่ เสรมิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นใหส้ งู ขึ้น Johnson, Johnson and Holubec,(1994) (อ้างถงึ ในทิศนา แขมมณี, 2550 : 99-101- 102) ได้กลา่ วถงึ ผลดขี องการเรียนแบบร่วมมือซ่ึงไดจ้ ากการรวมรวมผลการวจิ ัยเก่ียวกับการเรยี น แบบร่วมมอื ทงั้ งานวจิ ยั เชงิ ทดลองและงานวจิ ยั เชงิ หาความสมั พนั ธ์ ไว้ดงั น้ี (1) มคี วามพยายามทีจ่ ะบรรลเุ ปา้ หมายมากขึ้น (Greater efforts to achieve) การเรยี นรู้แบบร่วมมือชว่ ยให้ผู้เรยี นมีความพยายามทจี่ ะเรยี นรู้ใหบ้ รรลุ เปา้ หมาย เป็นผลทาให้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสงู ขึ้น และมผี ลงานมากข้นึ การเรยี นรูม้ คี วามคงทน

16 มากข้นึ (Long-Term Retention) มแี รงจูงใจภายในและแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธ์ิ มกี ารใช้เวลาอย่างมี ประสทิ ธิภาพ ใชเ้ หตุผลดขี น้ึ และคิดอย่างมวี ิจารณญาณมากข้ึน (2) มคี วามสมั พันธร์ ะหว่างผเู้ รียนดขี ึน้ (More Positive Relationships Among Students) การเรียนรูแ้ บบรว่ มมอื ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นมีนา้ ใจนักกีฬามากขน้ึ ใส่ใจในผู้อ่นื มากขึ้น เห็นคุณคา่ ของความแตกต่าง ความหลากหลาย การประสานสัมพันธแ์ ละการรวมกลุ่ม (3) มสี ขุ ภาพจติ ดขี นึ้ (Greater Psychological Health) การเรยี นร้แู บบรว่ มมือ ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นมีสขุ ภาพจิตดขี ึน้ มคี วามร้สู กึ ทีด่ ี เกี่ยวกับตนเองและมคี วามเชอ่ื มนั่ ในตนเองมากข้ึน นอกจากน้ันยงั ช่วยพฒั นาทกั ษะทางสงั คมและ ความสามารถในการเผชิญกบั ความเครยี ดและความผนั แปรตา่ งๆ จากผลดีและประโยชนข์ องการเรยี นรู้แบบร่วมมอื ท่ีรวบรวมมาขา้ งตน้ น้ันชีใ้ ห้เหน็ ว่าการเรียนรู้แบบร่วมมือเปน็ ประโยชน์และสง่ ผลดีตอ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รียนทั้งดา้ น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและด้านการพฒั นาทักษะทางสงั คมและการอยรู่ ่วมกนั ซ่ึงจะเป็นพ้นื ฐาน ชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกดิ การยอมรบั ความแตกตา่ งของกันและกนั สามารถปรับตวั และอยใู่ นสงั คมทีม่ คี วาม แตกตา่ งกันไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ผวู้ ิจัยจึงเลือกการเรยี นรู้แบบร่วมมือมาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เพ่อื ให้เกิดเจตคติทีด่ ตี ่อสงั คมพหวุ ฒั นธรรม 2.4 บทบาทของครผู ู้สอนในการจัดการเรียนรแู้ บบรว่ มมือ จันทรา ตนั ติพงศานรุ กั ษ์ (2544 : 23-29) ไดก้ ล่าววา่ ครูผูส้ อนเป็นผมู้ บี ทบาทสาคญั คนหนง่ึ ในการจดั การเรียนการสอนไมว่ ่าผู้สอนจะใช้รูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบร่วมมอื รปู แบบ ใดก็ตามจะตอ้ งมีการลาดับข้ันตอนในการสอนคล้ายคลึงกนั คือ ขั้นเตรียมการสอน การเร่ิมบทเรยี น การกากับดแู ลการสอน และการประเมนิ ผลงานและกระบวนการทางาน (1) ข้ันเตรยี มการสอน ในข้ันนี้มสี ิ่งทต่ี ้องคานงึ ถึง คือ 1.1 จุดประสงค์ ครตู อ้ งแจ้งจดุ ประสงคใ์ หน้ กั เรียนทราบ - จุดประสงคท์ างดา้ นวชิ าการ ไดแ้ ก่ เนอื้ หาและทักษะตา่ งๆ - จดุ ประสงคท์ างด้านสังคม ไดแ้ ก่ ทักษะการปฏสิ มั พันธ์ รูปแบบตา่ งๆ และการปฏิบัตงิ านรว่ มกนั ของนกั เรยี น 1.2 ขนาดของกลมุ่ ขนาดของกลุ่มจะมผี ลตอ่ การเรยี นรูข้ อง ผู้เรยี น ซงึ่ มีประเดน็ ทีจ่ ะตอ้ งพจิ ารณา คือ

17 - การจบั คูค่ วรใหน้ ักเรยี นไดเ้ ริ่มทากจิ กรรมคู่ เพราะการทา กจิ กรรมในลักษณะดังกลา่ วจะไม่มใี ครถกู ทอดทงิ้ จากกลุ่ม - กิจกรรมท่ีตอ้ งการทกั ษะและความคดิ ทีห่ ลากหลายอาจจดั กลมุ่ ให้มจี านวนนกั เรียน เช่น กล่มุ ละ 3 หรือ 4 คน - ถา้ หากสมาชกิ ในกลมุ่ มีจานวนสมาชกิ หลายคน คือ ตงั้ แต่ 3 คน ขนึ้ ไป จะตอ้ งแนใ่ จว่าสมาชกิ ทกุ คนในกลมุ่ มปี ฏิสมั พันธ์ซึ่งกันและกนั - การแบง่ กลมุ่ จะตอ้ งคานงึ ถึงกจิ กรรมและสอื่ การเรยี นการสอน ทีม่ ีอยู่ - ถ้าหากระยะเวลาในการทากิจกรรมส้ัน ขนาดของกลุ่มท่ีแบง่ ต้องมขี นาดเล็กเพื่อใหท้ กุ คนมีส่วนรว่ ม 1.3 การจดั นกั เรียนเข้ากลมุ่ การจัดนกั เรยี นเข้ากลุ่มอย่าง เหมาะสมจะช่วยให้การดาเนินกิจกรรมบรรลคุ วามสาเรจ็ ครูผู้สอนจะเป็นผ้จู ัดกล่มุ ไดด้ ที ่สี ุด เพราะ ร้จู กั นกั เรียนในชั้นมากทส่ี ดุ และสามารถเตรียมการที่จะชว่ ยเหลือหรือสนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ าน ของกลมุ่ เชน่ นักเรียนท่ีต้องแยกออกมาสอนเป็นการเฉพาะ ซึ่งอาจจะเป็นนกั เรยี นเก่งหรืออ่อน อย่างไรก็ตามมีแนวทางทีจ่ ะเสนอแนะ ดงั นี้ - การจดั กลมุ่ นกั เรียนท่ีมคี วามแตกตา่ งกัน ความแตกตา่ งทจี่ ะ นามาจัดรวมเขา้ ในกลุ่มเดยี วกนั อาจจะเปน็ ทางด้านภมู ิหลงั ความสามารถ วัฒนธรรม เพศ ฯลฯ - การสบั เปลี่ยนกลมุ่ ของนักเรยี น การจะใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิ กิจกรรมดว้ ยกันนานเทา่ ใดกข็ น้ึ อยูก่ บั ผลการปฏบิ ตั งิ านกลมุ่ ร่วมกนั อยา่ งไรก็ตาม ก็มีหลักทวั่ ๆไป วา่ จะตอ้ งรอให้กลุม่ ได้ทางานรว่ มกนั จนบรรลคุ วามสาเร็จ แตถ่ ้าหากกลุ่มประสบปัญหาในการ ทางานรว่ มกัน ครูผู้สอนต้องใหค้ าแนะนาในการแกป้ ญั หา 1.4 การจดั ชนั้ เรยี น โต๊ะ เก้าอี้ จะต้องดาเนนิ การใหพ้ รอ้ มกอ่ นท่ี นกั เรยี นจะเขา้ ชนั้ เรียน เพอ่ื ความสะดวกและความเปน็ ระเบยี บ การจัดสภาพห้องเรียนจะมีผลตอ่ ปฏสิ ัมพันธข์ องนกั เรียน 1.5 การจัดเตรียมส่อื การเรียนการสอน จะต้องเตรยี มสอ่ื การเรยี น การสอนตา่ งๆ ท่จี ะใชไ้ วใ้ ห้พร้อม (2) ขน้ั เรม่ิ บทเรยี น ในข้นั เรมิ่ บทเรียนมีสงิ่ ท่ตี ้องพิจารณา ดังน้ี 2.1 ความเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธก์ ันในทางบวก การทางานของกลุ่มจะ ดาเนนิ ไปด้วยดี เมอ่ื นักเรียนมคี วามร้สู กึ ที่ดีตอ่ กันและมีการพงึ่ พาอาศัยกนั และกนั ซง่ึ จะทาให้การ จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนดาเนนิ ไปสคู่ วามสาเร็จ

18 2.2 การอธิบายภาระงาน ครูผู้สอนอธบิ ายภาระงานที่จะตอ้ งทา ให้ชัดเจน เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง นอกจากนี้ ถา้ สามารถเชอ่ื มโยงใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธข์ อง บทเรยี นทผ่ี า่ นมากบั บทเรยี นทเี่ รียนอยู่และบทเรียนทจ่ี ะต้องเรยี นตอ่ ไปกจ็ ะเปน็ สง่ิ ที่ดีมาก 2.3 การประเมนิ ความสาเรจ็ นกั เรียนควรรวู้ ่าจะมวี ิธีการ ประเมินผลงานในการทางานกลมุ่ อย่างไร ครูผสู้ อนและนกั เรียนอาจรว่ มกนั วางหลกั เกณฑก์ าร ประเมนิ ผลในการพิจารณาความสาเรจ็ เช่น - เพยี งแค่ทาให้สาเรจ็ (เชน่ การชว่ ยกนั วาดแผนที่ให้เสรจ็ ภายใน 30 นาที) - ตอบคาถามถกู ตอ้ ง ( เชน่ ถา้ ทาคะแนนไดร้ ะหวา่ ง 90-100 คะแนนจะไดเ้ กรดA) - เสนอความคิดเห็นหรือการตัดสนิ ใจในข้นั ต่า (ตัวอย่าง ให้ เหตผุ ลสนบั สนุนความเหมาะสมในตาแหน่งของทา่ นมา 10 ประการ) - แสดงทักษะทางสังคมทีก่ าหนดให้ (เชน่ เตรียมขอ้ มูลท่ีจะ แสดงให้เห็นว่ากลุม่ ไดใ้ ชท้ ักษะวิจารณ์ในเชิงบวกในระหว่างการทางานร่วมกัน) 2.4 การเสริมสร้างความรบั ผิดชอบของสมาชิก สมาชิกแต่ละคน จะตืน่ ตวั และร่วมรบั ผิดชอบในการปฏบิ ตั งิ านกลุ่ม ถา้ หากวา่ สมาชิกได้รู้ล่วงหน้าวา่ จะมกี ารตดิ ตาม ผลการปฏิบัติงาน และทกั ษะทางสงั คมตา่ งๆที่แสดงออก วธิ ที จ่ี ะชว่ ยให้สมาชิกแตล่ ะคนมีความ รบั ผดิ ชอบอาจทาไดโ้ ดยเรยี กสมาชิกคนใดคนหนง่ึ ในกล่มุ ตอบในขณะปฏบิ ตั ิงานให้มีการเซน็ ช่อื รับรองวา่ ทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการทางาน ตลอดจนตรวจสอบกระบวนการทางานในกลุม่ ฯลฯ 2.5 การระบพุ ฤตกิ รรมทางสงั คมท่พี ึงปรารถนา ครผู ู้สอนและ นกั เรียนควรร่วมกนั ระบุพฤตกิ รรมตา่ งๆ ทางสังคมท่ตี อ้ งการในการกระทากจิ กรรมร่วมกนั ถา้ นักเรยี นได้เข้าใจโอกาสท่จี ะแสดงพฤติกรรมตา่ งๆที่พงึ ปรารถนาจะมมี ากขน้ึ และยังเป็นการ สง่ เสริมใหร้ จู้ กั ใช้ทกั ษะตา่ งๆเหลา่ นน้ั ด้วย (3) ขัน้ การกากับดแู ลการสอน ครผู สู้ อนมีหนา้ ที่จะตอ้ งดูแลนกั เรยี น ในขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ดังน้ี 3.1 พฤติกรรมของนกั เรียน เมอ่ื นกั เรยี นร่วมกันทากิจกรรม ครูผสู้ อนจะตอ้ งสังเกตความก้าวหน้าของนกั เรียน และจะเป็นการกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ปฏบิ ัติ กิจกรรมท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ครผู ูส้ อนควรมแี บบสังเกตการณ์เพ่อื บันทกึ การปฏบิ ัติงานของกลมุ่ และ ใช้ข้อมลู ดังกล่าวในการตแิ ละชมการทางานของกลุม่ นอกจากนี้ ครูผสู้ อนควรรวู้ ่าเม่ือใด ควรเข้าไป

19 ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น และในบางคร้ังนักเรยี นบางคนอาจมบี ทบาทในการเป็นผ้ชู ่วยครู กากับ ดูแล พฤติกรรมของเพือ่ นดว้ ย 3.2 ครูผสู้ อนสามารถมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นการสอนได้ 2 กรณี คือ - แนะนาการเรียนท่ัวไป เช่น อธิบายคาสั่งอย่างชดั เจนทบทวน กระบวนการดาเนินงาน ฝึกทกั ษะตา่ งๆ ในขณะท่คี รผู สู้ อนเขา้ ไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมและ ชว่ ยเหลอื นักเรียน ครผู ้สู อนจะต้องพยายามค้นหาทกั ษะและความสามารถต่างๆ ของนกั เรียนใน กลุ่มตา่ งๆออกมาใหม้ ากที่สุด ตวั อยา่ ง ถา้ มีนกั เรียนคนใดคนหนึ่งถามคาถาม ครูผู้สอนอาจไม่ตอบ เอง แต่ถามคาถามน้ันกลบั ไปให้นักเรยี นคนหน่งึ ในกลมุ่ ใดก็ได้เป็นคนตอบ - สอนทักษะการใหค้ วามรว่ มมือ ทกั ษะดังกล่าวมคี วามจาเป็น อยา่ งยง่ิ ในการจดั การเรียนร้แู บบร่วมมือ ตัวอย่าง ถา้ มนี ักเรยี นคนใดคนหนึ่งไม่ไดช้ ่วยเหลืองาน ของกลุ่ม นักเรยี นซ่ึงเปน็ สมาชกิ ในกลมุ่ นัน้ ควรจะตอ้ งเรียนรูท้ จ่ี ะทาให้ทุกคนมีสว่ นรว่ มในการทา กิจกรรม ครผู ู้สอนควรโยนปญั หาดงั กล่าวกลบั ไปให้กลมุ่ พิจารณาและหาทางแก้ไข ซึ่งจะทาใหเ้ กดิ การเรยี นรมู้ ากขึ้น อยา่ งไรก็ตามครูผสู้ อนไมค่ วรเขา้ ไปมีสว่ นรว่ มในการปฏิบตั ิกจิ กรรมของ นกั เรยี นเกินความจาเปน็ เพราะนักเรียนจะไมไ่ ดใ้ ชค้ วามคดิ ของตนเองเท่าท่ีควรและอาจคล้อยตาม ครผู ู้สอน (4) ข้ันการประเมนิ ผลงานและกระบวนการในการทางาน 4.1 การประเมนิ ผลงานด้านวชิ าการ ได้แก่ การประเมินผล ความกา้ วหน้าและความสาเรจ็ ทางการเรยี นของนกั เรียน ซงึ่ สะทอ้ นให้เห็นว่านกั เรยี นไดเ้ รียนรู้ อะไรบา้ ง ตวั อยา่ ง - ครผู ู้สอนสมุ่ เลอื กนกั เรียนกลมุ่ ใดกลุ่มหน่ึงตอบคาถามหรอื แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ - นกั เรยี นกลุ่มตา่ งๆ ร่วมกันอภปิ รายหลังจากการทดสอบย่อย หรอื รว่ มกันอภิปรายเพอื่ แกไ้ ข 4.2 การประเมินผลดา้ นสังคม เปน็ การประเมินผลเพือ่ ให้ทราบว่า สมาชกิ ของกลมุ่ ได้ใชท้ ักษะทางสังคม อะไรบา้ งและอย่างไร การทางานของกลุ่มมปี ระสิทธิภาพ เพยี งใด และจะต้องปรับปรุงอะไรบ้างและอย่างไร ตวั อยา่ ง - เลา่ ประสบการณใ์ หเ้ พ่อื นๆฟังเก่ียวกบั ความสาเร็จของกลุ่ม - อภิปรายและมขี อ้ ตกลงร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งทต่ี อ้ งปรบั ปรงุ ใน การทางานกลุม่ ครง้ั ต่อไป

20 บทบาทของครูผูส้ อนในการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือท่ีกลา่ วมานี้ จะช่วยให้ ครผู ู้สอนรจู้ กั วางแผนการสอน การเตรยี มการและการเลือกใช้ยุทธศาสตร์ท่เี หมาะสมและ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ ตลอดจนความสามารถของนกั เรยี น ซึ่งจะช่วยให้การจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ นอกจากน้ีทิศนา แขมมณี (2550 : 103) ไดก้ ลา่ วถงึ การประยุกต์ใชก้ ารเรยี นร้แู บบ ร่วมมือในการจัดการเรยี นการสอนไว้เช่นกนั วา่ ครสู ามารถนาหลักการของการเรียนรแู้ บบร่วมมอื ไปจัดการเรยี นการสอนของตนได้ โดยการพยายามจัดกลมุ่ การเรยี นร้ใู ห้มีองคป์ ระกอบครบ 5 ประการ และใช้เทคนคิ วิธกี ารต่างๆ ในการชว่ ยใหอ้ งคป์ ระกอบทัง้ 5 สมั ฤทธิ์ผลโดยท่ัวไปการ วางแผนบทเรยี นและจัดการเรียนการสอนใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรแู้ บบรว่ มมอื มีประเดน็ ทีส่ าคญั ซงึ่ Johnson, Johnson and Holubec, (1994 อา้ งถึงในทศิ นา แขมมณี, 2550 : 101-102) ไดก้ ลา่ วไว้ 4 ดา้ นดังนี้ (1) ดา้ นการวางแผนการจดั การเรียนการสอน 1.1 กาหนดจุดมุ่งหมายของบทเรยี นทั้งทางดา้ นความรแู้ ละทักษะ กระบวนการตา่ งๆ 1.2 กาหนดขนาดของกลมุ่ กลมุ่ ควรมขี นาดเลก็ ประมาณ 3-6 คน กลุ่ม ขนาด 4 คนจะเป็นขนาดทเ่ี หมาะสมทสี่ ุด 1.3 กาหนดองคป์ ระกอบของกลุ่มหมายถึงการจดั ผ้เู รียนเข้ากลุม่ ซ่ึงอาจ ทาโดยการสมุ่ หรอื การเลือกใหเ้ หมาะกับวัตถปุ ระสงค์ โดยทว่ั ไปกลุ่มจะต้องประกอบไปดว้ ย สมาชิกท่คี ละกนั ในดา้ นต่างๆ เช่น เพศ ความสามารถ ความถนดั เปน็ ต้น 1.4 กาหนดบทบาทของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม เพอ่ื ช่วยให้ผ้เู รียนมี ปฏิสมั พันธก์ นั อยา่ งใกลช้ ิดและมสี ว่ นในการทางานอยา่ งท่วั ถึง ครูควรมอบหมายบทบาทหนา้ ท่ีใน การทางานให้ทุกคน และบทบาทหน้าที่นนั้ จะต้องเปน็ สว่ นหน่งึ ของงานอันเปน็ จดุ มุ่งหมายของ กล่มุ ครคู วรจัดบทบาทหนา้ ท่ขี องสมาชิกใหอ้ ยู่ในลกั ษณะที่ต้องพ่ึงพาอาศยั และเกอ้ื กลู กนั บทบาท หน้าทใี่ นการทางานเพือ่ การเรยี นรู้มีจานวนมาก เชน่ บทบาทผู้นากลมุ่ ผู้สังเกตการณ์ เลขานุการ ผู้ เสนอผลงาน ผตู้ รวจสอบผลงาน เป็นตน้ 1.5 จัดสถานทีใ่ หเ้ หมาะสมในการทางานและมีปฏสิ มั พนั ธ์กัน ครู จาเปน็ ตอ้ งคดิ ออกแบบการจดั ห้องเรียนหรอื สถานทท่ี ่ีจะใช้ในการเรียนรู้ใหเ้ อื้อและสะดวกตอ่ การ ทางานของกล่มุ

21 1.6 จดั สาระ วสั ดุ หรืองานท่ีจะใหผ้ ูเ้ รยี นทา วิเคราะห์สาระ/งาน/หรือ วสั ดทุ ่ีจะให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้ และจัดแบ่งสาระหรืองานน้นั ในลกั ษณะทีใ่ ห้ผเู้ รียนแต่ละคนมีส่วนใน การชว่ ยกลมุ่ และพึง่ พากันในการเรยี นรู้ (2) ด้านการสอน ครูควรมกี ารเตรยี มกลุ่มเพ่ือการเรียนรู้ร่วมกัน ดงั นี้ 2.1 อธบิ ายชี้แจงเก่ียวกับงานของกลุ่ม ครูควรอธิบายถึงจดุ มุง่ หมายของ บทเรยี น เหตผุ ลในการดาเนินการต่างๆ รายละเอียดของงานและข้ันตอนในการทางาน 2.2 อธบิ ายเกณฑ์ การประเมนิ ผลงาน ผเู้ รยี นจะตอ้ งมีความเขา้ ใจตรงกัน ว่าความสาเรจ็ ของงานอยู่ตรงไหน งานทีค่ าดหวังจะมีลกั ษณะอยา่ งไร เกณฑท์ จี่ ะใช้ในการจัด ความสาเรจ็ ของงานคอื อะไร 2.3 อธิบายถงึ ความสาคญั และวธิ ีการของการพ่งึ พาและเกอ้ื กลู กัน ครูควร อธบิ ายกฎเกณฑ์ ระเบยี บกติกา บทบาทหน้าที่ และระบบการใหร้ างวัลหรอื ประโยชนท์ ีก่ ลุ่มจะ ได้รบั ในการรว่ มมือกันเรยี นรู้ 2.4 อธบิ ายวธิ ีการช่วยเหลอื กันระหว่างกลมุ่ 2.5 อธบิ ายถงึ ความสาคัญและวิธีการในการตรวจสอบความรับผิดชอบ ต่อหนา้ ทีท่ ีแ่ ตล่ ะคนได้รบั มอบหมาย เชน่ การสมุ่ เรยี กชื่อผเู้ สนอผลงาน การทดสอบ การตรวจสอบ ผลงาน เปน็ ต้น 2.6 ชีแ้ จงพฤตกิ รรมทค่ี าดหวัง หากครูชแี้ จงให้ผเู้ รยี นได้เรียนรูอ้ ยา่ ง ชัดเจนวา่ ตอ้ งการให้ผ้เู รยี นแสดงพฤติกรรมอะไรบา้ ง จะช่วยให้ผเู้ รียนรู้ความคาดหวังที่มตี อ่ ตนและ พยายามจะแสดงพฤตกิ รรมนั้น (3) ดา้ นการควบคมุ กากบั และการช่วยเหลือกลมุ่ 3.1 ดแู ลให้สมาชิกกลมุ่ มกี ารปรึกษาหารือกนั อยา่ งใกลช้ ิด 3.2 สังเกตการณก์ ารทางานร่วมกนั ของกลุ่ม ตรวจสอบวา่ สมาชกิ กลุ่มมี ความเขา้ ใจในงาน หรอื บทบาทหน้าท่ที ี่ไดร้ บั มอบหมายหรือไม่ สงั เกตพฤตกิ รรมต่างๆ ของสมาชิก ใหข้ อ้ มูลปอ้ นกลบั ให้แรงเสริม และบันทึกขอ้ มูลทจี่ ะเปน็ ประโยชน์ต่อการเรยี นรู้ของกลมุ่ 3.3 เขา้ ไปชว่ ยเหลือกลุ่มตามความเหมาะสม เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ าพของ งานและการทางาน เมอ่ื พบว่ากลมุ่ ต้องการความชว่ ยเหลอื ครูสามารถเขา้ ไปช้แี จง สอนซ้า หรอื ให้ ความชว่ ยเหลืออ่ืนๆ 3.4 สรปุ การเรียนรู้ ครคู วรให้กลุ่มสรปุ ประเดน็ การเรียนรู้ท่ไี ด้จากการ เรียนรแู้ บบรว่ มมอื เพอื่ ชว่ ยให้การเรียนรูม้ ีความชดั เจนข้ึน

22 (4) ดา้ นการประเมนิ ผลและวิเคราะหก์ ระบวนการเรยี นรู้ 4.1 ประเมินผลการเรยี นรู้ ครูประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผู้เรยี นทงั้ ทางด้าน ปรมิ าณและคุณภาพ โดยใช้วิธกี ารท่ีหลากหลาย และควรใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการประเมนิ 4.2 วเิ คราะห์กระบวนการทางานและกระบวนการเรียนรูร้ ่วมกัน ครูควร จัดให้ผเู้ รียนมเี วลาในการวเิ คราะห์การทางานของกล่มุ และพฤตกิ รรมของสมาชิกกลุ่ม เพ่ือให้กลมุ่ มี โอกาสเรยี นรทู้ จ่ี ะปรบั ปรงุ ส่วนบกพร่องของกลุ่ม 2.5 รูปแบบการเรยี นการสอนแบบร่วมมอื สลุ ดั ดา ลอยฟา้ (2536 อ้างถึงใน กมลวรรณ โพธิบัณฑิต 2543 : 18) กล่าวว่า รปู แบบการเรียนรแู้ บบกลุ่มรว่ มมอื ของกล่มุ Slavin ที่เปน็ ที่ยอมรับกนั อยา่ งแพร่หลายมดี งั น้ี (1) STAD (Student Teams – Achievement Division) เป็นรูปแบบการ สอนท่สี ามารถดดั แปลงใช้ได้เกอื บทกุ วิชา และทกุ ระดับช้ัน เพอื่ เป็นการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ของการ เรยี นและทกั ษะทางสังคมเป็นสาคัญ (2) TGT (Team-Games Tournament) เปน็ รูปแบบการสอนทค่ี ล้ายกับ STAD แต่เป็นการจูงใจในการเรียนเพมิ่ ขึ้นโดยการใชก้ ารแขง่ ขนั เกมแทนการทดสอบย่อย (3) TAI (Team Assisted Individualization) เปน็ รูปแบบการสอนที่ ผสมผสานแนวความคดิ ระหว่างการร่วมมือกันการเรยี นรกู้ บั การสอนรายบคุ คล (Individualized Instruction) รูปแบบ TAI จะเปน็ การประยุกตใ์ ช้กบั การสอนคณติ ศาสตร์ (4) CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) เปน็ รปู แบบการสอนแบบรว่ มมือแบบผสมผสาน ที่ม่งุ พัฒนาขึ้นเพอ่ื สอนการอ่านและการเขยี น สาหรบั นกั เรียนประถมศกึ ษาตอนปลายโดยเฉพาะ (5) Jigsaw ผคู้ ดิ ค้นการสอนแบบนี้ เร่มิ แรกคือ Ellior-Aronson และคณะ หลังจากน้ัน Slavin ไดน้ าแนวความคิดดังกลา่ วมาปรับขยายเพ่อื ใหส้ อดคล้องกับรูปแบบการสอน แบบร่วมมอื มากย่งิ ขึน้ ซง่ึ เปน็ วชิ าที่เกี่ยวขอ้ งกับการบรรยาย เชน่ สังคมศกึ ษา วรรณคดี บางสว่ น ของวิชาวิทยาศาสตร์ รวมทงั้ วชิ าอืน่ ๆ ท่ีเน้นการพฒั นาความรู้ความเข้าใจมากกว่าพัฒนาทกั ษะ นอกจากรปู แบบการสอนแบบร่วมมือที่กล่าวมาขา้ งต้นแลว้ ยงั มกี ารพฒั นา รูปแบบการเรียนรโู้ ดยใชฐ้ านของการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ เป็นรูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ Tribes ซง่ึ ได้รับการพฒั นาขึน้ โดย เจนน่ี กริบบ์ (Jeanne Gibbs) ซง่ึ ผ้วู ิจัยมีความสนใจท่จี ะนามาใช้ ในการวจิ ยั ในคร้ังนี้ดงั จะเสนอรายละเอยี ดที่จะนาเสนอในหวั ขอ้ ตอ่ ไป

23 3. แนวคิดและหลักการจดั การเรยี นรแู้ บบสังคมกลมุ่ ชนเผ่า (Tribe Learning Community course) Gibbs, J. (2001 : 150-167) ไดเ้ สนอแนวคดิ การจดั การเรียนร้เู ป็นกล่มุ ชนเผา่ (Tribes) ซง่ึ มีการออกแบบการเรยี นรูใ้ หเ้ ป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้แบบชนเผา่ หรือ The TLC Plan (Tribe Learning Community course) พอสรุปไดด้ ังนี้ การสร้างThe TLC Plan เพอ่ื ให้เกิดประสบการณก์ ารเรยี นรู้แบบ Tribe น้ัน ประกอบดว้ ยดว้ ย 5 ขน้ั ตอนสาคัญ ดงั น้ี 1. ข้นั ของการพัฒนากล่มุ (ประกอบดว้ ยกิจกรรมทเี่ หมาะสม) ข้ันของการพัฒนากลมุ่ ผู้สอนจะต้องดาเนินการสรา้ งและพฒั นากลมุ่ ตามลาดับ ของกจิ กรรม โดยมีคาถามตอ่ ไปนเี้ ป็นแนวทางในการพัฒนา (1) ในชัน้ เรยี นมีนักเรียนเพียงพอสาหรับการพัฒนากลุม่ หรือไม่ (2) สมาชิกรแู้ ละเคารพในข้อตกลงของชนเผ่าหรือไม่ (3) พวกเขารูจ้ กั สมาชิกแตล่ ะคนแล้วหรอื ยัง (4) พวกเขามหี ัวข้อท่มี ีอทิ ธิพลจงู ใจหรือยัง (5) พวกเขาผา่ นการตดั สนิ ใจร่วมกนั หรอื ไม่ มที ศั นะท่แี ตกตา่ งหรือไม่ (6) พวกเขาเคารพความหลากหลายของสมาชกิ หรือไม่ (7) พวกเขาทางานอย่างรว่ มมือกันหรือไม่ ในข้ันนี้ผสู้ อนจะตอ้ งเปน็ ผแู้ นะนาหรือตงั้ คาถามให้กลมุ่ ได้ทราบถงึ ประสบการณ์ การเรยี นรู้ท่ีผูเ้ รยี นจะได้เจอ รวมท้งั การเชอ่ื มโยงเนอื้ หาเข้ากบั หนว่ ยการเรยี น 2. กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ทงั้ ด้านเนอ้ื หา และทกั ษะการร่วมมือ/ทกั ษะทาง สงั คม 2.1 เนอ้ื หาที่เราต้องเรยี นข้นึ อยู่กบั ว่าโรงเรยี นต้องการเตรียมนักเรียน สาหรับศตวรรษท่ี 21 และความต้องการของทอ้ งถิ่นคืออะไร สง่ิ ท่ีต้องเรยี นตอ้ งอยู่บนพื้นฐานของ การทจ่ี ะนาไปใช้ในการเอาชวี ติ รอดในสงั คมของผเู้ รียน คือ (1) เรียนเก่ียวกับสงิ่ แวดล้อมทางกายภาพของพวกเขา (2) เรยี นเกยี่ วกับผคู้ นในสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ขาอาศัยอยู่ (3) การทาความเข้าใจสภาพของจติ ใจท่อี ยภู่ ายใน นอกเหนือจากสงิ่ ท่ีการแสดงออกมา

24 (4) การทาความเข้าใจต่อขอ้ สนั นษิ ฐานและความเช่อื ท่ีชัดเจน ของแตล่ ะเผ่าพันธุ์ในพฤติกรรมทีแ่ สดงออกของมนษุ ย์ (5) สงั เคราะหท์ ุกๆอยา่ งทีศ่ ึกษาในหวั ขอ้ ทม่ี คี วามสาคญั ต่อชาติ และโลก ซ่ึงสง่ ผลต่อมนษุ ยชาติ 2.2 ทักษะการคิดทเ่ี ราจะสรา้ งให้เกิดขึ้นกบั ผูเ้ รยี นนนั้ ผสู้ อนควรมกี าร ทบทวนว่ากิจกรรมทีใ่ หผ้ เู้ รยี นทานน้ั มกี ารคิดทบทวนซา้ ไปมาหรือไม่ รวมทัง้ กจิ กรรมนนั้ ช่วยให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคดิ ข้ึนมาเองได้จริงหรอื ไม่ สิง่ ทผ่ี ู้เรียนต้องการท่จี ะเรียนรู้ในปจั จบุ นั คอื สงิ่ ท่สี ามารถนาไปใชไ้ ด้จริง ซ่งึ ประกอบด้วย (1) การรบั สารสนเทศจากแหล่งขอ้ มูลที่กวา้ งขวางหลากหลาย (2) สรปุ ความเหน็ และอธิบายความหมายของขอ้ มูล (3) สังเคราะห์และเช่ือมโยงกบั ความรทู้ ี่น่าสนใจ (4) วางแผนและประยุกต์ความรกู้ ับประเด็นและปญั หาในชีวติ จรงิ (5) ประเมินและกลัน่ กรองความรู้ เพือ่ หาขอ้ สรุปและตัดสนิ ใจ อย่างตอ่ เนื่อง 2.3 ทักษะความร่วมมือและทักษะทางสงั คม แตล่ ะโรงเรียนตา่ งก็เลอื กทักษะ ทีส่ าคัญสาหรบั วฒั นธรรมของชมุ ชน โดยทักษะเหลา่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชน์เมอ่ื ไดฝ้ ึกทักษะเดมิ หลายๆ วัน หรอื โรงเรยี นอาจเนน้ ท่ีทกั ษะใดทักษะหนง่ึ ในแตล่ ะเดือน ซงึ่ มีอยูด่ ว้ ยกนั 12 ทกั ษะดังนี้ (1) การเห็นคณุ ค่าของวัฒนธรรมท่หี ลากหลาย (Valuing Diversity of Culture/Ideas) (2) การคิดดว้ ยตนเอง (Thinking Constructivety) (3) การสร้างการตัดสินใจ (Making Responsible Decisions) (4) การตดั สินความขัดแยง้ (Resolving Conflict) (5) การคดิ แก้ปญั หา (Solbing Problems Creatibely) (6) การทาภาระงานรว่ มกนั (Working Together on Tasks) (7) การประเมนิ ใหด้ ีขนึ้ (Assessing Improbement) (8) การยกยอ่ งความสาเร็จ (Celebrating Achivevment) (9) การมีส่วนรว่ มกนั อยา่ งเต็มท่ี (Participaing Fully) (10) การฟงั อย่างตัง้ ใจ (Listening Attentively) (11) บทวจิ ารณ์พิเศษ (Expressing Appreciation)

25 (12) การสะท้อนประสบการณอ์ อกมา (Reflecting on Experience) ซง่ึ ในข้นั นผ้ี ้สู อนจะตอ้ งบอกถึงจุดประสงคท์ ีต่ อ้ งการของการเรยี นในครัง้ นี้ ทง้ั ดา้ นของเน้ือหาและทักษะต่างๆที่ต้องการให้เกิดข้นึ ในการเรียนรู้ 3. ลาดับของยทุ ธศาสตรแ์ ละโครงสร้าง สงิ่ ทนี่ า่ สนใจเกี่ยวกบั ยทุ ธศาสตร์หลกั แบบชนเผา่ (Tribes) คือ สามารถใช้การ ปฏสิ มั พันธ์หลายรูปแบบ ในเนอ้ื หาทศ่ี ึกษา ดงั น้นั ผสู้ อนสามารถกาหนดการจดั การเรยี นรไู้ ด้ หลากหลายรูปแบบตามตอ้ งการเพื่อให้เขา้ กับการเรยี นรู้ของผ้เู รียน แตใ่ ห้อยใู่ นลักษณะของความ รว่ มมอื กนั และเนื่องจากนกั เรยี นแตล่ ะคนมีรูปแบบการเรียนรทู้ ีแ่ ตกต่างกัน เพราะมสี มองท่ี ตา่ งกนั นกั เรยี นที่เรยี นไม่เก่ง พวกเขาไมไ่ ด้โง่ พวกเขาแค่มวี ิธเี รียนร้ทู ่แี ตกต่างไปจากคนอ่นื ๆ พวก เขาไมไ่ ดล้ ม้ เหลว แต่โรงเรียนลม้ เหลวในการเข้าถึงพวกเขา คนเรามีความฉลาดที่หลากหลาย (Multiple Intelligences) ดังน้ี (1) ความฉลาดในการเข้าใจชวี ติ (Existential) (2) ความฉลาดในการเขา้ ใจธรรมชาติ (Naturalist) (3) ความฉลาดดา้ นภาษา (Verbal Linguistic) (4) ความฉลาดด้านคณิตศาสตร์ (Logical Mathematical) (5) ความฉลาดดา้ นการมอง ระยะ โครงข่าย (Visual Spatial) (6) ความฉลาดดา้ นดนตรี และจังหวะ (Musical rhythmic) (7) ความฉลาดดา้ นการเคลอื่ นไหว (Body Kinesthetic) (8) ความฉลาดดา้ นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคล (Interpersonal) (9) ความฉลาดดา้ นความสัมพันธ์ในตัวบคุ คล (Intrapersonal) 4. การสะทอ้ นคดิ และความรบั ผิดชอบ การใช้คาถามทีด่ จี ะสะทอ้ นสิ่งเหลา่ น้อี อกมา (1) คาถามที่ดีจะทาใหค้ วามรทู้ ไี่ ด้รับมคี า่ เปน็ สองเท่า (2) นักเรียนจะเขา้ ใจวา่ พวกเขาไม่ไดเ้ รียนเน้อื หาอะไร แต่พวกเขาจะได้ ทกั ษะการคิดข้ันสงู ทกั ษะทางสังคม ทักษะสว่ นบุคคลทจ่ี ะนาไปใชใ้ นยามคับขันได้ในอนาคต

26 (3) การเลอื กคาถามอย่างดจี ะสร้างทางลัดสู่จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ที่ กาหนด คือประสบความสาเร็จแลว้ คาถามตรวจสอบยอ้ นกลบั วา่ ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรไู้ ปแค่ไหนมี 3 กลุ่มคอื (1) Content/Thinking คาถามเจาะจงทีเ่ นอ้ื หาในบทเรียนและทักษะการ คดิ ท่ีใชเ้ ปน็ คาสั่งในการทางานกับเนอื้ หาน้นั (2) Collaborative/Social เป็นคาถามท่เี นน้ ไปที่สิ่งทีเ่ กิดขน้ึ ในเผ่าหรอื สงั คมทเี่ รียน ความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คล และทักษะการทางานในกลมุ่ (3) Personal คาถามเฉพาะบคุ คล สง่ิ ท่ีแต่ละคนได้เรียนรไู้ ปแลว้ ความรับผดิ ชอบของผู้เรียนทงั้ รายบคุ คลและรายกลุ่มสามารถตรวจสอบไดห้ ลาย ทางซงึ่ แบง่ เปน็ สองด้านดังนีค้ อื (1) การคิดและการปฏิสมั พันธ์กนั ตรวจสอบได้ 4 วธิ ีคอื 1.ผู้สอนสงั เกต และประเมนิ ทักษะการทางานรว่ มกนั จากการฟัง 2.ผู้เรยี นประเมนิ การปฏสิ ัมพนั ธก์ นั ในกลุ่มของ ตวั เอง 3.ผ้เู รียนประเมินการทางานรว่ มกนั ของชนเผ่า และ 4.ผู้เรยี นประเมินทักษะการคดิ ของตัวเอ (2) ดา้ นเนื้อหา ตรวจสอบโดยใช้คาถามทที่ าใหเ้ กิดการสะท้อนคดิ การ นาเสนองาน แฟ้มสะสมงาน การทดสอบทั้งคนเดียวและเปน็ กลมุ่ การเขยี นรายงาน วีดโี อหรอื เทป บันทึกเสยี ง การสัมภาษณก์ ล่มุ ของผสู้ อน การสมั ภาษณก์ นั เองของผเู้ รียน 5. ความตระหนักและร้คู ณุ คา่ เมือ่ ผู้เรียนได้เรียนรแู้ ละร่วมกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Tribe แล้ว ผู้สอนจะต้องนา ให้ผเู้ รยี นไดต้ ระหนักและรู้คณุ ค่าของสิง่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ ไดร้ ่วมกนั คน้ ควา้ ร่วมกันคดิ รว่ มกันสรปุ โดย เปน็ การป้อนคาถาม ให้ผเู้ รียนได้แสดงถงึ ความตระหนักในคุณค่าของสง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรู้ ว่าสามารถ นาไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริงในชวี ติ ประจาวนั ของผู้เรียน และในขัน้ น้ี สามารถนาไปส่กู ารสร้างเจตคติ ที่ดีตอ่ ส่ิงท่เี รยี นรู้ และสรา้ งความสมั พันธ์อันดีระหว่างกันอกี ดว้ ย นอกจากนี้ Gibbs, J. (2001 : 150) ได้เสนอข้นั ตอนของการเรยี นร้สู ูค่ วามเป็นเลศิ ในการเรียนเปน็ กลุ่มดังตารางต่อไปนี้

ขนั้ ของการเรียนรสู้ ู่ความเปน็ เลศิ การเรียนท้งั ชน้ั การเรียนทง้ั ช้ันแบบชนเผา่ ก Teacher Teacher Tea - ขัน้ นา (Directs) - ขนั้ นา -ว - สอนขอ้ เทจ็ จรงิ และแนวคดิ หรอื มโน - เรม่ิ ปฏบิ ัติกจิ กรรม - เร ทศั น์ - ถามคาถาม - ถามคาถาม - พสิ จู น์ความจรงิ ของคาตอบที่ - ค้นหาคาตอบท่ีถูกต้องทโี่ ต๊ะซ่ึงครู หลากหลาย จดั เป็นแหลง่ คน้ ควา้ ไวใ้ ห้ -พฤตกิ รรมการจดั การรว่ มกบั - พฤติกรรมการจัดการ นักเรยี น - ทดสอบขอ้ เท็จจริง Students Students Tri - เรียนคนเดยี ว - ใช้ข้อตกลง ของทักษะการเรยี นรู้ - อ แบบร่วมมือ แล - ทางานแบบรว่ มมอื กนั สะท้อน - ค คดิ ระหว่างการปฏสิ มั พนั ธ์กนั เรีย - เรียนร่วมกัน -จ ปฏ

27 ศผ่านการเรียนเปน็ กลุ่ม การเรียนแบบร่วมมอื ในชนเผา่ การเรียนแบบสืบสอบในชนเผ่า acher Teacher วางแผน (Plans) - เลือกหัวข้อ / ปญั หา ร่มิ กลยุทธ์ - สรา้ งความตระหนักให้นักเรียนร่วมกัน - สรา้ งความเชื่อมโยงประสบการณ์การ เรยี นรูใ้ นอดีตและปัจจบุ ัน - วางโครงรา่ งสาหรับภารกิจของกลมุ่ ibes Student tribes อภิปรายและทางานตามภารกจิ 1. การจงู ใจ (engage) สรา้ งความ ละปญั หา ตระหนัก กาหนดคาถามแนวสืบสอบ ค้นหาแนวคิดและรายงานต่อชั้น และกระบวนการกลุม่ เพือ่ เลอื กคาถาม ยน ในการสารวจ (ครูเปรยี บเสมอื นผ้ชู ่วย) จัดการกบั ภาระงานและสร้าง 2. การสารวจ (explore) ฏสิ มั พันธ์รว่ มกนั และสรา้ ง กาหนดวธิ ที ากิจกรรม เพ่ือสารวจ และ

การเรียนท้งั ชั้น การเรียนท้งั ช้นั แบบชนเผา่ ก อิท -ส -ส ปฏ -ป - เร

28 การเรยี นแบบร่วมมอื ในชนเผา่ การเรยี นแบบสืบสอบในชนเผา่ ทธพิ ลจงู ใจ ประเมนิ ปฏสิ มั พนั ธ์ในกลมุ่ สังเกตการใชข้ ้อตกลง 3. การอธิบาย (explain) สะท้อนการเรยี นรูแ้ ละ สมาชิกกาหนดความหมายหรอื การใช้ ฏิสัมพันธใ์ นกล่มุ ภาษาใหช้ ดั เจนรว่ มกันครู(ครตู อ้ งตัดสนิ ประเมินความร้แู ละการเรยี นรู้ ว่าภาษาหรอื ความหมายผิดหรอื ถกู รียนร่วมกัน ระดบั ความเขา้ ใจของนกั เรยี นเปน็ อย่างไร) นักเรยี นนาเสนอสง่ิ ทเ่ี รยี นรูใ้ ห้ เพ่ือนทัง้ ช้ันหรอื พ่อแม่ฟงั เพอ่ื ตัดสนิ วา่ ผเู้ รียนมีความรูเ้ ชงิ วิชาการเปน็ ฐานใน การนาเสนอ 4. บรรยายอยา่ งละเอียด (elaborate) อธิบายมโนทศั น์ และนามาเชื่อมโยงกับ โลกแหง่ ความจรงิ 5. ประเมินคา่ (evaluate) สะท้อนคดิ ผลลัพธข์ องการกระทา แลกเปลีย่ นคณุ คา่ ของส่ิงท่ศี ึกษา นักเรียน(และครู)รว่ มกนั ประเมนิ การ เรยี นรู้

29 4. แนวคดิ และหลกั การเกย่ี วกับการคิดเชงิ วิเคราะห์ (Analytical Thinking) 4.1 ความหมายของการคิดเชงิ วิเคราะห์ เกรยี งศักด์ิ เจรญิ วงศศ์ ักดิ์ (2547 : 2) ไดใ้ ห้ความหมายของการคดิ เชิงวเิ คราะห์ไว้ วา่ การคิดเชิงวเิ คราะห์ หมายถึง ความสามารถในการจาแนกแจกแจงองคป์ ระกอบต่างๆ ของสงิ่ ใด ส่ิงหนง่ึ หรือเรอื่ งใดเรื่องหน่ึง และหาความสมั พนั ธ์เชิงเหตผุ ลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพือ่ ค้นหาสาเหตุทีแ่ ท้จรงิ ของสิง่ ท่ีเกดิ ขึน้ สวุ ทิ ย์ มลู คา (2547 : 127) ได้ใหค้ วามหมายของการคิดเชิงวิเคราะห์ไวว้ า่ การคดิ เชงิ วเิ คราะห์หมายถึง ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบต่างๆ ของส่งิ ใดสง่ิ หนึ่งซ่งึ อาจจะเปน็ วัตถสุ ่งิ ของ เรอ่ื งราว หรือเหตุการณ์และหาความสัมพันธเ์ ชงิ เหตุผล ระหว่าง องคป์ ระกอบเหลา่ นั้น เพือ่ ค้นหาสภาพความเป็นจริงหรอื ส่ิงสาคัญของสง่ิ ทกี่ าหนดให้ ประพันธ์ศริ ิ สุเสารัจ (2551 : 48) ไดใ้ หค้ วามหมายของการคิดเชิงวเิ คราะห์ไว้วา่ การคิดเชิงวิเคราะห์ หมายถงึ ความคดิ ในการจาแนกแยกแยะขอ้ มูลองค์ประกอบของสิ่งตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นวตั ถุ เรื่องราว เหตุการณ์ตา่ งๆ ออกเปน็ ส่วนย่อยๆ เพือ่ คน้ หาความจริง ความสาคญั แกน่ แท้ องค์ประกอบหรอื หลักการของเร่อื งนนั้ ๆ ทั้งที่อาจแฝงซอ่ นอยภู่ ายในส่งิ ตา่ งๆ หรือปรากฏไดอ้ ยา่ ง ชัดเจน รวมทงั้ หาความสัมพนั ธ์และความเชอ่ื มโยงของสิง่ ตา่ งๆวา่ เกีย่ วพันกนั อย่างไร อาศัย หลกั การใดจนไดค้ วามคิดเพื่อนาไปสูก่ ารสรปุ การประยกุ ต์ใช้ การทานายหรือคาดการณ์สิง่ ต่างๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง จากความหมายของการคิดเชิงวเิ คราะห์ข้างตน้ อาจสรุปไดว้ า่ การคิดวิเคราะห์เป็น กระบวนการ ในการจาแนกแยกแยะองค์ประกอบของสิ่งใดสง่ิ หนง่ึ ออกเป็นสว่ นยอ่ ย และหา ความสมั พันธ์ขององคป์ ระกอบเหล่านัน้ เพอ่ื อธิบายสาเหตุท่ีแท้จริงของสงิ่ ทเี่ กดิ ข้นึ 4.2 กระบวนการคดิ เชงิ วิเคราะห์ การคิดเชงิ วเิ คราะห์เป็นการคดิ ระดับสงู การคิดเป็นกระบวนการ ซึ่งมขี น้ั ตอน ตา่ งๆ ดังน้ี (ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, 2551 : 48) (1) กาหนดสิง่ ทีจ่ ะวเิ คราะห์ วา่ จะวิเคราะหอ์ ะไรกาหนดขอบเขตและนยิ ามของส่ิง ทจ่ี ะคดิ ให้ชดั เจน เชน่ จะวิเคราะห์ปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม ปัญหาสงิ่ แวดล้อมหมายถึง ปญั หาขยะที่ เกดิ ขนึ้ ในโรงเรียนของเรา (2) กาหนดจดุ มงุ่ หมายของการวิเคราะห์ วา่ ตอ้ งการวเิ คราะหเ์ พื่ออะไร เช่น เพื่อ จดั อนั ดับ เพอ่ื หาเอกลกั ษณ์ เพื่อหาขอ้ สรปุ เพ่อื หาสาเหตุ เพอ่ื หาแนวทางแกไ้ ข

30 (3) พิจารณาข้อมลู ความรู้ ทฤษฎี หลกั การ กฎเกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ วา่ จะใช้ หลกั การใดเปน็ เคร่ืองมอื ในการวิเคราะหแ์ ละจะใชห้ ลกั ความรู้นั้นวา่ ควรใชใ้ นการวิเคราะห์ อย่างไร (4) สรปุ และรายงานผลการวิเคราะห์ ได้เปน็ ระบบระเบียบชดั เจน 4.3 ลักษณะของการคดิ เชงิ วเิ คราะห์ สุวิทย์ มูลคา (2547: 23-24) กลา่ ววา่ การคิดเชิงวเิ คราะห์อาจจาแนกออกเป็น 3 ลักษณะดงั น้ี (1) การวเิ คราะห์ความสาคัญ เปน็ ความสามารถในการหาส่วนประกอบทส่ี าคัญ ของสงิ่ ของหรอื เร่อื งราวต่างๆ เช่น การวิเคราะหส์ ่วนประกอบของพชื สัตว์ ขา่ ว ข้อความหรอื เหตุการณ์ เปน็ ตน้ (2) การวเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ เป็นความสามารถในการหาความสัมพันธข์ องสว่ น สาคญั ต่างๆ โดยการระบุความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความคิด ความสัมพนั ธ์ในเชงิ เหตผุ ลหรือความ แตกตา่ ง ระหว่างข้อโตแ้ ย้งทีเ่ ก่ียวขอ้ งและไม่เกย่ี วข้อง (3) การวิเคราะห์หลักการ เป็นความสามารถในการหาหลักความสัมพันธ์ส่วน สาคญั ในเรอื่ งนั้นๆวา่ สมั พนั ธ์กันอยโู่ ดยอาศัยหลกั การใด เช่น การใหผ้ เู้ รียนคน้ หาหลกั การของเร่ือง การระบจุ ดุ ประสงคข์ องผู้เรียน ประเด็นสาคญั ของเรอ่ื ง เทคนคิ ที่ใชใ้ นการจูงใจผู้อ่าน และรปู แบบ ของภาษาทใี่ ช้ เปน็ ตน้ 4.4 องคป์ ระกอบหรอื คุณสมบัติของการคิดเชงิ วเิ คราะห์ สวุ ทิ ย์ มลู คา (2547 : 14) และเกรยี งศกั ด์ิ เจรญิ วงศศ์ กั ดิ์ (2547 : 26) ไดก้ ล่าวถงึ องค์ประกอบหรอื คุณสมบตั ิท่เี อื้อต่อการคิดเชงิ วิเคราะห์ไว้สอดคล้องกนั 4 ประการดงั น้ี (1) ความสามารถในการตคี วาม การตคี วามเกดิ จากการรบั รขู้ ้อมลู เขา้ มาทาง ประสาทสมั ผัส สมองจะทาการตีความขอ้ มลู โดยวิเคราะห์เทียบเคยี งกับความทรงจาหรอื ความรู้ เดมิ ท่เี กยี่ วกับเรือ่ งนั้น เกณฑ์ที่ใชเ้ ป็นมาตรฐานในการตดั สนิ จะแตกตา่ งกนั ไปตามความรู้ ประสบการณแ์ ละค่านยิ มของแต่ละบุคคล เช่น การตคี วามจากความรู้ การตีความจากประสบการณ์ การตคี วามจากขอ้ เขียน การตคี วามไดด้ ีหรือไม่น้ัน ขน้ึ อยู่กับเกณฑท์ คี่ นแตล่ ะคนใช้เปน็ มาตรฐาน ในการตคี วามประกอบกับความสามารถในการเชือ่ มโยงความสัมพันธ์เชิงเหตผุ ล (2) ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ ผ้ทู จ่ี ะคดิ วิเคราะห์ไดด้ นี นั้ ตอ้ งมี ความรู้ความเข้าใจพ้นื ฐานในเร่อื งนัน้ เพราะความร้จู ะช่วยในการกาหนดของเขตของการวเิ คราะห์

31 จาแนกและแจกแจงองค์ประกอบ จดั หมวดหมู่ และลาดบั ความสาคญั หรือหาสาเหตขุ องเรอ่ื งราว เหตกุ ารณไ์ ดช้ ดั เจน (3) ความชา่ งสงั เกต ชา่ งสงสยั และช่างไตถ่ าม คนช่างสงั เกต ยอ่ มสามารถ มองเหน็ หรอื คน้ หาความผดิ ปกติของสงิ่ ของหรือเหตกุ ารณท์ ี่ดูแลว้ เหมือนไม่มอี ะไรเกิดขึน้ มองเห็นแง่มมุ ทแ่ี ตกตา่ งไปจากคนอื่น คนช่างสงสัย เมื่อเห็นความผดิ ปรกตแิ ล้วจะไมล่ ะเลย แตจ่ ะ หยุดคดิ พิจารณา คนชา่ งไตถ่ าม ขอบต้ังคาถามเกี่ยวกบั สิ่งทเี่ กดิ ข้ึนอยเู่ สมอ เพ่ือนาไปสู่การขบ คดิ ค้นหาความจริงในเรื่องนั้น คาถามท่มี กั ใช้กบั การคดิ เชงิ วิเคราะห์คอื 5W 1H ประกอบด้วย What (อะไร) Where (ทไ่ี หน) When (เมื่อใด) Why (ทาไม) Who (ใคร) และ How (อย่างไร) คาถามเหล่านี้ อาจไมจ่ าเปน็ ต้องใช้ทุกข้อ เพราะการต้งั คาถามมีจุดมงุ่ หมายเพ่อื ใหเ้ กิดความชดั เจน ครอบคลุมและ ตรงประเด็นท่ีเราตอ้ งการสืบคน้ (4) ความสามารถในการหาความสัมพนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ล นักคดิ วเิ คราะห์จะตอ้ งมี ความสามารถในการหาความสัมพันธเ์ ชิงเหตผุ ลเพ่ือเชอ่ื มโยงกับเร่ืองทเ่ี กดิ ขึน้ การคดิ เชงิ วเิ คราะห์ จึงตอ้ งใชค้ วามสามารถในการใชเ้ หตผุ ล จาแนกแยกแยะได้ว่าสง่ิ ใดเปน็ ความจริง ส่งิ ใดเป็นความ เทจ็ สงิ่ ใดมอี งคป์ ระกอบในรายละเอียดเชื่อมโยงสมั พันธ์กนั อย่างไร 4.5 ประโยชน์ของการคดิ เชงิ วเิ คราะห์ เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2546 อา้ งถึงใน ลักขณา ศริวัฒน์, 2549 : 74-77) ได้ กล่าวถงึ ประโยชนข์ องการคดิ เชงิ วเิ คราะห์ไว้พอสรุปได้ ดงั นี้ (1) ชว่ ยสง่ เสริมความฉลาดทางสตปิ ญั ญา โรเบิร์ต เจ.สเตริ ์นเบริ ์ก (Robert J.Sternberg 1992) ได้เสนอแนวคดิ เกย่ี วกับความเฉลยี วฉลาดในการประสบความสาเรจ็ ว่ามีอยู่ 3 ดา้ น คอื ความฉลาดในการสร้างสรรค์ ความฉลาดในการวเิ คราะห์ ความฉลาดในการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ ใน สว่ นของความฉลาดในการวเิ คราะห์ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์และประเมินแนวคิดท่ี คดิ ขน้ึ ความสามารถในการคดิ นามาใชแ้ ก้ปัญหา และความสามารถในการตัดสินใจโดยธรรมชาติ คนเราจะมีจดุ อ่อน ด้านความสามารถทางการคิดหลายประการ การคดิ เชงิ วเิ คราะห์จะชว่ ยเสรมิ จุดอ่อนดา้ นความคิดเหลา่ น้ี (2) ชว่ ยให้คานึงถึงความสมเหตุสมผลของขนาดกล่มุ ตวั อยา่ ง ซึง่ อาจเหน็ เพยี ง1-2 ตวั อยา่ งแลว้ รีบสรปุ โดยไม่คานงึ ถงึ จานวนตัวอย่างว่ามปี ริมาณเพียงพอในการทจ่ี ะนาไปสขู่ ้อสรปุ ไดห้ รือไม่ ซึ่งอาจทาใหเ้ กดิ การเข้าใจผิดได้ ขอ้ สรุปแบบนีเ้ รยี กวา่ ขอ้ สรุปทีแ่ ฝงดว้ ยความมีอคติ ดงั นั้นควรสบื คน้ ตามหลักการและเหตผุ ลและข้อมูลทีเ่ ป็นจริงให้ชัดเจนก่อนจึงมีการสรุป

32 (3) ชว่ ยลดการอา้ งประสบการณ์สว่ นตวั เปน็ ขอ้ สรปุ ท่ัวไป การสรุปเรอ่ื งต่างๆ ใน หลายเร่อื งมคี นจานวนไมน่ ้อยท่ีใชป้ ระสบการณ์ทเ่ี กดิ กับตนเองเพยี งคนเดียวมาสรปุ เปน็ เรือ่ ง ท่ัวๆไป (4) ช่วยขุดค้นความประทับใจครง้ั แรก การวเิ คราะห์จะช่วยให้เราลดความลาเอยี ง ซึง่ เกดิ จากความประทบั ใจครง้ั แรกทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ การคิดไมร่ อบดา้ น เมอ่ื เราคดิ วิเคราะห์จะทาให้เรา พจิ ารณาสาระอน่ื ๆทถี่ ูกบดิ เบอื นไปจากความประทบั ใจในครัง้ แรก ทาใหเ้ รามองอยา่ งครบถ้วนใน แง่มุมอืน่ ๆที่มีอยู่ดว้ ย (5) ช่วยตรวจสอบการคาดคะเนบนฐานความร้เู ดิม การคิดเชงิ วิเคราะห์ช่วยในการ ประมาณการความนา่ จะเป็นโดยสามารถใชข้ อ้ มลู พน้ื ฐานท่เี รามวี ิเคราะห์รว่ มกบั ปจั จยั อ่ืนๆ ของ สถานการณ์ ณ เวลาน้นั อันจะชว่ ยให้เราคาดการณค์ วามน่าจะเปน็ ไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผลมากกวา่ (6) ชว่ ยวินจิ ฉยั ข้อเทจ็ จรงิ จากเหตุการณ์สว่ นบคุ คล ในการวนิ ิจฉยั คากล่าวของคน นั้นจาเปน็ ตอ้ งตระหนักให้ดวี ่า ประสบการณข์ องคนแตล่ ะคนย่อมมีแนวโนม้ ที่จะมอี คติ การคิดเชงิ วเิ คราะห์จะทาให้เราหาเหตุผลท่สี มเหตสุ มผลให้กับสิง่ ที่เกิดข้ึนจรงิ ณ เวลาน้นั โดยไมม่ อี คตทิ ก่ี ่อ ตัวอยู่ความทรงจา ทาใหเ้ ราประเมินสงิ่ น้ันได้อย่างสมจรงิ (7) เปน็ พื้นฐานในการคิดมติ อิ น่ื ๆ การคดิ เชิงวเิ คราะห์นบั ว่าเป็นปจั จัยทีท่ าหนา้ ที่ เป็นปจั จยั หลกั สาหรบั การคิดในมิตอิ ืน่ ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ การคดิ เชงิ วพิ ากษ์ การคิดเชิงสรา้ งสรรค์ ฯลฯ ซึง่ การคิดเชงิ วิเคราะห์จะชว่ ยเสรมิ สร้างให้เกดิ มมุ มองเชิงลึก และครบถ้วนในเร่ืองน้นั ๆ ในอนั ท่จี ะ นาไปสกู่ ารตดั สินใจ และการแก้ปญั หาได้ เชน่ การคดิ เชิงวิพากษ์มกั จะทาให้เรามีอาการขอคิด ดูก่อน แลว้ จึงเรม่ิ ตน้ คดิ เป็นการใชก้ ระบวนการคดิ เชิงวิเคราะห์น่นั เองดว้ ยการใช้เหตผุ ลเพ่ือสบื ค้นหาความจริง (8) ชว่ ยในการแก้ปญั หาการคดิ เชงิ วิเคราะห์เก่ยี วข้องกบั การจาแนกแยกแยะ องคป์ ระกอบต่างๆ และการทาความเข้าใจในสิ่งที่เกดิ ขึ้น ดังน้ันจึงช่วยเราในเวลาท่ีพบปัญหาใดๆ ใหส้ ามารถวเิ คราะห์ได้ว่าปญั หาน้ันมีองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง เพราะเหตใุ ดจงึ เป็นเชน่ นัน้ ซ่งึ จะ นาไปสกู่ ารแกป้ ญั หาได้อยา่ งตรงประเด็นปญั หา เนือ่ งจากการแกไ้ ขปัญหาใดๆ จาเป็นต้องมีการคิด เชงิ วิเคราะห์ปัญหาเสียกอ่ นว่ามีปญั หาอะไรบา้ ง แยกแยะว่ามอี ยกู่ ี่ประเภท แตล่ ะประเภทมี รายละเอียดอย่างไร เพ่ือใหส้ ามารถคิดตอ่ ไปไดว้ า่ แต่ละประเภทจะป้องกันและแก้ไขได้อย่างไร (9) ชว่ ยในการประเมินและตัดสนิ การวิเคราะหจ์ ะช่วยให้เราร้ขู ้อเทจ็ จริงหรือ เหตุผลเบอ้ื งหลังของสิง่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ทาให้เกดิ ความเขา้ ใจ และทส่ี าคัญคือจะชว่ ยให้เราไดข้ อ้ มลเปน็ ฐานความรใู้ นการนาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ช่วยใหเ้ ราสามารถประเมนิ สถานการณแ์ ละตัดสนิ ใจ ในเรอ่ื งต่างๆ ได้แม่นยากวา่ การทเี่ รามีแตเ่ พียงขอ้ เทจ็ จรงิ ทไี่ มไ่ ด้ผา่ นการวิเคราะห์ และทาใหเ้ รารู้

33 สาเหตขุ องปัญหา การวเิ คราะห์ยังช่วยใหม้ องเห็นโอกาสความเปน็ ไปได้ของส่ิงทีย่ ังไม่เกิด ชว่ ยให้ เกิดการคาดการณ์อนาคต และหากเราลงมือปฏิบัติตามน้นั โอกาสแหง่ ความสาเรจ็ ยอ่ มเป็นไปได้ อย่างแนน่ อน (10) ช่วยใหค้ วามคดิ สร้างสรรคส์ มเหตสุ มผล การคดิ เชิงวิเคราะห์ช่วยใหก้ ารคิด ตา่ งๆของเราอยู่บนฐานของตรรกะและความนา่ จะเป็นไปได้อย่างมีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ ส่งผลใหม้ ี การคดิ จิตนาการ หรอื การสรา้ งสรรคส์ ิ่งใหมๆ่ ได้รับการตรวจสอบวา่ ความคดิ ใหมน่ นั้ ใช้ไดจ้ รงิ หรอื ไม่ และถ้าจะใชไ้ ด้จริงต้องเปน็ เช่นใด แลว้ มีการเชือ่ มโยงสมั พันธ์ระหวา่ งส่ิงทจี่ ติ นาการกับ การนามาใช้ในโลกแห่งความเป็นจรงิ ส่งิ ประดษิ ฐม์ ากมายทเ่ี ราพบเหน็ ในปจั จุบันล้วนเป็นผลลัพท์ อนั เกิดจากการวเิ คราะห์ว่าใช้การไดก้ อ่ นท่ีจะนามาใช้จรงิ (11) ชว่ ยใหเ้ ข้าใจแจ่มกระจ่าง การคิดเชงิ วิเคราะห์ช่วยให้เราประเมินและสรปุ สง่ิ ต่างๆ บนข้อเทจ็ จริงท่ีปรากฏ ไม่ใช่สรปุ ตามอารมณค์ วามรสู้ กึ หรือการคาดการณ์ว่าน่าจะเปน็ เชน่ นน้ั เช่นนี้ การคดิ เชงิ วิเคราะห์ทาให้ไดร้ บั ขอ้ มลู ทเี่ ป็นจริงซงึ่ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อการตดั สนิ ใจ ที่ สาคัญคอื ชว่ ยให้เราไดเ้ รียนร้ใู นสิ่งตา่ งๆ ได้อย่างเขา้ ใจลกึ ซง้ึ มากข้นึ เพราะการวเิ คราะห์ทาใหส้ ิ่งที่ คลมุ เครอื เกดิ ความกระจา่ งชัด โดยสามารถแยกแยะส่ิงดี-ไม่ดี สิ่งที่ถกู ตอ้ ง-หลอกลวง โดยการ สังเกตความผดิ ปกตขิ องเหตุการณ์ พฤติกรรม หากเราคดิ ใคร่ครวญถึงเหตุและผลของสิง่ นัน้ จนเพียง พอทจ่ี ะสรุปไดว้ ่าเรอื่ งนั้นมีความเปน็ มาอยา่ งไร เทจ็ จริงอยา่ งไร อะไรเปน็ เหตุ เป็นผลกับสงิ่ ใด นอกจากนกี้ ารคดิ เชงิ วเิ คราะห์จะช่วยนาไปสคู่ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งท่ีมีความซบั ซ้อน หากมเี ครอื่ งมือ ช่วยในการวเิ คราะหจ์ ะทาใหเ้ ราคน้ พบความจริงท่ีเปน็ ประโยชน์ จากประโยชน์ของการคดิ ดังกลา่ วข้างตน้ จะเหน็ ได้ว่าการทักษะการคดิ เชิง วเิ คราะห์นั้นเปน็ ประโยชนแ์ ละเป็นพืน้ ฐานทีผ่ ูเ้ รยี นควรมตี ดิ ตวั เพ่อื ทีจ่ ะสามารถเอาตัวรอดและ นามาใช้ในการดาเนนิ ชีวิตและแกป้ ัญหาตา่ งๆทอ่ี าจจะเกดิ ข้นึ ในอนาคตได้ ดังน้นั การจัดการเรียน การสอนจึงจาเป็นทีจ่ ะต้องมกี ารพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ไปพรอ้ มๆกันด้วย 4.6 แนวการสอนเพอ่ื พฒั นาทักษะการคิดเชงิ วเิ คราะห์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี (อ้างถึงในสานักวชิ าการมาตรฐานการศึกษา 2549 : 15) ไดใ้ ห้แนวทางการฝึกกระบวนการทางปัญญาซ่งึ การฝึกพนื้ ฐานมหี ลายตวั ท่เี ปน็ การฝกึ ให้คดิ วเิ คราะห์ เช่น การสงั เกต การบนั ทกึ การฟัง การตง้ั สมมตฐิ านและการตัง้ คาถาม ฯลฯ ซึง่ เป็น อกี แนวทางหนึง่ ท่ที าให้ผเู้ รียนพฒั นาทักษะการคดิ เชิงวเิ คราะห์ ดังตอ่ ไปนี้

34 (1) ฝึกสังเกต สงั เกตในสง่ิ ที่เราเหน็ หรอื สง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ไปดนู ก ดผู เี ส้ือหรือใน การทางาน การฝึกสังเกตจะทาให้เกดิ ปัญญามาก โลกทรรศน์ และวธิ ีคดิ สต-ิ สมาธิ จะเขา้ ไปมีผล ตอ่ การสงั เกตและสิ่งทีส่ ังเกต (2) ฝกึ บันทกึ เมอ่ื สงั เกตอะไรแล้วควรฝกึ บนั ทกึ โดยจะวาดรปู หรอื บันทึก ข้อความ ถา่ ยภาพ ถ่ายวีดีโอ ละเอยี ดมากนอ้ ยตามวยั และสถานการณ์ การบนั ทึกเป็นการพัฒนา ปัญญา (3) ฝกึ การนาเสนอต่อทีป่ ระชุมกลมุ่ เมอื่ มกี ารประชมุ กล่มุ เราไปเรยี นรู้อะไรมา บันทึกอะไรมา จะนาเสนอให้เพอื่ นหรือครูรู้เรอ่ื งได้อยา่ งไร ก็ตอ้ งฝกึ การนาเสนอ การนาเสนอได้ดี จึงเปน็ การพฒั นาปัญญา ทง้ั ของผู้นาเสนอและของกลมุ่ (4) ฝกึ การฟงั ถา้ รู้จักฟงั คนอืน่ กจ็ ะทาให้ฉลาดขน้ึ โบราณเรยี กวา่ เป็นพหูสูต บาง คนไมไ่ ด้ยินคนอ่นื พูด เพราะหมกมุ่นอยู่ในความคดิ ของตัวเองหรือมคี วามฝงั ใจในเร่ืองใดเรอื่ งหนึ่ง จนเร่อื งอ่นื เขา้ ไม่ได้ ฉนั ทะ สติ สมาธิ จะชว่ ยให้ฟงั ไดด้ ีขึ้น (5) ฝกึ ปจุ ฉา–วิสัชนา เมอ่ื มีการนาเสนอและการฟังแลว้ ฝกึ ปจุ ฉา-วิสชั นา หรือ ถาม-ตอบ ซึ่งเป็นการฝึกใชเ้ หตผุ ลวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ทาใหเ้ กิดความแจม่ แจ้งในเรือ่ งนน้ั ถ้าเราฟงั ครูโดยไม่ถาม-ตอบ กจ็ ะไมแ่ จ่มแจง้ (6) ฝึกตงั้ สมมติฐานและต้งั คาถาม เวลาเรียนรูอ้ ะไรไปแล้วเราต้องสามารถตงั้ คาถามไดว้ ่าสิง่ นีค้ อื อะไร ส่ิงนน้ั เกดิ จากอะไร อะไรมปี ระโยชน์ ทาอยา่ งไรจะประสบความสาเร็จ อย่างอนั นน้ั และมกี ารฝึกตัง้ คาถาม ถ้ากลมุ่ ชว่ ยกันคิดคาถามทีม่ คี ณุ คา่ และมคี วามสาคญั กจ็ ะอยาก ไดค้ าตอบ (7) ฝึกการค้นหาคาตอบ เมอื่ มคี าถามแลว้ ก็ควรไปคน้ หาคาตอบจากหนงั สอื จาก ตาราจากอินเตอร์เน็ต หรือไปคยุ กับคนเฒ่าคนแก่ แลว้ แต่ธรรมชาติของคาถาม การคน้ หาคาตอบตอ่ คาถามท่ีสาคญั จะสนกุ และทาให้ไดค้ วามรมู้ าก ตา่ งจากการทอ่ งหนังสือโดยไมม่ ีคาถาม บางคาถาม เมอ่ื ค้นหาคาตอบทุกวถิ ที างจนหมดแล้วก็ไมพ่ บแตค่ าถามยังอยแู่ ละมคี วามสาคญั ตอ้ งหาคาตอบ ต่อไปดว้ ยการวจิ ัย (8) การวจิ ยั การวจิ ยั เพ่อื หาคาตอบเป็นส่วนหน่งึ ของกระบวนการเรียนรูท้ ุกระดบั การวิจยั จะทาให้ค้นพบ (9) เช่อื มโยงบูรณาการ ให้เห็นความเปน็ ไปทัง้ หมดและเหน็ ตัวเอง ธรรมชาตขิ อง สรรพสิ่งล้วนเชือ่ มโยง เม่อื เรียนร้อู ะไรมาอยา่ ให้ความรู้นัน้ แยกเปน็ สว่ นๆ แต่ควรจะเช่อื มโยงเป็น บรู ณาการใหเ้ ห็นความเปน็ ทงั้ หมด ในความเป็นท้งั หมดจะมคี วามงาม และมมี ิติอนื่ ผุดบังเกิด ออกมาเหนอื ความเป็นสว่ นๆ และในความเปน็ ทัง้ หมดนนั้ มองเห็นด้วยตัวเอง เกดิ การรู้ตวั เองตาม

35 ความเปน็ จรงิ ว่า สัมพนั ธก์ ับความเปน็ ทั้งหมดอยา่ งไร จรยิ ธรรมอย่ทู ีต่ รงนค้ี อื การเรียนรู้ตวั เองตาม ความเป็นจรงิ วา่ สมั พนั ธก์ ับความเปน็ ทั้งหมดอย่างไร ดังน้ัน ไม่วา่ การเรยี นรู้อะไรๆ ก็มมี ติ ิทาง จรยิ ธรรมอยใู่ นนัน้ เสมอ มิติทางจรยิ ธรรมอยู่ในความเป็นทั้งหมดนน่ั เอง ตา่ งจากการเอาจรยิ ธรรม ไปเป็นวิชาๆหน่ึงแบบแยกส่วนก็ไม่ค่อยได้ผล ในการบรู ณาการความรู้ทเ่ี รยี นรมู้ าใหร้ คู้ วามเป็นทง้ั หมดและเหน็ ตัวเองนจ้ี ะ นาไปสู่อสิ รภาพและความสขุ อนั ลน้ เหลอื เพราะหลดุ พน้ จากความบีบค้ันของความไมร่ ู้ การ ไตร่ตรองนจ้ี ะโยงกลับไปสู่วตั ถุประสงคข์ องการเรียนรูท้ วี่ า่ เพ่ือลดตวั กู-ของกู และเพื่ออยูร่ ว่ มกนั อย่างสนั ติ อนั จะชว่ ยกากับให้การแสวงหาความรเู้ ป็นไปเพอ่ื วัตถุประสงค์ดงั กล่าวมิใช่เปน็ ไปเพอื่ ความกาเริบแห่งอหังการ และเพอื่ รบกวนการอย่รู ่วมกนั ดว้ ยสนั ติ (10) ฝกึ การเขียนเรยี บเรยี งทางวชิ าการ ถงึ กระบวนการเรยี นรู้และความรู้ใหม่ท่ี ได้มา การเรยี บเรียงทางวิชาการเป็นการเรียบเรยี งความคดิ ให้ประณตี ข้นึ ทาให้คน้ ควา้ หาหลักฐานที่ มีทีอ่ า้ งองิ ของความรู้ให้ถถี่ ว้ นแม่นยาขนึ้ การเรียบเรยี งทางวชิ าการจงึ เป็นการพฒั นาปัญญาของ ตนเองอย่างสาคัญและเปน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรู้ของผอู้ ื่นในวงกวา้ งออกไป ผจงกาญจน์ ภวู่ ภิ าดาวรรณ (2541 : 9-17) ได้เสนอแนวทางการสง่ เสริมให้ นักเรียนพัฒนาความคิดเชงิ วิเคราะห์และความคดิ สรา้ งสรรค์ อย่างรู้ตวั และไมร่ ู้ตวั ดว้ ยการจัด สภาพแวดลอ้ มบรรยากาศต่างๆ ดงั น้ี (1) การจดั บรรยากาศด้านกายภาพ เช่น สภาพแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียนมี ลักษณะทส่ี ง่ เสริมให้คดิ วเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์ ทา้ ทายการเรยี นรู้ สร้างความสนใจเพอื่ ใหเ้ กดิ การ สังเกตและคิดตลอดเวลา (2) การจดั บรรยากาศด้านสมอง เช่น การกระตุ้นใหต้ อบ แสวงหาใหต้ ง้ั คาถาม แบบต่างๆ กระตนุ้ ใหต้ ดิ ตาม กระตนุ้ ใหค้ ดิ แบบอุปมาอุปมยั กระตนุ้ ใหค้ ิดการเชือ่ มโยงสัมพันธ์ กระต้นุ ใหค้ ดิ นอกระบบ (3) การจดั บรรยากาศด้านอารมณ์ เช่น การสร้างเจตคตเิ ชิงบวกตอ่ การคิดเชิง วเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ ครู อาจารยแ์ ละผเู้ กยี่ วข้องจะต้องส่งเสรมิ ใหโ้ อกาส ให้อสิ ระเสรใี นการคิด การแสดงออก หรอื การมจี ินตนาการในรูปแบบตา่ งๆ ของนกั เรียน จากแนวคดิ และหลักการที่เกี่ยวขอ้ งกับการคิดเชิงวิเคราะห์ข้างต้น ผวู้ จิ ัยไดน้ ามา เป็นแนวทางในการออกแบบการจดั การเรียนเรยี นรู้เพ่อื ให้ผู้เรยี นไดม้ ีการพฒั นาทกั ษะการคิดเชงิ วเิ คราะห์ โดยได้นาแนวการสอนและองค์ประกอบของการคิดวเิ คราะห์ท้งั สด่ี า้ นมาสอดแทรกใน

36 การจัดการเรยี นรูต้ ามแนวคิดพหวุ ัฒนธรรม เพื่อใหผ้ ้เู รียนมีทกั ษะการคิดเชิงวิเคราะหซ์ ่ึงเป็นสว่ น หน่งึ ในทกั ษะท่ีจะทาใหผ้ ้เู รียนได้มีการคดิ ตดั สินใจอย่างมีเหตุผล และยอมรบั ในความแตกต่างทาง วฒั นธรรมของผูค้ นในสังคมได้ 5. แนวคดิ และหลกั การเกี่ยวกบั เจตคติ (Attitude) 5.1 ความหมายของเจตคติ สาหรับความหมายของเจตคติน้นั มผี ้เู ชี่ยวชาญไดใ้ หค้ วามหมายไว้หลาย ความหมายแตกต่างกนั ไปตามแนวคดิ ของตน ดงั นี้ Katz, D. (1960: 663) กลา่ วว่าเจตคตเิ ป็นความรูส้ กึ โนม้ นา้ วของแต่ละบคุ คลที่จะ ประเมนิ สัญลกั ษณ์ สิ่งของ หรือโฉมหนา้ โลกของเขา ด้วยความเตม็ ใจหรือไม่เต็มใจ Allport, G.W. (1967: 3) กลา่ ววา่ เจตคติหมายถึง สภาวะความพร้อมทางด้านจติ ใจ อันเกิดข้นึ จากประสบการณ์ สภาวะความพร้อมน้ีจะเปน็ แรงกาหนดทศิ ทางปฏิกิรยิ าที่จะมีต่อบุคคล หรอื ส่ิงของทีเ่ กย่ี วข้อง Fishbien, M. (1967: 3 ) กล่าวว่า เจตคติเป็นสภาพความพร้อมของสมอง การจัด มวลประสบการณ์ อทิ ธิพลภายนอก หรอื ภายใน ท่ีมีตอ่ บคุ คลในการตอบสนองตอ่ ส่งิ ใดสิ่งหน่ึง ตอ่ สภาวะการณ์ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับส่ิงนนั้ ๆ กุญชรี คา้ ขาย (2540 : 159) กล่าววา่ เจตคติหมายถงึ ท่าที ความรสู้ ึก หรือความคิด ทบ่ี คุ คลมตี อ่ วตั ถุ เหตกุ ารณ์ หรือ บุคคลอนื่ ๆซ่ึงอยู่ล้อมรอบตัวเรา ลกั ษณะโดยทัว่ ไปของเจตคตนิ นั้ อาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ สิ่งทไ่ี ดม้ าจากการเรยี นร้ผู กู พนั อยู่กับเปา้ มีทิศทางและความเข้มท่แี ปรไปได้ เมอ่ื เกิดแลว้ ค่อนข้างคงทนแตก่ เ็ ปลยี่ นแปลงได้ และแสดงออกมาให้เหน็ ได้ ปรยี าพร วงค์อนตุ รโรจน์ ( 2551 : 243-244) กลา่ วว่า เจตคติเป็นเร่อื งของ ความชอบ ความไม่ชอบ ความลาเอยี ง ความคิดเห็น ความรู้สึก ความเชอ่ื ฝงั ใจของเราต่อสิง่ หนึง่ สิง่ ใด มักจะเกดิ ขึ้นเมอ่ื เรารับรหู้ รอื ประเมนิ ผูค้ น เหตกุ ารณใ์ นสังคม เราจะเกดิ อารมณค์ วามรู้สึก บางอยา่ งควบคู่ไปกบั การรับรู้นั้น และมผี ลต่อความคิดและปฏกิ ริ ยิ าในใจของเรา ดงั น้นั เจตคติจึง เปน็ ท้งั พฤตกิ รรมภายนอกทอ่ี าจสังเกตได้ หรอื พฤติกรรมภายในทไี่ มส่ ามารถสงั เกตเหน็ ไดโ้ ดยง่าย แต่มีความโนม้ เอยี งทจ่ี ะเป็นพฤติกรรมภายในมากกวา่ พฤตกิ รรมภายนอก

37 5.2 ลักษณะของเจตคติ ปรยี าพร วงคอ์ นตุ รโรจน์ (2551 : 249-251) ได้กล่าวเกยี่ วกบั ลักษณะของเจตคติ วา่ มีคุณลักษณะทีส่ าคญั ดังน้ี 1. เจตคตเิ กิดจากประสบการณ์ สง่ิ เร้าต่างๆ รอบตัว บคุ คล การอบรมเล้ียงดู การ เรยี นรขู้ นบธรรมเนยี มประเพณีและวฒั นธรรมเป็นสิ่งทีก่ ่อนใหเ้ กิดเจตคติ แม้วา่ มีประสบการณท์ ี่ เหมือนกัน ก็จะมเี จตคตทิ แี่ ตกต่างกนั ไปด้วยสาเหตหุ ลายประการ เชน่ สตปิ ัญญา อายุ เปน็ ตน้ 2. เจตคติเปน็ การตระเตรยี มความพรอ้ มในการตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ เป็นการเตรยี ม ความพรอ้ มภายในจิตใจ มากกวา่ ภายนอกท่ีจะสงั เกตไดส้ ภาวะความพร้อมทจี่ ะตอบสนองมี ลักษณะท่ซี บั ซ้อนของบุคคล ทจ่ี ะชอบหรอื ไมช่ อบ ยอมรบั หรอื ไมย่ อมรับ และจะเกี่ยวเนอ่ื งกับ อารมณด์ ้วย เปน็ ส่งิ ที่อธิบายไม่คอ่ ยจะได้ และบางคร้งั ไม่คอ่ ยมเี หตผุ ล 3. เจตคติมีทศิ ทางของการประเมนิ ทศิ ทางการประเมนิ คอื ลักษณะความร้สู ึก หรืออารมณท์ ่เี กดิ ขนึ้ ถ้าเป็นความรูส้ ึกหรือการประเมนิ วา่ ชอบ พอใจ เห็นด้วย กค็ อื เปน็ ทิศทาง ในทางท่ีดี เรยี กว่า เป็นทศิ ทางในทางบวก และถ้าการประเมนิ ออกมาในทางที่ไมด่ ี เช่น ไม่ชอบ ไม่ พอใจ กม็ ที ศิ ทางในทางลบ เจตคติทางลบไม่ไดห้ มายความไม่ควรมีเจตคตนิ ้ัน แต่เปน็ เพยี ง ความรูส้ กึ ในทางไมด่ ี เช่น เจตคตใิ นทางลบตอ่ การคดโกงการเลน่ การพนัน การมีเจตคตใิ น ทางบวกก็ไมไ่ ดห้ มายถึงเจตคตทิ ่ีดแี ละพงึ ปรารถนา เช่น เจตคตทิ างบวกตอ่ การโกหก การสูบบหุ ร่ี เป็นต้น 4. เจตคติมคี วามเขม้ คอื มีปรมิ าณมากน้อยของความร้สู กึ ถ้าชอบมากหรือไมเ่ หน็ ด้วยอยา่ งมาก กแ็ สดงวา่ มีความเขม้ สูง ถา้ ไม่ชอบเลยหรือเกลยี ดที่สุด ก็แสดงมีความเขม้ สงู ไปอีก ทางหนึ่ง 5. เจตคตมิ ีความคงทน เจตคตเิ ป็นส่งิ ท่ีบุคคลยดึ ม่ันถอื มั่นและมีส่วนในการ กาหนดพฤตกิ รรมของคนน้นั การยดึ มั่นในเจตคตติ อ่ สิง่ ใด ทาใหก้ ารเปลี่ยนแปลงเจตคตเิ กดิ ขน้ึ ได้ ยาก 6. เจตคติมีทั้งพฤตกิ รรมภายในและพฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมภายใน เปน็ สภาวะทางจติ ใจซง่ึ หากไมไ่ ดแ้ สดงออก กไ็ มส่ ามารถจะรู้ได้ว่าบุคคลนัน้ มีเจตคตอิ ยา่ งไรในเรื่อง นัน้ เจตคติท่ีเปน็ พฤตกิ รรมภายนอกจะแสดงออก เนื่องจากถูกกระตุน้ และการกระตุ้นนย้ี งั มี สาเหตอุ น่ื ๆ ร่วมอยู่ดว้ ย เช่น บุคคลแสดงความไม่ชอบด้วยการดุดา่ คนอน่ื นอกจากไมช่ อบคนนัน้ แล้วอาจจะเป็นเพราะถกู ท้าทายกอ่ น

38 7. เจตคติจะต้องมีสิง่ เรา้ จงึ มกี ารตอบสนองข้ึน แต่กไ็ มจ่ าเป็นวา่ เจตคตทิ ี่ แสดงออกจากพฤติกรรมภายใน พฤตกิ รรมภายนอกจะตรงกนั เพราะกอ่ นแสดงออกบุคคลน้นั ต้อง ปรับปรุงให้เหมาะกับปทัสถานของสงั คมแลว้ จึงแสดงออกเป็นพฤตกิ รรมภายนอก 5.3 ประเภทของเจตคติ เจตคตแิ บง่ เปน็ 2 ประเภท คือ (ปรยี าพร วงคอ์ นตุ รโรจน์, 2551 : 245-247) 1. เจตคตทิ ัว่ ไป (General Attitude) ไดแ้ ก่ สภาพของจิตใจโดยท่วั ไป เป็น แนวคดิ ประจาตัวของบุคคล เจตคติโดยทั่วไปได้แก่ ลักษณะของบคุ ลกิ ภาพอนั กว้างขวาง เช่น การ มองโลกในแง่ดี การเคร่งในระเบียบประเพณี เปน็ ตน้ 2. เจตคตเิ ฉพาะอย่าง (Specific Attitude) ไดแ้ ก่ สภาพทางจิตใจทีบ่ ุคคลมตี ่อ วตั ถุ ส่งิ ของ บคุ คล สถานการณ์ และสิ่งอนื่ ๆ เจตคตเิ ฉพาะอย่างน้จี ะแสดงออกในลักษณะชอบ หรอื ไมช่ อบสงิ่ นั้นคนนั้น ถา้ ชอบหรอื เห็นดีด้วยก็เรียกว่ามีเจตคติท่ดี ีตอ่ สิง่ นั้น แตถ่ ้าไม่ชอบเหน็ วา่ ไมด่ ตี ่อส่ิงนน้ั เป็นการจาเพาะเจาะจง เช่น นักเรียนไม่ชอบครคู นนกี้ ็เรียกว่าเจตคติทีไ่ ม่ดตี ่อครู คนน้ี ถ้ามีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การเรียนภาษาองั กฤษ ก็แสดงว่านักเรยี นชอบเรยี นภาษาองั กฤษ เป็นตน้ นอกจากน้เี จตคตยิ ังแบ่งได้เป็น 5 ชนดิ คอื 1. เจตคติในด้านความรู้สึกหรอื อารมณ์ (Affective Attitude) ประสบการณ์ทีค่ น หรือสิง่ ของไดส้ รา้ งความพึงพอใจและความสขุ ใจ จะทาใหม้ เี จตคติที่ดตี อ่ สิง่ นั้นคนน้นั ตลอดจน คนอน่ื ๆ ท่ีคล้ายคลึงกัน แต่ถ้าประสบการณ์ในคนน้ันสิ่งน้ัน ทาใหเ้ กิดความทุกข์ เจ็บปวด ไม่พอใจ ก็จะทาให้มเี จตคติท่ไี ม่ดีต่อคนนน้ั สง่ิ น้นั เชน่ นักเรียนไม่ชอบเรียนคณิตศาสตรเ์ รียกว่าเจตคตทิ ่ีไม่ดี ต่อการเรียนคณติ ศาสตร์ เน่อื งจากเคยสอบตก เรียนแลว้ ไม่เขา้ ใจ ถกู ครูดุ และเขม้ งวด เปน็ ต้น 2. เจตคตทิ างปญั ญา (Intellectual Attitude) เป็นเจตคติท่ปี ระกอบด้วยความคิด และความรู้เปน็ แกน บคุ คลอาจมีเจตคติตอ่ บางส่ิงบางอย่างโดยอาศัยความรูจ้ นเกิดความเข้าใจ และ มคี วามสมั พันธ์กบั จติ ใจคอื อารมณแ์ ละความรู้สกึ ร่วม หมายถงึ มีความรู้จนเกดิ ความซาบซึ้งเหน็ ดี เหน็ งามดว้ ย เชน่ เจตคตทิ ี่ดีต่อศาสนา เจตคติท่ไี ม่ดตี ่อยาเสพติด 3. เจตคตทิ างการกระทา (Action-oriented Attitude) เป็นเจตคตทิ พี่ รอ้ มจะนาไป ปฏิบตั ิเพอ่ื สนองความตอ้ งการของบุคคล เจตคตทิ ีด่ ตี ่อการพดู จาไพเราะออ่ นหวาน เพอื่ ให้คนอื่น เกิดความนิยมชมชอบ เจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานในสานักงาน เป็นต้น 4. เจตคติทางดา้ นความสมดลุ (Balanced Attitude) ประกอบด้วยความสมั พนั ธ์ ทางดา้ นความรู้สึกหรอื อารมณ์ เจตคตทิ างปัญญา และเจตคติทางการกระทา เปน็ เจตคติทต่ี อบสนอง

39 ความตอ้ งการพน้ื ฐานทีเ่ ปน็ ทีย่ อมรับของสังคม ทาให้บุคคลมพี ฤติกรรมที่นาไปสู่จุดหมายของตน และเสริมแรงกระทาเพือ่ สนองความต้องการของคนตอ่ ไป 5. เจตคตใิ นการป้องกนั ตวั (Ego-defensive Attitude) เป็นเจตคติเกี่ยวกบั การปอ้ ง การตนเองใหพ้ น้ จากความขดั แย้ภายในใจ ประกอบด้วยความสัมพนั ธท์ ง้ั 3 ด้านคือ ความสัมพนั ธ์ ด้านความรสู้ กึ หรืออารมณ์ ดา้ นปญั ญา และด้านการกระทา เช่น ความก้าวรา้ วของนกั เรยี น เกดิ จาก ถูกเพอ่ื นรังแก จงแสดงออกเป็นการระบายความขดั แยง้ หรอื ความตงึ เครยี ดภายในได้อย่างหนงึ่ ทา ใหจ้ ิตใจดีขน้ึ 5.4 องคป์ ระกอบของเจตคติ ปรยี าพร วงค์อนตุ รโรจน์ (2551 : 247-248) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า เจตคติมอี งคป์ ระกอบที่ เกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธก์ ันอยู่ 3 องค์ประกอบ คอื 1. องค์ประกอบทเ่ี กยี่ วกับการรู้ การคดิ ความเข้าใจ (Cognitive Component) เปน็ ความรคู้ วามเข้าใจท่บี คุ คลมีต่อสง่ เรา้ (คน สิ่งของ สถานการณ์) เช่น คนทเ่ี ปน็ โรคเอดส์ บคุ คลมักจะมีเจตคตทิ ไ่ี มด่ ี เพราะเปน็ โรคที่ติดต่อและร้ายแรง ทาให้สงั คมเส่ือมถอยทางศลี ธรรม หรอื นางงามซึง่ ผ่านการตัดสนิ แล้ว มกั จะมเี จตคตทิ างดวี ่าต้องสวย เป็นตน้ 2. องค์ประกอบท่ีเกี่ยวขอ้ งกับความรสู้ ึก (Affective Component) เปน็ ความรสู้ กึ ท่ี แสดงออกต่อส่งิ เร้าตามประสบการณท์ ไ่ี ดร้ ับมาท้งั ทางบวกและทางลบ เห็นด้วย ไมเ่ ห็นด้วย เช่น หัวหน้างานไมช่ อบให้ลูกน้องขาดงานบ่อย หรือมาทางานสาย ถ้ามีลกู น้องคนใดมีพฤตกิ รรม ดังกลา่ ว มกั ถูกหัวหน้างานมีความร้สู กึ ไมช่ อบ องค์ประกอบด้านอารมณ์และความรู้สกึ น้ถี ือเปน็ องค์ประกอบทส่ี าคญั ท่ีสดุ 3. องคป์ ระกอบทเี่ กีย่ วขอ้ งกับแนวโน้มของการกระทา หรอื พฤตกิ รรม (Action Tendency Component หรอื Behavioral Component) เป็นความพรอ้ มที่จะตอบสนองต่อส่ิงเร้าให้ สอดคล้องกบั ความรสู้ ึกของบุคคล เชน่ เมอื่ หัวหน้าไมช่ อบให้ลูกน้องมาสาย หรือขาดงานบอ่ ย สิ้น ปีก็ไม่เสนอชือ่ ข้ึนเงินเดือน หรือได้รับโบนัสจานวนน้อยกว่าคนอ่นื 5.5 ปัจจัยทกี่ ่อให้เกิดเจตคติ เจตคตเิ กดิ จากการเรยี นรสู้ ่ิงต่างๆรอบตวั ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม แหล่งท่ีมี อิทธพิ ลตอ่ การสร้างเจตคติของบุคคล มีดังนี้

40 1. ประสบการณ์โดยตรง และประสบการณ์ในอดีต การมีประสบการณโ์ ดยตรง หรือมปี ระสบการณใ์ นอดตี กับสิ่งใดสิง่ หนง่ึ มีผลตอ่ การเกิดเจตคติ หรอื พฒั นาเจตคติ เช่น เด็กที่ไป หาทนั ตแพทย์ หรอื แพทย์เพ่ือรักษา ถ้าได้รับการดแู ลดเี ด็กจะมีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ แพทย์ 2. ครอบครวั ครอบครัวเป็นแหลง่ สาคญั ในการสร้างเจตคติ การอบรมสั่งสอน เล้ยี งดขู องพ่อแม่ ในวัยกอ่ นเขา้ เรยี นมผี ลต่อการสรา้ งเจตคตเิ ปน็ อยา่ งมาก เช่น พอ่ แม่ทมี่ คี วาม รับผิดชอบต่อสังคม ไมท่ ้งิ เศษขยะบนท่ีสาธารณะ เดก็ กจ็ ะซึมซบั ลกั ษณะเชน่ นน้ั ดว้ ย หรือถ้าพอ่ แม่ สอนใหเ้ ด็กทาอะไรด้วยตัวเองเสมอ จะสรา้ งความม่นั ใจให้เกิดข้ึนกบั เดก็ 3. อิทธพิ ลของกลมุ่ ตา่ งๆ กลุ่มของสังคม เช่น กลมุ่ เพือ่ น กลุ่มวชิ าชพี กลุ่ม สถาบัน การศึกษาทุกกลุ่มมีอิทธิพลตอ่ การสรา้ งเจตคติ คา่ นิยม ความเชื่อโดยเฉพาะกลุ่มเพอ่ื น มี อิทธพิ ลตอ่ เจตคติ คา่ นยิ ม ความเชื่อในช่วงวัยรนุ่ ส่วนกลุ่มวิชาชีพ และกล่มุ การเมืองจะมีอทิ ธิพล ต่อวัยผูใ้ หญ่ 4. สอื่ ตา่ งๆ ได้แก่ วิทยุ โทรทศั น์ หนงั สือพิมพ์ วารสาร ภาพยนตร์ และอน่ื ๆ เป็นส่อื กลางในการสรา้ งเจตคตไิ ดท้ ัง้ ในทางบวกละทางลบ เช่น การลงข่าวในหนังสอื พมิ พเ์ รอื่ งการ ได้รบั รางวลั หรอื การได้รบั โทษของบุคคลในเรื่องใดเรือ่ งหนึง่ ทาให้ผู้ที่อ่านมเี จตคติท่ดี หี รือไมด่ ี ตอ่ บคุ คลน้นั ๆ ได้ (วิไลวรรณ ศรีสงครามและคณะ, 2549 : 261-262) 6. แนวคิดและหลกั การเกีย่ วกบั การอ่าน 6.1 ความหมายของการอ่าน Zintz (1980 : 5) ไดใ้ หค้ าจากัดความของการอ่านไวว้ า่ การอ่าน เปน็ ความสามารถ ทจี่ ะเขา้ ใจความหมายที่เขยี นขน้ึ มาแตล่ ะบรรทัด ซ่ึงผู้อ่านจะตอ้ งสามารถจบั ใจความสาคญั จาก กลมุ่ คาซึง่ ส่อื ความหมายได้ พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน (ราชบัณฑิตยสถาน 2542 ) ใหค้ วามหมาย ของคาวา่ อ่านไวว้ ่า “ ก. วา่ ตามตัวหนงั สือ ถ้าอ่านออกเสียงดว้ ย เรียกว่าอ่านออกเสยี ง, ถ้าไมต่ อ้ ง ออกเสียง เรยี กว่าอา่ นในใจ; สังเกตหรือพจิ ารณาดูเพื่อให้เข้าใจ เชน่ อา่ นสีหนา้ อา่ นริมฝปี าก อา่ น ใจ; ตีความ เชน่ อ่านรหสั อา่ นลายแทง; คิด, นับ.(ไทยเดมิ ) ฉวีวรรณ คหู าภินันท์ (2542 : 21) กล่าวว่า การอา่ นเปน็ ความสามารถในการรับ สารจากสื่อตา่ งๆ เข้าใจและตคี วามไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ศิวกานท์ ปทมุ สูติ (2553 : 49) ให้ความหมายไวว้ า่ การอ่านคอื การแปล ความหมาย หมายความว่า ไม่ว่าการอา่ นนัน้ จะเป็นการอา่ นภาษาถ้อยคา (วัจนภาษา) หรอื การอา่ น ภาษาทีม่ ใิ ช่ถ้อยคา (อวจั นภาษา) รวมถึงการอ่านสมั ผสั รสู้ กึ การอา่ นธรรมชาติและการอา่ น

41 สภาวธรรมต่างๆ ดังกล่าวเหล่านน้ั ไดว้ ่ามคี วามหมายอย่างไรหรอื มีความจริงใด ก็ถือว่าอา่ นได้หรอื อา่ นออก เกิดสมั ฤทธผิ ลของการอ่าน สนุ ันทา ม่นั เศรษฐวิทย์ (2550 : 3) กล่าวว่า เมอ่ื เอ่ยถงึ การอ่านควร “การอ่าน” ต้องมคี วามหมายมาเกี่ยวขอ้ ง คือ ความเข้าใจถอ้ ยคาที่อ่าน ดงั น้นั สิง่ ที่ควรเขา้ ใจในการอา่ นคือต้อง เข้าใจและส่อื ความหมายได้ตรงกับตวั อกั ษรทอ่ี ่าน ถา้ เปน็ การอ่านคาก็ต้องเข้าใจความหมายของคา อ่นประโยคกต็ ้องเข้าใจความหมายของประโยค อ่นขอ้ ความหรอื อ่านเรื่องราวก็สามารถเลา่ เรื่อง และสรปุ เร่ืองไดถ้ กู ต้องตรงกบั ประเดน็ ท่ีอา่ น จากความหมายของการอา่ นทีก่ ล่าวมาข้างตน้ อาจสรุปไดว้ า่ การอา่ น คอื การเข้าใจ ความหมายของสิ่งทอ่ี า่ น พิจาณาถึงสง่ิ ทตี่ อ้ งการส่อื ออกมาจากตวั อักษรท่ีอ่าน และสามารถสรปุ ใจความ ถอดความหรอื แปลออกมาไดอ้ ยา่ งถูกต้องตรงกับเจตนาของผูเ้ ขยี น 6.2 ความสาคัญและประโยชน์ของการอา่ น ฉวีวรรณ คหู าภนิ ันท์ (2542 : 2-3) การอา่ นมคี วามสาคญั ตอ่ ชวี ิตมนุษย์ ต้ังแตเ่ ล็ก จนโต การอ่านมีความสาคัญต่อการพัฒนาอาชีพและการศกึ ษา เป็นหัวใจสาคญั ในการเรียนการสอน นักเรยี นนักศกึ ษาจะสามารถเลา่ เรยี นได้เก่งจนประสบความสาเรจ็ เปน็ อย่างดี ครูอาจารย์จาเป็น จะต้องอา่ นเพอ่ื พัฒนาความรู้ ความสามารถในการสอนอยูเ่ สมอ...การอ่านอยเู่ ป็นประจาจะทาใหล้ ับ สมองและความคดิ ใหเ้ ฉียบแหลมเพราะ “การอ่านเปน็ เคร่ืองมือสาคญั ทีจ่ ะช่วยพฒั นาความคิด สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนรูจ้ กั ใช้ กระบวนการความคิด (thinking process) อันจะนาไปใชใ้ นการฟัง พดู อ่าน เขยี น หลักภาษาได้ดี” ในขณะเดียวกนั คนทีอ่ ่านหนงั สอื ไมไ่ ด้ หรอื ไมอ่ ่านจะมีความลาบากมากในการ ดารงชีวิตอยใู่ นโลกนอ้ี ยา่ งมีความสขุ จงึ ถูกเอารัดเอาเปรยี บตา่ งๆ นานา ถูกลิดรอนสทิ ธติ ่างๆ ไดร้ ับ การดถู ูก เหยียดหยาม และถูกหลอกลวงไดง้ ่าย สนุ นั ทา มั่นเศรษฐวทิ ย์ (2550 : 6) การอ่านมีความสาคัญตอ่ การพฒั นาชาติ ประเทศจะพัฒนาไดจ้ ะต้องอาศยั ประชาชนในชาติที่มีความสามารถในการอา่ น เลืกนาควมรู้แล ความคดิ มาพัฒนาชาติให้เจริญรุ่งเรอื ง นอกจากนั้นการอ่านยงั มีความสาคญั ตอ่ การพฒั นาตนเองโดย อาศัยความรู้และความคดิ จากการอ่านเป็นกรอบในการดาเนนิ ชวี ติ เลือกแนวทางในการประกอบ อาชพี ทีเ่ หมาะสมอกี ดว้ ย จินตนา ใบกาซยู ี (2543 : 58)ได้สรุปการบรรยายของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ถึงความสาคัญของการอา่ นหนงั สือว่า 1. การอา่ นหนงั สอื ทาให้ไดเ้ น้ือหาสาระความรู้มากกวา่ การศกึ ษาหาความรูด้ ว้ ย

42 วธิ ีการ อ่นื ๆเชน่ การฟัง 2. ผู้อา่ นสามารถอ่านหนังสือไดโ้ ดยไมม่ ีการจากดั เวลาและสถานที่ สามารถ นาไปไหนมาไดนได้ 3. หนงั สือเกบ็ ไดน้ านกวา่ สือ่ อย่างอ่นื ซง่ึ มกั มอี ายุในการใชง้ านโดยจากดั 4. ผู้อา่ นสามารถฝึกการคิดและสรา้ งจนิ ตนาการได้เองในขณะอา่ น 5. การอา่ นส่งเสรมิ ใหม้ สี มองดี มสี มาธนิ านกว่าและมากกวา่ ส่ืออยา่ งอื่น ทั้งน้ี เพราะขณะอ่านจิตใจจะตอ้ งมุ่งมน่ั อยู่กบั ข้อความ พินิจพิเคราะห์ขอ้ ความ 6. ผู้อา่ นเป็นผ้กู าหนดการอา่ นได้ด้วยตนเอง จะอา่ นครา่ วๆ อา่ นละเอียด อ่าน ขา้ ม หรือทุกตวั อกั ษร เป็นไปตามใจผู้อ่าน หรอื จะเลอื กอ่านเลม่ ไหนกไ็ ด้ เพราะหนงั สือมีมาก สามารถเลือกอ่านเองได้ 7. หนงั สือมีหลากหลายรปู แบและราคาถกู กวา่ ส่ืออย่างอน่ื จงึ ทาให้สมองผู้อา่ น เปดิ กว้างสร้างแนวคดิ และทศั นคติได้มากวา่ ทาใหผ้ ู้อ่านไมต่ ิดอยู่กับแนวคิดใดๆ โดยเฉพาะ 8. ผู้อา่ นเกิดควมคดิ เห็นไดด้ วยตนเอง วนิ จิ ฉยั เนื้อหาสาระได้ดวยตนเอง รวมทง้ั หนงั สือบางเลม่ สามารถนาไปปฏบิ ตั แิ ล้วเกิดผลดี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2546 : 7-8) ได้สรุปประโยชน์ของการอ่านไว้ดงั นี้ 1. เป็นการพฒั นาสติปัญญา ใหเ้ กดิ ความรู้ ความฉลาด เกดิ ภมู คิ มุ้ กันทีด่ ีในชีวติ จิตใจ 2. ทาใหม้ คี วามรูในวิชาด้านต่างๆ อาจเปน็ ความรู้ทว่ั ไปหรือความรเู้ ฉพาะด้านก็ ได้ เช่น การอ่านตาราแขนงตา่ งๆ หนังสือคูม่ ือหนังสือประกอบในแขนงวชิ าต่างๆ 3. ทาให้รอบรทู้ นั โลก ทันเหตกุ ารณ์ การอา่ นหนังสือพิมพ์ การอ่านจากสื่อ สารสนเทศต่างๆ การอ่านสื่อเหล่านีน้ อกจากจะทาให้รูท้ นั ขา่ วสารบ้านเมอื งและสภาพการณต์ ่างๆ ในสงั คม ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศแลว้ ยังจะไดร้ ับทราบข่าวกีฬา ขา่ วบนั เทงิ บทความ วิจารณ์ ตลอดจนโฆษณาสนิ คา้ ตา่ งๆ อกี ด้วย ซ่ึงเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ในการปรับความเปน็ อยใู่ ห้ เหมาะสม สอดคลอ้ งกับสภาพสงั คมของตนในขณะนั้น ๆ 4. ทาให้คน้ หาคาตอบทตี่ ้องการได้ การอา่ นหนังสอื จะชว่ ยตอบคาถาม ทเ่ี รา ขอ้ งใจ สงสัย ต้องการรู้ได้ เช่น อา่ นพจนานุกรมเพ่ือหาความหมายของคา อน่ หนังสอื กฎหมายเม่อื ต้องการรขู้ อ้ ปฏิบตั ิ อ่านหนังสือคู่มือแนะวธิ เี รียนเพ่ือต้องการประสบความสาเร็จในการเรียนเป็น ตน้ 5. ทาใหเ้ กิดความเพลิดเพลนิ การอ่านหนังสอื ท่ีมีเนือ้ หาดี นา่ อ่าน หน้าสนใจ

43 ยอ่ มทาใหผ้ ู้อา่ นมีความสขุ ความเพลิดเพลิน เกิดอารมณค์ ล้อยตามอารมณ์ของเร่ืองนัน้ ๆ ผ่อนคลาย ความเครียด ได้ข้อคิดและยังเป็นการยกระดบั จติ ใจผอู้ ่านให้สูงขน้ึ ไดอ้ ีกด้วย เช่น อน่ นิทาน นว นิยาย การ์ตนู เรอื่ งส้นั เปน็ ตน้ 6. ทาให้เกิดทักษะและพัฒนาการในการอ่าน ผทู้ ่ีอ่านหนังสือสม่าเสมอย่อมเกดิ ความชานาญในการอ่าน สามารถอา่ นได้เรจ็ เข้าใจเร่อื งราวท่อี ่านได้งา่ ย จับใคความไดถ้ ูดต้อง เขา้ ใจประเด็นสาคัญของเร่ืองและสามารถประเมนิ คณุ คา่ เรอ่ื งที่อา่ นได้อย่างสมเหตุสมผล เชน่ การ อ่านบทความ บทวจิ ารณ์ สารคิด เอกสารทางวชิ าการตา่ งๆ 7. ทาหว้ี ิตมพี ัฒนาการเป็นชวี ติ ท่สี มบรู ณ์ กา้ วหน้า ประสบความสาเร็จ ประพฤตดิ ี ประพฤตชิ อบ ผ้อู า่ นย่อมมีความรเู้ รอ่ื งราวต่างๆ มาก เกดิ ความรู้ ความคดิ ทห่ี ลากหลาย กว้างไกล สามารถนามาเปน็ แนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้ชวี ติ มีคณุ คา่ และมรี ะเบยี บ แบบ แผนท่ีดี ย่ิงขน้ึ เช่น การอ่านหนังสือธรรมะ กฎแห่งกรรม มงคลชีวิต ส้แู ลว้ รวย ชวี ประวัติ ผลงาน ของบคุ คลดเี ดน่ เป็นตน้ 8. ทาใหม้ ีมนษุ ยสัมพันธ์ดีและเสรมิ สรา้ งบุคลกิ ภาพ ผอู้ า่ นย่อมรู้มาก มีขอ้ มูล ต่างๆ ส่งั สมไว้มาก เม่อื สนทนากบั ผู้อื่นย่อมมีความม่ันใจ ไม่ขดั เขนิ เพราะมีภูมิความรู้ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ใหค้ าแนะนาแกผ่ ูอ้ ืน่ เชน่ การอา่ นหนงั สอื สขุ ภาพชวี ติ นติ ยสาร วารสาร สาร สุขภาพ หมอชาวบา้ น หนงั สอื การสร้างมนษุ ยสมั พนั ธ์ เพอ่ื นท่ดี ที ่ตี ้องการ เป็นตน้ 7. งานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง วนั เพ็ญ บญุ ชมุ (2542 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลของการเรยี นแบบร่วมมอื แบบ บรู ณาการ การอ่านและการเขยี นที่มีตอ่ ความเข้าใจในการอ่านและเจตคตติ อ่ การอ่านของนักเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. ความเขา้ ใจในการอ่านของนกั เรยี นทเี่ รยี นดว้ ยการเรยี น แบบรว่ มมือแบบบูรณาการการอา่ นและการเขยี น หลงั การทดลองสูงกวา่ ก่อนการทดลองอย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .001 2. ความเขา้ ใจในการอ่านของนักเรียนทเี่ รียนด้วยการเรยี นแบบ ร่วมมอื แบบบรู ณาการการอ่านและการเขยี นกบั การเรียนแบบปกตแิ ตกต่างกันอยา่ งไม่มนี ัยสาคญั ทางสถิติ 3. เจตคตติ อ่ การอ่านของนกั เรยี นท่ีเรียนดว้ ยการเรยี นแบบร่วมมอื แบบบูรณาการการอา่ น และการเขียนหลงั การทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .01 4. เจตคติ ต่อการอ่านของนกั เรียนทเ่ี รยี นดว้ ยการเรียนแบบรว่ มมอื แบบบูรณาการการอา่ น และการเขยี นสูง กวา่ การเรยี นแบบปกติอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05

44 วาสนา ไตรวัฒนธงไชย (2543 : บทคัดยอ่ ) ได้ทาการศึกษาเพือ่ เปรียบเทียบความ เขา้ ใจในการอ่าน และความรับผิดชอบต่อการเรยี นวิชาภาษาไทยของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทไี่ ดร้ บั การสอนแบบร่วมมือตามวธิ ีเอสทีเอดีกับวิธสี อนตามคมู่ อื ครู ผลการศกึ ษาค้นควา้ พบวา่ 1.) นักเรยี นท่ไี ด้รบั การสอนโดยการเรียนแบบรว่ มมือตามวิธีเอสทเี อดี (การบูรณาการการอา่ นและ การเขยี น) กับนกั เรียนที่ได้รับการสอนตามคูม่ อื ครู มีความเขา้ ใจในการอ่านภาษาไทยแตกต่างกัน อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .01 2.) นักเรยี นที่ไดร้ ับการสอนโดยการเรียนแบบรว่ มมอื ตามวธิ ี เอสทเี อดีกับนกั เรยี น ทีไ่ ด้รับการสอนตามคู่มอื ครมู ีความรบั ผิดชอบต่อการเรียนวิชาภาษาไทย แตกตา่ งกนั อย่าง มนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 3.) นกั เรียนท่ีไดร้ ับการสอนโดยการเรยี นแบบ รว่ มมือตามวธิ ีเอสทีเอดี กอ่ น และหลงั การทดลองมีความเข้าใจในการอา่ นภาษาไทยแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ ทรี่ ะดบั .01 4.) นักเรยี นทไ่ี ด้รบั การสอนตามคู่มอื ครู ก่อนและหลงั การ ทดลองแตกต่างกนั มคี วามเขา้ ใจในการอา่ นภาษาไทยแตกต่างกัน อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .01 5.) นักเรยี นที่ไดร้ บั การสอนโดยการเรียนแบบร่วมมือตามวิธเี อสทเี อดี กอ่ นและ หลังการ ทดลองมีความรับผดิ ชอบตอ่ การเรยี นวิชาภาษาไทยแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคญั ทาง สถติ ทิ ี่ระดับ .01 6.) นกั เรยี นทไ่ี ด้รับการสอนตามค่มู อื ครู ก่อนและหลงั การทดลองมีความรับผิดชอบ ต่อการ เรียนวิชาภาษาไทยแตกตา่ งกัน อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01 วรรณกร หมอยาดี (2544 : บทคัดยอ่ ) ไดท้ าการศกึ ษาผลของการเรียนรู้แบบ ร่วมมอื โดยใชเ้ ทคนคิ แบ่งกลมุ่ คละผลสัมฤทธทิ์ ่มี ีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองและ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ผลการวิจยั พบว่า 1.) นกั เรียนท่เี รียนดว้ ยวิธกี ารเรยี นรู้แบบรว่ มมอื โดยใชเ้ ทคนคิ แบ่งกลุ่มคละผลสมั ฤทธ์ิมีการรบั รู้ ความสามารถของตนเองหลงั การทดลองสงู กว่าก่อนการทดลอง อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01 2.) นักเรียนทีเ่ รียนด้วยวิธกี ารเรยี นแบบรว่ มมอื โดยใชเ้ ทคนิคแบ่งกลุ่มคละผลสัมฤทธิม์ ี ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษหลงั การทดลองสูงกวา่ กอ่ นการทดลองอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 3.) หลังการทดลอง นกั เรียนท่ีเรยี นด้วยวธิ กี ารเรยี นแบบรว่ มมือโดยใชเ้ ทคนิค แบ่งกลุ่มคละผลสัมฤทธม์ิ ีการรับรูค้ วามสามารถของตนเองสงู กวา่ นกั เรยี นท่ีเรียนด้วยวธิ กี ารเรยี น แบบปกติ อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .01 4.) หลังการทดลอง นกั เรียนที่เรียนดว้ ยวธิ ีการเรยี น แบบรว่ มมือโดยใช้เทคนิคแบง่ กลมุ่ คละผลสัมฤทธม์ิ ีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าภาษาอังกฤษสูง กวา่ นกั เรียนท่เี รียนด้วยวิธีการเรยี นแบบปกติ อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .01

45 กัญญา สิทธศิ ุภเศรษฐ์ (2548 : บทคัดย่อ) ไดศ้ ึกษาเปรยี บเทยี บทักษะการคดิ วเิ คราะห์ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ระหวา่ งกอ่ นและหลังการใช้กจิ กรรมการตั้งคาถามทง้ั โดยรวมและจาแนกตามความสามารถทางการเรียนของนกั เรยี น ผลการศกึ ษาสรปุ ได้ดงั น้ี 1.) นกั เรยี นทีไ่ ด้รับการสอนจากกิจกรรมการตงั้ คาถามมที ักษะการคิดวเิ คราะห์สูงขึ้น ทง้ั โดยรวมและ จาแนกตามความสามารถของนักเรยี น 2.) นักเรียนท่ีได้รับการสอนจากการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยการใชก้ ิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยการใชก้ จิ กรรมตงั้ คาถามมที กั ษะการคิดวิเคราะห์ดา้ นการจาแนก แยกแยะ ดา้ นการเปรยี บเทียบ ด้านการเหน็ ความสัมพนั ธแ์ ละดา้ นการให้เหตุผลสูงขึ้น ทง้ั โดยรวม และจาแนกตามความสามารถทางการเรยี นของนกั เรยี น บุญนา เท่ยี งดี (2548 : บทคัดยอ่ ) ไดศ้ กึ ษาเปรยี บเทยี บความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ และผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างนกั เรียนที่เรยี นรโู้ ดยใช้กลุม่ ร่วมมอื แบบ STAD กับการใช้กระบวนการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะ ไดผ้ ลการวจิ ัยโดยสรปุ ว่า การเรียนรู้แบบกลุ่มรว่ มมือแบบ STAD มคี ะแนนเฉลีย่ ความสามารถใน การคิดเชงิ วเิ คราะห์ และผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสงู กวา่ นักเรียนที่เรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการ สบื เสาะ สรุ ัตน์ จรสั แผว้ (2549 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาชุดกจิ กรรมฝึกการคดิ วิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 พบว่าการฝึกคดิ วเิ คราะห์อย่างต่อเนอื่ งในกระบวนการเรยี นการสอน การมปี ฏิสัมพันธแ์ ละการชว่ ยเหลือกันภายใน กลุ่ม ชว่ ยให้ผเู้ รียนมีการพฒั นาด้านการคดิ และการทางานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ประกาญจน์ เหลาออ่ น (2539 : บทคดั ย่อ) ไดท้ าการวิจยั เร่ือง การศกึ ษาสภาพและ ปญั หาการเรยี นการสอนเดก็ วัยอนุบาลหลายวัฒนธรรมในโรงเรียนประถมศึกษา สงั กัดสานกั งาน การประถมศกึ ษาจงั หวดั ระนอง จากผลการวจิ ัยพบว่า 1.) ครูทกุ คนรับรวู้ า่ ตนเองและบุคลากรอ่นื ๆ ในโรงเรียนสามารถยอมรับเด็กท่นี ับถือศาสนาต่างจากตนไดโ้ ดยไมม่ ีปญั หาแตอ่ ย่างใด 2.) ผบู้ รหิ าร และครสู ว่ นใหญย่ ังไมม่ ีความรแู้ ละความเขา้ ใจท่ถี กู ต้องเก่ียวกับศาสนาอสิ ลามและวิถีชวี ติ ของชาว ไทยมสุ ลิม โดยเฉพาะการข้อปฏบิ ัติและขอ้ ห้ามตา่ ง ๆ และยังขาดการยอมรบั วา่ ศาสนาอสิ ลามมี ความสาคัญเท่าเทียมกบั ศาสนาพุทธ 3.) ครูส่วนใหญ่ยงั พยายามใหเ้ ดก็ ไทยมสุ ลมิ ทากิจวัตรและ กิจกรรมต่างๆ ตามทกี่ าหนดในแผนการจดั ประสบการณข์ องสานกั งานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแหง่ ชาติ ซึง่ เปน็ มาตรฐานในวัฒนธรรมชั้นอนุบาลไทยพทุ ธ 4.) ครไู มไ่ ด้ช่วยจัด

46 โอกาสให้เด็กไดเ้ รียนรู้ วฒั นธรรมของกันและกนั โดยนาศาสนาอสิ ลามหรือวิถชี วี ติ ชาวไทยมุสลิม สอดแทรกเข้าไปในการเรียนการสอนปกติเลย 5.) ผ้บู รหิ ารและครูส่วนใหญ่ ยงั ไมส่ ่งเสรมิ ความสมั พันธร์ ะหว่างบ้านกับโรงเรยี นโดยคานงึ ถึงความแตกตา่ งทางศาสนา เกสรี สวุ รรณเรืองศรี (2542 : บทคดั ย่อ) ผวู้ ิจัยไดท้ าการพัฒนาโปรแกรมความ รว่ มมือระหว่างโรงเรียนและชมุ ชนตามแนวคิดพหุวฒั นธรรม เพอ่ื พัฒนาการสอนระดบั อนบุ าล ใน ชุมชนไทยมสุ ลมิ ภาคใต้ ซึง่ จากการทดลองใชโ้ ปรแกรมความรว่ มมือระหว่างโรงเรียนและชมุ ชน ตามแนวคดิ พหุวฒั นธรรมที่พัฒนาขน้ึ แสดงให้เห็นถงึ การยอมรบั และเห็นคุณคา่ ของวฒั นธรรม ของตนเองและวฒั นธรรมอน่ื ของนักเรยี น บุคลากรในโรงเรียนและประชาชนในชุมชนด้วย บรรจง ฟ้ารงุ่ สาง และคณะ (2550 : 2) ไดร้ ่วมกันทาศกึ ษา ประมวลองค์ความรใู้ น พหวุ ฒั นธรรมศกึ ษา จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซงึ่ ผลการวิจยั ได้แบ่งเปน็ 3 ประเด็นดงั น้ี ประเด็นท่ี 1 พบวา่ การศึกษาของผู้คนในชายแดนภาคใต้วฒั นธรรมทีส่ บื ทอดจาก เชื้อชาติอันเปน็ ส่วนหน่งึ ของภูมิความร้ขู องคนในทอ้ งถ่ิน ดงั นั้นองค์ความรู้ในสังคมจึงบ่งบอก อตั ลกั ษณ์วฒั นธรรมทีห่ ลากหลายระหว่างกล่มุ ชาติพนั ธ์ุท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกัน และองคค์ วามรดู้ งั กล่าว ในสงั คมมกี ารพัฒนาผา่ นระบบการศกึ ษาในสังคมสมยั ใหม่ ซงึ่ รฐั และประชาชนควรมบี ทบาท ร่วมกันในกระบวนการพัฒนาองคค์ วามรู้พหุวฒั นธรรมศกึ ษาทอ้ งถิ่น ประเดน็ ที่ 2 การศกึ ษาประมวลองค์ความรทู้ อ้ งถนิ่ ชายแดนภาคใต้เพือ่ สร้าง ความหมายคานยิ ามพหุวัฒนธรรมศกึ ษา พบว่าในสงั คมพหวุ ัฒนธรรมควรใหค้ วามสาคญั กบั การศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคของระบบการศึกษาอันจะทาให้องค์ความร้จู ากท้องถิ่นมคี วามหลากหลาย และเป็นองค์ความรู้ทสี่ ามารถนามาประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นาสังคมและทาให้แนวคิดพหวุ ัฒนธรรม ทางการศกึ ษามสี ว่ นในการพัฒนาศกั ยภาพของทอ้ งถิ่น ท่ามกลางความเปลย่ี นแปลงทางสงั คม ประเดน็ ที่ 3 การศกึ ษาองคค์ วามรู้พหุวัฒนธรรมศึกษา เพ่อื การพฒั นาหลักสูตร รูปแบบการศึกษาทสี่ ามารถบูรณาการองคค์ วามรู้หลากหลายจากพน้ื ฐานทางสงั คมวัฒนธรรมอนั จะ ทาใหก้ ารศกึ ษามีบทบาทตอ่ การพัฒนาประเทศอยา่ งยงั่ ยืน Robyn M. Gillies, (2002 : 15-20) ไดท้ าการศกึ ษาถงึ ผลท่ยี ังเหลอื อยู่ของ ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบร่วมมือ หลงั จากได้ใหป้ ระสบการณ์แบบร่วมมือไปแลว้ 2 ปี โดย ทดลองให้การเรียนรแู้ บบร่วมมอื กบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 52 คน และใชก้ ลุ่ม ควบคมุ อกี 36 คน หลงั จากนั้น 2 ปจี งึ ทาการตรวจสอบระหว่างท้งั สองกลมุ่ พบวา่ นักเรียนทีไ่ ดร้ บั

47 ประสบการณก์ ารเรยี นรู้แบบรว่ มมือ มลี ักษณะที่เป็นดา้ นบวกของการเรยี นแบบร่วมมือมากว่ากลุ่ม ที่ไม่ได้รับประสบการณ์ ได้แก่ การชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกันในการเรียน มกี ารควบคมุ อารมณไ์ ด้ดีใน การทางานรว่ มกัน ผเู้ รยี นยงั คงรกั ษาไวซ้ ่งึ การค้นคว้าอยา่ งกระตอื รอื ร้น Vaughan, W. (2002 : 359-363) ไดท้ าการวจิ ัยเรอ่ื ง ผลของการเรยี นแบบร่วมมือ ต่อผลสมั ฤทธแิ์ ละเจตคติตอ่ การเรียนคณติ ศาสตร์ ของนกั เรียนผิวสี โดยทดลองกับนกั เรยี นชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 5 ผู้ทดลองไดจ้ ัดกระบวนการเรียนรใู้ ห้ผ้เู รียนมีปฏิสมั พันธ์กันแบบร่วมมือในวชิ า คณิตศาสตร์ ตลอดภาคการศกึ ษา และทาการทดสอบนักเรียนในสปั ดาห์ที่ 5, 9 และ13 ปรากฏวา่ นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและเจตคตติ ่อวชิ าคณติ ศาสตรด์ ีข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook