Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

sso

Published by นุรฟาซีลา ดอซะ, 2021-03-25 08:04:19

Description: sso

Search

Read the Text Version

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 52 หน่วยท่ี 5 การอ่าน การอ่าน เป็นทกั ษะทจ่ี าเป็นตอ่ ชีวติ คนเรามาก ไม่วา่ จะประกอบอาชีพอะไร เพศใด วยั ใด กต็ อ้ งการที่ จะเพม่ิ พนู ความรู้ของตนเองอยเู่ สมอ เพราะการอ่านน้นั นอกจากท่ีจะอ่านเพอื่ เกบ็ ความรูแ้ ลว้ การอ่าน ยงั ให้ ความบนั เทงิ แก่ชีวติ อีกดว้ ย โดยเฉพาะนกั เรียน นกั ศึกษา ซ่ึงตอ้ งใชก้ ารอ่านเป็ นส่วนหน่ึงของชีวติ ประจาวนั จึงจาเป็ นตอ้ งมีหลกั การอ่านและทกั ษะการอ่าน นอกจากน้ี ยงั จาเป็ นตอ้ งมีความรกั ในการอ่าน เพราะถา้ รกั การอ่านแลว้ จะทาใหเ้ ป็นผทู้ ีร่ ู้มาก หรือเป็ น “พหูสูต” หลกั การอ่านหนงั สือน้นั เม่ือกล่าวโดยทว่ั ไปแลว้ หนงั สือแตล่ ะชนิดจะมีหลกั การอ่านทไ่ี ม่เหมือนกนั ตอ้ งพจิ ารณาถึงจดุ มุ่งหมายของการอ่านหนงั สือแตล่ ะประเภท เช่น การอ่านหนงั สือตาราวชิ าการ จะตอ้ งมี การอ่านอยา่ งคร่าว ๆ และกลบั มาอ่านซ้าอีกหลาย ๆ รอบ แลว้ จงึ จะสรุปประเด็น, การอ่านหนงั สืออา้ งอิง เป็ น การอ่านเฉพาะส่วน เพอ่ื ใหไ้ ดค้ าตอบในส่ิงทตี่ นเองอยากรู้ เป็นตน้ ไม่วา่ จะเป็ นการหนงั สือประเภทใด ลว้ น แลว้ แตก่ ่อใหเ้ กิดประโยชน์กบั ผอู้ ่านไดท้ ้งั น้นั ผอู้ ่านตอ้ งมีความใจกบั สิ่งทีอ่ ่าน และฝึกฝนการอ่าน ต้งั ใจอ่าน อยา่ งมีสมาธิแน่วแน่ นากลวกี ารอ่านตา่ ง ๆ มาปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั จงึ จะเป็ นกระบวนการอ่านทม่ี ี ประสิทธิภาพ ความหมายของการอ่าน การอ่าน ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ วา่ ไวว้ า่ “วา่ ตามตวั หนงั สือ, ถา้ ออกเสียงดว้ ย เรียกวา่ อ่านออกเสียง, ถา้ อ่านไม่ออกเสียง เรียกวา่ อ่านในใจ, สงั เกตหรือพจิ ารณาดูเพอ่ื ให้ เขา้ ใจ เช่น อ่านสีหนา้ อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ; ตคี วาม เช่น อ่านรหสั อ่านลายแทง ; คดิ , นบั . (ไทยเดิม).” จะเห็นไดว้ า่ จากความหมายของการอ่านน้นั ตอ้ งการใหผ้ อู้ ่านมีความเขา้ ใจ, รับรูเ้ กี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่านไป และ การอ่านน้นั จะตอ้ งมีการเก็บความรู้ เพอื่ ใหร้ ูว้ า่ ผแู้ ต่งตอ้ งการส่ืออะไร การอ่าน คือ การรบั รูค้ วามหมายจากถอ้ ยคาทตี่ ีพมิ พอ์ ยใู่ นสิ่งพมิ พห์ รือในหนงั สือ เป็ นการรบั รูว้ า่ ผเู้ ขียนคดิ อะไรและพดู อะไร โดยเริ่มตน้ ทาความเขา้ ใจถอ้ ยคาแต่ละคาเขา้ ใจวลี เขา้ ใจประโยค ซ่ึงรวมอยใู่ น ยอ่ หนา้ เขา้ ใจแต่ละยอ่ หนา้ ซ่ึงรวมเป็นเรื่องราวเดียวกนั การอ่านเป็ นการบริโภคคาทถี่ ูกเขยี นออกมาเป็น ตวั หนงั สือหรือสญั ลกั ษณ์ การอ่านโดยหลกั วทิ ยาศาสตร์ เริ่มจากการทแ่ี สงตกกระทบที่สื่อ และสะทอ้ นจาก ตวั หนงั สือผา่ นทางเลนส์นยั น์ตา และประสาทตาเขา้ สู่เซลลส์ มองไปเป็ นความคดิ (Idea) ความรบั รู้ (Perception) และก่อใหเ้ กิดความจา (Memory) ท้งั ความจาระยะส้นั และความจาระยะยาว กระบวนการอ่าน มี 4 ข้นั ตอน คือ - ข้นั แรก การอ่านออก อ่านได้ หรืออ่านออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ ง - ข้นั ท่ีสอง การอ่านแลว้ เขา้ ใจ ความหมายของคา วลี ประโยค สรุปความได้

หอ้ งสมุดเพอ่ื การเรียนรู้ 53 - ข้นั ทีส่ ามการอ่านแลว้ รู้จกั ใชค้ วามคิด วเิ คราะห์ วจิ ารณ์และออกความเห็นในทางทีข่ ดั แยง้ หรือเห็น ดว้ ยกบั ผเู้ ขียนอยา่ งมีเหตผุ ล - ข้นั สุดทา้ ยคอื การอ่านเพอ่ื นาไปใช้ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นเชิงสรา้ งสรรค์ ดงั น้นั ผทู้ ี่อ่านไดแ้ ละอ่านเป็ น จะตอ้ งใชก้ ระบวนการท้งั หมดในการอ่านท่กี ่อใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด โดยการถ่ายทอดความหมายจาก ตวั อกั ษรออกมาเป็นความคิด และจากการคดิ ท่ีไดจ้ ากการอ่านผสมผสานกบั ประสบการณ์เดิม และสามารถ ความคดิ น้นั ไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป จดุ มุ่งหมายของการอ่าน 1. อ่านเพ่อื ความรู้ ไดแ้ ก่ การอ่านจากหนงั สือตาราทางวชิ าการ สารคดีทางวชิ าการ การวจิ ยั ประเภท ต่าง ๆ หรือการอ่านผา่ นสื่ออีเลก็ ทรอนิกส์ ควรอ่านอยา่ งหลากหลาย เพราะความรู้ในวชิ าหน่ึง อาจนาไปช่วย เสริมในอีกวชิ าหน่ึงได้ 2. อ่านเพ่อื ความบนั เทงิ ไดแ้ ก่ การอ่านจากหนงั สือประเภทสารคดีทอ่ งเทยี่ ว นวนิยาย เร่ืองส้นั เรื่อง แปล การ์ตูน บทประพนั ธ์ บทเพลง แมจ้ ะเป็ นการอ่านเพอ่ื ความบนั เทิง แตผ่ อู้ ่านจะไดค้ วามรูท้ ส่ี อดแทรก อยใู่ นเรื่องดว้ ย 3. อ่านเพอ่ื ทราบข่าวสารความคดิ ไดแ้ ก่ การอ่านจากหนงั สือประเภทบทความ บทวจิ ารณ์ ข่าว รายงานการประชุม ถา้ จะใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ ริงตอ้ งเลือกอ่านใหห้ ลากหลาย ไม่เจาะจงอ่านเฉพาะสื่อ ทีน่ าเสนอตรงกบั ความคิดของตน เพราะจะทาใหไ้ ดม้ ุมมอง ทกี่ วา้ งข้นึ ช่วยใหม้ ีเหตผุ ลอ่ืน ๆ มาประกอบการ วจิ ารณ์ วเิ คราะหไ์ ดห้ ลายมุมมองมากข้นึ 4. อ่านเพ่ือจุดประสงค์เฉพาะทางแต่ละคร้ัง ไดแ้ ก่ การอ่านทไ่ี ม่ไดเ้ จาะจง แตเ่ ป็นการอ่านในเรื่องท่ี ตนสนใจ หรืออยากรู้ เช่น การอ่านประกาศตา่ ง ๆ การอ่านโฆษณา แผน่ พบั ประชาสมั พนั ธ์ สลากยา ขา่ ว สงั คม ขา่ วบนั เทงิ ขา่ วกีฬา การอ่านประเภทน้ีมกั ใชเ้ วลาไม่นาน ส่วนใหญ่เป็ นการอ่านเพอื่ ใหไ้ ดค้ วามรู้ และนาไปใช้ หรือนาไปเป็นหวั ขอ้ สนทนา เชื่อมโยงการอ่าน สู่การวเิ คราะห์ และคดิ วเิ คราะห์ บางคร้งั ก็ อ่านเพอ่ื ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ ข้นั ตอนก่อนลงมอื อ่านหนังสือ 1. สารวจตนเอง กล่าวคือ ก่อนทผ่ี อู้ ่านจะเร่ิมอ่านหนงั สือน้นั ผอู้ ่านจะตอ้ งสารวจตนเองก่อนวา่ จะ อ่านหนงั สืออะไร จดุ มุ่งหมายของการอ่านหนงั สือคร้ังน้ีคอื อะไร อ่านแลว้ ไดอ้ ะไร และเม่ือผอู้ ่านสารวจ ตนเองเรียบร้อยแลว้ จึงตอ้ งลงมือหาหนงั สือท่ตี นเองตอ้ งการ ในขอ้ น้ีเป็ นการกาหนดจุดมุ่งหมายในการอ่าน หนงั สือ 2. สารวจหนังสือ กล่าวคอื ผอู้ ่านตอ้ งสารวจวา่ หนงั สือเล่มน้ีกล่าวถึงอะไร มีเน้ือความกล่าวถึงส่ิงที่ ผอู้ ่านตอ้ งการจะทราบ หรือผอู้ ่านตอ้ งการจะอ่านหรือไม่ โดยสามารถดูไดจ้ าก สารบาญของหนงั สือ ซ่ึงเป็ น สิ่งท่ีบ่งบอกโครงเรื่องของหนงั สือวา่ หนงั สือเล่มน้ีประกอบดว้ ยเน้ือหาใดบา้ ง การอ่านหนงั สือทีต่ รงกบั จดุ ประสงคข์ องผอู้ ่านน้นั จะช่วยใหผ้ อู้ ่านยน่ ระยะในการอ่านหนงั สือมากข้นึ

หอ้ งสมุดเพอ่ื การเรียนรู้ 54 3. สารวจสิ่งแวดล้อม กล่าวคือ หลกั จากท่สี ารวจหนงั สือแลว้ ผอู้ ่านจะตอ้ งสารวจสิ่งแวดลอ้ มวา่ สถานทแี่ ละเวลาน้ี เหมาะสมหรือไม่สาหรับการอ่านหนงั สือ ผอู้ ่านแตล่ ะทา่ น มีความเคยชินและความถนดั ในสิ่งแวดลอ้ มของการอ่านหนงั สือไม่เหมือนกนั เช่น นกั เรียน นกั ศึกษา ส่วนใหญ่ชอบหนงั สือในเวลา กลางคืน หรือช่วงเวลาก่อนนอน เน่ืองจาก มีความเป็นส่วนตวั มีสมาธิ ทาใหส้ ามารถจดจาในรายละเอียด ไดม้ ากข้นึ , สิ้นสุดภารกิจในชีวติ ประจาวนั เป็ นตน้ ลักษณะของการอ่านท่ดี ี 1. ไม่นอนอ่านหนังสือ กล่าวคือ การนอนเป็ นอิริยาบถท่ีเหมาะแก่การพกั ผอ่ นมากกวา่ การที่จะเกบ็ เน้ือหาสาระจากการอ่าน เพราะฉะน้นั ถา้ เกิดวา่ ผอู้ ่านนอนอ่าน จะทาใหส้ ามารถเผลอหลบั ไปไดท้ ุกเวลา 2. ควรสร้างสมาธิก่อนอ่าน กล่าวคือ ในขณะเวลาทีอ่ ่านน้นั ไม่ควรทจี่ ะอยใู่ นที่พลุกพล่านควรอยใู่ นท่ี ที่มีความเงียบ ไม่สมควนดูโทรทศั น์ หรือฟังวทิ ยใุ นขณะอ่าน เพราะจะทาใหเ้ สียสมาธิในการอ่าน ทาใหไ้ ม่ สามารถเกบ็ สาระในการอ่านได้ และไม่มีความพรอ้ มในการอ่าน เน่ืองจากการอ่านตอ้ งมีสมาธิอยา่ งมาก เพราะการอ่านทดี่ ี ผอู้ ่านควรเน้ือหาสาระจากการอ่านใหไ้ ดม้ ากทสี่ ุด และทาความเขา้ ใจ 3. ทกั ษะการอ่านและทกั ษะการเขยี นเป็ นของคู่กัน กล่าวคอื ในขณะทีผ่ อู้ ่าน อ่านหนงั สือน้นั ควรจะมี กระดาษและปากกาหรือสมุดบนั ทกึ เพอื่ บนั ทกึ สาระสาคญั ในขณะการอ่าน เพราะวา่ การบนั ทกึ สาระสาคญั ในขณะการอ่านน้นั จะช่วยทาใหก้ ารอ่านมีประสิทธิภาพมากข้ึน กล่าวคอื จะทาใหผ้ อู้ ่านน้นั จดจาสาระ สาคญั ของหนงั สือท่ีอ่านไดด้ ว้ ย นอกจากน้ี การเขียนบนั ทึกสาระสาคญั หลงั จากการอ่านหรือในขณะการ อ่านน้นั จะช่วยทบทวนในสิ่งทอ่ี ่านมาท้งั หมดไดอ้ ีกดว้ ย 4. การอ่านหนังสือทีด่ ีต้องรู้ทม่ี า กล่าวคือ ผอู้ ่านควรจดจาแหล่งท่มี าของหนงั สือหรือขอ้ เขยี นทอ่ี ่าน บางที่อาจจะมีประโยชนต์ ่อการอา้ งอิง นอกจากน้ีเมื่อผอู้ ่านตอ้ งการความรูแ้ บบต่อยอดแต่ไม่สามารถหา ตน้ ฉบบั หนงั สือท่ผี อู้ ่านอ่านได้ แตผ่ อู้ ่านรูจ้ กั จดจาหรือสงั เกตแหล่งท่ีมาของหนงั สือ รวมท้งั ศึกษาภูมิหลงั ของหนงั สือ ท้งั ผแู้ ต่งหรือทีม่ าของหนงั สือ จะทาใหผ้ อู้ ่านสามารถหาความรูต้ ่อยอดได้ 5. ผู้อ่านทด่ี ีควรตดิ ตามและมีวิจารณญาณในการอ่าน กล่าวคือ ผอู้ ่านทดี่ ีควรตดิ ตามในส่ิงที่อ่าน อาจจะเพอื่ วเิ คราะหส์ ิ่งทอ่ี ่านวา่ มีความเป็นขอ้ คิดเห็นหรือขอ้ เทจ็ จริง และถา้ ผอู้ ่านคิดตาม ผอู้ ่านจะมี ความสามารถในการอ่าน การคิดตามอาจจะตดั สินไดว้ า่ ขอ้ มูลน้ีเป็ นขอ้ มูลท่ถี ูกตอ้ งหรือผดิ ประการใด 6. ผู้อ่านทีด่ ีควรรู้จักทบทวน กล่าวคอื หลงั จากท่อี ่านหนงั สือแลว้ ผอู้ ่านจะตอ้ งหมนั่ ทบทวนในสิ่งที่ อ่านอยเู่ สมอ ประการหน่ึงกเ็ พอ่ื ใหผ้ อู้ ่านน้นั รูส้ ึกวา่ การอ่านหนงั สือน้นั จะช่วยเพม่ิ พนู ความรูใ้ หก้ บั ผอู้ ่านได้ โดยทีผ่ อู้ ่านจะตอ้ งหมนั่ ทบทวนซ้า ๆ หลาย ๆ คร้งั จนจาข้นึ ใจ 7. ในยคุ ปัจจบุ นั เป็นยคุ แห่งเทคโนโลยี สารสนเทศ และขอ้ มูลขา่ วสาร มีข่าวสารตา่ ง ๆ เลื่อนไหลเขา้ มาในกระแสของโลกอยา่ งมากมาย ท้งั ขอ้ มูลดา้ นดี และขอ้ มูลดา้ นลบ ทที่ าใหผ้ ู้อ่านต้องอ่านและใช้ดุลพนิ ิจ ในการตคี วาม การอ่านเร็วมีความจาเป็ นอยา่ งยง่ิ เพราะถา้ ยงิ่ อ่านเร็วและสามารถเขา้ ใจไดเ้ ลย ก็จะทาใหเ้ รา

หอ้ งสมุดเพอ่ื การเรียนรู้ 55 สามารถตกั ตวงในส่ิงท่อี ่านไดม้ าก เพราะยคุ น้ีคนตอ้ งมีความรูม้ าก เป็ นยคุ ทต่ี อ้ งแขง็ ขนั ตอ้ งตกั ตวงไม่วา่ จะ เป็นส่ิงท่มี ีสาระหรือมีความบนั เทงิ การจะอ่านไดเ้ ร็วน้นั ตอ้ งฝึกหดั ใหม้ าก ๆ และอ่านบอ่ ย ๆ 8. ผู้อ่านต้องมคี วามรู้พืน้ ฐานในเร่ืองที่จะอ่านพอสมควร หรือมีความสนใจในเรื่องที่จะอ่าน รวมท้งั ควรเรียนรู้ศพั ทใ์ หม่ ๆ ท่ีเกิดจากการอ่าน เพราะเมื่อผอู้ ่านไม่มีความรูพ้ น้ื ฐาน หรือไม่มีความสนใจในเร่ืองที่ จะอ่านแลว้ จะทาใหก้ ารอ่านน้นั ไม่ประสบความสาเร็จ หรือประสบความสาเร็จนอ้ ย 9. ผู้อ่านต้องฝึ กจับใจความ กล่าวคอื ผอู้ ่านอ่านสิ่งใดสิ่งหน่ึงน้นั ไม่วา่ จะเป็นสารคดี หรือบนั เทงิ คดี ลว้ นจะตอ้ งมีใจความสาคญั อยู่ ดงั น้นั ผอู้ ่านจะตอ้ งจบั ใจความสาคญั ของเรื่องที่อ่านใหไ้ ด้ 10. อ่านแล้วเล่าต่อ กล่าวคอื การอ่าน ถา้ อ่านอยา่ งเดียวโดยไม่มีการทบทวนหรือเล่าต่อ กอ็ าจจะทาให้ ผอู้ ่านลืมในสิ่งท่อี ่านไปท้งั หมดได้ หรือจาไดเ้ พยี งบางอยา่ ง แตเ่ ม่ือผอู้ ่านไปเล่าตอ่ แลว้ ความรู้น้นั กจ็ ะกลบั มา เหมือนกบั เป็นการทบทวนใหผ้ อู้ ่านอีกคร้ังหน่ึง ประโยชน์ของการอ่าน 1. เป็นการสนองความตอ้ งการของมนุษย์ 2. ทาใหม้ นุษยเ์ กิดความรู้ ทกั ษะต่าง ๆ ตลอดจนความกา้ วหนา้ ทางวชิ าชีพ 3. ทาใหม้ นุษยเ์ กิดความคดิ สรา้ งสรรค์ ความเพลิดเพลินบนั เทงิ ใจและเกิดความบนั ดาลใจ 4. เป็ นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ 5. ทาใหม้ นุษยท์ นั ต่อเหตกุ ารณ์ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของโลก 6. เป็ นการส่งเสริมสุขภาพของมนุษย์ 7. ช่วยใหม้ นุษยแ์ กป้ ัญหาสงั คม การเมือง เศรษฐกิจและปัญหาส่วนตวั คุณสมบตั ขิ องนักอ่านท่ดี ี 1. มีนิสยั รักการอ่าน 2. มีจิตใจกวา้ งขวางพรอ้ มที่จะอ่านหนงั สือที่ดีมีคุณคา่ ไดท้ ุกประเภท 3. มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การอ่านและเร่ืองทีอ่ ่าน 4. หมนั่ หาเวลาหรือจดั เวลาสาหรับการอ่านใหก้ บั ตนเองทกุ วนั อยา่ งสม่าเสมอ 5. เป็ นคนรักหนงั สือและแสวงหาหนงั สือท่ีดีอ่านอยเู่ สมอ 6. มีความสามารถในการเลือกหนงั สือท่ดี ีอ่าน 7. มีความอดทน มีอารมณ์หรือมีสมาธิในการอ่าน 8. มีสุขภาพกาย สุขภาพจติ ที่สมบูรณ์ 9. มีความเบกิ บาน แจม่ ใส และปลอดโปร่งอยเู่ สมอ 10. มีนิสยั ใฝ่ หาความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ใหม่ ๆ อยเู่ สมอ 11. มีทกั ษะในการอ่านสรุปความ วเิ คราะห์ความ และวนิ ิจฉยั ความ

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 56 12. มีความคดิ หรือมีวจิ ารณญาณทด่ี ีตอ่ เร่ืองทอี่ ่านสามารถทีจ่ ะแยกแยะขอ้ เทจ็ จริง ความถูกตอ้ ง ความเหมาะสมต่าง ๆ และสามารถเลือกนาไปใชป้ ระโยชน์ 13. มีนิสยั ชอบจดบนั ทกึ เร่ืองราวตา่ ง ๆ ทพ่ี บในการอ่านและเห็นวา่ มีคุณค่า 14. มีความจาดี รูจ้ กั หาวธิ ีช่วยจา และเพมิ่ ประสิทธิภาพของการจา 15. มีนิสยั ชอบเขา้ ร้านหนงั สือและหอ้ งสมุด 16. มีโอกาสหรือหาโอกาสพดู คุยกบั ผรู้ กั การอ่านดว้ ยกนั อยเู่ สมอ เพอ่ื แลกเปล่ียน ทรรศนะในการ อ่านใหแ้ ตกฉานยง่ิ ข้ึน 17. มีนิสยั หมนั่ ทบทวน ตดิ ตาม คน้ ควา้ เพม่ิ เติม วธิ ีอ่านหนังสือที่ดี วธิ ีการอ่านหนงั สือทดี่ ี มีข้นั ตอน ดงั น้ี 1. อ่านท้งั ยอ่ หนา้ การฝึกอ่านท้งั ยอ่ หนา้ ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1.1 พยายามจบั จดุ สาคญั ของเน้ือหาในยอ่ หนา้ น้นั 1.2 พยายามถามตวั เองวา่ สามารถต้งั ช่ือเร่ืองแต่ละยอ่ หนา้ ไดห้ รือไม่ 1.3 ดูรายละเอียดน้นั วา่ มีอะไรบา้ งที่สมั พนั ธก์ บั จดุ สาคญั มีอะไรบา้ งทีไ่ ม่เกี่ยวขอ้ ง และ อะไรบา้ งที่เก่ียวขอ้ ง เกี่ยวขอ้ งกนั อยา่ งไร 1.4 แต่ละเร่ืองติดต่อกนั หรือไม่ และทราบไดอ้ ยา่ งไรวา่ ตดิ ต่อกนั 1.5. วธิ ีการเขยี นของผเู้ ขียนมีอะไรบา้ งท่เี สริมจดุ สาคญั เขา้ กบั จดุ ยอ่ ย 2. สารวจตารา หรือหนงั สือน้นั ๆ ก่อนท่จี ะทาการอ่านจริง ดงั น้ี 2.1 ดูสารบญั คานา เพอื่ ทราบวา่ ในเล่มน้นั ๆ มีเน้ือหาอะไรบา้ ง 2.2 ตรวจดูบทท่ีจะอ่านวา่ มีหวั ขอ้ อะไรบา้ ง 2.3 อ่านคานาของหนงั สือและบทนาในแตล่ ะบทดว้ ย 2.4 พยายามต้งั คาถามแลว้ คน้ หาคาตอบอยา่ งคร่าว ๆ 3. อ่านเป็นบท ๆ หลงั จากไดท้ าการสารวจหนงั สือแลว้ ผอู้ ่านจะไดค้ วามรูเ้ กี่ยวกบั ผแู้ ตง่ ภมู ิหลงั ตลอดจนความมุ่งหมายในการแตง่ หนงั สือ แลว้ จงึ เร่ิมอ่านหนงั สือเป็ นบท ๆ โดยปฏิบตั ิ ดงั น้ี 3.1 อ่านทีละบทโดยไม่หยดุ จนจบบท อาจจะหยดุ เพอื่ จดบนั ทึกใจความสาคญั บา้ ง ในบางคร้งั ก็ได้ 3.2 อ่านบทเดิมอีกคร้งั เลือกอ่านเฉพาะหวั ขอ้ และประโยคแรกของแตล่ ะยอ่ หนา้ ถา้ อ่านแลว้ ยงั ไม่เขา้ ใจ ก็อ่านขอ้ ความในแตล่ ะยอ่ หนา้ ใหม่ ถา้ อ่านประโยคแรกแลว้ จาไดว้ า่ เน้ือความอะไรบา้ งทผี่ า่ น ไปยงั ยอ่ หนา้ อ่ืนได้ 3.3 จดบนั ทึก เพอื่ ตอบคาถามท่ตี ้งั ไวต้ อนแรก

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 57 4. การอ่านแบบขา้ มหรืออ่านแบบคร่าว ๆ การอ่านแบบขา้ มหรืออ่านแบบคร่าว ๆ มิไดใ้ หค้ วามเขา้ ใจ อะไรมากนกั จะใชไ้ ดด้ ี ตอ่ เมื่อ 4.1 ตอ้ งการทราบขอ้ ความบางอยา่ งเทา่ น้นั เช่น หมายเลขโทรศพั ท์ ความหมายของ คาใดคาหน่ึง 4.2 ตอ้ งการทราบวา่ ควรอ่านท้งั หมดหรือไม่ ช่วยใหท้ ราบคร่าว ๆ วา่ ในแต่ละบท เป็ นอยา่ งไร เพราะเป็ นการอ่านเฉพาะหวั ขอ้ หรือขอ้ สรุปเท่าน้นั 5. สะสมประสบการณ์และคาศพั ทใ์ หม้ ากทีส่ ุด การทผ่ี อู้ ่านจะเขา้ ใจเร่ืองที่อ่านไดด้ ีน้นั จาเป็นตอ้ งอาศยั ประสบการณ์เดิมและความรู้ เกี่ยวกบั คาศพั ท์ ท่สี ะสมไว้ เมื่ออ่านเรื่องใหม่จงึ สามารถนาเอาความรู้เดิมมาถ่ายโยงสมั พนั ธก์ บั ความรู้ใหม่ เพอ่ื เพม่ิ ความ เขา้ ใจในเรื่องทอ่ี ่านไดด้ ียงิ่ ข้ึน การสะสมประสบการณ์ความรู้และคาศพั ทน์ ้นั สามารถทาไดโ้ ดยการอ่าน ปทานุกรม พจนานุกรม เพอ่ื รู้ศพั ทต์ า่ ง ๆ และอ่านใหม้ าก ๆ เพอื่ สะสมประสบการณ์และเพมิ่ พนู ความรูอ้ ยู่ ตลอดเวลา การเตรียมพร้อมเพื่อการอ่าน การอ่านจะดาเนินไปไดด้ ีเพยี งใดข้นึ อยกู่ บั ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ และองคป์ ระกอบทอี่ ยภู่ ายใน ร่างกาย การอ่านทา่ มกลางบรรยากาศและสิ่งแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสม จะนามาซ่ึงประสิทธิและประสิทธิผลใน การอ่าน ท้งั น้ีควรคานึงถึง 1. การจดั สถานท่ีและส่ิงแวดลอ้ ม สถานทท่ี ่เี หมาะกบั การอ่านควรมีความเงียบสงบ ตดั ส่ิงต่างๆ ที่ รบกวนสมาธิออกไป มีอุณหภูมิและแสงสวา่ งที่เหมาะสม มีโตะ๊ ทมี่ ีความสูงพอเหมาะและเกา้ อ้ีท่ีนง่ั สบายไม่ นุ่มหรือแขง็ จนเกินไป 2. การจดั ทา่ ของการอ่าน ตาแหน่งของหนงั สือควรอยหู่ ่างประมาณ 35-45 เซนตเิ มตร และหนา้ หนงั สือจะตอ้ งตรงอยกู่ ลางสายตา ควรนง่ั ใหห้ ลงั ตรงไม่ควรนอนอ่าน ท้งั น้ีเพอ่ื ใหส้ มองไดร้ ับเลือดไปหล่อ เล้ียงอยา่ งเตม็ ที่ กจ็ ะทาใหเ้ กิดการตน่ื ตวั ตอ่ การรบั รู้ จดจา และอ่านไดน้ าน 3. การจดั อุปกรณ์ช่วยในการอ่าน การอ่านอาจมีอุปกรณ์ทจี่ าเป็น เช่น กระดาษสาหรับบนั ทกึ ดินสอ ปากกา ดินสอสี 4. การจดั เวลาที่เหมาะสม สาหรับนกั ศึกษาที่ตอ้ งมีการทบทวนบทเรียนควรอ่านหนงั สือในช่วงที่ เหมาะสมคือช่วงทท่ี ไ่ี ม่ดึกมาก คอื ต้งั แต่ 20.00 - 23.00 น. เนื่องจากร่างกายยงั ไม่อ่อนลา้ เกินไปนกั หรืออ่าน ในตอนเชา้ 5.00-6.30 น. หลงั จากทร่ี ่างกายไดร้ ับการพกั ผอ่ นอยา่ งเพยี งพอ ท้งั น้ีในการอ่านแต่ละคร้งั ไม่ควร เกิน 50 นาทีและใหเ้ ปลี่ยนแปลงอิริยาบถสกั 10 นาทีก่อนลงมืออ่านต่อไป 5. การเตรียมตนเอง ไดแ้ ก่ การทาจิตใจใหแ้ จม่ ใส มีความมุ่งมนั่ มีความต้งั ใจ และมีสมาธิในการอ่าน นอนหลบั พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ มีสุขภาพสายตาที่ดี ตดั ปัญหารบกวนจติ ใจใหห้ มด การแบ่งเวลาใหถ้ ูกตอ้ ง และมีระเบยี บวนิ ยั ในชีวติ โดยใหเ้ วลาแต่ละวนั ฝึกอ่านหนงั สือ และพยายามฝึกทกั ษะใหม่ๆ ในการอ่าน เช่น ทกั ษะการอ่านเร็วอยา่ งเขา้ ใจ เป็นตน้

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 58 การเลือกสรรวัสดุการอ่าน การเลือกสรรวสั ดุการอ่าน ข้นึ อยกู่ บั จดุ มุ่งหมายหรือวตั ถุประสงคข์ องการอ่าน เช่น การอ่านเพอ่ื การศกึ ษา การอ่านเพอ่ื หาขอ้ มูลประกอบการทางาน การอ่านเพอื่ ความเพลิดเพลิน การอ่านเพอ่ื ฆ่าเวลา การ รูจ้ กั เลือกวสั ดุการอ่านทมี่ ีประโยชนจ์ ะช่วยใหผ้ อู้ ่านไดร้ บั ประโยชน์ตามเป้ าหมาย การเลือกสรรวสั ดุการอ่าน มีความสมั พนั ธก์ บั การเลือกใชท้ รพั ยากรสารสนเทศในหอ้ งสมุด เช่น 1. การอ่านเพอ่ื ความรู้ เช่น ตาราวชิ าการ 2. การอ่านเพอื่ ความบนั เทงิ ใจ 3. การอ่านเพอ่ื เป็นกาลงั ใจ เสริมสรา้ งปัญญา เช่น หนงั สือจติ วทิ ยา หนงั สือธรรมะ 4. การอ่านเพอ่ื ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็ นประโยชน์ เม่ือเลือกวสั ดุการอ่านหรือหนงั สือไดแ้ ลว้ ก็จะตอ้ งกาหนดวา่ ตอ้ งการอะไรขอ้ มูลในลกั ษณะใดจาก หนงั สือเล่มน้นั ขอบเขตของขอ้ มูลในลกั ษณะกวา้ งหรือแคบแต่ลึกซ้ึง ท้งั น้ีเพอ่ื กาหนดรูปแบบการอ่านเพอ่ื ความตอ้ งการตอ่ ไป วิธีการอ่านที่เหมาะสม การอ่านมีหลายระดบั และมีวธิ ีการต่างๆ ตามความมุ่งหมายของผอู้ ่าน และประเภทของส่ือการอ่าน การอ่านเพอื่ การศกึ ษา คน้ ควา้ และเขยี นรายงาน อาจใชว้ ธิ ีอ่านต่าง ๆ เช่น การอ่านสารวจ การอ่านขา้ ม การ อ่านผา่ น การอ่านจบั ประเดน็ การอ่านสรุปความ และการอ่านวเิ คราะห์ ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี 1. การอ่านสารวจ คอื การอ่านขอ้ เขียนอยา่ งรวดเร็ว เพอ่ื รู้ลกั ษณะโครงสร้างของขอ้ เขยี น สานวน ภาษา เน้ือเร่ืองโดยสงั เขป เป็นวธิ ีอ่านทเ่ี ป็ นประโยชน์อยา่ งยงิ่ ในการเลือกสรรสิ่งพมิ พ์ สาหรบั ใช้ ประกอบการคน้ ควา้ หรือการหาแนวเร่ืองสาหรับเขียนรายงาน และรวบรวมบรรณานุกรมในหวั ขอ้ ทีเ่ ขยี น รายงาน 2. การอ่านขา้ ม เป็นวธิ ีอ่านอยา่ งรวดเร็วเพอ่ื เขา้ ใจเน้ือหาของขอ้ เขยี น โดยเลือกอ่านขอ้ ความบางตอน เช่น การอ่านคานา สาระสงั เขป บทสรุป และการอ่านเน้ือหาเฉพาะตอนทีต่ รงกบั ความตอ้ งการ เป็ นตน้ 3. การอ่านผา่ น เป็นการอ่านแบบกวาดสายตา (Scanning Reading) โดยผอู้ ่านจะทาการกวาดสายตา อยา่ งรวดเร็วไปยงั สิ่งทเ่ี ป็ นเป้ าหมายในขอ้ เขียน เช่น คาสาคญั ตวั อกั ษร หรือ สญั ลกั ษณ์ แลว้ อ่านรายละเอียด เฉพาะท่เี กี่ยวกบั สิ่งที่ตอ้ งการ เช่น การอ่านเพอ่ื คน้ หาช่ือในพจนานุกรม และการอ่านแผนที่ 4. การอ่านจบั ประเด็น หมายถึง การอ่านเรื่องหรือขอ้ เขียนโดยทาความเขา้ ใจสาระสาคญั ในขณะที่ อ่าน มกั ใชใ้ นการอ่านขอ้ เขียนทไี่ ม่ยาวนกั เช่น บทความ การอ่านเร็วๆ หลายคร้ังจะช่วยใหจ้ บั ประเด็นได้ โดยการอ่านมีเทคนิคคือ ตอ้ งสงั เกตคาสาคญั ประโยคสาคญั ทมี่ ีคาสาคญั และทาการยอ่ สรุปบนั ทกึ ประโยค สาคญั ไว้ เพอื่ ใชป้ ระโยชนต์ ่อไป 5. การอ่านสรุปความ หมายถึง การอ่านโดยสามารถตคี วามหมายสิ่งท่อี ่านไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจนเขา้ ใจเรื่อง อยา่ งดี สามารถแยกส่วนที่สาคญั หรือไม่สาคญั ออกจากกนั รู้วา่ ส่วนใดเป็ นขอ้ เทจ็ จริง หรือขอ้ คดิ เห็น ส่วนใด

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 59 เป็นความคดิ หลกั ความคิดรอง การอ่านสรุป ความมีสองลกั ษณะคือ การสรุปแตล่ ะยอ่ หนา้ หรือแตล่ ะตอน และสรุปจากท้งั เรื่อง หรือท้งั บท การอ่านสรุปความควรอยา่ งอยา่ งคร่าว ๆ คร้ังหน่ึงพอใหร้ ูเ้ รื่อง แลว้ อ่าน ละเอียดอีกคร้งั เพอื่ เขา้ ใจเร่ืองอยา่ งดี หลกั จากน้นั ต้งั คาถามตนเองในเร่ืองท่ีอ่านวา่ เก่ียวกบั อะไร มีเร่ืองราว อยา่ งไร แลว้ เรียบเรียงเน้ือหาเป็นสานวนภาษาของผสู้ รุป 6. การอ่านวเิ คราะห์ การอ่านเพอ่ื คน้ ควา้ และเขยี นรายงานโดยทวั่ ไปตอ้ งมีการวเิ คราะห์ความหมาย ของขอ้ ความ ท้งั น้ีเพราะผเู้ ขยี นอาจใชค้ าและสานวนภาษาในลกั ษณะต่าง ๆ อาจเป็ นภาษาโดยตรงมีความ ชดั เจนเขา้ ใจงา่ ย ภาษาโดยนยั ทต่ี อ้ งทาความเขา้ ใจ และภาษาท่มี ีความหมายตามอารมณ์และความรูส้ ึกของ ผเู้ ขียน ผอู้ ่านทมี่ ีความรู้เรื่องคาศพั ทแ์ ละสานวนภาษาดี มีประสบการณ์ ในการ อ่านมากและมีสมาธิในการ อ่านดี ยอ่ มสามารถวเิ คราะหไ์ ดต้ รงความหมายที่ผเู้ ขียนตอ้ งการส่ือ และสามารถเขา้ ใจเร่ืองท่ีอ่านไดด้ ี ลกั ษณะของนักอ่านทดี่ ี ผทู้ ีจ่ ะเป็นนกั อ่านที่ดี ควรมีลกั ษณะ ดงั ต่อไปน้ี 1. มีสมาธิ 2. มีสมรรถภาพในการอ่าน 3. อ่านหนงั สือเร็ว 4. มีพ้นื ฐานความรูท้ างภาษาดี 5. มีนิสยั รักการอ่านและชอบบนั ทกึ 6. มีความจาดี 7. มีความรู้เร่ืองการใชห้ อ้ งสมุด 8. ชอบสนทนากบั ผมู้ ีความรู้ 9. หมนั่ ทบทวนตดิ ตาม เร่ืองทอ่ี ่านสม่าเสมอ 10. มีวจิ ารณญาณในการอ่าน 11. อ่านทน 12. อ่านเป็น เคลด็ ลับ 10 ประการที่ทาให้เป็ นคนอ่านเร็ว 1. เร่ิมอ่านในตอนเช้า มีคาพดู ท่วี า่ คนเราสามารถมีสมาธิและอ่านไดน้ านข้ึนเป็ นสองเทา่ เม่ือเริ่มการ อ่านต้งั แตเ่ ชา้ ของวนั 2. อ่านในสภาวะแวดล้อมทเ่ี หมาะสม สรา้ งสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมโดยอยใู่ หห้ ่างจากส่ิงทท่ี าให้ ไขวเ้ ขว นน่ั หมายถึงยา้ ยไปอยหู่ อ้ งท่เี งียบ ๆ ปิ ดทวี ี วทิ ยแุ ละโทรศพั ทม์ ือถือ หลีกเล่ียงสถานทีท่ ใ่ี กลห้ นา้ ตา่ ง หรือประตูเพราะเป็นที่ทมี่ ีแนวโนม้ ท่จี ะมีเสียงรบกวน คุณไม่ควรปล่อยใหล้ ูกอ่านหนงั สือในท่ีท่ีสบาย

หอ้ งสมุดเพอ่ื การเรียนรู้ 60 จนเกินไป เช่น บนเตยี งนอนเพราะเป็นท่ีท่ีใจและกายเราตอ้ งการจะพกั ผอ่ น ลูกควรมีความรู้สึกตืน่ ตวั โดยนงั่ ทีโ่ ตะ๊ อ่านหนงั สือ 3. อ่านคร่าว ๆ เพื่อใจความหลัก ใหล้ ูกคุณทาความคุน้ เคยกบั โครงสร้างของส่ิงทจี่ ะอ่าน อ่านสารบญั ผา่ น ๆ มองหาหวั ขอ้ และการแบง่ บท เนื่องจากสิ่งเหล่าน้ีจะสามารถบอกไดว้ า่ ส่วนไหนควรอ่านโดยละเอียด และส่วนไหนสามารถอ่านแบบผา่ น ๆ ได้ ลูกคุณควรจะฝึกตคี วามใจความสาคญั ของสิ่งท่ีอ่านโดยดูจาก ประโยคแรกและประโยคสุดทา้ ยของยอ่ หนา้ 4. ใช้ตัวชี้ ลูกคุณอาจใช้ นิ้ว ปากกา หรือการ์ดเป็นตวั ช้ี มนั จะช่วยเพมิ่ ประสิทธิภาพของดวงตาโดย การใชส้ ่ิงช้ีเพอื่ นาสายตาเวลาอ่านระหวา่ งบรรทดั ไดเ้ ร็วข้นึ และยงั ช่วยใหเ้ ขา้ ใจขอ้ มูลไดเ้ ร็วข้ึน 5. ฝึ กฝนการอ่านหลายคาในคราวเดยี ว ถึงแมว้ า่ เราจะเคยถูกสอนใหอ้ ่านทุกคา ทกุ ตวั อกั ษรมาก่อน แต่มนั ไม่ใช่วธิ ีท่มี ีประสิทธิภายในการอ่านเพราะไม่ใช่วา่ คาทกุ คาจะสาคญั ลูกคุณสามารถพฒั นาความเร็วใน การอ่านไดอ้ ยา่ งมากดว้ ยการอ่านหลาย ๆ คาในบรรทดั ในคราวเดียวกนั 6. เรียนรู้ท่จี ะแยกแยะคาหลกั การเนน้ ความสนใจท่คี าหลกั ในประโยคเป็นอีกทางหน่ึงทจี่ ะช่วยใหล้ ูก พฒั นาความเร็วในการอ่าน ลูกคุณควรเรียนรูท้ ี่จะอ่าน “คาเสริม” อยา่ งผา่ น ๆ เช่น พวก คาเชื่อม อยา่ งคาวา่ และ, แต,่ ท้งั ๆ ที่ ฯลฯ และควรมองหาคาซ้า คาทีต่ วั อกั ษรหนา และคาท่บี ง่ ช้ีถึงความสาคญั ของแนวคิดของ เรื่องน้นั ๆ 7. จดโน้ต ลูกคุณควรเขียนโนต้ สรุปความคิด ความเขา้ ใจคร่าว ๆ จากส่ิงท่ีอ่าน วธิ ีน้ีทาใหล้ ูกคุณ กลบั มาอ่านจากโนต้ ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งไปอ่านซ้าใหม่ท้งั หมด 8. ฝึ กตัวเอง ไม่ให้อ่านซ้า คนส่วนใหญจ่ ะหยดุ และอ่านประโยคหรือขอ้ ความเดิมซ้าเพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ พวกเขาเขา้ ใจความหมายอยา่ งถูกตอ้ ง แตก่ ารกระทาน้ีอาจทาใหต้ ิดเป็ นนิสยั และจริง ๆ แลว้ การอ่านซ้าก็ไม่ จาเป็ น 9. หยดุ พักเมือ่ เหน่ือย หากลูกคุณอ่านในเวลาทพี่ วกเขารู้สึกเหน่ือย มนั จะทาใหก้ ารอ่านและการทา ความเขา้ ใจของพวกเขาชา้ ลง และการอ่านน้ีจะจบลงอยา่ งเสียเวลาเปล่า เนื่องจากเดก็ ๆ จะไม่สามารถจบั ใจความจากส่ิงทอ่ี ่านได้ ดงั น้นั ควรใหล้ ูกคุณหยดุ พกั จากการอ่านในระยะเวลาส้นั ๆ และกลบั ไปอ่านใหม่ หลงั จากไดพ้ กั เพยี งพอแลว้ 10. หมน่ั ฝึ กฝน ทา้ ยทีส่ ุด ฝึกเทคนิคตา่ ง ๆ เหล่าน้ีเพอ่ื คน้ หาวา่ วธิ ีไหนทเี่ หมะกบั ลูกของคุณทสี่ ุด การอ่านจับใจความ การอ่านจบั ใจความ คอื การอ่านทม่ี ุ่งคน้ หาสาระของเร่ืองหรือของหนงั สือแตล่ ะเล่มท่ีเป็ นส่วน ใจความสาคญั และส่วนขยายใจความสาคญั ของเรื่อง ใจความสาคญั ของเรื่อง คอื ขอ้ ความทมี่ ีสาระคลุมขอ้ ความอ่ืนๆ ในยอ่ หนา้ น้นั หรือเรื่องน้นั ท้งั หมด ขอ้ ความอ่ืนๆ เป็นเพยี งส่วนขยายใจความสาคญั เท่าน้นั ขอ้ ความหน่ึงหรือตอนหน่ึงจะมีใจความสาคญั ท่สี ุด เพยี งหน่ึงเดียว นอกน้นั เป็ นใจความรอง คาวา่ ใจความสาคญั น้ี ผรู้ ู้ไดเ้ รียกไวเ้ ป็ นหลายอยา่ ง เช่น ขอ้ คดิ สาคญั

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 61 ของเร่ือง แก่นของเรื่อง หรือ ความคดิ หลกั ของเรื่องแตจ่ ะเป็นอยา่ งไรก็ตาม ใจความสาคญั ก็คือสิ่งทเี่ ป็ น สาระทสี่ าคญั ทส่ี ุดของเรื่องนนั่ เอง ใจความสาคญั ส่วนมากจะมีลกั ษณะเป็ นประโยค ซ่ึงอาจปรากฏอยใู่ นส่วนใดส่วนหน่ึงของยอ่ หนา้ กไ็ ด จุดที่พบใจความสาคญั ของเรื่องในแตล่ ะยอ่ หนา้ มากท่สี ุดคอื ประโยคทอี่ ยตู่ อนตน้ ยอ่ หนา้ เพราะผเู้ ขยี นมกั บอกประเด็นสาคญั ไวก้ ่อน แลว้ จงึ ขยายรายละเอียดใหช้ ดั เจน รองลงมาคือประโยคตอนทา้ ยยอ่ หนา้ โดย ผเู้ ขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นยอ่ ยก่อน แลว้ จงึ สรุปดว้ ยประโยคที่เป็ นประเด็นไวภ้ ายหลงั สาหรบั จุด ทพ่ี บใจความสาคญั ยากข้ึนก็คือ ประโยคตอนกลางยอ่ หนา้ ซ่ึงผอู้ ่านจะตอ้ งใชค้ วามสงั เกตุและพจิ ารณาใหด้ ี ส่วนจุดท่ีหาใจความสาคญั ยากท่ีสุดคือยอ่ หนา้ ทีไ่ ม่มีประโยคใจความสาคญั ปรากฏชดั เจน อาจมีประโยค หรืออาจอยรู่ วมๆกนั ในยอ่ หนา้ กไ็ ด้ ซ่ึงผอู้ ่านจะตอ้ งสรุปออกมาเอง แนวการอ่านจับใจความ การอ่านจบั ใจความใหบ้ รรลุจดุ ประสงค์ มีแนวทางดงั น้ี 1. ต้งั จดุ มุ่งหมายในการอ่านไดช้ ดั เจน เช่น อ่านเพอ่ื หาความรู้ เพอื่ ความเพลิดเพลิน หรือเพอื่ บอกเจตนาของผเู้ ขียน เพราะจะเป็นแนวทางกาหนดการอ่านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และจบั ใจความหรือคาตอบ ไดร้ วดเร็วยง่ิ ข้ึน 2. สารวจส่วนประกอบของหนงั สืออยา่ งคร่าวๆ เช่น ช่ือเร่ือง คานา สารบญั คาช้ีแจงการใช้ หนงั สือภาคผนวก ฯลฯ เพราะส่วนประกอบของหนงั สือจะทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจเก่ียวกบั เรื่องหรือหนงั สือที่ อ่านไดก้ วา้ งขวางและรวดเร็ว 3. ทาความเขา้ ใจลกั ษณะของหนงั สือวา่ ประเภทใด เช่น สารคดี ตารา บทความ ฯลฯ ซ่ึงจะช่วย ใหม้ ีแนวทางอ่านจบั ใจความสาคญั ไดง้ ่าย 4. ใชค้ วามสามารถทางภาษาในดา้ นการแปลความหมายของคา ประโยค และขอ้ ความตา่ งๆ อยา่ งถูกตอ้ งรวดเร็ว 5. ใชป้ ระสบการณ์หรือภมู ิหลงั เก่ียวกบั เร่ืองท่อี ่านมาประกอบจะทาความเขา้ ใจและจบั ใจความ ที่อ่านไดง้ ่ายและรวดเร็วข้นึ ข้นั ตอนการอ่านจบั ใจความ 1. อ่านผา่ นๆโดยตลอด เพอ่ื ใหร้ ูว้ า่ เรื่องที่อ่านวา่ ดว้ ยเร่ืองอะไร จุดใดเป็ นจดุ สาคญั ของเร่ือง 2. อ่านใหล้ ะเอียด เพอ่ื ทาความเขา้ ใจอยา่ งชดั เจน ไม่ควรหยดุ อ่านระหวา่ งเร่ืองเพราะจะทา ใหค้ วามเขา้ ใจไม่ติดต่อกนั 3. อ่านซ้าตอนท่ีไม่เขา้ ใจ และตรวจสอบความเขา้ ใจบางตอนใหแ้ น่นอนถูกตอ้ ง 4. เรียบเรียงใจความสาคญั ของเร่ืองดว้ ยตนเอง

หอ้ งสมุดเพอ่ื การเรียนรู้ 62 วธิ ีการอ่านข้อความง่าย ๆ มีดงั น้ี 1. อ่านไป 1 รอบก่อน 2. อ่านรอบท่ี 2 แลว้ ต้งั คาถามวา่ ใคร ทาอะไร ทไี่ หน เมื่อไหร่ อยา่ งไร (who, what, when , where , why ) เขียนไวข้ า้ งๆโจทย์ เราจะไดจ้ าได้ ไม่หลงลืม 3. ตดั ตวั เลือกที่ไม่ใช่ออกทีละขอ้ (ควรจะหดั ทาขอ้ สอบการอ่านใหม้ าก ๆ จะไดร้ ู้หลกั การทาและเกิด ทกั ษะและเกิดความกระจางในความคิด 4. เมื่อเราทราบจุดประสงคแ์ ลว้ ก็ทา ใหเ้ ลือกคาตอบไดว้ า่ ขอ้ ใดควรจะเป็ นชื่อเรื่องมากทีส่ ุด การอ่านกบั วิธีจา ผปู้ ระสบความสาเร็จทางการศกึ ษา ในทุกสาขาวชิ า จะมีคุณสมบตั ทิ ี่เหมือนกนั ขอ้ หน่ึงคอื รักการอ่าน และ สามารถจบั ใจความไดเ้ ร็ว เพราะการอ่าน เป็นวธิ ีหาความรู้ใส่ตวั ที่งา่ ยที่สุด สะดวกทส่ี ุด ประหยดั ทสี่ ุด ทกุ คร้ังทจ่ี ะอ่าน ควรจนิ ตนาการล่วงหนา้ ถึงเรื่องท่จี ะอ่านก่อนวา่ เก่ียวขอ้ งกบั อะไร การอ่านดว้ ยวธิ ีน้ีจะทาให้ จาแม่น จาเฉพาะเน้ือหาสาคญั และมองภาพองคร์ วมแบบแผนผงั ได้ (mind mapping) โดยมีศนู ยก์ ลางเร่ิมตน้ จากส่วนที่สาคญั ท่สี ุด แลว้ แตกแขนงไปทีส่ ่วนประกอบอ่ืนๆ การอ่านเป็นภาพ จะช่วยใหจ้ าแม่น เช่น ในเดก็ เลก็ ที่อ่าน ก.เอ๋ยกอไก่ หรือ A แอน๊ ท์ มด กค็ ือ การ แปลงอกั ษรใหเ้ ป็ นภาพ ทกุ คร้งั ท่นี กั เรียนทอ่ ง ภาพไก่ กบั ภาพมดจะผดุ ข้นึ มา ทาใหจ้ าไดง้ า่ ยข้นึ การจาเป็นภาพ เมื่อเวลาเรียกขอ้ มูลยอ้ นกลบั ข้ึนมา ก็จะออกมาเป็ นภาพ เปรียบเสมือนการเปิ ดคลิป วดิ ีโอ ที่เกบ็ สะสมไวใ้ นสมอง แต่ถา้ จาเป็ นคา กเ็ หมือนกบั การเปิ ดไฟลต์ วั อกั ษรทีเ่ กบ็ ไว้ ซ่ึงรายละเอียดนอ้ ย กวา่ กนั มาก ขณะอ่านทุกคร้ัง ควรพกั เป็นระยะๆ เพอ่ื หลบั ตา และจินตนาการถึงภาพท่ไี ดจ้ ากการอ่าน เป็ นการเห็น เรื่องท่อี ่านโดยใชต้ าใน ซ่ึงในทางการแพทยพ์ บวา่ ภาพที่เห็นขณะหลบั ตา สมองจะเกบ็ ไวเ้ ป็ นความทรงจา ระยะยาว ขอ้ มูลบางอยา่ ง การนามาเขยี นในรูปของแผนผงั แผนภาพ จะเขา้ ใจง่ายข้นึ เช่นเดียวกบั การจบั สลาก แบง่ สายในการแข่งขนั ฟุตบอลโลก จะมีการเขียนเป็นแผนภาพ โยงไปมาเพอ่ื ใหผ้ ชู้ มสามารถจาไดภ้ ายในคร้ัง เดียว ในการอ่าน ถา้ สามารถนาขอ้ มูลทอี่ ่านมาเขยี นเป็น แผนภมู ิ แผนผงั กราฟ หรือใชต้ ารางทางสถิติ จะ ช่วยใหจ้ ดจาไดง้ ่ายข้ึน การนาขอ้ มูลในหนงั สือเรียน มาทาเป็นภาพ ตารางหรือกราฟ ดว้ ยตนเอง จะมี ประโยชนม์ าก ส่วนการอ่านวชิ าท่ตี อ้ งท่องจามากๆ อาจจะใชเ้ ทคนิคช่วยจาได้ เช่น ถา้ ตอ้ งการจาตวั อกั ษร ค ต ล ข ร ม โดยหา้ มสลบั ตาแหน่ง การจาโดยตรงจะยากมาก ใหจ้ าเป็ นประโยค “คนตวั เล็กขบั รถเมล์ ” แลว้ จินตนาการภาพรถเมลท์ ่ีมีคนตวั เล็กกาลงั ขบั อยู่ เทคนิคน้ีจะทาใหจ้ าไดแ้ ม่น ในกรณีทเี่ ป็ นภาษาองั กฤษก็

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 63 เช่นกนั สมมติวา่ ตอ้ งการจา ตวั อกั ษรตวั แรกของหวั ขอ้ ทีอ่ ่าน 5 หวั ขอ้ คือ t,a,m,s,o,f,h ใหน้ ามาแต่งเป็ น ประโยค “ There are many sand on father’s head ” แลว้ ก็นึกถึงภาพพอ่ ทม่ี ีทรายอยเู่ ตม็ ศีรษะ อีกเคล็ดลบั สาหรบั การจาตวั เลข กค็ ือ ใหแ้ ปลงจานวนตวั เลขเป็ นจานวนพยญั ชนะ เช่น ตอ้ งการจา ตวั เลขชุดหน่ึง ไดแ้ ก่ 52146233 จะแต่งเป็นประโยคไดว้ า่ “ There is a bird flying in the sky” จานวน ตวั อกั ษรของแตล่ ะคา คอื ตวั เลขที่จะจา แลว้ จนิ ตนาการใหเ้ ห็นภาพนกกาลงั บนิ บนทอ้ งฟ้ า การจาเป็ นภาพ แมจ้ ะไดด้ ูตวั เลขน้ีเพยี งคร้งั เดียว รอบเดียว ก็สามารถจาไปไดห้ ลายปี หรืออาจจะตลอดไป ถา้ ตอ้ งการจาชื่อจงั หวดั ในภาคกลาง ไดแ้ ก่ ปทมุ ธานี ( P ) ลพบุรี ( L ) นนทบุรี ( N ) ราชบุรี ( R ) สุพรรณบรุ ี ( S ) กาญจนบรุ ี ( K ) สมุทรสงคราม ( S ) สมุทรสาคร ( S ) อ่างทอง ( A ) สระบุรี ( S ) ชยั นาท ( C ) สิงหบ์ รุ ี ( S ) อยธุ ยา ( A ) เราสามารถนาตวั ยอ่ มาเรียงเป็ นประโยค “ L RAK P NAC 5 ส ” (อ่านวา่ แอล รักพแี่ น็ค 5 ส.) ซ่ึงการเรียงประโยคหรือตวั ยอ่ ไม่จาเป็นตอ้ งถูกหลกั ไวยากรณ์ เพยี งแต่ขอใหจ้ าไดก้ ็พอ และ ลกั ษณะประโยคของแต่ละคนกแ็ ตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั ภูมิหลงั ประสบการณ์ ความทรงจาเก่าๆ ระดบั การศึกษา ฯลฯ เมื่อจาประโยคได้ กใ็ หน้ ามาจนิ ตนาการยามวา่ ง เช่น บนรถเมล์ ตอนพกั กลางวนั ฯลฯ วา่ “ แอลรกั พแี่ น็ค ” หมายถึงจงั หวดั อะไรบา้ ง และ “ 5ส ” คอื จงั หวดั อะไร อ่านย้อนกลบั ตามปกติคนเราจะอ่านหนงั สือจากหนา้ ไปหลงั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ถา้ เป็ นเรื่องส้นั หรือนวนิยาย การ อ่านบทสรุปหรือตอนจบก่อน เป็ นเรื่องทต่ี อ้ งหา้ มอยา่ งเดด็ ขาด แต่ การอ่านเพอ่ื การเรียนรู้ จะตรงกนั ขา้ ม ยง่ิ รู้ รายละเอียดล่วงหนา้ มากเท่าไหร่ จะทาใหป้ ระสิทธิภาพของการอ่านเพมิ่ ข้นึ เทา่ น้นั ดงั น้นั เม่ือตอ้ งการจะ เร่ิมตน้ อ่าน ใหม้ องไปทีส่ ่วนทา้ ยของบทความหรือหนงั สือก่อน บทสรุปส่วนใหญจ่ ะอยทู่ ีส่ ่วนทา้ ยของแตล่ ะ บท แตล่ ะตอน รวมไปถึง บทคดั ยอ่ สารบาญ และคานาของผเู้ ขียน การเขา้ ใจเน้ือหาอยา่ งคร่าวๆ จะทาให้ สามารถจบั จุดสาคญั ของส่ิงท่กี าลงั จะอ่านได้ บทสรุปท่บี นั ทึกไวใ้ นสมองล่วงหนา้ จะช่วยใหร้ ูว้ า่ ส่วนไหน ของเน้ือหาท่สี าคญั และควรเนน้ อ่านเป็ นพเิ ศษ ผบู้ ริหารบางคนจะใหเ้ ลขา ช่วยสรุปให้ เลขาที่สรุปเก่งๆ เงินเดือนสูงมาก เพราะสามารถแบ่งเบาภาระของผบู้ ริหารได้ ในการอ่านนวนิยายหรือเรื่องส้นั ถา้ อ่านตอนจบก่อน ความสนุกจะหายไปทนั ที ซ่ึงตรงกนั ขา้ มกบั การ อ่านหนงั สือเพอ่ื การเรียนรู้ ถา้ อ่านตอนจบก่อน กลบั จะทาใหค้ วามสนุกในการเรียนเพม่ิ ข้นึ เพราะเม่ือรูผ้ ล สมองจะพยายามวเิ คราะหห์ าสาเหตุโดยอตั โนมตั ิ เช่นในการอ่านนวนิยาย ถา้ รู้ก่อนแลว้ วา่ พระเอกจะถูกลอบ สงั หารจนเสียชีวติ ในตอนจบ เมื่อยอ้ นกลบั มาอ่านอยา่ งวเิ คราะหจ์ ากตน้ เร่ือง สมองจะพยายามมองหาเงอื่ น วเิ คราะหถ์ ึงบุคลิก นิสยั ใจคอ บุคคลใกลช้ ิด ส่ิงแวดลอ้ ม หาเหตุและปัจจยั ทจ่ี ะทาใหพ้ ระเอกตอ้ งมาเสียชีวติ ในบ้นั ปลาย อยา่ งละเอียด ทาใหจ้ บั ส่วนสาคญั ได้ สามารถปะตดิ ปะต่อเรื่องราว ไดอ้ ยา่ งชดั เจน และขณะอ่าน สายตาจะสะดุดท่บี ทของพระเอกเป็ นหลกั ส่วนตวั ประกอบอื่นๆ จะแยกยอ่ ยออกไป เช่นเดียวกบั การอ่าน หนงั สืออ่ืนๆ พยายามหาส่วนสาคญั ทีส่ ุดหรือพระเอกของเน้ือหาน้นั ใหไ้ ดก้ ่อนจากบทสรุป

หอ้ งสมุดเพอื่ การเรียนรู้ 64 การอ่านนวนิยาย เรื่องส้นั หรือนิทาน เราตอ้ งการรู้วา่ ถา้ เหตุและปัจจยั เป็ นแบบน้ี แลว้ ผลสรุปตอนจบ จะเป็ นอยา่ งไร แตก่ ารอ่านเพอ่ื การเรียนรูจ้ ะตรงกนั ขา้ ม คือ ตอ้ งการรู้วา่ ถา้ ผลสรุปเป็ นแบบน้ี มนั มีเหตแุ ละ ปัจจยั มาจากอะไร สาเหตหุ น่ึงทที่ าใหก้ ารอ่านข่าวจากหนงั สือพมิ พง์ า่ ยกวา่ การอ่านหนงั สืออื่น เน่ืองจาก มีบทสรุปจาก ส่วนพาดหวั ที่ใชภ้ าษาอยา่ งเรา้ ใจ ช่วยกระตนุ้ ใหเ้ กิดความรูส้ ึกสนใจ เม่ือรู้วา่ ตวั เองกาลงั จะอ่านข่าวเรื่อง อะไร ความสนใจบวกกบั การรู้บทสรุปล่วงหนา้ ทาใหก้ ารอ่านง่ายข้ึน เช่น ขา่ วกีฬาที่พาดผลการแขง่ ขนั วา่ “ กงั หนั เชือดคอไก่ 3 -2 ” หมายความวา่ ในการแขง่ ขนั ฟุตบอลฮอลแลนดช์ นะฝรงั่ เศส 3 – 2 เมื่อรู้ผลสรุป ก่อนแลว้ ค่อยอ่านจะทาใหก้ ารอ่านขา่ วหนงั สือพมิ พเ์ พยี งรอบเดียวกจ็ ารายละเอียดไดท้ ้งั หมด เพราะเรารู้ ผลสรุปก่อน แลว้ จงึ คอ่ ยอ่านเพอ่ื หาเหตปุ ัจจยั วา่ ทาไม กงั หนั เชือดคอไก่ เทคนิคการอ่านตาราเรียนให้ได้ดี 1. สารวจหนงั สือ : เพอ่ื รู้จกั คุน้ เคย 2. อ่านแนวคิดหลกั : จบั ประเด็นสาคญั 3. ต้งั คาถามขณะอ่าน : อะไร ทาไม อยา่ งไร ใคร เม่ือไหร่ 4. เนน้ ประเดน็ สาคญั : ทาเครื่องหมาย 5. ประสานคาบรรยายกบั ตารา : ช่วยใหเ้ ขา้ ใจลึกซ้ึง 6. ทบทวน : บอ่ ย ๆ จะจาไดด้ ี เทคนิค SQ 3R ของ Dr.Francis Robinson 1. สารวจ (Survey) ส่วนต่าง ๆ ของหนงั สือ เช่น คานา สารบญั บรรณานุกรม 2. ต้งั คาถาม (Question) จากเน้ือหา 3. อ่านหาคาตอบ (Reading) 4. ระลึก (Recall) ส่ิงทีอ่ ่านผา่ นไปแลว้ 5. ทบทวน (Review)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook