Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ นายทวีป พลายพยัคฆ์

อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ นายทวีป พลายพยัคฆ์

Published by Jane, 2020-08-17 21:15:12

Description: อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ นายทวีป พลายพยัคฆ์

Search

Read the Text Version

อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ นาย ทวีป พลายพยัคฆ์ ป.ม., ท.ช. ณ สุสานไตรลักษณ์ อ. เมือง จ.ลำปาง วัน พุธ ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ.2563 เวลา 15.00 น.





สำนึกในพระมหากรณุ าธิคุณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานเพลิงศพ นายทวีป พลายพยคั ฆ์ ซึง่ นบั เป็นพระมหากรณุ าธิคณุ ล้นเกล้าลน้ กระหมอ่ ม เปน็ เกียรติอันสูงสดุ แก่ผวู้ ายชนม์ และวงศ์ตระกูลอย่าง หาทีส่ ดุ มไิ ด้ หากความทราบโดยญาณวิถีดวงวิญญาณของนายทวีป พลายพยคั ฆ์ ได้ดว้ ยประการใดในสัมปรายภพ คงจะมีความปลาบปลื้มซาบซงึ้ เปน็ ล้นพน้ ใน พระมหากรุณาธิคุณที่ได้รบั พระราชทานเกียรตยิ ศอนั สูงยิ่งในวาระสุดท้ายแหง่ ชีวติ ข้าพระพุทธเจา้ ครอบครวั พลายพยัคฆ์ ขอพระราชทานกราบถวายบงั คม แทบเบอื้ งยุคลบาท ดว้ ยความสำนึกในพระมหากรณุ าธิคุณอย่างหาทีส่ ุดมไิ ด้ และจกั เทิดทูนไว้เหนอื เกล้าเหนอื กระหม่อมเป็นสรรพสิ่งมงคล แก่ ข้าพระพุทธเจ้าและวงศต์ ระกลู สืบไป ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพทุ ธเจา้ ครอบครวั พลายพยัคฆ์

กราบขอบพระคณุ เจ้าภาพขอกราบขอบพระคุณ แด่ท่านผู้มเี กียรติและญาติมิตรทั้งหลาย ที่ ได้ให้เกียรติสละเวลามาในงานพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ พิธีธรรมสวด พระอภิธรรม จนถึงงานพระราชทานเพลิงศพ นาย ทวีป พลายพยคั ฆ์ ป.ม,ท.ช และให้ความอนเุ คราะหด์ ้วยประการต่างๆ จนสำเร็จลุล่วงด้วยดี เจ้าภาพรู้สึกซาบซึง้ ในความกรุณาของท่านเปน็ อย่างยิง่ มากมีสิง่ ใดขาด ตกบกพร่อง เจ้าภาพกราบขออภยั และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ครอบครวั พลายพยัคฆ์

นายทวีป พลายพยัคฆ์ ชาตะ : 15 มีนาคม พ.ศ. 2485 มรณะ : 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2563



ประวัติโดยย่อ นายทวีป พลายพยคั ฆ์ ป.ม. , ท.ช.

นายทวีป พลายพยัคฆ์ เปน็ บุตรของ นายบณั ฑติ ย์ และนางโตะ๊ พลายพยัคฆ์ (ครอบครัวพลายพยัคฆ์ สกุลเดิม เสือ-กลนั่ ) เกิดเมอ่ื วันเสาร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2485 ณ บ้านที่ ตำบลคลองข่อย อำเภอโพธาราม จงั หวัดราชบรุ ี มีพ่นี ้อง ร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน ดังน้ี 1. นายทวีป พลายพยัคฆ์ ( ผวู้ ายชนม์ ) 2. นางวรรณวดี โพธิ์ยี่ 3. นางสาวอบุ ลวรรณ พลายพยัคฆ์ 4. นายวิวัฒน์ พลายพยัคฆ์ ( ถึงแก่กรรม ) 5. นางสาวยวุ ดี พลายพยคั ฆ์ 6. นางกณั หา มุจจลินท์วิมุติ 7. เด็กหญิงศริ ิน เสือ-กลัน่ ( ถึงแก่กรรม ) 8. นางสาววิวรรณ พลายพยัคฆ์ การครองรักครองเรือน ได้สมรสกบั นางวีนสั พลายพยัคฆ์ (สกุลเดิม สิรสิ ืบ) มีธิดา 1 คน ชือ่ นางสาวนัสวรรณ พลายพยัคฆ์

การศึกษา - ประถมศึกษาปีที่ 1-2 โรงเรียน ประชาสงเคราะห์ ปากเกร็ด ระดับประถมศกึ ษา - ประถมศึกษาปีที่ 3-4 โรงเรียน ระดบั มัธยมตน้ เทศบาลวดั ไทรอารีรักษ์ อำเภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี ระดับมธั ยมปลาย ระดับประกาศนยี บตั ร- - มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-2 โรงเรียน วิชาชีพข้ันสงู ราษฎรบ์ ำรุงวิทย์ อำเภอโพธาราม ระดบั ปริญญาตรี จังหวัดราชบุรี ระดับปริญญาโท - มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนวดั เขมมาภริ ตาราม จังหวัดนนทบุรี - มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4-6 โรงเรียนวัด เขมมาภริ ตาราม จังหวดั นนทบรุ ี - โรงเรียนพาณิชยการวัดเชตพุ นตั้ง ตรงจติ รวิทยาลยั - คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทมุ - คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ตำแหนง่ ทางราชการ พ.ศ. 2505 เสมียนพนักงานที่ทำการขนส่งจังหวดั เชียงใหม่ พ.ศ. 2508 เสมียนพนักงานที่ทำการขนส่งจังหวดั ลำปาง พ.ศ. 2510 เสมียนพนกั งานทีท่ ำการขนสง่ จังหวดั กาญจนบรุ ี พ.ศ. 2511 เสมียนพนกั งานทีท่ ำการขนสง่ จังหวดั ราชบุรี พ.ศ. 2512 ประจำแผนก แผนกใบอนญุ าต กองควบคุมกิจการ ขนส่งกรมการขนสง่ ทางบก พ.ศ. 2516 พนักงานขนส่งชั้นตรี สำนักงานขนส่งจังหวัด มหาสารคาม พ.ศ. 2519 เจา้ หนา้ ทีข่ นส่ง 3 หมวดใบอนุญาตออกใหม่ กอง ควบคมุ กิจการขนส่ง กรมการขนนสง่ ทางบก พ.ศ. 2520 นกั วิชาการขนสง่ 4 งานค้นคว้าและการวิจยั เศรษฐกิจ การขนสง่ กองวิชาการและแผนงาน กรมการขนส่ง ทางบก พ.ศ. 2522 เจ้าหน้าที่ขนส่ง 5 หน่วยใบอนุญาตประกอบการขนสง่ งานใบอนญุ าตกิจการขนส่ง กองควบคมุ กิจการขนส่ง กรมการขนส่งทางบก พ.ศ. 2525 เจ้าหน้าทีข่ นส่ง 6 งานใบอนุญาตประกอบการขนส่ง กองควบคุมกิจการขนส่ง กรมการขนสง่ ทางบก

พ.ศ. 2530 ขนสง่ จงั หวัดยะลา พ.ศ. 2531 เจา้ หนา้ ทีบ่ ริหารงานขนส่ง 7 ฝ่ายใบอนุญาต พ.ศ. 2537 ประกอบการขนส่ง กองควบคุมกิจการขนส่ง กรมการ พ.ศ. 2542 ขนสง่ ทางบก พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2545 ขนสง่ จงั หวดั ลำปาง ขนส่งจังหวดั นครสวรรค์ ผตู้ รวจราชการกรมการขนส่งทางบก ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะด้านนโยบายและแผน กรมการขนส่ง ทางบก

เครื่องราชอิสริยาภรณแ์ ละเหรียญ เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย เบญจมาภรณช์ ้างเผอื ก 5 ธันวาคม 2512 จัตรุ ถาภรณ์มงกฎุ ไทย 5 ธนั วาคม 2518 ตริตาภรณม์ งกฎุ ไทย 5 ธนั วาคม 2520 ตริตาภรณ์ช้างเผอื ก 5 ธนั วาคม 2522 ทวิตยิ าภรณ์มงกฎุ ไทย 5 ธนั วาคม 2527 จักรพรรดิมาลา 5 ธันวาคม 2530 ทวีตยิ าภรณ์ช้างเผอื ก 5 ธันวาคม 2532 ประถมาภรณม์ งกุฎไทย 5 ธันวาคม 2535 5 ธันวาคม 2545

อาลัยเพื่อน รู้สกึ ใจหายเมอ่ื ได้รบั แจง้ จากลูกสาวของคณุ ทวีป วา่ คุณพ่อเสีย ทั้งๆที่ ได้ทำใจไว้ล่วงหนา้ แล้ว เพราะตั้งแต่เพื่อนเข้ารกั ษาตัวที่โรงพยาบาล ตั้งแต่ต้นปี จนกระท่งั กลับไปพกั ฟืน้ ที่บ้าน ก็ได้ตดิ ต่อไถถ่ ามอาการจากลูกสาวมาตลอด ครั้งสดุ ท้ายลกู สาวบอกว่าพ่ออาการหนกั กไ็ ด้แต่ปลอบใจและขอให้ทำใจ เพราะไมม่ ีอะไรในชีวติ ของคนเราทีจ่ ะคงทนถาวรอยู่ได้ตลอดไป ผมกับคณุ ทวีป พลายพยัคฆ์ และเพื่อนอีก ๕ คน รวม ๗ คน บรรลุ เป็นข้าราชการสำนักงานขนส่งจงั หวดั ร่นุ แรก เม่อื ปี พ.ศ.๒๕๐๕ และเราสอง คนได้ย้ายเข้าทำงานสว่ นกลาง ณ กรมการขนส่งทางบก พรอ้ มกนั เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ผมปกั หลักอย่กู ับที่ สว่ นเพือ่ นย้ายไปย้ายมาอีกสามรอบ ผมกับคุณ ทวีป จงึ สนทิ สนมกันมากกวา่ เพือ่ นคนอ่นื ๆที่นานๆพบกนั ครั้งหน่ึง ด้วยความอาลยั ในนามของเพือ่ นๆ ขอให้ผลบญุ ทีไ่ ด้สัง่ สมมา รวมทั้ง ผลบญุ ที่เพื่อนฝูงลูกหลานอุทิศให้ ขอใหด้ วงวิญญาณของเพื่อนไปสสู่ ุขคติใน สัมปรายภพด้วยเทอญ. กรีฑา สังวรกาญจน์ ในนามกลุม่ ศษิ ยเ์ ก่า กคส.

คำไวอ้ าลัย คณุ ทวีป พลายพยัคฆ์ อดีตผู้ตรวจราชการกรมการขนสง่ ทางบก “คณุ พ่อเสียแล้วค่ะ” คือคำบอกเลา่ ของบตุ รสาว “ป๋าทวีป พลาย พยคั ฆ์” เม่อื เวลา ๐๓.๐๔ น. ผ่านทางแอพพลิเคชนั่ ไลน์ ซึ่งผมมาอ่านพบ ในช่วงเช้าตรูข่ องวนั ที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๖๓ น่าจะเป็นเวลาเช้าวนั ทีอ่ ากาศดี นา่ จะสดช่นื เปน็ อย่างยิง่ เพราะมีฝนตกเบามาตลอดท้ังคืน แตท่ ุกอยา่ งกลบั ตรงกนั ข้าม ผมรู้สกึ อ่อนเพลีย ออ่ นแรง เศร้า และเสียใจเป็นอยา่ งยิง่ “ป๋า” “ป๋าทวีป” หรอื “ป๋าวีป” ที่คนสนทิ สนมคุ้นเคยใช้เรียก ท่านทวีป พลายพยคั ฆ์ อดีตผตู้ รวจราชการกรมการขนส่งทางบก ไม่วา่ จะอายุรุ่นไหนๆ ก็ ตาม ตั้งแต่ท่านย้ายจากจังหวดั ลำปางมาดำรงตำแหน่ง “ขนสง่ จังหวัด นครสวรรค”์ พวกเราชาวขนส่งจังหวัดนครสวรรคใ์ นสมัยน้ัน ทราบดีว่า “ป๋า” ไมเ่ คยถือตวั เลยตั้งแต่รจู้ ัก “ป๋า. เข้าถึงได้ง่าย แตด่ ว้ ยรูปรา่ งสูงใหญ่ ไว้หนวด และด้วยความใจนักเลงของท่าน ทำใหบ้ คุ ลิกท่านดูน่าเกรงขาม แต่ท่านเป็นคน ใจดี เป็นกนั เอง เร่อื งงานเป็นงาน คอ่ นข้างเอาจรงิ เอาจังเป็นอยา่ งยิง่ ทั้งงาน ด้านวิชการและงานด้านการพฒั นา ผลงานที่น่าชื่นชมของทา่ น คือการพฒั นา สำนกั งานขนสง่ จงั หวัดนครสวรรค์จนได้รางวลั สำนกั งานดีเดน่ ได้รบั ถ้วยรางวลั จากท่านชวน หลกั ภยั นายกรัฐมนตรี ทา่ นสอนให้พวกเราทำงานด้วยความ ซื่อสัตย์ ประหยดั มีวนิ ยั ต้องอดทน “ป๋า” มกั จะเล่าประวัติของท่านให้ฟังเพือ่ เตือนใจตัวเองอยเู่ สมอ ท่านมีความโอมอ้อมอารีอยู่ในหัวใจชอบช่วยเหลอื ทุก คน “ป๋า” จึงอยูใ่ นความทรงจำและอยู่ในหวั ใจของพวกเราทุกคน พวกเรารัก

ท่านเปรียบเสมอื นญาติผูใหญ่ที่เคารพรักอยา่ งยิง่ เลยทีเดียว โดยเฉพาะผมเอง แมจ้ ะเคยถกู ตำหนจิ าก “ป๋า” อย่บู ้าง แต่นั่นไมไ่ ด้ทำให้ความเคารพรัก “ป๋า” ลดลงแต่อย่างใด กลับเป็นแรงผลกั ดนั ให้มีความรกั ความผกู พันกันแนบแน่น เพิ่มมากยิ่งขนึ้ ไปอีก หลงั จากทา่ นเกษียณอายรุ าชการไปแล้ว พวกเรายงั คงติดต่อท่านไปมา หาสู่ เยีย่ มเยียนทา่ นที่บ้านพกั จังหวัดลำปางอยู่เสมอ และหาก “ป๋า” มกี ิจธรุ ะ เรือ่ งอะไรที่จังหวัดนครสวรรค์ ก็จะเดินทางมารว่ มงานอย่เู สมอเช่นกัน ปกติ “ป๋า” เป็นคนแขง็ แรง สามารถขับรถยนต์ไปไหนๆ ได้ด้วยตนเอง รวมถึงการ เดินทางไปร่วมงานเลี้ยงเกษียณอายุราชการของข้าราชการ กรมการขนส่งทาง บก ทกุ ปีไมเ่ คยขาด เม่อื ทราบข่าวว่า “ป๋า” ป่วย พวกเรากเ็ ดินทางมาเยี่ยม อาการป่วยอยู่หลายครั้ง “ป๋า” บ่นว่าทานอะไรไมค่ อ่ ยได้ อยากทานปลาเกลือ และลูกชิ้นปลากรายของนครสวรรค์ พวกเราจัดไปให้ท่านอยู่บอ่ ยๆ แล้ววนั น้ี ก็ มาถึง วนั ทีท่ กุ ชีวิตตอ้ งพบเจอด้วยกนั ทุกคน ถึงแมว้ ่าพวก เราจะรู้และเข้าใจดีว่าต้องมีวนั นี้ “ป๋า” ผมู้ ีพระคณุ ผเู้ ป็นต้นแบบ ผู้ที่ส่งั สอนให้ เราเข้าใจในทกุ แง่มุมของชีวิต ทั้งชีวติ สว่ นตัวและวิถีชีวิตแหง่ ราชการ ท่านได้ จากเราไปแล้ว ตลอดกาล

พวกเราทุกคนหวังเปน็ อย่างยิ่ง ดว้ ยคุณงามความดีที่ “ป๋า” ได้สั่งสอน มาตลอดชีวติ ของท่าน จงเป็นดัง่ แสงสว่างของดวงประทีปสอ่ งทางนำพาดวง วิญญาณของ “ป๋า” ใหไ้ ปสถิตเสถียร ณ แดนสวรรค์ ในสัมปรายภพอันสขุ สงบ ตลอดนิรันดร์ อรรถ ศรีสำรวล จณิ ณภา บางเขน ไพศาล ฤทธิ์จรญู นิพนธ์ สนุ ดิ า ม่นั ต่าย ณรงค์ เยน็ ฤดี บญุ แต้ม ลดั ดา เอื้อไพศาล สิตา ตนั สวุ รรณ ชูเกียรติ สอนเมือง พิทยา ธนธาดาพงศ์ ไพรัตน์ พานทอง เดชา นชุ นารถ (ผเู้ รียบเรียง) ในนาม “พวกเราชาวขนส่ง จังหวัดนครสวรรคใ์ นสมยั น้ัน” และลูกหลาน ๑๔ สงิ หาคม ๒๕๖๓

พ่อพระของศรีภรรยา ไปสูส่ รวงสวรรค์ภพภูมทิ ีด่ ี ไม่ต้องหว่ งลกู และเมีย ให้พ่อหลับ พักผ่อนให้สบายนะคนดีของฉนั พอ่ ทำงานมาหนกั มากพอแล้ว พ่อไมเ่ คยบน่ วา่ ฉนั สักคำ ฉันอยากได้อะไรมีแตพ่ ่อหามาให้ ตามใจฉนั ทุกอยา่ ง พอ่ อดทน กับฉนั ในทกุ ๆเร่อื ง ความดีของพอ่ อยใู่ นใจฉนั ตลอดเวลา พ่อมีแตค่ วามเมตตา กับทกุ ๆคน ตอ่ จากนี้ไปคงจะเหลือแต่ความทรงจำ ยากทีจ่ ะลืมได้ ขอให้ดวง วิญญาณไปสสู่ ขุ ติ ช้ันภพภูมิทีด่ ี สมกบั ที่เป็นคนดีของฉันเสมอมา ด้วยรักและอาลยั ตุ๊

พ่อจา๋ ..... ลกู ภูมใิ จมากทีไ่ ด้เกิดมาเปน็ ลกู พอ่ ทีแ่ สนดีคนนี้ ต้ังแตล่ กู จำความได้ เหน็ พอ่ ทำงานเหน็ดเหนอ่ื ยเพือ่ ครอบครวั มาตลอด พ่อเลี้ยงดลู ูกใหค้ วามรัก ความอบอนุ่ มาตลอด ให้ลูกทกุ อย่างทีล่ กู อยากได้ หลายสิบปีทีพ่ ่อต้องสู้ คอยอุ้มชู ดูแลครอบครัวมาตลอด คอยอบรมส่ังสอนใหล้ กู เปน็ คนดี โอบอ้อม อารีกับคนรอบข้าง และสอนไม่ให้เอาเปรียบใคร ลกู คนนีจ้ ะจดจำและปฏิบัติ ตามคำส่ังสอนของพ่อตลอดไป คำสง่ั สอนจะอยูใ่ นใจลูก และสง่ ต่อไปถึงลูกหลาน ลกู คิดถึงพอ่ ที่รัก ตลอดกาล ทุกวนั วานรำลึกถึงพระคณุ พอ่ ลกู ขอให้พอ่ สถิตสบายใจอยูบ่ น สรวงสวรรค์ แมก้ ายห่างจากพรากกนั ในใจนนั้ พอ่ คงอยูน่ ิรนั ดร ด้วยรกั และอาลยั อ้อย

คณุ ตาจ๋า หนูดใี จที่ได้เกิดเปน็ หลานของคุณตา คุณตาเป็นผู้ทีค่ อยเลีย้ งดูหนูมา ตั้งแต่เล็กจนตอนน้ีหนูโตขึ้นมากแล้ว ตงั้ แต่จำความได้ตอนเดก็ ๆคุณตาจะคอย ไปรับไปส่งหนตู ้ังแตอ่ นุบาลจนจบม.6 และไมว่ ่าตอนเด็กหนูจะงอแงหรอื ดือ้ แค่ ไหนคุณตากไ็ มเ่ คยทีจ่ ะดุจะดา่ หนแู รงๆเลยแม้แตน่ ดิ ดียว คุณตาเปน็ คนทีม่ ี ความอบอุ่น รักและดูแลหลานเปน็ อย่างดี เวลาอยากได้อะไรหรืออยากทาน อะไรคณุ ตาก็ไมเ่ คยหา้ ม มแี ต่จะคอยหามาให้ สนบั สนุนเรือ่ งการเรียนทกุ ๆ อยา่ ง หนูสญั ญาว่าหนูจะตั้งใจเรียนให้จบตามทีค่ ุณตาได้ทมุ่ เท ตงั้ ใจและหวัง ไว้ให้หนมู งี านทีด่ ีทำ เป็นคนดี จะขยันหมน่ั เพียรใหเ้ หมอื นที่คุณตาน้ันขยนั ทำงาน ดูแลครอบครัวเป็นอย่างดี ตอ่ ไปนีก้ ็คงเหลอื เพียงความทรงจำที่ดที ี่หนู จะจดจำและคดิ ถึงคุณตาตลอดไป ด้วยรกั และอาลยั เจน

ดว้ ยความเคารพ...รกั และจะระลกึ ถึงตลอดไป พีท่ วีป พลายพยคั ฆ์ เป็นพี่ชายคนโตของนอ้ งๆจำนวน 7 คน คอื วรรณ วดี อุบลวรรณ วิวัฒน์ ยุวดี กณั หา ศริ ินและวิวรรณ พีท่ วีปจะรกั และหว่ งใย เอื้อเฟือ้ เผอ่ื แผน่ ้องๆ ตลอดจนหลานๆ พี่จะคอย ให้คำแนะนำและให้ความชว่ ยเหลอื เรือ่ งทนุ ทรัพย์ เพื่อใหน้ ้องและหลานๆ ได้ สำเรจ็ การศกึ ษาเพือ่ มอี าชีพสำหรบั ดำเนินชีวิตตอ่ ไป พี่เปน็ คนทีม่ เี มตตาและโอบอ้อมอารีต่อผอู้ ืน่ เปน็ คนที่มีจิตใจดี ยิ้มแย้ม แจ่มใส รักน้องๆและหลานๆ ตลอดจนครอบครวั ญาติ และผรู้ ว่ มงานทุกคน พีไ่ ม่เคยคิดรา้ ยต่อใครเลย พี่เปน็ ที่รกั ของคนรู้จัก ญาติพ่นี ้องและลกู น้องทุกๆ คน พีเ่ ป็นคนรกั ความก้าวหนา้ ในหน้าทีก่ ารงาน พีม่ คี วามพยายามเรียนจนถึง ปริญญาตรีดว้ ยวยั 51 ปี และจบปริญญาโทด้วยวัย 57 ปี จึงทำให้พีป่ ระสบ ความสำเร็จในชวี ิตราชการเป็นอย่างสงู และจะเปน็ ตัวอยา่ งใหห้ ลานต่อไป พีร่ กั และเป็นหว่ งครอบครัวของพี่มาก ถึงพ่เี จ็บปว่ ยพี่กม็ ีกำลังใจที่เข้มแข็ง เพือ่ ทีจ่ ะดำเนินชีวติ กบั ครอบครัวตอ่ ไป แต่พี่กไ็ ม่สามารถตอ่ สู้กบั โรคร้ายได้ น้องๆทุกคน ขอกศุ ลคุณความดีทีพ่ ี่ปฏิบตั ิมาโดยตลอดและบุญกุศลที่ น้องๆและญาติบำเพญ็ อุทิศไปให้ โปรดนำดวงวิญญาณของพีไ่ ปส่สู ัมปรายภพ ทีด่ ที ีพ่ ี่ได้ทำไว้ด้วยเทอญ รักพี่มาก น้องๆของพี่

การศึกษา

ชีวติ ราชการ

วาระสุดท้ายของชีวติ วันที่ 26 กรกฎาคม 2563 พระเดชพระคุณหลวงพอ่ เจา้ คณุ พระเทพ ปัญญาภรณ์ (ริต ริตเวที ป.ธ.9, กศ.ม.)เจ้าอาวาสวดั ตากฟ้า พระอารามหลวง อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์ และคณะได้มาเยีย่ มและสวดเจริญพรให้ เปน็ ความ ปราบปลืม้ ใจของครอบครวั พลายพยคั ฆแ์ ละขอกราบขอบพระคณุ อยา่ งสงู

วันที่ 6-7 สิงหาคม 2563 น้องๆ ศษิ ยเ์ กา่ กองควบคุมกิจการขนส่ง มาเยีย่ ม ให้กำลังใจปา๊ ครอบครวั พลายพยัคฆ์ ขอขอบคุณอย่างสงู

ผลงานระหว่างรับราชการ 1. ขณะดำรงตำแหน่งขนส่งจังหวดั ลำปาง บริหารและพัฒนาสำนักงานขนสง่ จังหวดั จนได้รบั รางวัลจากกรมการขนส่งทางบก ดังนี้ 1.1 สำนกั งานขนส่งจังหวัดลำปางได้รับรางวลั สำนกั งานดีเดน่ ระดบั ประเทศ อันดับที่หนึง่ ประจำปี 2538 1.2 สำนักงานขนส่งจังหวัดลำปาง สาขาอำเภอแจห้ ่ม ได้รบั รางวัลชมเชย ระดบั เขต ประเภทสำนกั งานขนส่งของตนเอง ประจำปี 2538 1.3 สำนักงานขนส่งจังหวัดลำปาง ได้รับรางวัลประเภทการพัฒนาดีเด่น อนั ดับที่ 2 ในการประกวดสถานีขนสง่ ผโู้ ดยสารจังหวดั ลำปาง ประจำปี 2538

2. ขณะดำรงตำแหนง่ ขนส่งจงั หวัดนครสวรรค์ บริหารและพัฒนาสำนักงาน ได้รับโล่ประกาศเกียรติคณุ จากนายกรัฐมนตรี (นายชวน หลีกภยั ) รางวัล จังหวดั ที่มีผลงานได้รบั การชมเชยในการให้บริการประชาชน ด้านการคมนาคม การขนสง่ ทางบก ทางน้ำ ประจำปี 2543 และในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2544 กรมการขนส่งทางบกได้มอบโลห่ ์แสดงความยินดีกบั สำนกั งานขนส่งจังหวัด นครสวรรค์ ในโอกาสได้รบั รางวัลชมเชยจากนายกรัฐมนตรี (นายชวน หลีกภัย) และกรมการขนส่งทางบกได้มอบแหวนทองให้ นายทวีป พลายพยัคฆ์ ขนส่ง จงั หวัดนครสวรรค์ ทีส่ ร้างชือ่ เสียงใหแ้ กก่ รมการขนส่งทางบก

บทสวดมนต์ สำหรับผู้ทส่ี นใจทจ่ี ะสวดมนต์เปน็ ประจำ วิธสี วด ให้เรม่ิ สวด ตง้ั แตบ่ ทบชู าพระรัตนตรยั , กราบพระรตั นตรยั , นมสั การพระพุทธเจา้ , ไตรสรณคมน์, (ถ้าจะสวดก็ต่อดว้ ยการ สมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ ตามต้องการ) พุทธคุณ, ธรรมคณุ , สงั ฆคณุ , พาหุงฯ, อติ ปิ โิ สเทา่ อายุเกนิ ๑ เช่น อายุ ๒๕ ให้สวด ๒๖ จบ, บทกรณีเมตตาสตู ร, ชินบญั ชรฯ, คำอธษิ ฐานจิต, ขออโหสิกรรม, แผเ่ มตตาและอุทศิ บญุ กุศล

คำบชู าพระรตั นตรยั อมิ ินา สกั กาเรนะ พุทธงั อะภิปชู ะยามิ อมิ ินา สกั กาเรนะ ธมั มงั อะภิปูชะยามิ อมิ ินา สักกาเรนะ สงั ฆัง อะภิปชู ะยามิ บทกราบพระรตั นตรยั อะระหงั สัมมาสมั พุทโธ ภะคะวา พุทธงั ภะคะวันตงั อภิวาเทมิ (กราบ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธมั มัง นะมัสสามิ (กราบ) สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงั ฆงั นะมามิ (กราบ) นมัสการพระพุทธเจา้ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ

ไตรสรณคมน์ พทุ ธัง สะระณัง คจั ฉามิ ธมั มงั สะระณงั คจั ฉามิ สังฆงั สะระณงั คัจฉามิ ทุติยัมปิ พทุ ธงั สะระณัง คัจฉามิ ทุติยมั ปิ ธัมมงั สะระณงั คจั ฉามิ ทุติยัมปิ สงั ฆงั สะระณงั คัจฉามิ ตะตยิ มั ปิ พุทธงั สะระณงั คัจฉามิ ตะตยิ ัมปิ ธัมมัง สะระณงั คัจฉามิ ตะตยิ มั ปิ สังฆัง สะระณงั คจั ฉามิ คำสมาทานศีล ๕ หรือ ๘ (ตามศรัทธา) พุทธคุณ ธรรมคณุ สังฆคุณ (คุณของพระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ)์

อติ ปิ โิ ส ภะคะวา อะระหัง สมั มา สัมพทุ โธ วิชชาจะระณะสมั ปนั โน สุคะโต โลกะวทิ ู อะนตุ ตะโร ปุริสะทมั มะสาระถิ สตั ถา เทวะมะ นสุ สานงั พุทโธ ภะคะวาติ สะวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทฏิ ฐิโก อะกาลโิ ก เอหิปสั สโิ ก โอปะนะยิโก ปจั จัตตัง เวทติ ัพโพ วญิ ญหู ีติ สปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สามีจิปะ -ฏิตปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปรุ ิสะยคุ านิ อัฏฐะปรุ ิสะ ปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหเุ นยโย ทกั ขิเณยโย อัญชะลกี ะระณีโย อะนุตตะรงั ปุญญกั เขตตัง โลกัสสาติ พุทธชยั มงคลคาถา คาถาบทพาหงุ พาหุงสะหสั สะมะภินมิ มิตะสาวธุ ันตัง ครเี มขะลงั อทุ ิตะโฆ ระสะเสนะมารัง ทานาทิธมั มะวธิ นิ า ชิตะวา มนุ นิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ

มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสพั พะรัตติง โฆรมั ปะนาฬะวะกะมักขะมะถทั ธะยกั ขัง ขันตสี ุทันตะวธิ นิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ นาฬาคิรงิ คะชะวะรงั อะติมตั ตะภตู งั ทาวัคคิจกั กะมะสะนีวะ สทุ ารณุ ันตัง เมตตมั พเุ สกะวธิ ินา ชิตะวา มนุ นิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ อกุ ขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารณุ นั ตงั ธาวนั ติโยชะนะปะถงั คุลิมาละวนั ตงั อทิ ธภี ิสงั ขะตะมะโน ชิตะวา มนุ นิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรงั อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทฏุ ฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ สนั เตนะ โสมะวิธินา ชติ ะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ สจั จัง วิหายะ มะติสจั จะกาวาทะเกตงุ วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตงั ปญั ญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

นันโทปะนนั ทะภุชะคงั วิพุธัง มะหิทธงิ ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยนั โต อทิ ธปู ะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ทคุ คาหะทฏิ ฐิภุชะเคนะ สทุ ฏั ฐะหตั ถงั พรัหมัง วิสทุ ธชิ ุตมิ ิทธพิ ะกาภิธานงั ญาณาคะเทนะ วิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอฉั ฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทเิ น สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวธิ านิ จุปัททะวานิ โมกขงั สขุ งั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ มหาการณุ ิโก มหาการณุ ิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปเู รตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธมิ ุตตะมงั เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง ฯ ชะยันโต โพธยิ า มูเล สักยานงั นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยสั สุ ชะยะมงั คะเล อะปะราชติ ะปัลลังเก สเี ส ปะฐะวิโปกขะเร

อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อคั คัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ สุนกั ขตั ตัง สุมงั คะลงั สุปะภาตัง สหุ ฏุ ฐิตงั สขุ ะโณ สมุ หุ ุตโต จะ สุยิฏฐงั พรหั มะจารสิ ุ ปะทกั ขิณัง กายะกมั มัง วาจากัมมัง ปะทกั ขณิ งั ปะทักขิณงั มะโนกมั มัง ปะณิธี เต ปะทักขณิ า ปะทักขณิ านิ กัตวานะ ละภนั ตัตเถ ปะทักขเิ ณ ฯ ภะวะตุ สพั พะมงั คะลัง รกั ขนั ตุ สัพพะเทวะตา สพั พะพุทธานุภาเว นะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ภะวะตุ สพั พะมงั คะลัง รักขนั ตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเว นะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขนั ตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเว นะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ อิติปิ โส เทา่ อายบุ วกดว้ ย ๑ จบ อติ ปิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนั โน สคุ ะโต โลกะวทิ ู อะนุตตะโร ปุรสิ สะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะ มนสุ สานัง พุทโธ ภะคะวาติ

กะระณียะเมตตะสุตตัง เมตตญั จะ สพั พะโลกสั ม๎ ิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อทุ ธงั อะโธ จะ ตริ ิยญั จะ อะสัมพาธัง อะเวรงั อะสะปตั ตัง ตฏิ ฐัญจะรัง นสิ ินโน วา สะยาโน วา ยาวะตสั สะ วิคะตะมิทโธ เอตัง สะติง อะธฏิ เฐยยะ พ๎รหั ม๎ ะเมตงั วิหารงั อิธะมาหุ ทฏิ ฐิญจะ อะนปุ ะคัมมะ สลี ะวา ทัสสะเนนะ สมั ปนั โน กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยงั ปุนะเรตตี ฯิ พระคาถาชนิ บญั ชร เพ่อื ให้เกิดอานภุ าพมากยิ่งข้นึ กอ่ นเจริญภาวนา ตงั้ นะโม ๓ จบ กอ่ นแลว้ นอ้ มระลกึ ถึงพระรัตนตรัย และบชู าสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรห์มรงั สี) แล้วตั้งจิตอธษิ ฐาน ว่า ปตุ ตะกาโม ละเภปตุ ตงั ธะนะกาโม ละเภธะนัง อตั ถิกาเย กายะ ญายะ เทวานงั ปิยะตงั สุตตะวา อติ ปิ โิ สภะคะวา ยะมะราชาโน ทา้ วเวสสวุ ัณโณ มรณงั สขุ ัง อะระหงั สุคะโต นะโมพทุ ธายะ (แล้วจงึ เจรญิ ภาวนา)

ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารงั สะวาหะนัง จะตสุ ัจจาสะภัง ระสัง เย ปวิ ิงสุ นะราสะภา. ตณั หังกะราทะโย พทุ ธา อฏั ฐะวสี ะติ นายะกา สพั เพ ปะตฏิ ฐิตา มยั หัง มตั ถะเกเต มนุ ิสสะรา. สเี ส ปะตฏิ ฐิโต มยั หงั พทุ โธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะตฏิ ฐิโต มยั หงั อเุ ร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปตุ โต จะทักขเิ ณ โกณฑัญโญ ปฏิ ฐิภาคสั มิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสันเต ปฏิ ฐิภาคสั มิง สรุ ิโย วะ ปะภงั กะโร นสิ นิ โน สิรสิ มั ปนั โน โสภิโต มุนปิ งุ คะโว กุมาระกสั สโป เถโร มะเหสี จติ ตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะตฏิ ฐาสิคุณากะโร. ปณุ โณ องั คลุ มิ าโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปญั จะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.

เสสาสีติ มะหาเถรา วิชติ า ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สลี ะเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐติ า. ระตะนงั ปรุ ะโต อาสิ ทกั ขิเณ เมตตะ สตุ ตะกงั ธะชัคคงั ปจั ฉะโต อาสิ วาเม องั คลุ ิมาละกงั ขนั ธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกงั อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสณั ฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตปั ปาการะ ลงั กะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌตั ตุปทั ทะวา. อะเสสา วนิ ะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพทุ ธะปัญชะเร. ชินะปญั ชะระมชั ฌมั หิ วิหะรนั ตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มงั สัพเพ เต มะหาปุรสิ าสะภา. อจิ เจวะมนั โต สุคตุ โต สุรกั โข ชินานภุ าเวนะ ชิตปุ ทั ทะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานภุ าเวนะ ชิตันตะราโย สทั ธมั มานุภาวะปาลโิ ต จะรามิ ชินะ ปญั ชะเรต.ิ

คำตัง้ จิตอธิษฐาน ขา้ พเจ้าขอต้ังจิตอธิษฐาน ดว้ ยอำนาจแห่งบุญกศุ ลทีเ่ กิดจากการ เจริญภาวนานี้ จงเป็นพลวะปจั จัย เป็นนิสัยตามสง่ ให้ขา้ พเจ้าเกิด ความสุข ความเจริญ และเกดิ ปัญญาญาณ ทั้งในชาตินี้ ชาตหิ น้า ตลอดชาติอยา่ งยิง่ จนบรรลุถึงพระนพิ พาน ในอนาคตกาลนนั้ เทอญ คำอโหสิกรรม ขา้ พเจ้าของดโทษ และขออโหสิกรรม กรรมใดที่ทำแก่ผู้ใด ในชาติ ใดๆ กต็ าม ขอให้เจ้ากรรมและนายเวร จงอโหสิกรรม ให้กบั ข้าพเจา้ อย่าไดจ้ องเวรจองกรรมต่อไปเลย แม้แตก่ รรมที่ใครๆ ไดท้ ำกับ ขา้ พเจ้าก็ตาม ข้าพเจา้ ขออโหสกิ รรมให้ท้ังส้ิน และขอยกถวาย พระพทุ ธเจ้า เปน็ อภยั ทาน เพอ่ื จะได้ไม่มีเวรกรรมตอ่ ไป ด้วยอานิสงส์ แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ขา้ พเจา้ และครอบครัว บุตรหลาน ตลอดจนวงศา คณาญาติ และผู้มีอปุ การคณุ ของข้าพเจ้า จงมีความสขุ ความเจริญ ปฏิบัติแต่สิ่งทด่ี ี และสิง่ ท่ีชอบดว้ ยเทอญ.

บทแผเ่ มตตาใหแ้ ก่ตนเอง อะหัง สขุ ิโต โหมิ ขอให้ขา้ พเจ้ามีความสุข นทิ ทุกโข โหมิ ปราศจากความทกุ ข์ อะเวโร โหมิ ปราศจากเวร อพั ยาปัชโฌ โหมิ ปราศจากอุปสรรคอันตรายท้ังปวง อะนโี ฆ โหมิ ปราศจากความทกุ ขก์ ายทกุ ใจ สขุ ี อตั ตานงั ปะริหะรามิ จงมีความสขุ กาย สขุ ใจ รกั ษาตนให้พ้นจาก ทกุ ขภ์ ัยทงั้ สิน้ เถิด บทแผ่เมตตาใหส้ รรพสตั ว์ สัพเพ สัตตา สตั วท์ งั้ หลายทีเ่ ป็นเพื่อนทกุ ขเ์ กดิ แก่เจบ็ ตายด้วยกนั ทง้ั หมดท้ังส้ิน อะเวรา โหนตุ จงเป็นสขุ เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรตอ่ กนั และกันเลย อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสขุ เปน็ สุขเถิด อย่าได้เบยี ดเบยี น ซึ่งกนั และกนั เลย

อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเปน็ สุขเถิด อย่าได้มีความทุกขก์ ายทกุ ข์ใจเลย สขุ ี อตั ตานงั ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกาย สขุ ใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทง้ั สิน้ เถิด บทแผส่ ว่ นกุศล อทิ งั เม มาตาปิตูนงั โหตุ สขุ ิตา โหนตุ มาตาปิตะโร ขอสว่ นบุญนจี้ งสำเร็จแกบ่ ิดามารดาของขา้ พเจ้า ขอให้บดิ ามารดา ของข้าพเจ้ามีความสขุ อทิ งั เม ญาตนี ัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอส่วนบุญนีจ้ งสำเรจ็ แก่ญาติท้ังหลายของข้าพเจา้ ขอให้ญาติ ทง้ั หลายของขา้ พเจ้ามีความสขุ อทิ งั เม ครุ ปู ชั ฌายาจริยานัง โหตุ สขุ ิตา โหนตุ ครุ ูปชั ฌายา จริยา ขอส่วนบุญนีจ้ งสำเรจ็ แก่ครอู ุปชั ฌายอ์ าจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครู อปุ ชั ฌายอ์ าจารยข์ องขา้ พเจา้ มีความสุข

อทิ ัง สพั พะเทวะตานงั โหตุ สุขิตา โหนตุ สพั เพ เทวา ขอส่วนบุญนีจ้ งสำเร็จแกเ่ ทวดาทง้ั หลายทั้งปวง ขอให้เทวดา ทง้ั หลายทั้งปวงมีความสขุ อทิ งั สพั พะเปตานงั โหตุ สุขิตา โหนตุ สพั เพ เปตา ขอสว่ นบุญนจี้ งสำเรจ็ แกเ่ ปรตทงั้ หลายท้ังปวง ขอให้เปรตทงั้ หลาย ทงั้ ปวงมีความสขุ อทิ ัง สพั พะเวรีนงั โหตุ สขุ ิตา โหนตุ สพั เพ เวรี ขอสว่ นบุญนีจ้ งสำเรจ็ แก่เจ้ากรรมนายเวรท้ังหลายทั้งปวง ขอให้เจ้า กรรมนายเวรทั้งหลายท้ังปวงมีความสขุ อทิ งั สัพพะสัตตานงั โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา ขอส่วนบุญนจี้ งสำเรจ็ แกส่ ัตว์ทงั้ หลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ท้ังหลายทง้ั ปวงมีความสุขทว่ั หนา้ กันเทอญ

พระธรรมคำสอนของพระธรรมสงิ หบุราจารย์ (หลวงพ่อจรญั ) พระทา่ นสอนว่า กิจโฉ มนุสสปฎิลาโภ การเกิดเป็นมนุษยแ์ สนจะยาก ยิง่ มหี น้าตาดียิ่งหายากที่สดุ บางคน มศี ลี มาไมค่ รบ เกิดมา ขรี้ วิ้ ขีเ้ หรบ่ างคนเกิดมาง่อยเปลีย้ เสียขา บางคนตาบอดหหู นวก บางคนแถมยัง ปัญญาอ่อน บางคนเปน็ อัมพาต บางคนมมี า ทานดี แต่ชาติกอ่ น กม็ าเกิดเป็น ลูกมหาเศรษฐีม่ังมศี รีสุข แตเ่ มือ่ ชาตกิ อ่ นเขาได้ทำการเบียดเบียนสตั ว์มา ชาตนิ ี้ จงึ สามวนั ดีสว่ี นั ไข้ มีเงินกช็ ่วยไมไ่ ด้ บางคน ไมไ่ ด้สร้างเหตแุ ห่งปัญญามา ถึง เกิดเป็นลูกเศรษฐี เงนิ กช็ ่วยซอื้ วิชาไม่ได้ บางคนบ้านใหญบ่ ้านโตราวกับวัง แต่ กินข้าวกบั น้ำตาไม่เว้นแต่ละวัน สร้างกรรม เราเปน็ คนทำ เราต้องเป็นคนแก้ จะไปให้คนอ่ืนแก้ไมไ่ ด้ การเจรญิ กรรมฐาน ทำให้รู้กฎแหง่ กรรมว่าเราเคยทำอะไรไว้จะได้แก้กรรม (ชดใช้กรรม) ของตัวเอง ไม่ใช่คนอื่นแก้ให้ เราไปขอยืมเงินของเขามา แล้วให้คน อื่นรบั ใช้มนั จะถูกต้องไหม คงจะไมย่ ตุ ิธรรมกระมัง กฎแห่งกรรมนะ ทา่ น ทั้งหลาย บางคนด่ากันว่ากัน พ่อบางคน เตะลกู ท้ังรองเท้า เป็นเวรกรรมเจริญ กรรมฐานไมไ่ ด้หรอก ต้องอโหสิกรรมกันก่อน บางคนด่าสามีทำกรรมฐานไม่ ได้ผล เพราะไมไ่ ด้อโหสิกรรมก่อน บางคนคิดไมด่ ีกบั พอ่ คิดไม่ดีกับแม่ ไม่ต้อง ทำกรรมฐานนะ ไมไ่ ด้ผลถ้าไม่อโหสิกรรมก่อนไม่ได้ผล เหมอื นเราไปแจง้ ความ ที่โรงพัก ถ้าไม่ถอนแจ้งความ มนั ก็มีความผดิ ตอ่ ไป เปน็ กฎแหง่ กรรมนะ เรา ต้องถอนเราไปพดู ด่าเขา ก็อโหสิกรรมถอนคำพูดออกจากการด่าเขาเสีย ถึงจะ ไมม่ ีเวรกรรมตดิ ตวั ไป อันนี้มีประโยชน์มาก ผทู้ ี่เจรญิ กรรมฐานถึงจะรู้ได้ ขอ

เจริญพรวา่ การแผส่ ว่ นกุศล หรือแผ่เมตตาแก้กรรม จะแก้บทใดอยา่ พูดเรือ่ ง นั้น อย่าไปด่าไปวา่ จะไม่มีทางแก้ไขได้ จะเป็นการหยิบเล็บเจ็บเนื้อ จะเหลือวิสัย วิธีแก้กรรม อยา่ ไปผูกใจเจ็บ ให้อโหสิกรรมเสียกจ็ ะเป็นสุขทุกฝา่ ย คำว่า ตัวกรรมเห็นชดั คือ เวทนา ถ้าเรานง่ั เม่ือยแล้วเลิก เดินจงกรม เมื่อยแลว้ เลิก รบั รองทำอีกหม่นื ปี กไ็ ม่พบกฎแห่งกรรม จากการกระทำของคน ไมพ่ บแน่ ขอฝากปรารภธรรมไว้ในข้อน้ี กรรมคร้ังอดตี น้ัน ต้องแก้ด้วยการเจรญิ ทกุ ขเวทนา มเี วทนาแล้วตอ้ งสู้ เวทนาจะ เกิดข้ึน ตั้งอย่แู ล้วดับไป เราจะรู้ว่าเราทำกรรมอะไรไว้ กรรมปจั จุบนั แก้ด้วยการกำหนดทางอายตนะ ธาตอุ นิ ทรีย์ หน้าทีก่ าร งาน ให้มนั ดับไป อยา่ มาติดใจและข้องอยู่ แต่ประการใด ไฟราคะ โทสะ โมหะ กจ็ บไมล่ ุกลามไปจนถึงอนาคต บญุ กับบาป ลบล้างกนั ไม่ได้ บญุ กอ็ ย่สู ว่ นบุญ บาปกอ็ ยสู่ ่วนบาป เปรียบเหมอื นน้ำกบั น้ำมัน หากเราสร้างกรรมดี สร้างบุญกศุ ลให้มากเข้าไว้ แม้ บุญกุศลจะไมส่ ามารถล้างกรรมชว่ั ได้ แตห่ ากบาปกรรมช่ัวมีนอ้ ย กจ็ ะยงั ตาม ไมท่ ัน เพราะกุศลบารมีมีมากกว่า เมื่อเราสร้างบญุ กุศลเปน็ บารมมี ากขึ้น เราก็ แผ่สว่ นกุศล ให้เจ้ากรรมนายเวร สรา้ งบุญกศุ ลคร้ังใด กอ็ ทุ ิศทุกคร้ังไป หาก กรรมชว่ั เรามีน้อยก็จะจางไป เพราะสว่ นกุศลทีเ่ ราอทุ ิศจะชดใช้หนีก้ รรมไปใน ตวั เม่อื เราสร้างบุญกุศลมากขึน้ กรรมช่วั ถึงไม่จางก็ค่อยหา่ งออกไป ยังตามไม่ ทัน แต่หากหยดุ สร้างบญุ กุศลและหันมาสร้างกรรมชวั่ สร้างบาปตอ่ ไป กรรมชวั่ ก็จะเข้าใกล้ ติดตามมาทันสนองเรว็ ขึน้ หากเปน็ กรรมหนักกย็ ากทีจ่ ะหลบหลีก ให้พ้นได้ แม้จะสร้างกรรมดีเพียงใดกต็ าม ก็ต้องรบั กรรมหนักชาติน้ไี ปกอ่ น

จนกว่าจะหมดเวร สว่ นกรรมดีกจ็ ะสนองภายหลงั หรอื ชาติหน้า หรอื เมื่อใช้หนี้ อกุศลกรรมหมดแล้ว (เรือ่ งนีห้ ลวงพอ่ ได้เล่าเปรียบเทียบไว้นา่ ฟงั เป็นอีกเหตผุ ลหน่งึ ว่าเหมอื น เราไปยืมสตางค์เขามาแล้วไม่ใช้ กค็ ือเปน็ หน้ีเขาต้องชดใช้ทั้งดอกและต้น เรา อาจขอทำงานรบั ใช้เขา เพือ่ ลดดอก เม่อื เขาเหน็ ความดีเรามากเข้า เขาอาจไม่ คิดดอก อดทนทำความดีให้เจ้าหน้ีเห็นยิง่ ๆขึน้ เขาอาจยกหนีใ้ ห้หมดเลย : ผู้ รวบรวม) คนทีเ่ ป็นหนี้ (กรรม) เขา ยังใช้หนี้ (กรรม) ไม่หมด สร้างความดไี ม่ขึ้น หากินไมข่ ึ้น บางคนค้าขายร่ำรวยจรงิ แต่เก็บเงินไม่อยู่ ทำอยา่ งไรกไ็ ม่อยู่ ไมร่ ู้ ออกไปทางไหนหมด อาตมาก็ดใู ห้ บอกให้มานง่ั กรรมฐาน แก้กรรมน้ีเสีย กไ็ ด้ ความว่า สรา้ งเวร สร้างกรรม มามาก ยงั ใชไ้ ม่หมด พอใช้เวรใช้กรรมหมดก็ อโหสิกรรมแผเ่ มตตา บำเพ็ญกศุ ลเรียบร้อย ทีน้ีเกบ็ เงินอยูล่ ะ เป็นเศรษฐีได้น่ี กลายเปน็ คนมีเงนิ มที องไปแล้ว น่แี หละ ใช้หน้ีใครไม่หมด ไมเ่ จริญหรอก ทำมา หากินไม่ขึ้น ขอฝากไว้สั้นๆ ท่านท้ังหลายเอ๋ย ทีเ่ ราสร้างบญุ สร้างบาปกันมานี่แหละ พ่อแมส่ ร้าง ความไม่ดีให้กับลกู ทำความไมถ่ ูกใหก้ ับหลาน เวรกรรมกจ็ ะโอนให้ลูกของตน ถ้าพอ่ มบี ญุ แม่มีบุญได้เจริญกรรมฐาน ลกู ออกมากจ็ ะมีบญุ วาสนาด้วย ถ้าพอ่ มีเวร แม่ซ้ำมีเวร สร้างเวรสร้างกรรมร่วมกนั มา ลูกจะมีสมองดีไมไ่ ด้ เสียจริต ผดิ มนษุ ย์ ไม่สามารถจะสอนให้เขาดไี ด้ อย่างทีพ่ ระพุทธเจา้ สอนไว้ ที่เราสวด มนต์กันว่า “กัมมทายาโท กัมมโยนิ กัมมพนั ธุ กมั มปฎิสรโน ยัง กมั มังกริสสามิ กลั ปย์ าณังวาปาปะกงั วา”

คนที่มบี ญุ วาสนา จะกตญั ญพู ่อแม่ คนเถียงพอเถียงแม่เอาดไี มไ่ ด้ คน ไม่พูดกบั พอ่ แม่ น่งั กรรมฐานรอ้ ยปี กไ็ มไ่ ด้อะไร? ถ้าไม่ขออโหสิกรรม ขออโหสิกรรม ที่คิดไมด่ ีกบั พ่อแม่ คิดไม่ดีกับครูบาอาจารย์ คิดไมด่ ีกับ พีๆ่ น้องๆ จะไมเ่ อาอีกแล้ว เอาน้ำไปขนั หน่งึ เอาดอกมะลิโรย กายกมั มงั วจีกัมมงั มโนกัมมัง โยโทโส อนั ว่าโทษทณั ฑ์ใด ความผิดพลาดอนั ใด ที่ข้าพเจ้า พลั้งเผลอสติไป ดว้ ยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจกด็ ี ทั้งตอ่ หนา้ และลับหลงั ขอให้คณุ พอ่ คณุ แม่ คณุ ปคู่ ุณยา่ คณุ ตาคณุ ยาย คณุ พี่คณุ น้อง อโหสิกรรมให้ ด้วย แลว้ เอาน้ำรดมอื รดเท้า นี่แหละท่านทั้งหลาย เปน็ หนีบ้ ุญคุณพ่อแม่มากมาย ยังจะไปทวงนา ทวงไร่ ทวงตกึ มาเป็นของเราอีกหรอื ตวั เองกพ็ ึง่ ตวั เองไม่ได้สอนตัวเองไมไ่ ด้ เปน็ คนอัปรียจ์ ัญไรในโลกมนษุ ย์ ไปทวงหน้พี อ่ แม่ พ่อแมใ่ ห้แล้ว (ใหช้ ีวิต ให.้ .. ให้... ให้... ฯลฯ) เรยี นสำเร็จแล้ว ยังช่วยตวั เองไมไ่ ด้ มีหนีต้ ิดค้าง รับรองทำมา หากินไม่ขึ้นฯ หน้บี ุญคณุ อันยิง่ ใหญ่ เหลอื จะนบั ประมาณน้ัน คือหน้ีบญุ คณุ ของบิดา มารดาฯ การอุทิศส่วนกศุ ลใหบ้ รรพบุรุษ บิดามารดาชาติเก่าอีกครั้งอดตี กม็ ี โอกาสมารับส่วนบุญกศุ ลด้วย เรามบี ิดามารดา มาหลายชาติ หลายกัปหลาย กลั ป์ มาชาติน้กี ม็ ิทราบได้วา่ ใครเปน็ บิดามารดาของเรา พระเกจอิ าจารย์ท่าน เลา่ สบื มา บางที บิดามารดา ญาติวงศพ์ งศามาเกิด เป็นสนุ ขั เป็นวัว เปน็ ควาย ฯลฯ เราก็หารู้ไม่ เพราะล้มหายตายจากไปหลายชาติ หลวงพอ่ ยกตวั อยา่ ง ชาย หนมุ่ จากจังหวัดปัตตานีขึน้ ไป รบั จ้างทำไร่ไถนาที่จงั หวัดพิจติ ร ได้พบครอบครวั

ทีใ่ นอดีตชาติเขาเคยเปน็ พ่อบ้านของครอบครัวนี้ และเมื่อลูกหลานบ้านนี้ทำบุญ ให้บรรพบุรษุ ครั้งไร กร็ ู้สึกอิ่มท้องตลอดท้ังวนั ท้ังคืนฯ (จากหนงั สอื อนุสาสนีปาฏิหาริย)์ ถ้าโยมทำบุญได้บุญ น่งั เจริญกรรมฐานได้ที่ มีคนมาขอสว่ นบุญนะ ค้าขายไมไ่ ด้เลยไมม่ ีใครมาทวงหน้ี ยิง่ ขายดิบขายดี ยิ่งมีคนมาทวงหน้ี คือกฎ แห่งกรรม ต้องมีเร่อื ง มเี หตุอิจฉา มาน่ังกรรมฐาน ถ้ามีบญุ วาสนาเดี๋ยวก็มี เปรตมาขอส่วนบญุ (ตวั อยา่ งที่วดั นีม้ ีมาก แตท่ ีห่ ลวงพอ่ พูดถึงบ่อยๆ คอื พระเฟือ่ ง เคยเป็นพระลูกที่ วดั นี่ ตายแล้วเปน็ เปรตอยู่ในวดั ไม่ไปผุดไปเกิด ได้มาปรากฎกาย เพื่อขอสว่ น บุญกับแพทย์หญิงบุญเยีย่ ม ผู้ซึ่งมานั่งกรรมฐานแล้วได้ผล : ผู้รวบรวม) วิธีสร้างความดีน้ไี ม่ใช่สร้างได้ทกุ คนนะ ทำได้ยากมาก เหตุผลอย่างไร เรียกวา่ ทำได้ยาก เพราะมีศัตรใู นใจ ศตั รูในใจมันมาปิดบังอำพรางบญุ มีแต่ กรรมบัง มันไม่อย่างใหส้ ร้างความดี มันมาแย้งกยั เราคือศตั รูในใจ พระเอก นางเอก ต้องลำบากที่สดุ จนชีวติ หาไม่ แต่ตวั โกง ตัวเฉฉวน ชวนใหเ้ ราหลง งง ในโมหะ มันบอกเราว่า อยบ่าทำกรรมฐานเมือ่ ยเปลา่ ๆ ไมเ่ กิดประโยชน์ นี่แห ลพศตั รมู ารทั้งหลายมากระซิบ นัง่ ทำไม มนั เมอ่ื ย ขบไปหมด มาทรมานกายไม่ ดีเลย นีศ่ ัตรใู ชไ่ หม เรือ่ งจรงิ ที่พิสูจนแ์ ล้ว คอื อานิสงคข์ องการทำบุญตกั บาตรแลว้ สวดมนต์ ทุกวัน แม้จะยากจนเขญ็ ใจก็ทำเท่าทีท่ ำได้แม้เพียงนอ้ ยนิด ขอให้ทำด้วยความ ศรัทธา ทำดว้ ยความตงั้ ใจ ทำแล้วก็ช่นื ใจ เรอื กสวนไร่นา ก็ใหผ้ ลงอกงามดี นี่

คือเร่อื งจริงของตาแป๊ะกบั ยายซิม้ นานมาแล้ว ในขณะทีค่ นในระแวกน้ันไม่มีใคร สนใจทำบุญไหว้พระสวดมนต์ ปรากฏว่าสองคนผวั เมียคนู่ ีก้ ลับดีวนั ดีคนื ก็ยิง่ มนั่ ใจในพระพุทธศาสนามากยิง่ ขึน้ เวลานิมนตพ์ ระมาทีบ่ ้าน หลังจากจดั สำรบั พระสงคฆ์แล้ว แกถวายอาหารพระพุทธเป็นหมอ้ ๆ เลย แกบอกวา่ ลูกศษิ ย์ พระพทุ ธเจ้าเยอะ ซึง่ ก็จรงิ ดงั แกว่า ชาวบ้านมาตักกับข้าวไปหมด แล้วแกก็ สาธๆุ ๆ ขนมเข่งหลังจากทำบญุ แลว้ แกก็แจกหวั บ้านท้ายบ้าน ทำบุญแล้วตอ้ ง ให้ทานต่อ อย่าหวง ทำบญุ แล้วให้ทาน รวย ทำบญุ แล้วไม่ให้ทาน จน เราจงึ เรียกวา่ “ทำบุญสนุ ทาน” ทา่ นสาธชุ นทั้งหลาย การจะแผเ่ มตตาสร้างความดี ให้มีกำไรชวี ิตแล้ว ท่านจะไม่มีอุปสรรค จักต้องทำแบบนี้ อย่าไปริษยาเขา อยา่ ไปผกู พยาบาท ฆาตพยาเวร เวรยอ่ มระงบั ด้วยการไมจ่ องเวร อยา่ งน้ีจะถกู นะ บาปยอ่ มระงบั ด้วยการไม่สร้างบาป ความดีมบี ญุ ต้องต่อคณุ ประโยชน์ เมอ่ื เปน็ พระใจ ประเสริฐแล้ว รับรองได้เลยวา่ ทา่ นทำงานไม่มีอุปสรรค จะไม่มีอะไรขดั ขวาง ระหว่างทางดว้ ย (จากหนังสอื ใบไม้ในกำมือ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook