Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 2

เล่มที่ 2

Published by thanatchapron.2520, 2023-06-16 06:39:04

Description: เล่มที่ 2

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ผจู้ ดั ทำได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าการใชห้ อ้ งสมุด ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยได้ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานจากบันทึกผลหลังสอน ซ่ึงผู้จัดทำได้ระบุไว้หลังจากสอนจบ แต่ละครั้ง รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่พบและได้จัดทำเอกสารประกอบการเรียนเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยได้ศึกษา คน้ ควา้ เอกสารจากตำราหลายเล่ม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำเอกสารประกอบการเรยี นครั้งน้ี ไดศ้ ึกษาหลัก จิตวิทยาการเรียนรู้เพื่อให้เป็นเอกสารประกอบการเรียนท่ีน่าสนใจเหมาะสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นอกจากนี้ยังสามารถใช้เอกสารประกอบการเรียนนี้กับนักเรียนท่ีเรียนช้า ขาดเรียน ซ่ึงจะช่วยแบ่งเบาภาระ ของครูผู้สอนได้มาก นักเรียนสามารถนำความรจู้ ากเนื้อหาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และยังสามารถแนะนำ คนอื่น ๆ ไดอ้ ีกด้วย ซึง่ มีจำนวนทั้งหมด 8 เล่มดังนี้ เล่มท่ี 1 ห้องสมุดนา่ รู้ เลม่ ท่ี 2 วสั ดสุ ารนิเทศ เล่มท่ี 3 หนงั สอื และการระวังรักษาหนังสอื เลม่ ที่ 4 การจัดหมวดหมูห่ นงั สอื เลม่ ท่ี 5 การเขียนรายงานการคน้ คว้าและบรรณานุกรม เล่มที่ 6 หนังสอื อา้ งองิ ประเภทต่างๆและวิธีใช้ เลม่ ท่ี 7 การเลอื กอา่ นหนงั สอื ประเภทต่างๆ และบันทึกการอา่ น เลม่ ท่ี 8 การสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศจากฐานขอ้ มลู หอ้ งสมุด อินเตอร์เนต็ และอ่นื ๆ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการเรียนท่ีสร้างข้ึนนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ ประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางสำหรับผู้สนใจท่ีจะจัดทำเอกสารประกอบ การเรียนต่อไป ขอขอบคุณผู้อำนวยการโรงเรียนท่ีให้การสนับสนุนเสมอมา ขอบขอบคุณผู้เชี่ยวชาญที่ให้ ความกรุณาตรวจเอกสารประกอบการเรียน และให้ข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์อย่างยิ่งผู้จัดทำขอขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้ ธนชั พร ยันตะพนั ธ์

สารบัญ หน้า ข ก คำนำ ข สารบัญ ง สารบญั ภาพประกอบ 1 คำชแ้ี จงการใช้เอกสารประกอบการเรียน 3 ผลการเรียนรู้ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 วสั ดุสารนเิ ทศ 5 5 1.ความหมายของวสั ดุสารนเิ ทศ 6 2.ประโยชนข์ องวสั ดสุ ารนิเทศ 6 3.ประเภทของวัสดสุ ารนิเทศ 7 12 -วัสดุสารนิเทศประเภทวสั ดุตีพิมพ์ 12 -วัสดุสารนิเทศประเภทวสั ดุไมต่ ีพมิ พ์ 13 วสั ดุตพี มิ พ์ประเภทหนังสอื 19 1.ความสำคญั ของหนงั สือ 20 2.ส่วนตา่ งๆของหนังสอื 20 3.ประโยชน์ของหนงั สอื 21 วสั ดุตีพมิ พ์ประเภทวารสาร 22 1.ประเภทของวารสาร 23 2.สว่ นต่างๆของวารสาร 23 3.ประโยชน์ของวารสาร 24 วสั ดุตพี มิ พ์ประเภทหนังสอื พมิ พ์ 25 1.ความเป็นมาของหนงั สอื พิมพ์ 27 2.ประเภทของหนงั สือพมิ พ์ 27 3.สว่ นตา่ งๆ ของหนงั สือพิมพ์ 28 4.หนา้ ท่ขี องหนงั สือพิมพ์ 28 5.ประโยชน์ของหนงั สือพมิ พ์ 28 วสั ดตุ ีพิมพ์ประเภทจลุ สาร 29 1.วตั ถปุ ระสงค์ในการทำจุลสาร 29 2.รูปเล่มและเนือ้ หาของจุลสาร 3.ลกั ษณะสำคัญของจลุ สาร 4.ประโยชนข์ องจลุ สาร

สารบัญ (ตอ่ ) ค วัสดุตีพิมพ์ประเภทกฤตภาค 30 1.สิง่ พิมพท์ ่ใี ช้ในการทำกฤตภาค 30 2.ส่ิงทีค่ วรเกบ็ เพ่ือจดั ทำกฤตภาค 31 3.การเลือกขอ้ ความทำกฤตภาค 31 4.อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการทำกฤตภาค 31 5.การทำกฤตภาค 32 34 แบบฝกึ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมท่ี 3 35 แบบฝึกปฏบิ ัตกิ จิ กรรมที่ 4 36 แบบทดสอบหลงั เรยี น 37 บรรณานกุ รม 40 ภาคผนวก 41 43 เฉลยแบบฝึกปฏบิ ัติกิจกรรมท่ี 3 45 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบฝึกปฏิบตั ิกจิ กรรมท่ี 3 46 เฉลยแบบฝึกปฏบิ ัติกจิ กรรมท่ี 4 47 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 48 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 49 แบบสรปุ คะแนน กระดาษคำตอบ

สารบญั ภาพประกอบ ง ภาพท่ี หนา้ ภาพท่ี 1 วทิ ยุ 7 ภาพท่ี 2 แผ่นเสยี ง 7 ภาพที่ 3 หนุ่ จำลอง 7 ภาพที่ 4 ลูกโลก 7 ภาพท่ี 5 โทรทัศน์ 8 ภาพท่ี 6 ฟิล์มภาพยนตร์ 8 ภาพที่ 7 ไมโครฟิล์ม 8 ภาพที่ 8 ไมโครฟิล์ม 8 ภาพที่ 9 ไมโครฟชิ 9 ภาพท่ี 10 เครอื่ งอ่านไมโครฟชิ 9 ภาพท่ี 11 คอมพวิ เตอร์ 9 ภาพท่ี 12 ฐานขอ้ มลู อนิ เตอร์เน็ต 10 ภาพท่ี 13 ฐานขอ้ มูลซีดรี อม 10 ภาพที่ 14 ฐานข้อมลู ซีดีรอม 10 ภาพที่ 15 ฐานขอ้ มูลทรัพยากรห้องสมดุ 11 ภาพท่ี 16 วีดิทศั น์ 11 ภาพท่ี 17 วีดิทศั น์ 11 ภาพที่ 18 ใบหมุ้ ปก 13 ภาพท่ี 19 ปกหนงั สอื 13 ภาพที่ 20 สนั หนงั สือ 14 ภาพที่ 21 ใบรองปกหรอื ใบยดึ ปก 14 ภาพท่ี 22 หน้าช่ือเร่ือง 14 ภาพท่ี 23 หนา้ ปกใน 15 ภาพที่ 24 หนา้ ลิขสิทธิ์ 15 ภาพที่ 25 หน้าคำนำ 15 ภาพที่ 26 หนา้ สารบญั 16 ภาพท่ี 27 หน้าเน้อื หา 16 ภาพที่ 28 เชงิ อรรถ 17 ภาพที่ 29 บรรณานุกรม 17

สารบัญภาพประกอบ (ต่อ) จ ภาพท่ี หนา้ ภาพท่ี 30 หนา้ ภาคผนวก ภาพท่ี 31 คำอภธิ านศพั ท์ 18 ภาพท่ี 32 หน้าดชั นี 18 ภาพท่ี 33 ปกวารสาร 18 ภาพที่ 34 ปกวารสารวชิ าการ 20 ภาพที่ 35 ปกวารสาร 20 ภาพท่ี 36 หนา้ สารบญั 21 ภาพที่ 37 บทความวารสาร 21 ภาพที่ 38 หน้าโฆษณา 21 ภาพที่ 39 หนังสือพิมพ์ 22 ภาพที่ 40 หนงั สือพมิ พไ์ ทยรฐั 23 ภาพท่ี 41 หนังสือพิมพเ์ ดลนิ ิวส์ 24 ภาพท่ี 42 มติชนสุดสปั ดาห์ 24 ภาพที่ 43 พาดหัวข่าว 24 ภาพท่ี 44 เนอ้ื หาข่าว 25 ภาพท่ี 45 ภาพประกอบ 25 ภาพท่ี 46 โฆษณาในหนังสอื พิมพ์ 26 ภาพที่ 47 จุลสาร 26 ภาพที่ 48 รปู เลม่ หรือเนอ้ื หาของจุลสาร 28 ภาพที่ 49 ปกจลุ สาร 28 ภาพท่ี 50 กฤตภาคจากหนังสอื พมิ พ์ 29 ภาพที่ 51 ข่าวสำหรับทำกฤตภาคจากหนงั สอื พมิ พ์ 30 ภาพท่ี 52-53 กิจกรรมสง่ เสริมอา่ นหนงั สอื พมิ พแ์ ละการทำกฤตภาค 31 ภาพที่ 54 ผลงานนกั เรียนการทำกฤตภาคจากหนงั สอื พิมพ์ 32 33

1 คำชแ้ี จงการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน 1. คำช้ีแจงสำหรบั ครูผสู้ อน 1.1 เอกสารประกอบการเรียน ชุด การศกึ ษาค้นควา้ โดยใชห้ อ้ งสมดุ และแหล่งเรียนรู้เลม่ นใ้ี ช้เปน็ เอกสาร ประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี น การสอนรายวชิ าการใช้หอ้ งสมุด ท 20201 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 1.2 แนะนำเอกสารประกอบการเรยี นการสอน ให้ศึกษารายละเอียดรายวชิ าการใช้ห้องสมุด ให้เข้าใจก่อนนำไปใช้ 1.3 นกั เรียนสามารถยมื เอกสารประกอบการเรียนไปศึกษาหรอื คน้ ควา้ ด้วยตนเองในเวลาว่างได้ โดยกำหนดเวลาใหเ้ หมาะสมตามความสามารถของนกั เรยี น 1.4 ให้คำปรึกษาแกน่ กั เรยี นเม่ือมีปญั หาเก่ยี วกบั การใชเ้ อกสารประกอบการเรียน 1.5 ให้นักเรยี นอา่ นคำชแี้ จงน้ใี หเ้ ขา้ ใจอย่างชดั เจน 2. คำชแี้ จงสำหรบั นกั เรียน 2.1 นักเรียนศึกษารายละเอียดรายวิชาการใช้ห้องสมดุ ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.2 นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 10 ข้อ ดว้ ยความตง้ั ใจ 2.3 นกั เรยี นศึกษาเนอ้ื หาสาระวัสดสุ ารนเิ ทศ 2.3.1 วัสดสุ ารนิเทศ 2.3.1.1 ความหมายและประโยชน์ของวสั ดสุ ารนิเทศ 2.3.1.2 ประเภทของวัสดสุ ารนเิ ทศ -วัสดุสารนิเทศประเภทวัสดุตพี ิมพ์ -วัสดุสารนิเทศประเภทวัสดุไม่ตีพมิ พ์ 2.3.2 วัสดุตพี ิมพ์ประเภทหนังสอื 2.3.2.1 ความสำคัญของหนงั สือ 2.3.2.2 สว่ นต่างๆ ของหนงั สือ 2.3.2.3 ประโยชน์ของหนงั สอื 2.3.3 วัสดุตีพิมพ์ประเภทวารสารและนิตยสาร 2.3.3.1 ประเภทของวารสาร 2.3.3.2 ส่วนต่างๆ ของวารสาร 2.3.3.3 ประโยชน์ของวารสาร 2.3.4 วัสดุตีพิมพ์ประเภทหนงั สอื พมิ พ์ 2.3.4.1 ความเปน็ มาของหนงั สือพิมพ์ 2.3.4.2 ประเภทของหนังสอื พิมพ์

2 2.3.4.3 สว่ นต่างๆ ของหนงั สอื พมิ พ์ 2.3.4.4 หนา้ ทข่ี องหนงั สือพิมพ์ 2.3.4.5 ประโยชน์ของหนังสือพิมพ์ 2.3.5 วัสดุตพี มิ พ์ประเภทจุลสาร 2.3.5.1 วตั ถุประสงคใ์ นการทำจุลสาร 2.3.5.2 รปู เลม่ และเน้อื หาของจุลสาร 2.3.5.3 ลกั ษณะสำคัญของจุลสาร 2.3.5.4 ประโยชน์ของจลุ สาร 2.3.6 วสั ดตุ ีพมิ พ์ประเภทกฤตภาค 2.3.6.1 สงิ่ พมิ พท์ ใ่ี ช้ในการทำกฤตภาค 2.3.6.2 ส่ิงทค่ี วรเกบ็ เพ่อื จดั ทำกฤตภาค 2.3.6.3 การเลอื กขอ้ ความทำกฤตภาค 2.3.6.4 อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทำกฤตภาค 2.3.6.5 การทำกฤตภาค 2.4 ถา้ มปี ญั หาหรอื มขี ้อสงสยั ในการศึกษาเอกสารประกอบการเรยี นใหน้ ักเรยี นปรกึ ษาครูผ้สู อนทนั ที 2.5 ปฏิบตั ิตามแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมท่ี 3 2.6 ปฏบิ ัตติ ามแบบฝึกปฏิบตั กิ จิ กรรมท่ี 4 2.7 นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 10 ข้อ ดว้ ยความตัง้ ใจ 2.8 ตรวจคำตอบจากเฉลยแบบฝึกปฏบิ ัติกจิ กรรมท่ี 3 2.9 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบฝกึ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมที่ 3 2.10 ตรวจคำตอบจากเฉลยแบบฝกึ ปฏิบัตกิ ิจกรรมท่ี 4 2.11 นกั เรยี นตรวจคำตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น – แบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลย แล้วนำผลคะแนน ท่ไี ด้ไปเปรยี บเทียบกนั สรปุ คะแนนลงในแบบสรุปคะแนนเพื่อเปรียบเทยี บผลการเรียนและผลการพัฒนา 2.12 ส่งคนื เอกสารประกอบการเรียนตามกำหนดเวลา และต้องรักษาใหอ้ ยใู่ นสภาพดี ไม่สูญหาย

3 ผลการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายการจัดหมู่หนงั สือ ประโยชน์ของการจดั หมหู่ นงั สอื จัดเรียงหนงั สือได้ถกู ตอ้ งและ สบื ค้นข้อมลู ได้ 2. ปฏิบัติตามระเบียบและมมี ารยาทในการใชห้ อ้ งสมุดและแหลง่ เรยี นรู้ 3. มคี วามรแู้ ละทักษะในการดแู ลระวงั รักษาหนงั สือไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 4. ใชห้ ้องสมดุ และแหลง่ เรียนรูเ้ พื่อการศกึ ษาได้ 5. ใชท้ รพั ยากรสารสนเทศในห้องสมดุ และแหลง่ เรียนรูไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 6. สามารถสรา้ งชน้ิ งาน เขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ และนำเสนอขอ้ มลู ท่เี ปน็ ประโยชน์ ตอ่ สว่ นรวม จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. แยกประเภทวัสดุสารนิเทศได้ 2. บอกความสำคัญของหนงั สอื ได้ 3. บอกช่ือและรายละเอียดสว่ นต่างๆของหนงั สือได้ 4. บอกความสำคัญของวารสารและนิตยสารได้ 5. บอกประเภทและประโยชนข์ องหนังสือพิมพไ์ ด้ 6. บอกความสำคัญและประโยชน์ของจลุ สารได้ 7. สรา้ งช้นิ งานโดยการทำกฤตภาคจากวารสารและหนงั สือพมิ พไ์ ด้

4 แบบทดสอบก่อนเรยี น เรอ่ื ง วัสดุสารนิเทศ เอกสารประกอบการเรียนชดุ การศกึ ษาค้นคว้าโดยใชห้ ้องสมดุ และแหลง่ เรยี นรู้ เลม่ ท่ี 2 เร่ือง วสั ดสุ ารนิเทศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 คะแนนเตม็ 10 คะแนน จำนวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที คำสง่ั ให้นักเรียนทำเคร่อื งหมายกากบาท x ทับอักษร ก ข ค และ ง ในกระดาษคำตอบทเี่ หน็ วา่ ถูกต้องท่ีสุด เพียงขอ้ เดยี ว 1. หนังสอื ที่มุง่ ใหค้ วามรู้และสาระแกผ่ ู้อา่ นเปน็ หนงั สือ 6. วสั ดุสารนิเทศประเภทวสั ดุไมต่ ีพมิ พ์ ไดแ้ ก่ ประเภทใด ก. วารสาร ข. หนังสอื พิมพ์ ก. หนงั สือพมิ พ์ ค. โสตทัศนวัสดุ ง. หนังสอื ข. หนังสอื สารคดี 7. ขวญั เรือน เป็นวารสารประเภทใด ค. หนังสอื นวนยิ าย ก. วารสารล่วงเวลา ง. หนังสอื รวมเร่อื งส้นั ข. วารสารวชิ าการ 2. จากหนงั สอื ตอ่ ไปนี้ ข้อใดเป็นหนงั สือสารคดี หรอื หนังสอื ค. วารสารข่าวเชิงวิจารณ์ ทใ่ี หค้ วามร้มู ากกว่าความบนั เทงิ ง. วารสารท่ัวไปหรือนติ ยสาร ก. แบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ข. แฮรร์ ่ี พอต เตอร์ 8. ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชนจ์ ากหนงั สอื พมิ พ์ ก. ใหข้ า่ วสารทันตอ่ เหตกุ ารณ์ ค. นทิ านแตม้ ฝัน ง. แกว้ จอมซน 3. หนงั สือทผี่ เู้ ขยี นเขยี นขน้ึ โดยอาศยั จนิ ตนาการ อา่ นเพื่อ ข. ม่งุ ใหค้ วามบันเทงิ เป็นส่วนใหญ่ ความเพลิดเพลนิ ได้แก่ หนังสอื ประเภทใด ค. ใชเ้ ป็นเอกสารอ้างอิงทางการศกึ ษา ก. หนงั สืออ้างอิง ข. สารคดี ง. เป็นสื่อบริการคลายทกุ ขต์ ่อผู้อ่าน ค. นวนยิ าย ง. จุลสาร 9. สิ่งพิมพ์ทีต่ ัดข่าวหรอื บทความจากวารสาร, 4. ส่วนทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ของหนังสอื คือส่วนใด หนังสอื พิมพแ์ ลว้ นำมาผนึกบนกระดาษโรเนียว ก. สารบัญ ใหห้ วั เรอ่ื งบอกแหล่งที่มาไดแ้ ก่ ข. เน้อื หา ก. กฤตภาค ข. จุลสาร ค. บรรณานกุ รม ค. วารสาร ง. นิตยสาร ง. คำนำ 10 .สิง่ พมิ พท์ ่ีมีความหนาไมเ่ กนิ 60 หนา้ ออกโดย 5. ขอ้ ใดเปน็ วสั ดไุ ม่ตพี มิ พ์ หนว่ ยราชการและองคก์ ารต่างๆ แจกฟรี ได้แก่ ก. รปู ภาพ จลุ สาร หนุ่ จำลอง ก. กฤตภาค ข. จุลสาร ข. รปู ภาพ ของตวั อยา่ ง กฤตภาค ค. วารสาร ง. นติ ยสาร ค. รูปภาพ แถบบันทกึ เสยี ง นวนยิ าย ง. รปู ภาพ แถบบันทกึ เสยี ง ลูกโลก

5 วัสดสุ ารนเิ ทศ 1.ความหมายและความสำคัญของวัสดสุ ารนิเทศ วสั ดหุ อ้ งสมดุ (Library materials) หรอื วสั ดสุ ารนเิ ทศ (Information Resources) หมายถงึ วัสดุ ท่ีใช้เพ่ือการอ่านและการศึกษาค้นคว้าทุกรูปแบบ ทุกสาขาวิชา ซ่ึงห้องสมุดได้จัดหามาและจัดเก็บรวบรวมเอาไว้ เพอื่ ให้บริการแก่ผูใ้ ชใ้ นหอ้ งสมดุ วัสดุห้องสมุดมีไว้เพ่ือการอ่านและการศึกษาค้นคว้า ซึ่งห้องสมุดได้จัดหา รวบรวม จัดเก็บเพื่อให้บริการ ในหอ้ งสมุด วสั ดหุ อ้ งสมุดแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ วสั ดปุ ระเภทตีพิมพ์ (Printed materials) และวสั ดปุ ระเภทไม่ตีพมิ พ์ (Non-Printed Materials) 2.ประโยชนข์ องวัสดุสารนเิ ทศ 1. เปน็ บนั ทึกแหง่ ภูมปิ ญั ญาของมนุษย์ ใชส้ ืบทอดความคิด ความรู้ เรอื่ งราวต่างๆ 2. ใหค้ วามรู้ ข้อมลู ขา่ วสาร ช่วยขจดั ความไมร่ ใู้ นเรื่องตา่ งๆ และสรา้ งสตปิ ญั ญา 3. ข้อมูลจากวสั ดหุ อ้ งสมุดทถี่ ูกตอ้ งครบถ้วนและทันเวลาจะชว่ ยในการตัดสินใจแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4. ความรู้ ขอ้ มลู ตา่ งๆ กอ่ ใหเ้ กดิ การศึกษาคน้ คว้าและการพฒั นาวิทยาการต่างๆ ท้งั ใน ด้านวทิ ยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 5. ความร้จู ากทรัพยากรสารนเิ ทศบางชนิดกอ่ ให้เกดิ ความจรรโลงใจ ความซาบซงึ้ เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ กอ่ ให้เกิดแรงบนั ดาลใจในการคิด และทำแตส่ ่งิ ทด่ี ีงามมีคณุ คา่ แกก่ ารดำเนินชวี ิต 6. หนงั สือบางเรือ่ ง โสตทศั นวสั ดุบางชนดิ ทำใหเ้ กิดความเพลดิ เพลนิ ผอ่ นคลายความตึงเครียด ช่วยใหเ้ กดิ การพักผอ่ นหย่อนใจ (อำไพวรรณ ทัพเป็นไทย. 2549 : 27)

6 3.ประเภทของวัสดุสารนเิ ทศ 1. วสั ดุประเภทวัสดุตพี ิมพ์ (Printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารนิเทศทบ่ี ันทึกขอ้ มลู และ สอื่ ความหมายในรูปของตัวพิมพ์ เปน็ ลายลักษณ์อักษร ผลิตขึ้นและรวบรวมเป็นเล่มจากการตพี ิมพ์ลงบนกระดาษ ด้วยเครื่องพมิ พ์ แบง่ ไดเ้ ป็น 5 ประเภท คือ (อำไพวรรณ ทัพเป็นไทย. 2549 : 9) 1.1. หนังสือ (Books) คือ ส่ิงพิมพ์ที่เย็บรวบรวมเป็นรูปเล่มคงทนถาวร มีความหนาพอประมาณ อาจเป็นปกอ่อนหรือปกแข็งก็ได้ มีการเรียบเรียงไว้ตามหลักสากล หนังสือเป็นสิ่งพิมพ์ท่ีเกิดจากความรู้ความคิด สติปัญญา ความรู้และประสบการณ์ของมนษุ ย์ แบง่ ออกตามลักษณะเนื้อหาและการใชง้ านเปน็ ประเภทต่างๆ ดังนี้ 1.1.1. หนังสือสารคดี (Nonfiction Books) เป็นหนังสือที่มุ่งให้ความรู้และสาระแก่ผู้อ่าน เช่น หนังสือตำราวิชาการ หนังสอื อา้ งอิง หนังสืออ่านประกอบ หนังสือความรู้ท่ัวไป หนังสือคมู่ ือครู หลกั สตู ร เปน็ ตน้ 1.1.2. หนังสือบันเทิงคดี (Fiction Books) เป็นหนังสือที่มีเนื้อหามุ่งให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน เขียนข้ึนมาจากประสบการณ์หรือจินตนาการของผู้เขียน โดยอาศัยเค้าโครงเรื่องจากความเป็นจริงของบุคคล ในสังคม ซึ่งผู้อ่านจะได้รับความเพลิดเพลิน ได้รับแง่คดิ คติต่างๆ เก่ียวกับการดำเนินชีวิต ได้แก่ นวนิยาย หนังสือ สำหรับเด็ก รวมเรื่องสนั้ บทละคร และบทรอ้ ยกรองต่างๆ 1.2. สิ่งพิมพ์ต่อเน่ืองหรือวารสาร (Serials) เป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกแน่นอน โดยออกเป็น รายสปั ดาห์ รายปกั ษ์(15วัน) รายเดือน ราย 3 เดอื น ราย 6 เดอื น เชน่ วารสาร นติ ยสาร หนงั สือรายปี 1.3. หนังสือพิมพ์ (Newspapers) คือสิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าวและเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวใหม่ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ท่ีเกิดข้ึนในแต่ละวัน ทำให้ผู้อ่านเป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ต่างๆ หนงั สือพมิ พ์มี 2 ประเภท คือ 1.3.1 หนังสือพมิ พร์ ายวัน เชน่ ไทยรัฐ,มติชน,เดลนิ วิ ส์,ขา่ วสด, สยามกฬี า Bangkok Post, The Nation ฯลฯ 1.3.2 หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ มีลักษณะและรูปเล่มเช่นเดียวกับหนังสือพิมพ์รายวัน เช่น ฐานเศรษฐกจิ , ประชาชาตธิ ุรกจิ , ผูจ้ ัดการ, ฯลฯ 1.4. จลุ สาร (Pamplets) เป็นสิ่งพิมพข์ นาดเล็ก ใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั เรอ่ื งใดเร่อื งหนึ่งเพียงเรื่องเดียว มีความหนาไม่เกิน 60 หน้า เน้ือหาจะเป็นเรื่องท่ีอยู่ในความสนใจในระยะหน่ึง จัดพิมพ์โดยหน่วยงาน องค์กร สถาบนั ตา่ งๆ เพือ่ เผยแพร่ โดยไม่จำหน่าย 1.5. กฤตภาค (Clipping) เป็นทรัพยากรสารนิเทศประเภทวัสดุตพี มิ พ์ทจ่ี ดั ทำขึ้นใชเ้ องในหอ้ งสมุด ทำขึ้นจากการตัดบทความหรือภาพจากหนังสือพิมพ์ วารสารหรือสิ่งพิมพ์อ่ืนๆ เฉพาะเรื่องท่ีเป็นประโยชน์ต่อ การศึกษาค้นคว้า นำมาผนึกบนกระดาษปกอ่อนเทาขาวขนาด A4 บอกแหล่งท่ีมาและให้หัวเร่ืองอย่างกว้างๆ เก็บไว้ในแฟ้ม แฟ้มละหัวเร่ือง จัดเรียงแฟ้มตามลำดับอักษรของหัวเร่ืองใส่ตู้กฤตภาคเพื่อการใช้ประโยชน์ต่อไป บทความทีห่ ้องสมดุ เลือกนำมาทำกฤตภาค ไดแ้ ก่ ชีวประวตั ิบุคคล เรื่องราวหรอื ภาพเกี่ยวกบั ประเทศหรอื สถานที่

7 ต่างๆ การศึกษา กีฬา ขา่ วสำคัญ สารคดีที่เป็นสาระความรู้ มกั เป็นเรื่องราวใหม่ๆ ท่ยี ังไม่มีการตีพิมพ์ลงในหนงั สือ กฤตภาคจึงเป็นส่วนหนง่ึ ของแหลง่ ความรู้และขอ้ เท็จจริงทีเ่ กดิ ข้ึนใหมๆ่ (วัลลภ สวสั ดวิ ลั ลภ. 2544 : 12) 2. วัสดุประเภทไม่ตีพิมพ์ (Non-Printed Materials) หมายถึง สารนิเทศที่บันทึกลงในวัสดุอื่นใด นอกเหนือจากกระดาษ (เช่น บันทึกในฟิล์ม พลาสติก แผ่นโลหะ) (เอ้ือมพร ทัศนประสิทธิผล. 2542 : 16) แบง่ เป็น 5 ประเภท ดังนี้ 2.1. โสตวัสดุ คือ วัสดุสารนิเทศท่ีใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารนิเทศ เช่น วิทยุ แผ่นเสียง แถบบันทึกเสียง ซดี ีเพลง ฯลฯ ภาพท่ี 1 วทิ ยุ ภาพที่ 2 แผน่ เสียง ท่ีมา :https://www.google.co.th/search?q= ที่มา :https://www.google.co.th/search?tbm วิทย&ุ prmd=imnv&source=lnms&tbm=isch&sa= 2.2. ทัศนวัสดุ คือ สารนิเทศที่ผู้ใช้ต้องใช้สายตารับรู้ เช่น รูปภาพ แผนภูมิ แผนที่ ลูกโลก หนุ่ จำลอง ของจรงิ ของตัวอยา่ ง ฯลฯ ภาพที่ 3 หุ่นจำลอง ภาพท่ี 4 ลูกโลก ทีม่ า : https://www.google.co.th/search? ท่ีมา : https://www.google.co.th/search? tmb=isch&sa= tbm= isch&sa=

8 2.3. โสตทัศนวัสดุ คือ วัสดุสารนิเทศที่ให้ทั้งภาพและเสียง เช่น สไลด์ประกอบเสียง ภาพยนตร์ โทรทศั น์ ภาพท่ี 5 โทรทัศน์ ภาพท่ี 6 ฟลิ ์มภาพยนตร์ ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?tbm= ท่มี า : https://www.google.co.th/search? isch&sa=1&ei tbm= isch&sa=1&ei 2.4. วสั ดยุ อ่ ส่วน คือ วสั ดทุ ใ่ี ชเ้ ก็บขอ้ มูลซ่งึ มขี นาดเลก็ ทำโดยการย่อสว่ นลง ได้แก่ 2.4.1 ไมโครฟิลม์ (Microfilm) เป็นการถ่ายสารนิเทศลงบนแผ่นฟิล์มท่มี ีลักษณะเป็นม้วน ขนาด 16 มม. หรอื 35 มม. เวลาจะใช้จะต้องเอามาเข้าเคร่ืองอ่านไมโครฟิล์ม เพื่อขยายให้ใหญ่จนสามารถอ่านได้ อ่านไปทีละหนา้ เหมอื นอ่านหนงั สอื ภาพที่ 7 ไมโครฟิลม์ ภาพที่ 8 ไมโครฟลิ ม์ ท่มี า : https://www.google.co.th/search?tmb= ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?tmb= isch&sa= isch&sa=

9 2.4.2. ไมโครฟิช (Microfiche) เป็นการถ่ายสารนิเทศลงบนแผ่นฟิล์ม โดยแผ่นฟิล์มมีขนาด 3x5 น้ิว หรอื 4x5 น้วิ หรือ 5x6 นิว้ แต่ละแผ่นสามารถบรรจสุ ่วนยอ่ จากหน้ากระดาษหนังสอื ไดป้ ระมาณ 98 หน้า เวลาจะใช้จะต้องเอามาเขา้ เครื่องอ่านไมโครฟชิ เพือ่ ขยายขอ้ ความให้ชัดเจน ภาพที่ 9 ไมโครฟชิ ภาพท่ี 10 เครือ่ งอ่านไมโครฟชิ ท่มี า : https://www.google.co.th/search? ท่มี า : https://www.google.co.th/search?tmb tmb=isch&sa= =isch&sa= 2.5. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ วัสดุสารนิเทศที่มีการแปลงสารนิเทศเป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ เวลาใชต้ ้องมเี ครือ่ งมอื สำหรับแปลงสญั ญาณดังกล่าวกลบั คืนเปน็ ภาพหรอื เสียง ไดแ้ ก่ 2.5.1. คอมพวิ เตอร์ เป็นสื่อสารนเิ ทศท่ีใช้บริการฐานขอ้ มูล ซึง่ เปน็ ที่นิยมมากทีส่ ุด ในปจั จุบนั ภาพที่ 11 คอมพิวเตอร์ ที่มา :https://www.google.co.th/ Search?tbm=isch&sa=

2.5.1.1. ฐานข้อมูลอินเตอร์เน็ต คือ 10 เค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ข น า ด ให ญ่ ที่ สุ ด ใน โล ก ซึ่งเกิดจากการเชื่อมต่อเข้าด้วยกันของบรรดา 2.5.1.2 ฐานข้อมูลซีดีรอม เป็นการเก็บ คอมพิวเตอร์ทวั่ โลก เพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลและใช้ ข้อมูลลงแผ่นโลหะ ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 12 ซม. อุปกรณ์ร่วมกัน อนิ เตอร์เน็ตทำให้เราทราบข้อมูล ดว้ ยแสงเลเซอร์ แผ่นหน่ึงๆ สามารถบรรจขุ ้อความ สารนิเทศในเกือบทุกหัวเรื่องได้ ไม่ว่าจะเป็น เท่ากับหนังสือ 150,000 หน้า - 250,000 หน้า หนังสือพิมพ์ นิตยสาร บทความทางวิชาการ เว ล าใช้ แ ผ่ น ซี ดี ร อ ม จ ะ ต้ อ งใช้ เค ร่ือ ง อ่ าน เอกสารรัฐบาล คำปราศรัย ผลงานทางวิชาการ แสงเลเซอร์แล้วต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ ตำราต่างๆ วรรณ กรรมช้ิน เอก และอ่ื น ๆ สัญญาณข้อมูลก็จะปรากฏบนจอภาพ ทำให้เรา อกี มากมาย สามารถรบั รูข้ อ้ มลู ท่ตี อ้ งการได้ ภาพท่ี 12 ฐานขอ้ มลู อนิ เตอร์เนต็ ทีม่ า :https://www.google.co.th/search?q= =0&source=lnms&tbm=isch&sa ภาพที่ 13 ฐานขอ้ มลู ซีดรี อม ที่มา :https://www.google.co.th/search?tbm=isch&sa= ภาพที่ 14 ฐานขอ้ มูลซดี รี อม ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?q=ฐานข้อมูลซดี รี อม&dcr=0&source

11 2.5.1.3. ฐานข้อมูลทรพั ยากรห้องสมุด เป็นฐานข้อมลู ห้องสมุดแตล่ ะแห่งจัดทำขึ้นเอง เพ่ื อ รวบรวมรายก ารวัสดุสารนิเท ศที่ มี ในห้องสมุดนั้น ให้ผู้ใช้สืบค้นข้อมูลสารนิเทศ จากในหอ้ งสมดุ ได้ ภาพท่ี 15 ฐานขอ้ มูลทรัพยากรหอ้ งสมุด ทีม่ า :https://www.google.co.th/search?q= =0&source=lnms&tbm=isch&sa 2.5.2. วีดิทัศน์ เป็นเครื่องใช้บันทึกภาพและเสียงจากกล้องและไมโครโฟนมาเก็บไว้ ในแถบบันทกึ ภาพในรปู ของสัญญาณแม่เหล็ก แล้วเสนอออกมาโดยผา่ นเคร่ืองรับโทรทัศนใ์ หเ้ ห็นรายการที่บันทึก ไวไ้ ด้ ภาพที่ 16 วีดทิ ัศน์ ภาพท่ี 17 วีดิทัศน์ ที่มา : https://www.google.co.th/search? ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?q= tbm=isch&sa= วีดิทศั น์&dcr=0&source

12 วสั ดตุ ีพมิ พ์ประเภทหนงั สอื หนังสือ (BOOK) เป็นสิ่งพิมพ์ที่บันทึกความรู้ ความคิด ความเช่ือ ประสบการณ์ และการกระทำของมนุษย์เป็นรปู เล่ม มีการเข้าเล่มและการเย็บ เล่มที่ถาวร หนังสือนับเป็นทรัพยากรสารนิเทศท่ีมีจำนวนมากท่ีสุดใน ห้องสมุด เนื่องจากมีคุณค่าและสะดวกที่สุดสำหรับการศึกษาค้นคว้า ห้องสมุดส่วนใหญ่มักจัดเก็บในระบบชั้นเปิด ให้ผู้ใช้สามารถหยิบใช้เองได้ ห้องสมุดได้วางระบบเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นหาและการจัดเก็บ โดยการจัดหมวดหมหู่ นังสือทุกเล่มและกำหนดสัญลักษณ์ประจำหนังสือแต่ ละเล่มเรียกว่า เลขเรียกหนังสือ (Call number) (วลั ลภ สวสั ดวิ ลั ลภ. 2544 : 9) 1.ความสำคัญของหนงั สอื หนังสือเป็นส่ิงที่มีประโยชน์อย่างหน่ึงสำหรับมนุษย์ ในเร่ืองความคิดสร้างสรรค์ การศึกษาวิจัย หนังสือเป็นส่วนช่วย พัฒนาความเจริญงอกงามทั้งด้านสมอง สติปัญญา อารมณ์และ จิตใจ นอกจากนี้ยังสร้างวิจารณญาณให้กับผู้อ่าน คุณรัญจวน อินทรกำแหง ( 2520 : 24 ) กล่าวถึงหนังสือไว้ว่า คือ สิ่งพิมพ์ ท่ีเกดิ จากความรู้ ความคิดด้วยสมอง สติปญั ญาและประสบการณ์ ของมนษุ ย์ โดยเฉพาะหนงั สอื ท่ีเป็นวรรณกรรมอนั มีค่า ทเ่ี กิดจาก สมองอันปราดเปรื่องของผู้เขียน ย่อมให้ประโยชน์อันล้ำค่า แก่ผู้อ่าน แหล่งความรู้ที่มนุษย์สามารถศึกษาค้นคว้า ส่วนใหญ่ จะได้จากหนังสือ แม้ว่าวิทยาการปัจจุบัน จะผลิตความรู้ ในรูปแบบสื่ออ่ืนๆ เชน่ ไมโครฟิล์ม CAI เป็นต้น แต่วัสดุดังกล่าว กถ็ ่ายทอดความรู้มาจากหนงั สือ ฉะน้ันหนังสอื คือสิ่งท่ีรวมความรู้ ทม่ี ีคุณคา่ หนังสอื เป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างหน่ึงในการพัฒนา ประเทศ ถ้าประเทศใดมีสถิติคนอ่านหนังสือมากจะได้ชื่อว่า เป็นประเทศทพี่ ัฒนาแลว้

13 2. สว่ นตา่ งๆ ของหนงั สอื การใช้หนังสือเพื่อการศึกษาค้นคว้าให้รวดเร็ว และได้รับประโยชน์อย่างเต็มท่ีน้ันผู้ใช้จำเป็นต้องรู้จัก สว่ นต่างๆ ของหนงั สอื ว่าหนังสอื มีส่วนประกอบอะไรบา้ ง แต่ละส่วนมีความสำคัญหรือมปี ระโยชนอ์ ย่างไร หนังสือ แต่ละเล่มอาจมีส่วนประกอบแตกต่างกันไปบ้างข้ึนอยู่กับเนื้อหาและจุดมุ่งหมายในการจัดทำ (อำไพวรรณ ทพั เปน็ ไทย.2549 : 30) กลา่ วโดยรวมแล้วหนงั สอื ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ดังน้ี 1. ใบหุ้มปก (Book Jacket หรือ Dust Jacket) คือ กระดาษที่ใช้ห่อหุ้มปกนอกของหนังสือที่เป็นปกแข็ง ใช้กระดาษตีพิมพ์มีสีสันสวยงาม เพื่อดึงดูดความสนใจ มีชื่อ หนังสือและชื่อผู้แต่งปรากฏอยู่ ประโยชน์ของใบหุ้มปก คือช่วย ป้องกันไม่ให้ปกหนังสือสกปรก และช่วยรักษาปกให้ใหม่ อ ยู่ เส ม อ แ ล ะ ใ ห้ ร า ย ล ะ เอี ย ด บ า ง อ ย่ า ง ที่ เป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ผ้อู า่ น เชน่ อาจมีประวัตสิ ้นั ๆ ของผ้แู ตง่ และผลงาน รวมทงั้ มเี ร่อื ง ย่อหรือคำวิจารณ์เกี่ยวกับหนังสือเล่มนั้น ซ่ึงมีผู้ติชมเอาไว้ในที่ ตา่ งๆ ภาพท่ี 18 ใบหมุ้ ปก ท่ีมา :ttps://www.google.co.th/search?q= ใบห้มุ ปก&dcr=0&source=lnms&tbm=isch&sa= 2. ปกหนงั สอื (Cover หรือ Binding) มีทง้ั ปกหนา้ และปกหลัง โดยมีสันหนังสือ (Spine) เป็นส่วนช่วยยึดให้ปกหน้าและปกหลัง เข้าด้วยกัน ปกหนังสือมีทั้งชนิดท่ีเป็นปกแข็ง ซ่ึงทำจากกระดาษแข็ง หุ้มด้วยผ้าแลกซีน หรือหุ้มด้วยผ้าหรือหุ้มด้วยหนังและชนิดปกอ่อน ซึ่งทำด้วยกระดาษหนาหรือบางตามท่ีผู้ผลิต จะกำหนดปกหน้า ตามปกติจะปรากฏช่อื หนังสือ ชื่อผู้แต่ง และช่ือสำนักพิมพ์ หนังสือที่มี สนั หนาจะพิมพส์ ันหนงั สือตามรายละเอียดเช่นเดียวกับปกหน้า ถ้าเป็น หนังสือของห้องสมุดจะมีเลขเรียกหนังสือกำกับไว้ที่สันด้วยแต่ถ้าเป็น หนังสือสันบางเลขเรียกหน้าหนังสือของหอ้ งสมุดจะเขยี นไว้ตรงปกหน้า ประโยชน์ของปกหนังสือ คือ ช่วยรักษารูปเล่มของหนังสือให้คงทน และหยบิ จับได้สะดวก ภาพท่ี 19 ปกหนังสอื ที่มา : วรี ะวรรณ วรรณโท. การจัดกิจกรรมห้องสมดุ .

14 3. สันหนังสือ (Spine) สันหนังสือจะมีเฉพาะ หนังสือหนาๆ เป็นส่วนเชื่อมระหว่างปกหน้าและ ปกหลงั ท่ีสนั หนังสืออาจมีช่ือเรอ่ื งและช่ือผู้แตง่ ภาพท่ี 20 สนั หนงั สือ ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?q= สันนังสือ&dcr=0&source=lnms&tbm=isch&sa= 4. ใบรองปก หรือใบยึดปก (End Papers) เป็นแผ่นกระดาษที่มีความเหนียวเป็นพิเศษทนทาน ใบรองปกจะพับคร่ึงหน้ากระดาษ ด้านหน่ึงผนึกติดกับ ป ก น อ ก อี ก ด้ าน ห นึ่ งผ นึ ก ติ ด เป็ น แ ผ่ น เดี ยว กั บ ใบรองปก ช่วยทำให้หนังสือแน่นหนาขึ้น หนังสือบางเล่ม สว่ นนี้อาจพบขอ้ มูลเปน็ ประโยชน์ เชน่ แผนท่ี แผนภมู ิ ตารางหรือลวดลายต่างๆ ใบรองปกส่วนมากเป็น กระดาษขาว วา่ งเปลา่ มที ั้งดา้ นหน้าและดา้ นหลัง ทำหนา้ ทช่ี ว่ ยยึดปกกบั ตัวเลม่ หนงั สือให้ตดิ กนั ภาพท่ี 21 ใบรองปกหรอื ใบยดึ ปก ทม่ี า : ศักดิ์ชัย บญุ มา. จดหมายเหตุเล่าเรือ่ งอนสุ าวรยี ์เมอื งบางกอก. 5. หน้าชื่อเร่ือง (Haft title Page) เป็นหน้าทีอ่ ยถู่ ดั จาก ใบรองปกมแี ต่ชื่อเรือ่ งของหนงั สอื เท่านัน้ ปจั จุบนั หนังสอื ส่วนใหญ่ จะไม่มีหน้าชอื่ เรื่อง ภาพท่ี 22 หน้าช่อื เรอื่ ง ที่มา : ศักดช์ิ ัย บุญมา. จดหมายเหตเุ ล่าเร่อื งอนุสาวรีย์เมอื งบางกอก.

15 6. หน้าปกใน (Title Page) ถือว่าเปน็ หนา้ ทส่ี ำคัญท่สี ุดของหนงั สือ เพราะจะให้รายละเอยี ดเกย่ี วกับหนงั สอื เลม่ นัน้ ๆ อยา่ งสมบูรณ์ ภาพที่ 23 หน้าปกใน ที่มา : วรี ะวรรณ วรรณโท. การ จัดกจิ กรรมห้องสมดุ โรงเรยี น. 7. หนา้ ลิขสิทธิ์ (Copyright) หนา้ นใี้ ห้ข้อมูล ตา่ งๆ เหมือนหนา้ ปกใน คือ มี ช่อื เรอื่ ง ชอ่ื ผู้แต่ง แต่มีรายละเอียดเกี่ยวกบั การพิมพ์มากกว่า เช่น บอก ผู้จัดพิมพ์ ผู้จดั จำหน่าย ฉบับพมิ พ์ และปพี มิ พ์ และข้อมลู อื่นเกี่ยวกับ การผลติ เช่น เลขมาตรฐานสากล (ISBN) ผอู้ อกแบบปก จำนวนที่ จัดพิมพ์เปน็ เล่ม รวมถึงข้อมูลการลงรายการในส่ิงพิมพ์รูปของ บตั รรายการ และการเป็นเจ้าของลขิ สิทธิ์ จะปรากฏคำวา่ “สงวน ลขิ สิทธ์ิ” ในหนงั สอื ภาษาไทย หรือ © ในหนงั สือภาษาตา่ งประเทศ พรอ้ มบอก พ.ศ. และชือ่ เจ้าของลิขสิทธ์ิ จงึ เรียกหน้าหลงั ปกในอีกอย่าง หนงึ่ ว่า “หน้าลขิ สทิ ธ”ิ์ (วลั ลภ สวัสดิวัลลภ. 2544 : 16) ภาพท่ี 24 หนา้ ลิขสิทธิ์ ทมี่ า : สุวลัย กลน่ั ความดี. ระบบควบคุม. 8. หน้าคำนำ (Preface หรือ Foreword หรอื Introduction) เป็นส่วนแรกของหนังสือ ท่ีผู้อ่านจะต้องอ่านอย่างละเอียดก่อนที่จะอ่าน เนื้อหาของหนังสือจริงๆ เพราะคำนำจะทำให้ผู้อ่านทราบถึงแนวทาง ของเนือ้ หา ขอบเขตของหนงั สือท่ีเสนอในเลม่ บางครั้งคำนำอาจเป็นส่วนท่ีผู้เขียนแจ้งให้ผู้อ่านได้ทราบถึงสาเหตุ และวัตถุประสงค์ในการแต่งหนังสือเล่มนั้น รวมทั้งขอบคุณผู้ที่มีส่วน ช่วยเหลือสนับสนุน แต่ถ้าหากในกรณีท่ีผู้เขียน จะต้องกล่าวขอบคุณ ผู้ช่วยเหลือและให้ความร่วมมือแก่บุคคลเป็นจำนวนมาก เช่น ในการ ทำวิทยานิพนธ์ มักจะแยกคำกล่าวขอบคุณออกจากคำนำและเรียกช่ือ ว่า “ประกาศคุณูปการ หรอื กติ ตกิ รรมประกาศ (Acknowledgement)” ซงึ่ จะอยู่ในหนา้ ถดั ไปจากคำนำ ภาพที่ 25 หนา้ คำนำ ทมี่ า : ลมุล รตั ตากร. การใช้ห้องสมุด.

16 9. หน้าสารบัญ หรอื สารบาญ (Contents หรือ Table of Contents) บางคร้ังเขียนว่า สารบาญจะอยู่ต่อจากหน้าคำนำ เป็นหน้าท่ีบอกให้ผอู้ ่านทราบวา่ หนังสือเล่มนั้นมเี นื้อหาว่าด้วยเรื่อง อะไรบ้าง จัดลำดับบทหรือตอนไว้อย่างไร มีเลขหน้ากำกับแจ้งให้ ผู้อ่านทราบว่าหนังสือเล่มน้ันมีขอบเขตกว้างขวางเพียงใด มีเรื่องท่ี ตนต้องการศกึ ษาคน้ คว้าหรอื ไม่ อยูท่ ี่หน้าใด ภาพท่ี 26 หนา้ สารบัญ ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?dcr= 0&biw=1366&bih=588&tbm=isch&sa= สว่ นประกอบตอนกลาง 10. เน้ือหา (Text) คือส่วนท่สี ำคัญที่สดุ ของ หนังสือมีรายละเอียดของเนื้อหาตามสารบัญ หนังสือ ท่ีมเี นอื้ หามากอาจไม่จบในเลม่ เดียว ภาพท่ี 27 หน้าเน้ือหา ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?q= หนา้ เนอ้ื หาในหนงั สอื &tbm=isch&tbs

17 11. เชงิ อรรถ (Footnote) คือ ขอ้ ความบอกแหลง่ ทมี่ าของเน้อื หา คำศพั ท์ ข้อความอธิบาย ข้อความ เสรมิ เนือ้ เร่ืองบางตอนของเนอื้ หา มตี ัวเลขกำกับข้างบนให้ชัดเจนย่ิงขน้ึ เชิงอรรถจะอยสู่ ่วนลา่ งสุดของหนา้ ภาพท่ี 28 เชงิ อรรถ ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=637&tbm=isch&sa=. สว่ นประกอบตอนทา้ ย 12. บรรณานุกรม (Bibliography) คือ รายช่ือ หนังสือ วารสาร และวัสดุสารนิเทศตา่ งๆ ที่ ผู้ เขี ย น ใช้ เป็ น ห ลั ก ฐ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร เขี ย น หนังสือเล่มและเรียบเรียงหนังสือนั้น จะอยู่ ตอนท้ายบทแต่ละบทหรือจัดรวมไว้ท้ายเล่ม ต่อจากบทสุดท้ายของหนังสือ บรรณานุกรม มีประโยชน์สำหรับผู้อ่าน สามารถศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมได้จากรายช่ือบรรณานุกรมที่ผู้เขียน อ้างอิง ภาพที่ 29 บรรณานุกรม ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=588&tbm=isch&sa=

18 13. ภาคผนวก (Appendix) คือ ส่วนประกอบนอกเหนือ เน้ือหาท่ีเพิ่มเติมเข้ามาเพื่ออธิบายเนื้อหาของหนังสือให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ให้ความรู้กว้างขวางและทันสมัยเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ซึ่งผู้เขียน ไม่สามารถอธิบายไว้ในเนื้อหาได้ จึงนำเน้ือเร่ืองทค่ี วรให้ผอู้ ่านมาเพม่ิ เติม ไว้ตอนทา้ ยเพือ่ ใหห้ นงั สอื สมบูรณ์ย่ิงข้ึน ภาพท่ี 30 หน้าภาคผนวก ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw= 1366&bih=588&tbm=isch&sa= 14. อภิธานศัพ ท์ (Glossary) คือ บัญ ชีคำศัพท์ เฉพาะหรือคำศัพท์ยากๆ ที่มีกล่าวในเน้ือเรื่องมารวบรวมไว้ เป็นส่วนหนึ่งต่อจากภาคผนวก จะเรยี งคำศัพท์ตามตัวอกั ษร พร้อมท้ังอธิบายความหมาย เพ่ือช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจคำศัพท์ เหลา่ น้ันและสามารถคน้ หาคำอธบิ ายไดส้ ะดวกและรวดเรว็ ภาพที่ 31 คำอภิธานศพั ท์ ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw 15. ดชั นีหรอื ดรรชนี (Index) บางคร้งั เรียกสารบัญ ค้นเรื่องหรือสารบัญค้นคำหรือหัวข้อย่อย นำมาจัดเรียงตามลำดับ ตัวอักษร พร้อมทัง้ บอกเลขหนา้ ที่มีคำนัน้ ๆ ปรากฏอยู่เพ่ือให้ผู้อ่าน ค้นหาความรเู้ รอ่ื งเหลา่ นนั้ ได้สะดวกและรวดเร็ว ภาพที่ 32 หน้าดชั นี ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw= 1366&bih=637&tbm=isch&sa=

19 3.ประโยชน์ของหนงั สือ มนุษย์ได้รับประโยชน์จากหนงั สือด้วยการอา่ น แตห่ นังสอื ไม่มีอทิ ธพิ ลจะบงั คับให้ใครอา่ นได้ ฉะนนั้ จงึ ตอ้ ง รู้จักเลอื กอา่ นเพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการเฉพาะบุคคล หนังสือสามารถให้คำตอบแกผ่ ไู้ มร่ ใู้ นด้านตา่ งๆ 1. ให้ความรู้ทางวิชาการ เป็นความรู้ท่ีส่วนมากจะได้รับจากในห้องเรียนผ่านผู้สอน ซึ่งถ่ายทอด มาจากหนังสือประเภทตำรา แต่การศึกษาในปัจจุบันความรู้เฉพาะในช้ันเรียนไม่สามารถให้ผู้เรียนกว้างไกล ทันเหตุการณ์ปัจจุบันได้ จำเป็นต้องอ่านหนังสือประเภทวิชาการอ่ืนๆ เพื่อส่งเสริมความรู้และความคิดลึกซึ้ง เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาตอ่ ระดบั สงู ตอ่ ไป 2. ให้ความรู้ทางอาชีพ การประกอบอาชีพอย่างใดอย่างหนึ่ง จำเป็นต้องรู้จักปรับปรุงให้งาน ก้าวหน้ากว่าผู้อ่ืน โดยเฉพาะความรู้ในวิชาชีพจะพัฒนาตลอดเวลา จากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติและ เหตุการณ์ ที่มนุษย์สร้างข้ึน ความร้เู ดิมในการประกอบอาชพี ย่อมล้าสมัย ไม่ทันเหตุการณจ์ ำเป็นตอ้ งปรบั ปรุง เราควรสนใจ ในเรื่องการศกึ ษาคน้ คว้าจากการอ่านหนงั สอื เพือ่ นำความรูม้ าปรับปรุงงานในอาชีพใหก้ ้าวหน้ากว่า ผู้อ่ืน 3. ให้ความรู้เร่ืองของชีวิต การดำรงชีวิตปัจจุบัน เป็นปัญหาที่มนุษย์ต้องแก้ไขตลอดเวลา เพ่ือการ อยูร่ อด ปญั หาจะเริม่ ต้งั แตต่ น่ื นอน จนกระทง่ั เข้านอนในแตล่ ะวัน เป็นปัญหาทัง้ สว่ นตวั ครอบครวั การงาน ตลอดจนประเทศชาติ ผู้มีประสบการณ์ชีวิตจะถ่ายทอดเป็นลายลักษณ์อักษร ในลักษณะหนังสือท้ังทางวิชาการ และบันเทงิ เพือ่ เผยแพร่ให้ผอู้ ่ืนไดศ้ ึกษาผู้สนใจในการอา่ นจะไดร้ บั ความรู้และสามารถนำความรไู้ ปแก้ไขปัญหาได้ 4. ให้ความจรรโลงใจ เป็นการเสรมิ สภาพจติ ใจใหแ้ จ่มใส มชี ีวิตกระตอื รือร้น ไม่ท้อถอย ซงึ่ เป็นสิ่งท่ี มนุษย์ต้องการ ความจรรโลงใจช่วยยกระดับความคิดให้ พัฒ นา หนังสือช่วยสร้างความจรรโลงใจให้มนุษย์ เพียงการอ่านหนังสือเล่มท่ีถูกใจสนองความต้องการ ชว่ ยแก้ปัญหาคบั ขอ้ งใจ ความจรรโลงใจกจ็ ะเกิดแกผ่ อู้ ่าน ส รุ ป แ ล้ ว ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ห นั ง สื อ มี ห ล า ย ประการ ผู้อ่านจะได้รับประโยชน์อย่างใดอย่างหน่ึง ตามสภาพแต่ละบุคคลท่ีจะเลือกสนองความต้องการและ นำไปใช้กับชวี ิตของตนเป็นการประหยัดเวลาในการศกึ ษา คน้ ควา้ และใช้ประโยชนจ์ ากหนังสือเล่มนั้นๆ ได้คมุ้ ค่า

1.ประเภทของวารสาร 20 วสั ดตุ ีพมิ พป์ ระเภทวารสารหรือนิตยสาร วารสาร (Periodicals) คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออก ติดตอ่ กนั สม่ำเสมออาจเปน็ รายปักษ์ รายเดือน ฯลฯ ใหค้ วามรู้ รวมท้ังเกร็ดความรู้ ความบันเทิง อาจมีเรอ่ื งราวต่างๆ รวมอยู่ ในฉบับเดียวกัน เป็นสิ่งพิมพ์ที่นำเสนอสาระความรู้ในรูปของ บทความโดยแบ่งออกเป็นคอลัมน์ต่างๆ ในวารสารฉบับหนึ่ง ประกอบด้วยหลายคอลัมน์ และแต่ละฉบับจะให้รายละเอียด เก่ียวกับช่ือวารสาร เล่มท่ี ฉบับท่ี ปีที่พิมพ์วารสาร และเลข มาตรฐาน สากลประจำวารสาร (ISSN = International Standard Serial Number) ภาพที่ 33 ปกวารสาร ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?q= ปกวารสาร&dcr=0&source=lnms&tbm= isch&sa= 1. ประเภททั่วไปหรือเรียกว่านิตยสาร มุ่งเสนอเรื่อง เบ็ดเตล็ดให้ความรู้ท่ัวไป ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน เช่น ขวัญเรอื น ค่สู รา้ งคู่สม แฟชัน่ รีวิว เปน็ ต้น 2. ประเภทวิจารณ์ข่าว เป็นสรุปข่าวที่สำคัญ วิเคราะห์ ข่าวพรอ้ มสอดแทรกข้อคดิ เห็น เช่น มติชนสุดสัปดาห์ เนชั่น ราย สัปดาห์ สยามรัฐสัปดาหว์ ิจารณ์ เป็นต้น 3. ประเภทวิชาการ จะมีบทความที่เก่ียวข้องกับวิชาการ แขนงนัน้ ๆ ขน้ึ อย่กู ับวัตถุประสงค์ในการออกวารสารนั้นๆ ส่งเสริม ความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการ เช่น วารสารวิชาการ วารสาร โลกสีเขียว วารสารแม็ค ม.ต้น วารสารแม็ค ม.ปลาย (อำไพวรรณ ทัพเปน็ ไทย. 2549 : 33) ภาพที่ 34 ปกวารสารวชิ าการ ที่มา : https://www.google.co.th/search?q= ปกวารสาร&dcr=0&tbm=isch&tbo=u&source

2.ส่วนต่างๆ ของวารสาร 21 1. ขนาดเล่ม วารสารจะมีขนาดใหญ่กว่าหนังสือ ธรรมดา เพราะวารสารจะจดั หน้าพิมพแ์ บ่งเป็นคอลมั น์ 2. ปก ปกของวารสารส่วนมากเป็นปกอ่อน ส่วนของ ปกวารสารได้แก่ ชื่อวารสาร ปีท่ี ฉบับที่ วัน/เดือน/ปี ที่ออก เผยแพร่ บางเล่มปกจะเป็นรูปภาพท่ีสวยงาม เพ่ือเชิญชวน ให้อ่าน ภาพท่ี 35 ปกวารสาร ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?q= ปกวารสาร&dcr=0&tbm=isch&tbo=u&source 3. สารบัญ อยู่ถัดจากหน้าปก หรืออาจอยู่ด้านหลังของ ปก จะบอกวัตถุประสงค์ของวารสารน้ันๆ บอกระยะเวลาท่ีออก เช่นเดียวกับปก มีช่ือบทความและผู้เขียนบทความ มีรายละเอียด เกีย่ วกับวตั ถปุ ระสงคข์ องวารสารนน้ั ๆ ภาพที่ 36 หน้าสารบัญ ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?q=หนา้ สารบัญ วารสาร&dcr=0&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa= 4. เน้ือหา/บทความ แบ่งออกเป็นคอลัมน์ เพ่ือให้ผู้อ่าน กวาดสายตาได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น เนื้อหาอาจจบในตอนน้ัน หรือให้ไปอ่านฉบับหน้า ภาพท่ี 37 บทความวารสาร ท่มี า : https://www.google.co.th/search?q=เนอ้ื หาบทความ ในวารสาร&dcr=0&source=lnms&tbm= isch&sa

22 5. ภาพประกอบ เพ่ือจูงใจให้หนังสือนั้นน่าอ่านมาก ย่งิ ขึน้ เนอื้ หาอาจจบในตอนนั้นหรอื ให้ไปอา่ นตอ่ ฉบบั หน้า 6. โฆษณา วารสารบางเล่มมีโฆษณาสินค้าหรือบริการ ต่างๆ เป็นส่วนประกอบสำคัญ ท้ังน้ีเพราะเป็นการช่วยค่าใช้จ่าย ในการจดั พมิ พแ์ ละเปน็ รายไดส้ ่วนหนงึ่ ของผู้ผลิตวารสาร ภาพท่ี 38 หนา้ โฆษณา ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw= 1366&bih=588&tbm=isch&sa=1&ei=ภาพประกอบหรอื โฆษณาในวารสาร&oq= 3.ประโยชน์ของวารสาร 1. ให้ความรทู้ างวชิ าการ เสริมความรูท้ ไ่ี ด้จากตำราให้ทันสมัยสมบรู ณ์ย่ิงขึ้น 2. ใหค้ วามรแู้ ละความบันเทงิ ไดห้ ลายรูปแบบทำใหผ้ อู้ า่ นไม่เบอ่ื หนา่ ย 3. เป็นส่งิ พิมพ์ที่จูงใจบคุ คลท่ไี มช่ อบอ่านหนังสือ เพราะเนอ้ื หาในวารสารมไี ม่มากและทันสมยั จึงเปน็ สิ่งท่ีน่าสนใจ น่าติดตาม 4 เปน็ สิ่งพมิ พ์ทอ่ี า่ นไดท้ ั้งครอบครวั เพราะมีเนือ้ หาหลายประเภท 5. ใช้เป็นเอกสารค้นควา้ อา้ งอิงได้ โดยเฉพาะวารสารวิชาการ 6. ก่อให้เกดิ วิจารณญาณและปญั ญาแก่ผู้อ่าน

23 วสั ดตุ ีพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์ (Newspapers) คือ ส่ิงพิมพ์ที่มุ่ง เสนอข่าวสาร เหตุการณ์ที่เกิดขั้นปัจจุบันในขณะนั้น ซึ่ง เป็นภาพสะท้อนสังคมความเป็นอยู่ของผู้คนได้เป็นอย่างดี ให้ความรู้ท่ีทันสมัย นำเสนอข่าวในท้องถ่ินที่น่าสนใจ ข่าวในประเทศและข่าวต่างประเทศ มีกำหนดออกแน่นอน เช่น รายวัน รายสัปดาห์ หรือ สัปดาห์ละ 2 ฉบับ ซ่ึงเป็น หนังสอื พิมพ์คนอ่านเฉพาะกลุ่ม เชน่ นักธุรกิจอุตสาหกรรม มงุ่ เนน้ การนำเสนอข่าว สรุปข่าว และบทความเชิงบรรยาย และบทวิจารณ์สถานการณ์ในด้านน้ันๆ (อำไพวรรณ ทัพเปน็ ไทย. 2549 : 35) ภาพที่ 39 หนังสือพิมพ์ ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?dcr= &biw= 1366&bih=637&tbm=isch&sa=1&ei= 80J8Ws62KIqH8wXW8qTIDg&q=หนงั สือพิมพ์&oq 1.ความเป็นมาของหนงั สือพิมพ์ - หนังสือพิมพฉ์ บับแรก Tsing Pao พิมพท์ ก่ี รุงปักกิง่ - หนังสือพมิ พฉ์ บับแรกในประเทศอังกฤษช่อื Courant เป็นหนังสอื พิมพ์ราคาบ พมิ พ์ในปี 1621 - หนังสือพิมพ์รายวันฉบับแรกในประเทศอังกฤษช่ือ London Daily Courant เป็นหนังสือพิมพ์ ราคาพมิ พใ์ นปี 1702 - หนังสือพิมพ์ฉบับแรกใน ประเทศสหรัฐอเมริกาช่ือ Public Occurences Both Foreign and Domestic พิมพใ์ นปี 1690 - หนังสือพิมพ์ฉบับแรกในประเทศไทยเป็นรายปักษ์ชื่อ Bangkok Recorder พิมพ์ท้ังภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ใน พ.ศ. 2387 โดยหมอบรดั เลย์ - หนงั สือพิมพร์ ายวนั ภาษาไทยฉบับแรกชื่อ “หนังสอื ขา่ วราชการ” ออกใน พ.ศ. 2418 โดยสมเด็จเจา้ ฟ้า กรมพระยาภานุพนั ธว์ งศว์ รเดช ในสมยั รัชกาลที่ 5 - ในสมัยรัชกาลท่ี 6 กิจการหนังสือพิมพ์ได้วิวัฒนาการข้ึนเป็นอันมาก เน่ืองจากพระองค์ทรงสนับสนุน การทำหนังสือพิมพ์ มีหนังสือพิมพ์ข่าวเพื่อประชาชน โดยมีเอกชนเป็นเจ้าของและผู้จัดพิมพ์ นักหนังสือพิมพ์ มอี สิ รเสรใี นการเสนอข่าวมากพอสมควร - ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการเปล่ียนแปลงการปกครอง มีการกำจัดสิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพ์ในการ เสนอขา่ ว ต้องไม่เขียนขา่ วเป็นเชงิ ยยุ งส่งเสรมิ ให้ราษฎรเขา้ ใจผิดตอ่ นโยบายประเทศ

- ปัจจุบันกิจการหนังสือพิมพ์มีความเจริญก้าวหน้ามาก การติดต่อสื่อสารด้านข่าวเป็นไปอย่างรว2ด4เร็ว ทวั่ โลก อุปกรณ์การพิมพ์ต่างๆ ทันสมัยข้ึน งานหนังสือพิมพ์ได้กลายเป็นอาชพี ที่น่าสนใจมากอาชีพหน่ึง (รญั จวน อนิ ทรกำแหง. 2520 : 47-49) 2.ประเภทของหนังสือพมิ พ์ 1. หนงั สอื พิมพ์รายวนั มกี ำหนดออกเปน็ ประจำทกุ วนั โดยสมำ่ เสมอ เชน่ ไทยรฐั เดลินิวส์ มติชน 2. หนังสือพิมพ์รายคาบหรือรายสัปดาห์ มีกำหนดออกเป็นระยะตามแต่จะกำหนด อาจเป็นรายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน หนังสือพิมพ์รายคาบไม่อาจเสนอข่าวสดได้เหมือนหนังสือพิมพ์รายวัน จะเสนอในรูปของ การสรุปข่าว เชน่ ประชาตธิ ุรกิจ ฐานเศรษฐกจิ ผจู้ ัดการ ภาพที่ 40 หนงั สอื พมิ พไ์ ทยรัฐ ภาพที่ 41 หนงั สือพิมพ์เดลนิ วิ ส์ ทม่ี า : https://www.google.co.th/search? ท่มี า : https://www.google.co.th/search? dcr=0&biw=1366&bih dcr=0&biw=1366&bih ภาพท่ี 42 มตชิ นสุดสปั ดาห์ ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr= 0&biw=1366&bih=588&tbm=isch&sa=1&ei=

25 3.ส่วนต่างๆ ของหนงั สือพิมพ์ 1. พ า ด หั ว ข่ า ว (Headline) เป็ น ก า ร คัดเลือกข่าวท่ีสำคัญ และน่าสนใจที่สุดมาเรียบเรียง สรุปเป็นสาระสำคัญสั้นๆ พิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาด ใหญ่ สะดุดตา เพ่ือเรียกร้องความสนใจของผู้อ่าน และเพื่อประหยดั เวลาให้ผูอ้ ่าน สามารถเลือกอ่านขา่ ว ได้ ทุกข่าวโดยไม่เสียเวลามาก หนังสือพิมพ์ส่วน ใหญ่ จะพาดหัวข่าวเพียงหน่ึงหรือสองข่าว และมัก ไม่เกินสามข่าวโดยจดั พิมพต์ ัวอักษรใหม้ ีขนาดลดหล่ัน กัน ลงมาตามระดับความสำคัญของขา่ ว ภาพที่ 43 พาดหวั ข่าว ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr= 0&biw=1366&bih=637&tbm=isch&sa=1&ei= 2. เน้ือหา เป็นส่วนที่อธิบายหรือรายงานเหตุการณ์ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นของผู้รายงานทั้งหมด เน้ือหา ประกอบด้วย 2.1.ข่าว (News) เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งข่าว ต่าง ๆ ที่รายงานเหตุการณ์ หรือเรื่องราว ที่น่าสนใจใน ชวี ิตประจำวนั ของคนทั่วโลก ซงึ่ ข่าวมี 2 ประเภท คือ ภาพที่ 44 เน้ือหาขา่ วท่ีมา : 1. ข่าวแขง็ (Hard news) ไดแ้ กข่ า่ วทม่ี ี https://www.google.co.th/search?dcr=0&bi สาระประโยชน์ เช่นขา่ วการศกึ ษา เศรษฐกิจ การเมอื ง w= 1366&bih=588&tbm=isch&sa=1&ei วัฒนธรรม การบรหิ ารประเทศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ประเทศ เปน็ ต้น และ 2. ข่ าว อ่ อ น (Soft news) ได้ แ ก่ ข่ าวกี ฬ า อุบัตเิ หตุ อาชญากรรม บนั เทงิ และขา่ วสงั คมเปน็ ตน้ 2.2 บทนำหรอื บทวจิ ารณ์ เป็นการแสดงความคิดเห็นเร่อื งใดเรอ่ื งหน่งึ ซึ่งมีความสำคัญบรรณาธิการ เปน็ ผู้เขียน 2.3 สารคดี บทความ คอลัมน์ประจำ จะมีข่าว เป็นประจำทุกฉบับ สารคดี คือเร่ืองที่มีสาระหรือเป็นวชิ าการ ส่วนบทความอาจเป็นความคดิ เห็นหรอื วิชาการ คอลมั น์น้ีมีชอ่ื ตามความเหมาะสม มีผูเ้ ขียนประจำ

26 2.4. ภาพประกอบ เป็นส่ิงสำคัญสำหรับ หนังสอื พิมพ์รายวันมากเพราะภาพประกอบจะทำให้ ข่าวเกิดความน่าสนใจและ ผู้อ่านมีความเข้าใจ มากขนึ้ ภาพที่ 45 ภาพประกอบ ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr= 0&biw=1366&bih=588&tbm=isch&sa 2.5. โฆษณา หนงั สือพมิ พ์รายวันมีโฆษณาแจ้ง ความของบริษัท หา้ งร้าน เชน่ เดียวกับวารสาร โฆษณาเป็น ราย ได้ ที่ สำคัญ ท่ี จะ ช่ว ยพ ยุงฐาน ะ ของ หนงั สอื พมิ พไ์ ว้ ภาพท่ี 46 โฆษณาในหนงั สอื พิมพ์ ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?

27 4.หน้าทข่ี องหนังสอื พิมพ์ 1. เสนอขา่ วสด รวดเร็ว ทนั ตอ่ เหตุการณ์ 2. ขา่ วทเ่ี สนอต้องชัดเจน ไม่คลุมเครือ ภาษาท่ีใช้เขียนขา่ วตอ้ งกระจา่ ง สำนวนเข้าใจง่าย 3. เสนอขา่ วด้วยความเทย่ี งตรงต่อความจรงิ 4. เสนอขา่ วทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชุมชนส่วนรวม เป็นตัวกลางประสานความเขา้ ใจระหว่างหนว่ ยงาน หรือประชาชนกบั ผ้ปู กครองประเทศ 5.ประโยชน์ของหนังสอื พิมพ์ 1. ให้ขา่ วสารทท่ี ันต่อเหตกุ ารณ์ท้ังในและต่างประเทศ 2. ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกับสิ่งแวดล้อมทกุ สภาพ 3. เปน็ สือ่ กลางระหว่างรฐั บาลกับประชาชน 4. ใช้เปน็ เอกสารอา้ งอิงทางการศึกษา 5. เปน็ สื่อบริการคลายทุกข์แกผ่ ูอ้ า่ น เช่น ประกาศรบั สมัครงาน ปญั หาด้านสุขภาพ ฯลฯ 6. เปน็ สง่ิ พิมพ์ท่แี พร่ขา่ วสารไดร้ วดเร็วกว่าส่ิงพิมพอ์ น่ื 7. ห้องสมดุ นำบทความท่ีมปี ระโยชน์มาทำกฤตภาคไวใ้ ช้ได้

28 วัสดตุ ีพมิ พ์ประเภทจุลสาร จุลสาร คือ ส่ิงพิมพ์ขนาดเล็ก หนาไม่เกิน 60 หน้า เสนอความรู้เฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งเพียงเรื่องเดียวจบสมบูรณ์ ภายในเล่ม เน้ือหาทันสมัยเป็นท่ีสนใจระยะหน่ึง จัดพิมพ์ เผยแพร่โดยหน่วยงานราชการ องค์การ สถาบัน สมาคมต่างๆ เช่น คู่มือประชาชน เรื่อง 37 วิธีในการป้องกันอุบัติเหตุจราจร ของสถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการ แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ห้องสมุดจัดเก็บจุลสารไว้ในแฟ้ม เป็นเป็นเรื่องๆ เรียงตามลำดับอักษรของหัวเร่ืองไว้ในตู้เหล็ก 4 ลิ้นชกั (อำไพวรรณ ทพั เป็นไทย. 2549 : 36) ภาพที่ 47 จลุ สาร ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr= 0&biw=1366&bih=588&tbm=isch&sa 1. วัตถุประสงคใ์ นการจัดทำจลุ สาร เพ่ือประชาสัมพันธ์หน่วยงานของตน หรือเป็นเรื่อง ปัจจุบันท่ีรายงานเหตุการณ์ซ่ึงเพ่ิงเกิดขึ้นเป็นเร่ืองท่ีเขียนข้ึน เฉพาะคราว เฉพาะเร่ือง เช่น การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ วันสำคญั ต่างๆ 2. รูปเลม่ และเนอื้ หาของจุลสาร รูปเล่มอาจเป็นแผ่นเดียวพับไปมา หรือเล่มบางๆ เน้ือหาเป็นเพียงเร่ืองเดียวและมีข้อความจบสมบูรณ์ในตัวเอง และเป็นเรื่องทันสมัย เขียนอย่างง่ายๆ จุลสารเหล่าน้ีจะแจก ให้เปล่าโดยไมค่ ิดมูลคา่ เพอ่ื เผยแพรม่ ากกว่าพิมพ์ออกจำหนา่ ย ภาพที่ 48 รูปเลม่ หรอื เนือ้ หาของจลุ สาร ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr=

29 2. ลกั ษณะสำคัญของจลุ สาร 1. จัดหวั ขอ้ สำคัญ แยกหวั ขอ้ เรียงลำดับการนำเสนอใหต้ อ่ เนอ่ื ง 2. อาจมีภาพประกอบหรอื ไมม่ กี ไ็ ด้ เวน้ ทว่ี ่างไว้ใหพ้ กั สายตาผูอ้ ่านบา้ งตามความจำเปน็ 3. อาจมีคำถามหรอื ประเด็นถามฝากให้คิดหรือทำกิจกรรมตอ่ เนอื่ งตอ่ ไปอีก 4. มกี ารกระตุ้นหรอื เสรมิ แรงให้ผูอ้ ่านสนใจอ่านและติดตาม 5. อาจใชก้ รณตี ัวอยา่ งประกอบให้การนำเสนอนา่ สนใจ 4. ประโยชน์ของจลุ สาร 1. ใหค้ วามรทู้ ่ีทันสมยั ทันต่อเหตุการณ์ 2. ใชเ้ ปน็ เอกสารค้นควา้ อา้ งองิ ได้ 3. เป็นสือ่ กลางประสานความเข้าใจระหวา่ งหนว่ ยงานทผ่ี ลิตจุลสารกบั บุคลภายนอก มาอา่ นจลุ สารกนั เถอะครบั ภาพท่ี 49 ปกจลุ สาร ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=

30 วัสดุตีพมิ พ์ประเภทกฤตภาค กฤตภาค (Clipping) เป็นทรัพยากรสารนเิ ทศ ประเภทวัสดุตีพิมพ์ที่จัดทำขึ้นใช้เองในห้องสมุด ทำข้ึนจากการตัดบทความหรือภาพจากหนังสือพิมพ์ วารสารหรือส่ิงพิมพ์อื่นๆ เฉพาะเร่ืองท่ีเป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาค้นคว้า นำมาผนึกบนกระดาษปกอ่อน เทาขาวขนาด A4 บอกแหล่งท่ีมาและให้หัวเร่ือง อย่างกว้างๆ เก็บไว้ในแฟ้ม แฟ้มละหัวเร่ือง จัดเรียง แฟ้มตามลำดับอักษรของหัวเรอื่ งใสต่ ู้กฤตภาคเพื่อการ ใช้ประโยชน์ต่อไป บทความที่ห้องสมุดเลือกนำมา ทำกฤตภาค ไดแ้ ก่ ชวี ประวตั ิบุคคล เรือ่ งราวหรือภาพ เก่ียวกับประเทศหรือสถานที่ต่างๆ การศึกษา กีฬา ขา่ วสำคัญ สารคดีท่ีเป็นสาระความรู้ มักเป็นเร่ืองราว ใหม่ๆ ท่ียังไม่มีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ กฤตภาค จึง เปน็ ส่วนหนงึ่ ของแหล่งความรูแ้ ละข้อเท็จจรงิ ทเ่ี กดิ ขึ้นใหมๆ่ (วัลลภ สวสั ดวิ ลั ลภ. 2544 : 12) ภาพท่ี 50 กฤตภาคจากหนังสือพมิ พ์ ที่มา : https://www.google.co.th/search?dcr= 0&biw=1366&bih=588&tbm สาระสำคัญอันเป็นประโยชน์ ท่ีได้รับจากกฤตภาคจะมากหรือน้อย ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์และ การเลือกข้อมูลของผผู้ ลติ 1. ส่งิ พิมพ์ทใี่ ชใ้ นการทำกฤตภาค 1. หนังสือพมิ พ์ 2. วารสารทไี่ มม่ คี ุณค่าพอแกก่ ารเย็บเล่ม 3. จลุ สาร 4. สิ่งพมิ พ์อื่น ๆ

31 2. ส่ิงท่คี วรเกบ็ เพ่อื จัดทำกฤตภาค 1 . ข่ า ว ได้ แ ก่ ข่ าว เกี่ ย ว กั บ ค ว าม เคลื่อนไหวทางการศึกษา,ข่าวความเคลื่อนไหว เหตุการณ์บ้านเมืองที่สำคัญ ข่าวต่างประเทศ ข่าวเก่ียวกับบุคคลสำคัญ การค้นพบ การสำรวจ หรอื วทิ ยาการกา้ วหน้าใหม่ ฯลฯ ภาพท่ี 51 ข่าวสำหรับทำกฤตภาคจากหนงั สอื พมิ พ์ ที่มา : https://www.google.co.th/search? dcr=0&biw=1366&bih=588&tbm 2. เรือ่ งราว หรือ บทความ ได้แก่ ประวัตบิ คุ คลทนี่ า่ สนใจ สถานทส่ี ำคัญ เกรด็ ประวัติศาสตร์ การค้นพบและการประดษิ ฐต์ ่างๆ แนะนำและวจิ ารณ์หนงั สือ ความรู้ท่ัวไป ฯลฯ 3. ภาพ ได้แก่ ภาพบุคคลสำคัญ สถานที่สำคัญ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาพเก่ียวกับธรรมชาติศึกษา ศิลปะและวฒั นธรรมตา่ งๆ ภาพแสดงกรรมวิธกี ารทำสง่ิ ของตา่ งๆ ภาพเหตุการณส์ ำคญั กิจกรรมตา่ งๆ ฯลฯ 3. การเลอื กข้อความ ผ้ผู ลิตกฤตภาคไม่ควรพิจารณาจากพาดหวั ข่าว หรือหวั ข้อเร่ือง เพราะพาดหัวขา่ วหรือหวั ข้อเรื่องมุ่งการ ประชาสัมพนั ธ์มากกวา่ สาระ ดงั นั้นการเลือกรปู ภาพ ขา่ ว บทความใดๆ ควรอ่านขอ้ มูลให้ตลอด เพอ่ื ใหค้ วามมนั่ ใจ ว่าข้อมูลที่เลือกน้ันมีประโยชน์ อยู่ในความสนใจ น่าเช่ือถือ การเรียงลำดับข้อมูลมีสาระมากพอ ถ้าเป็น รูปภาพ ควรเป็นรูปภาพท่ีสวยงาม ชัดเจน และหายาก มีคำอธิบายภาพประกอบ ภาพใหญ่พอให้นักเรียนดูได้ ทั้งช้ัน ข้อความท่ีจะตัดมาทำกฤตภาค ควรได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้ได้ข้อความท่ีมีคุณค่า มิฉะนั้นก็จะรกตู้ รกหอ้ งเปลา่ ๆ 4. อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการทำกฤตภาค 1. กระดาษโรเนยี วอยา่ งหนา หรือกระดาษโปสเตอร์ อย่างบาง 2. กาวหรือแป้งเปียก 3. ผา้ สะอาด 4. ที่เย็บกระดาษ หรือเข็มหมุด หรอื ลวดเสียบ กระดาษ 5. ดินสอ ปากกาลูกล่ืนสแี ดงและดำ อย่างละ 1 ดา้ ม 6. ไมบ้ รรทัด ยางลบ 7. กรรไกร

32 5.การทำกฤตภาค มวี ิธกี ารทำดงั น้ี 1. สำรวจคัดเลือกข้อความตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ แล้วตัดข้อความทีละเรอ่ื ง เพ่ือมิให้สับสนโดยตัด ให้ครบดว้ ยความประณตี มีขอบ ถา้ เปน็ ภาพตอ้ งตดั คำอธิบายติดมาดว้ ย 2. เขียนแหล่งท่ีมาของข้อความ คือ ช่ือหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร ปีท่ี ฉบับท่ี วันเดือน ปี และหน้าท่ี ตีพิมพข์ อ้ ความนน้ั 3. เรียงชนิ้ ส่วนแตล่ ะเรอื่ ง แลว้ เยบ็ รวมกันเปน็ ปกึ ของแตล่ ะเรื่อง 4. จัดช้ินส่วนที่จะผนึกบนกระดาษทำกฤตภาค กะให้ได้สัดส่วนงดงาม เหลือเน้ือท่ีด้านข้างท้ังซ้ายขวา บนและล่างให้ได้สัดส่วนกัน ถ้าหากข่าวหรือเร่ืองราวยาว จะต้องกะดูว่าจะติดในแผ่นเดียวกันหมดหรือจะติดต่อ ในอีกแผ่นหน่ึง เมื่อกะแน่นอนแล้วใช้ดินสอทำเคร่ืองหมายไว้ ถ้าหากภาพมีขนาดโตไม่สามารถติดบนกระดาษ โรเนยี วได้ ก็ควรจะใช้กระดาษโปสเตอร์อย่างบาง ตัดใหข้ นาดพอเหมาะกับภาพนั้น ถ้าภาพน้ันมคี ำอธบิ ายส้ัน ๆ ใต้ภาพ อาจจะติดไว้หนา้ เดยี วกบั ภาพ แตถ่ ้าคำอธบิ ายยาว ควรตดิ ไว้ด้านหลงั ของภาพนนั้ 5. ใช้กาวหรือแป้งเปียกทาตรงริมด้านหลังของข่าวหรือภาพนัน้ บางๆ ให้ตลอดท้ัง 4 ดา้ นแล้วค่อยๆ วาง ลงบนแผน่ กระดาษทท่ี ำเครื่องหมายไว้ 6. ใช้มือค่อยๆ รีดขอบของข่าวหรือภาพนั้นให้เรียบเสมอกันทั้ง 4 ด้าน ถ้าหากเลอะออกมาข้างนอก ควรเชด็ ออกให้หมด 7. ใช้ปากกาสีดำ เขียนช่ือหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร หรือจุลสาร ท่ีตัดข่าวหรือภาพนั้นมาพร้อมท้ัง วนั เดอื น ปี และหน้าทีล่ งขา่ วหรือภาพนั้น ทม่ี มุ ลา่ งดา้ นซา้ ย และใช้ปากกาสแี ดงเขยี นหัวเรอ่ื งทีม่ ุมด้านขวา 8. หาของหนักๆ ทับ เพ่ือว่าเวลาแหง้ แลว้ กระดาษจะเรยี บ 9. จัดภาพหรือเร่ืองราวที่มีหัวเร่ืองเดียวกันไว้ด้วยกัน ในแฟ้มเดียวกัน แล้วเขียนหัวเร่ืองกำกับไว้ท่ีแฟ้ม ดว้ ยสีแดง ถ้าภาพขนาดโตควรหาท่เี ก็บไว้ตา่ งหาก ภาพท่ี 52-53 กจิ กรรมสง่ เสริมอา่ นหนงั สือพมิ พแ์ ละการทำกฤตภาค ท่ีมา : ธนชั พร ยนั ตะพันธ์

33 หัวเร่ือง กำหนดขึ้นแทนข้อมูลของเรื่อง ประกอบด้วยคำ หรือวลี มีลักษณะเป็นคำเดียวหรือกลุ่มคำ ท่ีให้ความหมายเด่นชัด ได้ใจความ สั้น กะทัดรัด ได้แก่ ภาษาไทย - ประวัติศาสตร์ บ้านกับโรงเรียน อาหาร เครอ่ื งดนตรไี ทย ดาราศาสตร์ (1 ) ฯลฯ ด้ังนั้น หัวเรื่องจึงไม่ใช่ชื่อเร่ือง ช่ือภาพหรือพาดหัวข่าว แต่เป็นกลุ่มคำท่ีผู้ผลิตเป็นผู้กำหนดใช้ข้อมูล ของเรอื่ งนน้ั แบง่ แทนหัวเรื่องใหญ่ และหัวเรือ่ งยอ่ ย หัวเรือ่ งใหญ่ เป็นหัวเรื่องทั่วๆ ไป ไม่เน้นเฉพาะดา้ นใด ด้านหน่งึ มักใช้คำเดยี วกำหนดหวั เรอื่ งไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ถา้ มกี ารกำหนด ขอบเขตของขอ้ มูลท่เี ฉพาะ เจาะจงด้านใดด้านหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น ข้อมูลท่ีให้ความรู้ด้าน โบราณคดี ที่เน้นเก่ียวกับประวัติโบราณคดี หัวเร่ืองที่กำหนด คอื โบราณคดี - ประวัติศาสตร์ “ประวตั ิ” เป็นหัวเร่อื งย่อยท่ตี ้อง ตามหลังหัวเร่ืองใหญ่ โดยใช้ - ( ขีด ) คั่นระหว่างหัวเร่ืองใหญ่กับ หวั เรอ่ื งย่อย สำหรับการให้หัวเรื่องที่มีข้อมูลสัมพันธ์กัน สองเรื่อง ใช้ “และ” ค่ันคำทั้งสอง ถ้าข้อมูลตรงกันข้ามใช้ “กับ” ค่ันคำ เช่น บา้ นกบั โรงเรยี น กรณีที่หัวเร่ืองเป็นกลุ่มคำ ได้แก่ การปรุงอาหาร การให้ หัวเร่ืองประเภทน้ี ต้องย้ายคำที่เน้นหนักมาไว้ข้างหน้า โดยใช้ จุลภาคคัน่ เป็น อาหาร, การปรงุ การเลย้ี งกบ เป็น กบ, การเลีย้ ง ฯลฯ ภาพที่ 54 ผลงานนกั เรยี นการทำกฤตภาคจากหนงั สอื พมิ พ์ ทมี่ า : ธนัชพร ยันตะพันธ์ การนำกฤตภาค ไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการอ่าน เสริมประสบการณ์ มีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับ วธิ กี ารและกระบวนการของผู้นำไปใช้ เช่น การจัดนิทรรศการ จัดเกมฝึกความคดิ เชาวน์ปญั ญา การจดั กิจกรรม แข่งขนั ตอบปญั หาทกั ษะรายวชิ าตา่ งๆหรือนำไปใชเ้ ปน็ สื่อการสอนในช้นั เรยี นซงึ่ ใชไ้ ดท้ กุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ฯลฯ บทสรปุ กฤตภาค เป็นวัสดุที่ห้องสมุดจัดทำข้ึนเอง เพ่ือประโยชน์สำหรับใช้เป็นเอกสารคน้ คว้าอ้างอิง วธิ กี ารจดั ทำกฤตภาค ไม่ยุง่ ยาก โดยการตัดเรือ่ งราว หรอื ข้อความ จากวารสารและหนังสอื พมิ พ์ ตดิ ลงบนกระดาษ บอกแหล่งที่มาใหห้ ัวเรอื่ ง เกบ็ ใสแ่ ฟม้ ตามตวั อักษร ก - ฮ เรยี งใสต่ ู้กฤตภาค

แบบฝกึ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมที่ 3 34 เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใชห้ ้องสมดุ เล่มท่ี 2 วัสดสุ ารนเิ ทศ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 คะแนนเตม็ 10 คะแนน จำนวน 5 ข้อ เวลา 10 นาที คำสง่ั ให้นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1.วัสดุสารนเิ ทศหอ้ งสมดุ หมายถงึ อะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (2 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… 2.ให้นักเรียนอธิบายความหมายวสั ดุตพี ิมพ์ พร้อมบอกประเภทวัสดุตีพิมพ์ มา 3 ประเภท (2 คะแนน) …………………………………………………………………………………..…………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… 3.ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายความหมายวัสดไุ ม่ตพี ิมพ์ พร้อมบอกประเภทวัสดุไม่ตพี มิ พ์ มา 3 ประเภท (2 คะแนน) …………………………………………………………………………………..………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…………. ………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….…………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… 4.ให้นักเรยี นอธิบายความหมายวารสาร พรอ้ มบอกชอื่ วารสาร มา 2 ช่อื (2 คะแนน) ……….…………………………………………………………………………..……………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………. เชน่ ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 5.ให้นักเรียนอธบิ ายความหมายหนังสือพิมพ์ พรอ้ มบอกชือ่ หนังสอื พิมพร์ ายวนั มา 2 ชื่อ (2 คะแนน) ……………..…………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………. เชน่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมท่ี 4 35 เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการใช้ห้องสมดุ เล่มท่ี 2 วสั ดุสารนเิ ทศ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 คะแนนเต็ม 10 คะแนน จำนวน 20 ข้อ เวลา 10 นาที คำสั่ง ให้นักเรยี นจับคูโ่ ดยนำตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามอื มาใส่หน้าตวั เลขที่เหมาะสมด้านซา้ ยมือใหถ้ ูกตอ้ ง (10 คะแนน) ....................1.ปกนอก ก.เปน็ ส่วนแรกของหนังสอื ทผี่ อู้ ่านตอ้ งอา่ นอยา่ งละเอียด ....................2.คำนำ ข.เปน็ หน้าทอ่ี ยู่ถัดจากใบรองปกมแี ตช่ ื่อเรอ่ื งของหนังสือ ....................3.ใบหมุ้ ปก ค.สว่ นมากเป็นกระดาษขาว ว่างเปล่า ช่วยยึดปกกับตัวเลม่ ....................4.หนา้ ปกใน ง.กระดาษท่ีใชห้ ่อห้มุ ปกนอกของหนงั สอื ท่เี ปน็ ปกแขง็ ....................5.สันหนงั สือ จ.จะอยดู่ ้านหนา้ ของหนา้ ปกใน ....................6.สารบญั ฉ.มเี ฉพาะหนังสอื หนาๆ เป็นสว่ นเช่ือมระหว่างปกหน้าปกหลงั ....................7.หนา้ ชือ่ เรื่อง ช.อย่ตู ่อจากหน้าคำนำบอกให้ทราบวา่ มเี น้ือหาเรื่องอะไรบา้ ง ....................8.เชิงอรรถ ซ.เป็นหนา้ ท่สี ำคญั ทสี่ ุดของหนังสือให้รายละเอยี ดของหนงั สอื ....................9.บรรณานกุ รม ฌ.สว่ นท่สี ำคญั ทสี่ ดุ ของหนงั สือ ...................10.ดรรชนี ญ.รายชือ่ หนงั สือ วารสาร และวสั ดุสารนิเทศที่ใชเ้ ป็นหลักฐาน ในการเรยี บเรยี งหนงั สอื ...................11.ใบรองปก ฎ.มที ้ังปกหน้าและปกหลังมีสนั หนงั สอื เปน็ ส่วนชว่ ยยึด ปกเข้าดว้ ยกนั ...................12.ภาคผนวก ฏ.ส่วนประกอบนอกเหนือเนื้อหาที่เพมิ่ เติมเข้ามา ...................13.อภธิ านศัพท์ ฐ.บางคร้งั เรียกสารบญั ค้นเร่ือง สารบัญค้นคำหรือหวั ข้อยอ่ ย ...................14.เนอื้ หา ฑ.บญั ชีคำศพั ท์เฉพาะหรอื คำศัพท์ยากๆ อยู่ในเนื้อเรอ่ื ง ...................15.หนา้ ลขิ สทิ ธิ์ ฒ.ข้อความบอกแหลง่ ท่ีมาของเน้อื หา คำศัพท์ ข้อความอธิบาย ...................16.กฤตภาค ณ.ส่งิ พิมพข์ นาดเล็ก ให้ความรูเ้ กีย่ วกบั เรอ่ื งใด เรอื่ งหนึ่ง มีความหนาไม่เกนิ 60 หน้า ...................17.จลุ สาร ด.วัสดุสารนเิ ทศทใี่ ห้ท้งั ภาพและเสียง เชน่ สไลด์ประกอบ เสียง ภาพยนตร์ โทรทัศน์ ...................18.วารสารหรือนติ ยสาร ต.สงิ่ พิมพท์ มี่ กี ำหนดออกแน่นอน เป็นรายสปั ดาห์ ราย ปกั ษ(์ 15วนั ) รายเดอื น ราย 3 เดอื น ราย 6 เดอื น เช่น สกุลไทย ขวัญเรือน ...................19.หนังสือพมิ พ์ ถ.สง่ิ พิมพท์ ี่ห้องสมดุ จดั ทำขึ้น เปน็ ข้อความหรือเรอื่ ง ท่ีตัดมาจากวารสาร หนงั สอื พิมพ์ลว่ งเวลา นำมาผนึก ลงในกระดาษ ...................20.โสตทัศนวัสดุ ท.สงิ่ พิมพท์ ี่เสนอขา่ วและเหตกุ ารณ์ ความเคลอ่ื นไหว ใหม่ๆ ท้งั ภายในและภายนอกประเทศ ทันสมัย

แบบทดสอบหลังเรยี น เร่ือง วสั ดุสารนเิ ทศ 36 เอกสารประกอบการเรยี นชุดการศกึ ษาคน้ ควา้ โดยใช้ห้องสมดุ และแหลง่ เรียนรู้ เล่มที่ 2 เรอ่ื ง วสั ดสุ ารนิเทศ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 คะแนนเตม็ 10 คะแนน จำนวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที คำสั่ง 1.แบบทดสอบฉบับนีม้ ีขอ้ ทดสอบทัง้ หมด 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2.ใหน้ ักเรียนทำเครื่องหมายกากบาท x ทบั อกั ษร ก ข ค และ ง ในกระดาษคำตอบท่เี ห็นวา่ ถกู ต้อง ทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว 1. หนังสือทผี่ ู้เขียนเขียนขน้ึ โดยอาศัยจินตนาการ อา่ นเพอ่ื 6. สิ่งพิมพท์ ่ีมคี วามหนาไมเ่ กนิ 60 หน้า ออกโดยหนว่ ย ความเพลิดเพลิน ได้แก่ หนังสือประเภทใด ราชการและองค์การตา่ ง ๆ แจกฟรี ได้แก่ ก. หนังสืออ้างอิง ข. สารคดี ก. กฤตภาค ข. จุลสาร ค. นวนิยาย ง. จุลสาร ค. วารสาร ง. นติ ยสาร 2. หนังสือทม่ี ุ่งใหค้ วามรู้และสาระแกผ่ อู้ า่ นเป็นหนงั สอื 7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชน์จากหนังสอื พิมพ์ ประเภทใด ก. ใหข้ า่ วสารทันต่อเหตุการณ์ ข. ม่งุ ให้ความบันเทงิ เปน็ สว่ นใหญ่ ก. หนังสอื พิมพ์ ค. ใชเ้ ปน็ เอกสารอ้างองิ ทางการศกึ ษา ข. หนังสือสารคดี ง. เปน็ สื่อบริการคลายทกุ ขต์ ่อผู้อ่าน ค. หนังสือนวนิยาย ง. หนังสอื รวมเร่ืองสัน้ 8. วัสดสุ ารนเิ ทศประเภทวสั ดไุ มต่ ีพมิ พไ์ ดแ้ ก่ 3. จากหนงั สอื ขา้ งลา่ งข้อใดเปน็ หนงั สือสารคดีหรือหนังสอื ก. วารสาร ข. หนงั สอื พมิ พ์ ท่ใี ห้ความรมู้ ากกว่าความบันเทิง ค. โสตทัศนวสั ดุ ง. หนังสือ ก. แบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ข. แฮร์รี่ พอต เตอร์ 9. ขวญั เรือน เปน็ วารสารประเภทใด ก. วารสารล่วงเวลา ค. นทิ านแต้มฝนั ง. แก้วจอมซน ข. วารสารวชิ าการ ค. วารสารข่าวเชิงวจิ ารณ์ 4. ข้อใดเปน็ วัสดไุ ม่ตีพมิ พ์ ง. วารสารท่ัวไปหรือนติ ยสาร ก. รปู ภาพ จลุ สาร หุ่นจำลอง ข. รปู ภาพ ของตวั อยา่ ง กฤตภาค 10. สง่ิ พิมพ์ท่ตี ัดข่าวหรือบทความจากวารสาร, ค. รูปภาพ แถบบันทกึ เสียง นวนยิ าย ง. รูปภาพ แถบบันทึกเสยี ง ลูกโลก หนังสือพิมพแ์ ลว้ นำมาผนกึ บนกระดาษโรเนยี วให้ 5. สว่ นที่สำคญั ท่ีสดุ ของหนังสือคือส่วนใด หัวเร่อื งบอกแหลง่ ท่มี าได้แก่ ก. สารบัญ ข. เนอื้ หา ก. กฤตภาค ข. จุลสาร ค. บรรณานุกรม ง. คำนำ ค. วารสาร ง. นิตยสาร

บรรณานุกรม 37 กิจกรรมส่งเสริมอ่านหนังสือพมิ พ์และการทำกฤตภาค. ทีม่ า : ธนชั พร ยนั ตะพันธ์. [สืบคน้ 20 สงิ หาคม 2559]. กฤตภาคจากหนังสือพิมพ์. ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih= 588&tbm. [สืบค้น 19 สิงหาคม 2559]. ข่าวสำหรับทำกฤตภาคจากหนังสอื พิมพ์. ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr= 0&biw=1366&bih=588&tbm. [สบื ค้น 20 สงิ หาคม 2559]. คอมพวิ เตอร์. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?tbm= isch&sa=. [สบื ค้น 16 กันยายน 2559]. คำอภธิ านศัพท์. ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw. [สืบคน้ 8 สิงหาคม 2559]. เครือ่ งอ่านไมโครฟิช. ท่มี า :https://www.google.co.th/search?tbm=. [สืบค้น 15 กนั ยายน 2559]. โฆษณาในหนังสือพมิ พ.์ ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?. [สบื ค้น 1 กนั ยายน 2559]. จุลสาร. ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=588&tbm= isch&sa. [สบื คน้ 18 สงิ หาคม 2559]. เชงิ อรรถ. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih =637&tbm=isch&sa=. [สืบค้น 6 สิงหาคม 2559]. ฐานขอ้ มลู ซดี รี อม. ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?tbm=isch&sa. [สืบค้น 20 กนั ยายน 2559]. ฐานข้อมลู ซีดรี อม. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?tbm=isch&sa. [สืบค้น 21 กนั ยายน 2559]. ฐานข้อมลู ทรัพยากรห้องสมดุ . ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?q=0&source= lnms&tbm=isch&sa=. [สบื คน้ 23 กนั ยายน 2559]. ฐานข้อมลู อินเตอรเ์ นต็ . ทมี่ า : https://google.co.th/search?q=0&source=lnms&tbm= isch&sa=. [สบื ค้น 18 กนั ยายน 2559]. โทรทัศน์. ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?tbm= isch&sa=1&ei. [สืบคน้ 8 กันยายน 2559]. เน้ือหาข่าว. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw= 1366&bih=588&tbm= isch&sa=1&ei. [สืบคน้ 17 สิงหาคม 2559]. บทความวารสาร. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?q=เน้ือหาบทความใน วารสาร&dcr=0&source=lnms&tbm=isch&sa. [สืบคน้ 12 สิงหาคม 2559]. บรรณานุกรม. ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih= 588&tbm=isch&sa=. [สืบคน้ 7 สิงหาคม 2559].

บรรณานกุ รม (ต่อ) 38 ใบรองปกหรือมบยดึ ปก. ท่มี า : ศักดช์ิ ัย บญุ มา. จดหมายเหตุเลา่ เรอ่ื งอนุสาวรยี ์เมอื งบางกอก. [สืบคน้ 30 กันยายน 2559]. ใบหมุ้ ปก. ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?q=ใบหุ้มปก&dcr=0&source= lnms&tbm=isch&sa=. [สืบคน้ 26 กันยายน 2559]. ปกจุลสาร. ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?dcr=. [สืบคน้ 1 กนั ยายน 2559]. ปกวารสาร. ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?q=ปกวารสาร&dcr=0&source= lnms&tbm=isch&sa= [สบื คน้ 10 สิงหาคม 2559]. ปกวารสาร. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?q=ปกวารสาร&dcr=0&tbm= isch&tbo=u&source. [สืบคน้ 11 สิงหาคม 2559]. ปกวารสารวชิ าการ. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?q=ปกวารสาร&dcr=0&tbm= isch&tbo=u&source. [สบื คน้ 10 สิงหาคม 2559]. ปกหนังสอื . ท่ีมา : วีระวรรณ วรรณโท. การจัดกจิ กรรมหอ้ งสมดุ . [สบื ค้น 28 กันยายน 2559]. ผลงานนักเรยี นการทำกฤตภาคจากหนงั สอื พมิ พ์. ท่ีมา : ธนชั พร ยันตะพันธ์. [สบื คน้ 21 สิงหาคม 2559]. แผ่นเสยี ง. ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?tbm. [สบื ค้น 3 กันยายน 2559]. พาดหัวข่าว. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=637&tbm= isch&sa=1&ei=. [สืบคน้ 16 สงิ หาคม 2559]. ฟลิ ม์ ภาพยนตร์. ที่มา : https://www.google.co.th/search?tbm=isch&sa=1&ei. [สืบค้น 9 กนั ยายน 2559]. ภาพประกอบ. ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=588&tbm= isch&sa. [สบื คน้ 17 สงิ หาคม 2559]. มตชิ นสดุ สปั ดาห.์ ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih= 588&tbm=isch&sa=1&ei=. [สบื คน้ 16 สิงหาคม 2559]. ไมโครฟิช. ที่มา : https://www.google.co.th/search?tbm=isch&sa=. [สบื ค้น 14 กันยายน 2559]. ไมโครฟิลม์ . ที่มา : https://www.google.co.th/search?tbm= isch&sa=. [สบื ค้น 10 กันยายน 2559]. ไมโครฟลิ ์ม. ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?tbm= isch&sa=. [สืบค้น 12 กนั ยายน 2559]. รญั จวน อินทรกำแหง. (2520). แบบเรยี นการใช้ห้องสมดุ (หส.011). กรงุ เทพมหานคร : วัฒนาพานิช. รปู เล่มหรอื เน้อื หาของจุลสาร. ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=. [สบื ค้น 19 สิงหาคม 2559].

39 บรรณานุกรม (ต่อ) ลกู โลก. ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?tbm= isch&sa=. [สืบค้น 6 กันยายน 2559]. วดี ทิ ศั น์. ที่มา : https://www.google.co.th/search?tbm= isch&sa=. [สบื ค้น 25 กันยายน 2559]. วดี ทิ ศั น.์ ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?tbm= isch&sa=. [สบื คน้ 25 กันยายน 2559]. วิทยุ. ท่ีมา : https://google.co.th/search?q=วทิ ย&ุ prmd=imnv&source= lnms&tbm=isch&sa=. [สืบค้น 2 กนั ยายน 2559]. วรี ะวรรณ วรรณโท. (2554). แผนการสอนวชิ างานหอ้ งสมุด 2 (ช 0246). พิมพค์ รั้งท่ี 2 กรุงเทพมหานคร : บรรณกจิ . วัลลภ สวัสดวิ ลั ลภและคนอืน่ ๆ. (2544). สารนเิ ทศเพอ่ื การศึกษาคน้ ควา้ . พิมพ์ครั้งที่ 4. นครปฐม : โปรแกรมวิชาบรรณารกั ษศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร์ สถาบันราชภฎั นครปฐม. สันหนงั สือ. ท่ีมา : https://www.google.co.th/search?q=สนั หนังสือ&dcr=0&source= lnms&tbm=isch&sa= [สบื คน้ 28 กนั ยายน 2559]. หน้าคำนำ. ท่ีมา : ลมลุ รตั ตากร. การใช้หอ้ งสมุด. [สบื ค้น 3 สงิ หาคม 2559]. หน้าชื่อเรือ่ ง. ที่มา : ศกั ดชิ์ ัย บุญมา. จดหมายเหตเุ ลา่ เร่อื งอนุสาวรยี เ์ มอื งบางกอก. [สบื คน้ 30 กันยายน 2559]. หน้าโฆษณา. ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih= 588&tbm=isch&sa=1&ei=ภาพประกอบหรอื โฆษณาในวารสาร&oq=. [สืบคน้ 13 สงิ หาคม 2559]. หน้าดัชนี. ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih=637&tbm= isch&sa=[สืบค้น 9 สงิ หาคม 2559]. หนา้ เนอ้ื หา. ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?q=หน้าเนือ้ หาในหนังสือ&tbm= isch&tbs. [สบื คน้ 5 สิงหาคม 2559]. หน้าปกใน. ท่มี า : วีระวรรณ วรรณโท. การจดั กจิ กรรมห้องสมดุ . [สบื ค้น 1 สิงหาคม 2559]. หนา้ ภาคผนวก. ท่มี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw= 1366&bih=588&tbm=isch&sa=. [สบื ค้น 7 สงิ หาคม 2559]. หน้าลขิ สิทธ์ิ. ทม่ี า : สุวลยั กลั่นความดี. ระบบควบคุม. [สบื ค้น 1 สิงหาคม 2559]. หนา้ สารบญั . ท่ีมา : ลมลุ รตั ตากร. การใชห้ ้องสมดุ . [สบื ค้น 4 สงิ หาคม 2559]. หนา้ สารบัญ. ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=หน้าสารบญั วารสาร&dcr=0&tbm= isch&tbo=u&source=univ&sa=. [สืบคน้ 12 สงิ หาคม 2559]. หนงั สอื พมิ พ.์ ที่มา : https://www.google.co.th/search?dcr= &biw= 1366&bih=637&tbm= isch&sa=1&ei=80J8Ws62KIqH8wXW8qTIDg&q=หนังสือิ พมิ พ์&oq. [สบื คน้ 13 สิงหาคม 2559]. หนังสือพมิ พ์เดลินิวส์. ท่ีมา : https://www.google.co.th/search? dcr=0&biw=1366&bih. [สืบคน้ 15 สงิ หาคม 2559]. หนงั สือพิมพไ์ ทยรฐั . ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?dcr=0&biw=1366&bih. [สืบคน้ 15 สิงหาคม 2559].

บรรณานกุ รม (ต่อ) หุ่นจำลอง. ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?tbm=isch&sa=. [สบื ค้น 5 กนั ยายน 2559]. อำไพวรรณ ทพั เปน็ ไทย. (2549). การเขยี นรายงานและการใช้หอ้ งสมดุ . กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร.์ เอ้อื มพร ทศั นประสิทธผิ ล. (2542). สารนเิ ทศเพอ่ื การศึกษาคน้ คว้า. กรงุ เทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.

ภาคผนวก

41 เฉลยแบบฝกึ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมที่ 3 เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการใช้ห้องสมดุ เล่มที่ 1 วัสดุสารนิเทศ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 คะแนนเตม็ 10 คะแนน จำนวน 5 ข้อ เวลา 10 นาที 1.วัสดุสารนิเทศหอ้ งสมดุ หมายถึงอะไร แบง่ ออกเปน็ ก่ีประเภท อะไรบ้าง (2 คะแนน) แนวการตอบ วัสดุสารนเิ ทศ หมายถึง วสั ดุทีใ่ ช้เพอ่ื การอ่านและการศึกษาค้นคว้าทกุ รปู แบบ ทุกสาขาวิชา ซ่งึ หอ้ งสมุดไดจ้ ัดหามา และจัดเก็บรวบรวมเอาไวเ้ พือ่ ใหบ้ รกิ ารแก่ผู้ใชใ้ นหอ้ งสมุด วัสดุสารนิเทศ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.วสั ดุตีพมิ พ์ 2.วัสดไุ มต่ ีพิมพ์ 2.ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายความหมายวัสดุตพี มิ พ์ พรอ้ มบอกประเภทวสั ดตุ พี มิ พ์ มา 3 ประเภท (2 คะแนน) แนวการตอบ วสั ดุตีพมิ พ์ คือ สง่ิ พมิ พ์ทัง้ หลายที่ใชเ้ ป็นสอื่ ความรรู้ ะหวา่ งผ้เู ขยี นกับผอู้ ่าน อนั ประกอบดว้ ยความรู้ สาระ และความบันเทงิ วสั ดตุ ีพมิ พ์ แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ดงั น้ี 1.หนังสอื 2.วารสารหรือนิตยสาร 3.หนงั สือพมิ พ์ 4.จุลสาร 5.กฤตภาค 3.ใหน้ ักเรียนอธบิ ายความหมายวัสดไุ ม่ตพี มิ พ์ พร้อมบอกประเภทวสั ดไุ มต่ ีพิมพ์ มา 3 ประเภท (2 คะแนน) แนวการตอบ วัสดุไม่ตีพิมพ์หรือโสตทศั นวสั ดุ หมายถึง ส่ือความรทู้ ้ังหลายทีอ่ ยู่ในรูปของภาพและเสยี ง ทำใหเ้ กิดการเรียนรูไ้ ด้เรว็ เข้าใจงา่ ยและชัดเจน วสั ดุไมต่ พี มิ พ์ แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ดังน้ี 1.โสตวสั ดุ 2.ทศั นวสั ดุ 3.โสตทศั นวสั ดุ 4.วสั ดุย่อส่วน 5.วสั ดุอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4.ใหน้ กั เรียนอธิบายความหมายวารสาร พร้อมบอกชื่อวารสาร มา 2 ช่ือ (2 คะแนน) แนวการตอบ วารสาร (Periodicals) คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกติดต่อกันสม่ำเสมออาจเป็นรายปักษ์ รายเดือน ฯลฯ ให้ความรู้ รวมท้ังเกร็ดความรู้ ความบันเทิง อาจมีเร่ืองราวต่างๆ รวมอยู่ในฉบับเดียวกัน เป็นส่ิงพิมพ์ท่ีนำเสนอสาระความรู้ในรูปของบทความโดยแบ่งออกเป็นคอลัมน์ต่างๆ ในวารสารฉบับหนึ่ง ประกอบด้วยหลายคอลัมน์ และแต่ละฉบับจะให้รายละเอียดเก่ียวกับช่ือวารสาร เล่มท่ี ฉบับท่ี ปีท่ีพิมพ์วารสาร และเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN = International Standard Serial Number เช่น สกุลไทย ขวัญเรอื น วารสารวชิ าการ วารสารแม็ค ม.ต้น วารสารแม็ค ม.ปลาย มตชิ นสดุ สัปดาห์ เปน็ ตนั

42 5.ให้นกั เรียนอธบิ ายความหมายหนังสือพมิ พ์ พรอ้ มบอกช่อื หนังสือพิมพ์รายวัน มา 2 ชื่อ (2 คะแนน) แนวการตอบ หนงั สอื พิมพ์ (Newspapers) เป็นส่ิงพิมพท์ ่ีเสนอข่าวและเหตุการณ์ความเคล่ือนไหวใหม่ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศท่ีเกิดขึ้นในแต่ละวัน ออกเป็นวาระติดต่อกันเป็นลำดับ มีลักษณะเป็นกระดาษ ขนาดใหญ่หลายแผ่นพับได้ เสนอข่าวที่น่าสนใจ ช่วยให้ผู้อ่านเป็นผู้ทันต่อความเคล่ือนไหวและการเปล่ียนแปลง ของสังคมเสมอ เช่น หนังสือพิมพไ์ ทยรัฐ หนงั สอื พิมพ์เดลินวิ ส์ หนังสือพิมพม์ ติชน

43 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝึกปฏบิ ัติกจิ กรรมที่ 3 เอกสารประกอบการเรียนวิชาการใช้หอ้ งสมุด เล่มที่ 1 วสั ดุสารนิเทศ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 คะแนนเต็ม 10 คะแนน จำนวน 5 ขอ้ เวลา 10 นาที เกณฑก์ ารให้คะแนน (Rubrics) 1.วัสดสุ ารนิเทศหอ้ งสมดุ หมายถงึ อะไร แบง่ ออกเปน็ ก่ีประเภท อะไรบา้ ง (2 คะแนน) คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 0 คะแนน ไม่สามารถอภบิ ายความหมายของห้องสมดุ ได้ 0.5 คะแนน อภิบายความหมายของหอ้ งสมดุ ไดแ้ ตข่ าดความละเอียด 1 คะแนน อภิบายความหมายของหอ้ งสมุดไดอ้ ย่างละเอยี ด แต่ไมถ่ กู ตอ้ งสมบรู ณ์ 1.5 คะแนน อภิบายความหมายของห้องสมดุ ไดอ้ ยา่ งละเอียดและถูกต้องสมบรู ณ์ 2 คะแนน อภิบายความหมายของหอ้ งสมุดได้อย่างละเอยี ดและถกู ตอ้ งสมบูรณ์มาก 2.ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายความหมายวสั ดุตีพิมพ์ พร้อมบอกประเภทวสั ดตุ ีพิมพ์ มา 3 ประเภท (2 คะแนน) คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 0 คะแนน ไมส่ ามารถบอกความหมายของวสั ดตุ พี มิ พ์ และบอกประเภทวัสดตุ ีพมิ พไ์ ม่ได้ 0.5 คะแนน อธบิ ายความหมายวัสดตุ พี ิมพ์ได้แตข่ าดความละเอียด และบอกประเภทวัสดตุ พี มิ พ์ได้ เพียง 1 ประเภท 1 คะแนน อธิบายความหมายวัสดุตพี มิ พ์ได้อยา่ งละเอียด แต่ไม่ถกู ต้องสมบูรณ์ และบอกประเภท วัสดตุ ีพิมพไ์ ดเ้ พียง 2 ประเภท 1.5 คะแนน อธบิ ายความหมายวัสดุตพี มิ พ์ได้อยา่ งละเอียดถูกต้องสมบรู ณ์ และบอกประเภทวสั ดุ ตีพมิ พไ์ ด้เพียง 2 ประเภท 2 คะแนน อธิบายความหมายวัสดุตีพมิ พไ์ ด้อยา่ งละเอียดถูกตอ้ งสมบูรณ์ และบอกประเภทวัสดุ ตพี มิ พ์ได้ครบทง้ั 3 ประเภท 3.ใหน้ ักเรยี นอธิบายความหมายวสั ดไุ ม่ตีพมิ พ์ พรอ้ มบอกประเภทวสั ดไุ ม่ตพี มิ พ์ มา 3 ประเภท (2 คะแนน) คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 0 คะแนน ไม่สามารถบอกความหมายของวัสดุไม่ตพี มิ พ์ และบอกประเภทวัสดุตีพมิ พ์ไมไ่ ด้ 0.5 คะแนน อธบิ ายความหมายวัสดไุ ม่ตพี มิ พ์ได้แตข่ าดความละเอยี ด และบอกประเภทวสั ดุตพี มิ พ์ได้ เพยี ง 1 ประเภท 1 คะแนน อธิบายความหมายวัสดุไม่ตพี ิมพไ์ ด้อย่างละเอยี ด แตไ่ ม่ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ และบอกประเภท วัสดตุ พี ิมพ์ไดเ้ พยี ง 2 ประเภท 1.5 คะแนน อธิบายความหมายวัสดุไม่ตีพมิ พ์ได้อยา่ งละเอียดถกู ตอ้ งสมบูรณ์ และบอกประเภทวัสดุ ตีพิมพ์ได้เพยี ง 2 ประเภท 2 คะแนน อธิบายความหมายวัสดุไม่ตพี ิมพไ์ ด้อยา่ งละเอยี ดถูกตอ้ งสมบูรณ์ และบอกประเภทวสั ดุตีพมิ พ์ได้ครบทั้ง 3 ประเภท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook