Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลสำคัญ ที่คนไทยไม่ควรลืม เล่ม 2

บุคคลสำคัญ ที่คนไทยไม่ควรลืม เล่ม 2

Published by 24 Akai Shuichi, 2021-03-05 12:46:48

Description: บุคคลสำคัญ ที่คนไทยไม่ควรลืม 2

Search

Read the Text Version

บคุ คลสําคญั เลม 2 ทีค่ นไทยไมควรลืม เสนอ ครวู ุฒชิ ยั เชอ่ื มประไพ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

บุคคลสําคญั ที่คนไทยไมค วรลืม สมาชกิ นายรฐั ณรงค คงพิพฒั น เลขท่ี6 นางสาวภทั รนนั ท แสนคําภมู ี เลขที่26 นางสาวกชกร เวทภี ริ มย เลขท่1ี 1 นางสาวมนิ า สนิ เจริญ เลขท่2ี 7 นางสาวธติ ิมา บุบผามะตะนัง เลขท่2ี 0 นางสาวศริ ดา เนียมสวุ รรณ เลขท่ี28 นางสาวนราพร แกวแสน เลขที2่ 1 นางสาวพรี ภทั ร เทศสมบุญ เลขท3่ี 5 นางสาวพรพริ ณุ นะรุน เลขที่24 เสนอ ครูวฒุ ิชัย เช่อื มประไพ โรงเรยี นมัธยมวัดหนองแขม สงั กดั สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 1

คํานํา ก หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เรอื่ ง บคุ คลสําคญั ท่ไี ทยไมค วรลืม รายงาน ฉบับนี้จดั ทาํ ขน้ึ เพอ่ื ใหความรปู ระกอบการเรียนรู รายวชิ าประวตั ิศาสตร รหสั วชิ า ศ322104 ซึ่งประกอบดว ยเนอ้ื หาเก่ียวกับประวัตบิ คุ คลสําคญั คณะผูจดั ทําหวังเปน อยา งยง่ิ วา รายงานเร่อื งประวัติบคุ คลสําคัญจะบอกเลา เร่อื งราวประวตั ขิ องบคุ คลสําคญั ของไทยออกมาใหท า นผอู า นเขา ใจไมมากก็ นอยและมปี ระโยชนใ นการเอาไปศึกษาหาความรูตอ อยางเต็มทห่ี ากมีขอมูล ผิดพลาดประการใดทางคณะผจู ดั ทาํ ขออภยั มา ณ ทน่ี ีด้ วย คณะผูจัดทํา

ข สารบัญ คํานํา ก สารบญั ข พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยูหวั 1 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว 2 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดินทร 3 พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร 4 สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 5 พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนทิ 6 สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาเทวะวงศวโรปการ 7 สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ 8 สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ เจาฟา กรมพระยานรศิ รานวุ ัดติ 9 สมเดจ็ พระศรีสวรนิ ทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอัยยิกาเจา 10 เจาพระยาโกษาธิบดี (ปาน) 11 หมอ มราโชทัย (หมอ มราชวงศก ระตาย อศิ รางกูร) 12 สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ (ชว ง บนุ นาค) 13 ซีมง เดอ ลา ลูแบร 14 พระสังฆราชปล เลอกวั ซ 15 หมอบรดั เลย หรือ แดน บชี แบรดลีย 16 พระยารษั ฎานุประดิษฐมหศิ รภักดี (คอซมิ บี๊ ณ ระนอง) 17 พระยากลั ยาณไมตรี (ฟรานซสิ บ.ี แซร) 18 ศลิ ป พรี ะศรี 19 บรรณานุกรม 20

1 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยูหวั เปน พระมหากษตั ริยสยาม รชั กาลท่ี 6 เสดจ็ พระราชสมภพเมือ่ วนั เสาร ตรงกบั วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2423 เปน พระราชโอรสพระองคที่ 29 ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว สวยราช สมบัตเิ มอ่ื วันเสารท่ี 23ตลุ าคม พ.ศ.2453 เสด็จสวรรคตเมอ่ื วันที่ 26 พฤศจกิ ายนพ.ศ.2468 รวม พระชนมพรรษา 44 พรรษา เสด็จดาํ รงราชสมบตั ิรวม 15 ปพระองคท รงมพี ระอจั ฉริยภาพและทรง บําเพญ็ พระราชกรณยี กิจในหลายสาขาทงั้ ดา นการเมอื งการปกครอง การทหาร การศกึ ษา การ สาธารณสขุ การตางประเทศและทส่ี าํ คัญทีส่ ุดคือดานวรรณกรรมและอกั ษรศาสตร ไดท รงพระราช นิพนธบ ทรอ ยแกว และรอ ยกรองไวนับพนั เรื่องกระทง่ั ทรงไดร บั การถวายพระราชสมญั ญาเมือ่ เสดจ็ สวรรคตแลววา\"สมเดจ็ พระมหาธีรราชเจา\" พระองคเ ปน พระมหากษตั ริยพระองคแรกในราชวงศ จักรีท่ไี มม ีวัดประจํารชั กาลแตไ ดท รงมีการสถาปนาโรงเรียนมหาดเลก็ หลวง หรอื วชริ าวุธวทิ ยาลัยใน ปจ จุบันขน้ึ แทน ดว ยความทกี่ ารท่ีพระองคทรงขาดบารมเี หนอื กองทัพนายทหารในกองทพั ภกั ดตี อ ผู บังคับบญั ชาและอาจารยของตนมากกวา กษตั รยิ ทรงมองวาพระองคต อ งเรงสรา งความจงรกั ภกั ดีให ขยายออกไปอยางเรง ดว นในหมูขาราชการพระองคจ ึงทรงตั้งกองกาํ ลงั ก่งึ ทหารท่เี รียกวา\"กอง เสือปา \" ขึ้นเมือ่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2454 ตวั พระองคทรงดาํ รงตําแหนง \"นายกองใหญ\" และมี ขาราชการพลเรอื นเปนพลเสือปา

2 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยหู ัว เปน พระมหากษัตริยสยามรัชกาลท่ี 7 เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันพุธ ตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 เปน พระ ราชโอรสพระองคท่ี 96ในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว สวยราชสมบตั เิ ปน พระมหากษัตรยิ เมือ่ วนั ท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468และทรงสละราชสมบตั ิเม่อื วันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ.2478 รวมดาํ รงสิรริ าชสมบัติ 9 ปเ สด็จ สวรรคต เมอื่ วันท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 สริ ิพระชนมพรรษา47 พรรษา พระองคปฏบิ ตั ิพระราชกรณยี กจิ ที่ สาํ คัญหลายดา นเชน ดานการปกครอง โปรดใหต้งั สภากรรมการองคมนตรี ทรงตรากฎหมายเพ่อื ควบคมุ การคาขายที่ เปน สาธารณปู โภคและการเงนิ ระบบเทศบาล ดานการศาสนา การศึกษา ประเพณแี ละวฒั นธรรมน้นั พระองคโ ปรดให สรางหอพระสมุด ทรงปฏิรปู การศกึ ษาระดบั มหาวทิ ยาลยั นอกจากน้ีมีการปรับปรงุ การศึกษาจนยกระดับมาตรฐาน ถงึ ปรญิ ญาตรี โปรดใหจดั พมิ พพ ระไตรปฎ กฉบบั พมิ พอกั ษรไทยสมบรู ณช ื่อวา “พระไตรปฎกสยามรัฐ” สืบเนือ่ งจาก ผลของสงครามโลกครัง้ ทหี่ น่ึง ประเทศทว่ั โลกประสบปญ หาภาวะเศรษฐกจิ ตกตาํ่ ซง่ึ มผี ลกระทบกระเทอื นมาสู ประเทศไทยพระองคไดทรงพยายามแกไขปญหาเศรษฐกิจดวยวธิ ตี า ง ๆ เชน การควบคมุ งบประมาณตดั ทอนรายจาย อัตราเงินเดอื นขาราชการ รวมถึงการลดจํานวนขาราชการปรบั ปรุงระบบภาษี การเกบ็ ภาษเี พม่ิ เตมิ ยบุ รวมจงั หวัด เลกิ มาตรฐานทองคําเปลยี่ นไปผกู กบั คา เงินขององั กฤษโดยทาํ นุบาํ รงุ บูรณปฏสิ งั ขรณส ง่ิ สาํ คญั อันเปนหลักของ กรงุ เทพมหานครหลายประการคอื บูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวงั , สรางปฐมบรมราชานุสรณ และสะพานพระพทุ ธยอดฟา เชอ่ื มฝง กรงุ เทพมหานครและฝง ธนบุรีเพ่ือเปนการขยายเขตเมืองใหก วา งขวางพบหลัก ฐานวา พระองคทรงรับรทู ั้งสนับสนนุ \"คณะกูบานกูเ มือง\" และมพี ระราชดาํ รสั \"ประเทศนพี้ รอมแลว หรือยังท่ีจะมกี าร ปกครองแบบมีผแู ทน… ตามความเหน็ สว นตวั ของขาพเจา แลว ขาพเจาขอยํา้ วา ไม\" ทั้งทรงขดั ขวางเคาโครงการ เศรษฐกจิ ป 2475 ของปรีดพี นมยงค ซ่งึ รูปแบบเน้ือหาเอนเอยี งทางคอมมิวนิสต

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล 3 พระอัฐมรามาธิบดินทร เปน พระมหากษัตรยิ ส ยาม รชั กาลที่ 8เสดจ็ พระราชสมภพเมอ่ื วนั อาทติ ย ตรงกับวันที่ 20 กนั ยายน พ.ศ.2468 สบื พระราชสนั ตติวงศต อ ไปต้งั แตวนั ที่2 มนี าคม พ.ศ.2478 พระองคไ ดเ สดจ็ สวรรคตเสยี กอ นดว ยพระแสงปน ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เวลาประมาณ 9 นาฬกิ า ณ หองพระบรรทม พระท่ีน่งั บรมพิมานภายในพระบรมมหาราช วัง คณะแพทยผูชันสตู รกวา สามในสี่ลงความเห็นวา เปน การลอบปลงพระชนมร วมดาํ รงสิรริ าชสมบตั ิ 12 ป พระองคไ ดเ สด็จพระราชดําเนินไปในพระราชพธิ พี ระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหมในวันท่ี 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และเปด ประชมุ สภาผแู ทนราษฎรในวนั ที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2489นอกจากน้ี ยงั เสด็จพระราชดาํ เนินทรงเยีย่ ม ราษฎรในจังหวัดตา ง ๆ และทรงเยี่ยมชาวไทยเชอื้ สายจีนเปน คร้ังแรกณ สาํ เพง็ พระนคร พระองคไ ดป ระกอบพธิ ี ทรงปฏิญาณตนเปน พทุ ธมามกะทา มกลางมณฑลสงฆในพระอุโบสถวัดพระศรีรตั นศาสดารามเม่อื วนั ที่ 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2481 นอกจากนี้ ยงั เสด็จพระราชดําเนนิ ไปทรงนมัสการพระพุทธรปู ในพระอารามทส่ี ําคญั เชน วดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวหิ าร เปน ตน พระองคท รงไดป ระกอบพระราชกรณยี กิจทเ่ี กีย่ วขอ งกบั การศกึ ษาของประเทศโดยเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ทอดพระเนตรกจิ การของหอสมุดแหงชาติ รวมทง้ั เสดจ็ พระราชดําเนนิ ไปทรงเยยี่ มสถานศึกษาหลายแหง เชน จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย โรงเรยี นเทพศิรินทร ซ่งึ เปน โรงเรียนทีท่ รงศกึ ษาขณะทรงพระเยาวพ ระองคยังไดเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ พระราชทานปริญญาบตั รเปนครงั้ แรก ของพระองค ณ หอประชมุ จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั จงึ ไดถ ือกาํ เนดิ ขน้ึ ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณซึง่ ในปจ จบุ ัน คือ คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลังจากนัน้ ในวันที่ 5 มถิ นุ ายน พ.ศ.2489 พระองคทรงหวา นขาว ณ แปลงสาธิต ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ถอื เปน พระราชกรณียกิจสดุ ทาย กอ นเสดจ็ สวรรคต

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมพิ ล 4 อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เปนพระมหากษตั ริยไทย รัชกาลท่ี 9 แหงราชวงศจ กั รี ครองราชยต ัง้ แตวนั ที่ 9 มถิ ุนายน พ.ศ. 2489 นบั เปนพระมหากษัตรยิ ท่ที รงครองสิริราชสมบัติยาวนานท่สี ุดในประเทศไทย และเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตพ ระองคเ ปนพระมหากษตั รยิ ภ ายใตรัฐธรรมนูญ และไดท รง หยดุ ย้งั การกบฏ เชน กบฏเมษาฮาวาย ในป พ.ศ. 2524และ กบฏทหารนอกราชการ ในป พ.ศ. 2528 กระนน้ั ในสมยั ของพระองคไดม ีการทาํ รัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เชน จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต ในป พ.ศ. 2500 กบั พลเอกสนธิ บญุ ยรัตกลนิ ในป พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ป 4 เดือน 4 วันท่ที รงครองราชย เกิดรัฐประหารโดยกองทัพ 11 ครั้ง รัฐธรรมนญู 16 ฉบบั และนายกรัฐมนตรี 27 คน ประมวลกฎหมายอาญาบญั ญัตไิ วว า การดู หมน่ิ หม่นิ ประมาท หรอื อาฆาตมาดรา ยพระมหากษตั รยิ เปนความผดิ อาญา คณะรัฐมนตรี หลายชดุ ทไี่ ดร บั การเลอื กตัง้ มาก็ถูกคณะทหารลมลางไปดวยขอกลา วหาวา นักการเมอื ง ผใู หญห มิน่ พระบรมเดชานภุ าพ กระนน้ั พระองคเ องไดต รัสเมื่อป พ.ศ. 2548 วา \"สาธารณชนพงึ วิพากษว ิจารณพระองคไ ด\"

5 สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สบื ตอมาตั้งแต พ.ศ.2435ทรงเปนพระราชโอรสพระองคท 4่ี 7 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยหู วั รชั กาลที่ 4 ประสูติ แตเ จา จอมมารดาแพเม่อื พ.ศ.2403 มพี ระนามเดมิ วา พระองคเ จามนษุ ยนาคมานพ ทรงผนวชเปนสามเณรเม่อื พ.ศ.2416 สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมกพระยาปวเรศวริยาลงกรณ คร้นั ทรงดํารงพระยศเปน กรมพระทรงเปนพระอุปช ฌาย ทรง ผนวชเปนสามเณรอยู 8 เดอื น จึงทรงลาผนวชเมอ่ื พระชนมายุครบ 20 พรรษาแลว กท็ รงผนวชเปนพระภิกษุ เม่ือ พ.ศ.2422 สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ เปนพระอปุ ชฌายพ ระจันทรโคจรคุณ (จนฺทรํสสี ยิ้ม) วัดมกฎุ กษัตริ ยาราม เปน พระกรรมวาจาจารย ประทับ ณ วัดน้ี แตใ นพรรษาท่ี 2-3 เสด็จไปประทบั ที่วัดมกุฎกษัตริยาราม กรุงเทพมหานคร ในสํานกั พระจันทรโคจรคุณ พระกรรมวาจาจารยท ่ีทรงเคารพนับถอื มากทรงศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม จนทรงมีพระปรชี า แตกฉานในภาษาบาลี แตทรงสอบเปน เปรยี ญเพียง5 ประโยคเสมอพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหัว พระบรมราชชนก นาถไดท รงรบั สถาปนาเปนพระองคเจาตา งกรม มพี ระนามวา กรมหมืน่ วชิรญาณวโรรสสมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยา วชิรญาณวโรรส ทรงเปนบคุ คลสาํ คญั พระองคห น่งึ ของชาติไทยในดา นการวางรากฐานการศึกษาสมัยใหม ซง่ึ ไดค อยๆพัฒนา มาเปน การศกึ ษาในระบบทเ่ี ปนอยใู นปจจุบนั น้ี ในดานการศึกษาคณะสงฆน ้นั กลาวไดว า พระองคท า นทรงเปน ผูใหกาํ เนิดการ ศกึ ษาแบบใหมข องคณะสงฆพ ระองคท รงเปลย่ี นระบบตา งๆ เกยี่ วกบั การศึกษาของคณะสงฆจ ากระบบโบราณซึง่ ยากแกก าร เลาเรียน ตองใชเ วลามากและไมแพรห ลายท่ัวไปแกพระสงฆ มาเปน ระบบการเลาเรียนแบบใหมส มเด็จพระมหาสมณเจา กรม พระยาวชริ ญาณวโรรสทรงเปนพระราชอปุ ธ ยาจารยของพระมหากษตั รยิ  2 พระองคค ือ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจา อยหู ัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยหู วั และทรงเปน พระอปุ ชฌายของสมเด็จพระเจา ลกู ยาเธอเจา ฟาและพระเจา ลกู ยาเธอพระองคเจาอกี หลายพระองค ทรงเปน สมเดจ็ พระสังฆราช องคท่1ี 0 แหงกรงุ รัตนโกสนิ ทร และทรงดาํ รงตาํ แหนง สกลมหาสงั ฆปรนิ ายกได 12 ป ทรงครองวัดบวรนเิ วศวหิ ารได2 9 ป ส้นิ พระชนม เมื่อ วันท่ี 2 สงิ หาคม พ.ศ.2464 พระชนมายุ 62 พรรษา

6 พระเจาบรมวงศเ ธอกรมหลวงวงศาธิราชสนทิ มนี ามเดมิ วา พระองคเจาชายนวม ประสตู ิแตเ จาจอมมารดาปรางใหญพ ระสนมเอก ธดิ าทา นขรัวยายทองอนิ เมื่อวันเสาร เดือน 8 แรม 2 ค่าํ ปม ะโรง สัมฤทธศิ ก จ.ศ. 1170 ตรงกับวนั ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 ทรงไดร บั การศกึ ษาเบือ้ งตน ตามแบบ ฉบับของราชสาํ นกั และผนวชเปน สามเณร ไดร ับการศึกษาในสาํ นักสมเดจ็ พระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชติ ชิโนรส ณ วัด พระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวหิ าร ทรงไดร บั การถา ยทอดวิชาความรดู านอักษรศาสตร ท้ังอกั ขรวิธภี าษาไทย อกั ษร เขมร และภาษาบาลี รวมทง้ั วรรณคดี วิชาโบราณคดีและราชประเพณี ตอมาทรงเขารบั ราชการในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ นง่ั เกลา เจา อยหู ัว ทรงกาํ กับกรมหมอหลวง และทรงศึกษาวิชาการแพทยฃ อสมยั ใหมจากมชิ ชันนารีชาวอเมรกิ ัน โปรดเกลาฯ สถาปนาขนึ้ เปน กรมหมืน่ วงศาสนิท เมือ่ ครั้นป พ.ศ. 2392 พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา เจา อยหู วั มพี ระราชปรารภถงึ ความ เส่ือมโทรมของภาษาไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพ ระองคเจา นวมทรงแตงตาํ ราภาษาไทยขน้ึ ใหม เพ่ืออนุรักษภาษา ไทย พระนิพนธเ ร่อื ง “จนิ ดามณี เลม 2” ซ่ึงทรงดดั แปลงจากตาํ ราเดิมสมยั อยุธยาอธิบายหลกั เกณฑภาษาไทยใหเ ขา ใจงา ย กวาเดมิ ตอ มาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยหู วั โปรดเกลา ฯ เลอ่ื นขนึ้ เปน กรมหลวงวงศาธริ าชสนิททรงกํากับ ราชการมหาดไทย วา พระคลงั สนิ คา และเปน ที่ปรกึ ษาราชการแผนดินทรงเปน เจา นายหนงึ่ ในสีพ่ ระองค ทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยหู ัวทรงหมายจะใหสืบราชบัลลังกต อจากพระองคพระเจาบรมวงศเธอกรมหลวงวงศาธริ าชสนทิ สน้ิ พระ ชนมในสมยั รชั กาลที่ 5 เมื่อวนั พธุ เดือน 10 ขน้ึ 6 ค่าํ ปมะเมียโทศกตรงกับวนั ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414 สิรพิ ระชนั ษา 63 ป พระราชทานเพลงิ พระศพ ณ วดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวิหาร เมอื่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2414 ในป พ.ศ. 2550 กระทรวง วัฒนธรรมไดเ สนอพระนามพระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงวงศาธริ าชสนทิ ในโครงการเฉลิมฉลองบคุ คลสาํ คัญและเหตกุ ารณ สาํ คญั ทางประวัติศาสตรของ ยเู นสโก ดานปราชญและกวี ประจาํ ป 2551-2552 ในวาระครบรอบ 200 ปข องการประสูตอิ งค การยูเนสโกไดมีมติรับรองในการประชมุ เมือ่ วันที่ 18-23 ตลุ าคม พ.ศ. 2550 ที่กรงุ ปารีส

7 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอกรมพระยาเทวะ วงศว โรปการ ทรงบรหิ ารราชการแผนดนิ ตลอดพระชนมช ีพจากร.๕-ร.๖ ร.๕ ใหทรงดํารงตําแหนงไปรเวตสเิ กรตารฝี รง่ั ทํา หนา ที่ดูแลงานตางประเทศทรงมีบทบาทสาํ คัญดานการทูต เจรจาขอ พิพาทกับฝรง่ั เศส คร้งั วิกฤตการณ ร.ศ. ๑๑๒ ทรงเสนอใหม ีการต้ังสถานทตู ในตางประเทศที่ยโุ รปและสหรัฐอเมริกา ทรงวาเปนราชการเสนาบดี กระทรวงการตางประเทศทัง้ ในรชั กาลที๕่ และรชั กาลท๖ี่ เปน เวลา๓๗ป จนไดช ่ือวา เปนองคบ ดิ าแหง การ ตา งประเทศของไทย เมือ่ พ.ศ.๒๔๓๒ รชั กาลท๕่ี ทรงประกาศใชปฏทิ ินแบบใหมตามสุรยิ คติตามแบบสากล จากเดมิ ใชแ บบจนั ทรคติ สมเด็จฯกรมพระยาเทวะวงศวโรปการทรงเปนคนคิดปฏิทินไทยตามสุริยคติ เรียกวา เทวะประตทิ ินมีการกาํ หนดชื่อเดือนใหม เปน ชอื่ เดือนแบบทีใ่ ชกันอยใู นปจจุบัน นอกจากการปรบั ปรุงวธิ กี าร ทํางานและการบรหิ ารราชการแลวสมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอกรมพระยาเทวะวงศว โรปการทรงเอาพระทยั ใส ในคณุ ภาพของบคุ ลากรทรงสงเสรมิ การพัฒนาความรูและทักษะของขาราชการกระทรวงการตา งประเทศ อยางจรงิ จังโดยทรงจัดตงั้ แผนกสอนภาษาอังกฤษใหแกข า ราชการ เสมียนและพนักงานทรงวางระเบียบวธิ ี เขยี นหนงั สือราชการ ทรงมีความเช่ียวชาญในหลากหลายดาน อาทิ ภาษาไทย ภาษามคธ ภาษาองั กฤษ และ วชิ าเลข นอกจากน้ยี งั ทรงมีความสนพระทัยในเรอ่ื งโหราศาสตรแ ละสมุนไพร สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอกรม พระยาเทวะวงศวโรปการสิ้นพระชนมเ ม่ือวันท่ี 29 มถิ นุ ายน 2466 รวมพระชนมายไุ ด 64 ป และในกาลตอ มา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยหู วั และสมเดจ็ พระบรมราชินเี สดจ็ พระราชดาํ เนนิ พระราชทานเพลงิ พระ ศพสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาเทวะวงศวโรปการ ทีท่ องสนามหลวง เมอ่ื วนั ท่ี 14ธันวาคม 2466

8 สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ พระนามเดิม พระเจาลูกยาเธอ พระองคเ จา ดศิ วรกุมารเปน พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูห ัว ประสูติแตเ จาจอมมารดาชมุ ท.จ.ว. และเปนองคตน ราชสกลุ ดศิ กลุ ชาววังออกพระนามโดยลําลอง วา\"พระองคเ จา ดศิ วรกมุ าร หรอื เสด็จพระองคด ศิ \"ทรงดํารงตาํ แหนง ทสี่ ําคัญทางการทหารและพลเรอื น เชน เจาพนกั งานใหญ ผบู ัญชาการทหารบก อธบิ ดกี รมศึกษาธกิ าร (ตําแหนงเทยี บเทาเสนาบดี) องคปฐมเสนาบดี กระทรวงมหาดไทย เสนาบดีกระทรวงมุรธาธร นายกราชบณั ฑิตยสภาองคมนตรใี นพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกลาเจาอยูห วั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจา อยหู วั และพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู ัวและ อภิรัฐมนตรีในพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูห ัวทรงพระปรชี าสามารถในดา นการศกึ ษาสาธารณสุข ประวัตศิ าสตร โบราณคดี และศลิ ปวฒั นธรรม ทรงไดน าม “พระบิดาแหงประวตั ิศาสตรไทย” ในวันท่ี ๒๑ มถิ นุ ายนพ.ศ.๒๕๐๕ ท่ีประชมุ ใหญข ององคการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรม แหง สหประชาชาติได ประกาศยกยอ งพระองคเ ปน บคุ คลสาํ คญั คนแรกของประเทศไทย และวนั ท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายนพ.ศ. ๒๕๔๔ คณะรฐั มนตรีไดม มี ตใิ หวนั ท่ี ๑ ธนั วาคมของทุกปเปน “วนั ดาํ รงราชานุภาพ”กาํ หนดขน้ึ เพอื่ เปนการระลกึ ถงึ สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดาํ รงราชานุ ภาพไดท รงประกอบพระกรณียกิจดานตา ง ๆ ซงึ่ ลวนแตเปนงานใหญ และงานสําคญั อยา งย่งิ ของบานเมอื ง ทรงเปน กาํ ลังสาํ คญั ในการบรหิ ารประเทศหลายดา นและทรงเปน ทไี่ วว างพระราชหฤทยั ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูห ัว เปน อยางสงู ผลงานดานตาง ๆ ของพระองค

9 สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอเจา ฟากรมพระยานรศิ รานุวดั ต มีพระนามเดมิ พระองคเจาจติ รเจริญ เปนพระราชโอรสของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยหู ัวและ พระสมั พันธวงศเ ธอ พระองคเจาพรรณราย ประสูตเิ ม่ือวนั องั คารท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2406 ตอมา พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูหัวทรงสถาปนาขนึ้ เปน \"เจาฟา\" พระองคเปน ตน ราชสกลุ จติ ร พงศ ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู ัวพระองคท รงตําแหนง อภิรฐั มนตรที ปี่ รกึ ษาราชการ แผนดนิ อุปนายกราชบัณฑติ ยสภา แผนกศลิ ปากร และพระองคยังไดรบั การแตงใหใหด าํ รงตําแหนง ผู กํากบั การพระราชวงศมีหนา ทีส่ นองพระเดชพระคุณในพระราชกรณยี กจิ สว นพระองคพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู วั งานสถาปตยกรรมทโี่ ปรดทาํ มากคือ แบบพระเมรุ โดยตรัสวา \"เปน งานที่ทําขน้ึ ใช ช่ัวคราวแลวรื้อท้ิงไป เปนโอกาสไดท ดลองใชปญญาความคิดแผลงไดเ ต็มท่ี จะผดิ พลาดไปบา งก็ไมสู กระไร ระวงั เพียงอยา งเดียวคอื เร่ืองทนุ เทา นัน้ \" ดา นสถาปต ยกรรม การออกแบบกอ สรางพระอโุ บสถวัด เบญจมบพิตรถวายพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยหู ัว เมื่อ พ.ศ. 2442 การออกแบบกอสราง อาคารเรยี นโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เริม่ กอสรา งเมื่อ วนั ที่ 4 มถิ ุนายน รตั นโกสนิ ทรศก 121(พ.ศ. 2445)หรอื ร.ศ. 121 ภาพเขยี น ภาพเขียนสนี าํ้ มนั ประกอบพระราชพงศาวดาร * ภาพประกอบเรือ่ งธร รมาธรรมะสงครามภาพแบบพดั ตา งๆ งานออกแบบ ออกแบบตรากระทรวงตางๆ, อนุสาวรียทหารอาสา สงครามโลกครง้ั ที่ 1 ดา นวรรณกรรม มีทั้งรอ ยแกวและรอยกรอง

10 สมเด็จพระศรสี วรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา สมเด็จพระศรสี วรนิ ทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอัยยิกาเจา หรือ พระเจา ลกู เธอพระองคเ จา สวางวัฒนาเสดจ็ พระราชสมภพเมือ่ วันท่ี 10 กนั ยายน พ.ศ.2405 เปนพระราชธิดาในพระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูหวั รชั กาลที่ 4 และสมเดจ็ พระปยมาวดี ศรีพชั รนิ ทรมาตา (เจาจอม มารดาเปยม) เม่อื พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู ัวเสด็จสวรรคตในเดอื นตุลาคมพ.ศ. 2411 สมเดจ็ พระพันวสั สาอยั ยิกาเจามพี ระชนมายุเพยี ง 6 พรรษา คร้นั เม่อื พระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา เจา อยูหวั รัชกาลที่ 5 เสด็จข้นึ ครองราชสมบัติ พระฐานันดรศักด์ิของสมเด็จพระพัน วัสสาอัยยิกาเจา จงึ เปล่ยี นเปนพระเจา นอ งนางเธอ พระองคเ จา สวา งวัฒนา เมื่อเจริญพระชันษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอ มใหร ับราชการ สนองพระเดชพระคณุ เปน พระภรรยาเจา ทรงสถาปนาข้ึนเปน พระนางเจาสวางวัฒนาพระราชเทวี สมเดจ็ พระพันวัสสาอยั ยกิ าเจา พระราชกรณียกิจสําคัญสดุ ทา ยคอื ทรงเปน ประธานในพระราชพิธี อภิเษกสมรสพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยคชและสมเดจ็ พระนางเจา สริ ิกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถสมเด็จพระพันวสั สาอยั ยิกาเจา เสดจ็ สวรรคตเมือ่ วนั ท่ี 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498 ณ วงั สระปทุม รวมพระชนมายุ 93 พรรษาพระราชพิธถี วายพระเพลงิ พระบรมศพจัดข้ึนณ พระ เมรมุ าศ ทองสนามหลวง ในวันที่ 22 เมษายน



12 หมอ มราโชทยั (หมอ มราชวงศก ระตา ย อิศรางกรู ) เปน บตุ รของพระวงศเธอกรมหมนื่ เทวานุรกั ษ เปนนัดดาของสมเด็จพระสัมพนั ธวงศเ ธอเจาฟา กรมขนุ อศิ รานุรกั ษ และ สมเดจ็ พระศรสี รุ ิเยนทราบรมราชนิ ีในรัชกาลท่ี 2 เปน ปนัดดาของสมเด็จพระเจาพนี่ างเธอเจา ฟากรมพระศรสี ดุ ารักษซึง่ เปนพระพี่นางในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชหมอมราชวงศก ระตายอิศรางกรู เกิดตอนปลายสมัย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลยั เมือ่ เจริญวยั บดิ าไดนําไปถวายตวั อยกู ับพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยู หวั ซึ่งขณะน้นั ยงั ดาํ รงพระอิสริยยศเปนเจาฟามงกฎุ สมมุติเทวาวงศ พงศาอิศวรกระษัตรยิ  ขตั ตยิ ราชกมุ าร เมอื่ เจาฟา มงกฎุ ผนวชหมอมราชวงศกระตายก็ไดตามเสด็จไปรับใชตอ มาเมอ่ื เจาฟามงกฎุ ทรงสนพระราชหฤทยั ในภาษาองั กฤษ หมอ มราชวงศกระตา ยกไ็ ดศึกษาตามพระราชนยิ ม โดยมีมชิ ชนั นารที ีเ่ ขา มาสอนศาสนาเปน ผูสอนจนไดช ่อื วา เปนผมู ี ความรูภาษาองั กฤษดจี นเจาฟามงกฎุ ทรงใชใหเ ปนตัวแทนเชญิ กระแสรับส่งั ไปพูดจากับชาวตางชาตไิ ดเปน อยา งดคี รน้ั เมื่อเจาฟามงกฎุ เสดจ็ เถลิงถวัลยราชสมบตั ิขึ้นเปน พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยหู ัวหมอมราชวงศกระตา ยก็ ตดิ ตามสมัครเขารบั ราชการความสามารถของหมอมราชวงศก ระตายทช่ี ว ยราชกจิ ไดดจี งึ ไดร ับพระราชทานเลอ่ื น อสิ ริยยศเปน \"หมอมราโชทยั \"และดวยความรูในภาษาองั กฤษดี พ.ศ. 2400พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหัวจงึ โปรดเกลา ฯ ใหห มอ มราโชทยั เปนลา มหลวงไปกับคณะราชทูตไทยทเ่ี ชญิ พระราชสาสนแ ละเคร่ืองมงคลราชบรรณาการ เดนิ ทางไปถวายสมเดจ็ พระราชินีนาถวิกตอเรียการเดินทางไปในครัง้ นนั้ เปน ท่มี าของหนงั สือนิราศเมืองลอนดอนซง่ึ แตง หลังจากเดนิ ทางกลับได 2 ป ตอมาพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหหมอ มราโชทยั ข้ึนเปน อธิบดีพพิ ากษาศาลตางประเทศเปนคนแรกของไทย หมอ มราโชทยั ถงึ แกอ นิจกรรมเมื่อปพ .ศ. 2410 ขณะมอี ายุ 47 ป พธิ พี ระราชทานเพลิงศพจัดข้ึนทเ่ี มรุวดั อรณุ ราชวราราม เม่ือวันท่ี 19 กนั ยายน พ.ศ. 2410

สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาศรสี รุ ิยวงศ 13 (ชว ง บนุ นาค) เกิดเมอ่ื วันท่ี 23 ธนั วาคม พ.ศ. 2351มีพ่ีนอ งรว มบดิ ามารดาเดยี วกนั 9 คน เด็กชายชวง บุนนาคไดอานและเรียนตํารา จาก สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาประยูรวงศ มีความเฉลียวฉลาดโดยเฉพาะในกระบวนการเมอื งและการตดิ ตอกบั ตา งประเทศและภาย หลังทร่ี บั ราชการในกรมหาดเล็ก ก็ศึกษาภาษาองั กฤษและวชิ าชา งจากมิชชันนารจี นสามารถตอ เรอื รบ (เรอื กําปน) ใชใ นราชการ ได นายชวง บนุ นาคเขาถวายตัวเปนมหาดเลก็ เม่ืออายุ 16 ปครน้ั ถงึ แผนดนิ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลาเจา อยหู ัว ไดเ ปน นาย ไชยขรรคม หาดเล็กหุม แพร เปน ท่โี ปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวรัชกาลท่ี 3 ตอ มาไดเลอื่ นเปน หลวงสิทธิน์ ายเวร มหาดเล็กเมื่อรบั ราชการมีความดคี วามชอบมาก พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา เจา อยหู วั โปรดเกลา ฯเล่อื นหลวงสิทธิน์ ายเวรข้นึ เปน จม่นื ไวยาวรนาถหัวหมน่ื หมาดเล็กและในตอนปลายแผนดินรชั กาลท่ี 3 ไดรับพระมหากรณุ าธคิ ุณโปรดเกลา ฯ เล่อื นขน้ึ เปน พระยาศรีสุริยวงศต อมาในรชั กาลท่ี 4 พระยาศรสี ุรยิ วงศไ ดร บั แตง ตง้ั เปน เจาพระยาศรีสรุ ิยวงศว า ทสี่ มุหพระกลาโหมกบั โปรดให สรางตราศรพระขรรคพระราชทานสาํ หรับเจาพระยาศรีสรุ ยิ วงศ ขณะท่ีมอี ายไุ ด 43 ปน ับเปน ขา ราชการทมี่ อี ายุนอ ยท่สี ดุ ใน ตําแหนง สมหุ พระกลาโหม เจา พระยาศรีสรุ ิยวงศ (ชวง บนุ นาค) เปน บคุ คลทมี่ คี วามสาํ คญั มากในการปกครองประเทศสยามจน สมเด็จกรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพทรงกลา วเปรียบเทียบไววา “ถา พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัวรชั กาลที่ 4 เปน เสมอื นแมทพั แลว สมเด็จเจา พระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศก ็เปน เหมือนเสนาธกิ ารชวยกนั ทํางานมาตลอดรัชกาลที่4” ตอมาถงึ แผน ดินพระบาท สมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยูห ัวมพี ระชนมายเุ พียง 15 พรรษา พระบาทวงศานุวงศ พระสงฆ ราชาคณะ และทีป่ ระชมุ เสนาบดี จึงเหน็ สมควรแตง ตง้ั ใหเ จา พระยาศรีสุริยวงศด ํารงตําแหนงผสู าํ เร็จราชการแผน ดินตอมาใน พ.ศ. 2416เมือ่ เจา พระยาศรสี ุริยวงศ พนจากตําแหนง ผูสําเรจ็ ราชการแผน ดนิ รชั กาลที่ 5โปรดใหเลือ่ นเจาพระยาศรสี รุ ยิ วงศข ึน้ เปนสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศถ อื ศกั ดนิ า 30,000 สมเด็จเจา พระยาบรมมหาศรสี ุริยวงศถึงแกพ ริ าลัยเม่ือวนั ที่19 มกราคม พ.ศ. 2425 เวลา 5 ทมุ เศษ บน เรือนที่ปากคลองกระทมุ แบน สิริรวมอายุได 74 ป 27 วนั รชั กาลที่ 5โปรดใหทาํ พิธีพระราชทานเพลงิ ศพของสมเดจ็ เจาพระยา บรมมหาศรีสรุ ิยวงศอ ยา งสมเกียรติณ วดั บุปผาราม ธนบุรี เม่อื วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2427

14 ซีมง เดอ ลา ลแู บร เปนราชทูตของพระเจาหลยุ สท ี่ 14 แหง ฝรงั่ เศส ไดเ ดนิ ทางมาประเทศไทยในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ มหาราชเพื่อเจริญสมั พันธไมตรีกบั ไทยโดยเดนิ ทางมาที่กรุงศรีอยธุ ยาพรอ มกบั เจา พระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) และทหารของฝรัง่ เศสประมาณ 600 คน เดอ ลาลูแบร ไดรับการแตง ต้งั ใหเปนหัวหนาคณะทูตฝรั่งเศสรวมกบั โกลดเซเบอแร ดูว บแู ล (Claude Céberet du Boullay) เดนิ ทางมาอยธุ ยาเพื่อเจรจาเรื่องศาสนาและการคา ของฝร่งั เศสในอาณาจักรอยธุ ยาเมื่อพ.ศ. 2230 ไทยยนิ ยอมรับขอเสนอตามความประสงคข องฝร่งั เศสและทง้ั สองฝา ยไดลงนามในสัญญาการคาทีเ่ มอื งลพบรุ ีเม่อื วันที่ 11 ธันวาคมจดหมายเหตลุ าลูแบรในประเทศไทยมอี ยู 2 ฉบับ คอื ฉบบั ทีพ่ ระเจา บรมวงศเธอพระองคเจาวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพนั ธพงศ ทรงพระนิพนธ แปล โดยทรงแปลมาจากฉบบั ภาษาองั กฤษและฉบบั แปลของสนั ต ท.โกมลบุตร จากตน ฉบบั ภาษาฝร่งั เศส ความมุงหมายในการเขียน เพง เล็งในดา นอาณาเขตความอดุ มสมบูรณ คณุ ภาพของดินในการกสกิ รรม ภูมิ อากาศเปนประการแรก ตอมาเปนขนบธรรมเนยี มประเพณโี ดยทั่วๆ ไป รวมถงึ คาํ ศัพทหรือสรรพนามเรยี ก ขานบคุ คลตาง ๆ ทผี่ ูคนในกรงุ สยามใชก ันในขณะนัน้ ดวยโดยแบงออกเปน หมวดหมตู า ง ๆ และเฉพาะเร่ือง เฉพาะรายละเรื่องเก่ยี วกบั รฐั บาลและศาสนาจะกลา วในตอนทา ยและไดรวบรวมบันทึกความทรงจาํ เกี่ยวกับ ประเทศนท้ี เ่ี จา ตวั ไดน าํ ติดตัวมาดวยไปผนวกไวตอนทา ยและเพ่อื ใหผูอานไดร จู ักชาวสยามโดยแจม ชัด จึงได เอาความรูเ กยี่ วกับอนิ เดยี และจนี หลายประการมาประกอบดวยนอกจากนั้นยงั ไดแถลงวา จะตองสืบเสาะใหรู เรื่องราว พจิ ารณาสอบถาม ศึกษาใหถึงแกน เทาที่จะทาํ ไดกอ นเดนิ ทางไปถงึ ประเทศสยาม

15 พระสงั ฆราชปล เลอกัวซ เกดิ เม่อื วนั ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2348 ท่ีเมืองโกต-ดอร ประเทศฝรง่ั เศส เมือ่ ทา นอายไุ ด 23 ป ทา นก็ไดต ดั สินใจบวชเปน บาทหลวง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2371 ทเี่ ซมินารขี องคณะมิสซังตางประเทศแหง กรงุ ปารสี จากนน้ั ทา นก็ไดร บั หนา ที่ใหไปเผยแพร ศาสนาคริสต ณ ประเทศไทย และทานไดอ อกเดินทางเม่อื วันท่ี 31 สิงหาคม พ.ศ. 2371 ถงึ ประเทศไทยเมอื่ วันที่ 27 กุมภาพันธ พ.ศ. 2372 ในปพ .ศ. 2381 ทานไดร บั ตาํ แหนงอธกิ ารโบสถค อนเซ็ปชญั ทานไดปรับปรุงโบสถแหงนี้ ซ่งึ สรางข้ึนตงั้ แต พ.ศ. 2217 ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณมหาราช แลว จากถกู ทิ้งรางมานานแลวยายไปอยูท่โี บสถอัสสมั ชัญในปพ .ศ. 2381 จนปพ .ศ. 2378 มุขนายกฌ็ อง-ปอล-อีแลร-มแี ชล กรู เ วอซี (Jean-Paul-Hilaire-MichelCourvezy) ประมุขมสิ ซงั สยามในขณะน้ันไดแตง ตงั้ ทานเปนอุปมุข นายก (vicar general) แลวใหด ูแลดนิ แดนสยามในชวงท่ที า นไปดแู ลมิสซังท่ีสิงคโปรเ มอ่ื กลบั มากไ็ ดรบั อนุญาตจากสันตะสาํ นักให อภเิ ษกทานปาเลอกัวเปน มขุ นายกรองประจาํ มิสซงั สยาม(Coadjutor Vicar Apostolic of Siam) ในปพ.ศ. 2381 พรอมทง้ั ดํารง ตําแหนง มุขนายกเกยี รตนิ ามแหง มาลลอสเมื่อมกี ารแบง มิสซังสยามออกเปน สองมิสซัง ทานจงึ ไดรบั แตงตัง้ ใหเ ปนประมุขมสิ ซังสยาม ตะวนั ออกเปน ทานแรกในวันท่ี 10 ก.ย. พ.ศ. 2384 สงั ฆราชปล เลอกัวซไดเ ดนิ ทางกลับประเทศฝรง่ั เศสเมอ่ื พ.ศ. 2397 ชวงตน รัชกาลที4่ หลังจากใชช ีวติ อยูใ นประเทศไทยนานหลายปแ ละเปน ผนู ําพระราชสาสนจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยูหวั ไป ถวาย สมเด็จพระสันตะปาปาปอ สุ ที่ 9 ขณะพาํ นกั อยทู ปี่ ระเทศฝร่ังเศสสังฆราชปล เลอกัวซไ ดตพี มิ พห นังสอื ขึน้ 3 เลม พระสงั ฆราช ปลเลอกัวซเ ปนผนู าํ วิทยาการถายรูปเขา มาในประเทศไทยเมอื่ พ.ศ. 2388โดยไดส ่งั บาทหลวงอัลบรันดซอื้ กลองถา ยรปู มาจาก ฝร่ังเศสฝากมากบั บาทหลวงลารนอดี(L'abbeLarnaudie) เดนิ ทางมาถงึ ประเทศไทยเมอ่ื วันท2ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2388 พระสงั ฆราช ปล เลอกัวซใ ชชวี ติ อยทู ฝี่ ร่งั เศสนาน3 ป จึงเดินทางกลับประเทศไทยเม่ือพ.ศ. 2399 และถงึ แกม รณภาพทีโ่ บสถอสั สมั ชัญเมือ่ วนั ท่ี 18 มิถุนายนพ.ศ. 2405 อายุ57 ป ศพฝง อยูในโบสถค อนเซ็ปชัญไดม ีขบวนแหจากหนา โบสถอัสสัมชญั ไปยังหนาโบสถค อนเซ็ปชั่น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯมีพระประสงคใ หพธิ ศี พเปน ไปอยา งสงงามที่สดุ จงึ พระราชทานเรือหลวงสองลาํ เพ่อื นําขบวนโดย บรรทุกหบี ศพขบวนแหน ้นั ประกอบไปดว ยเรอื ดนตรี (ดนตรไี ทยจากคา ยคริสตัง) เรอื ของคริสตัง ขาราชการไทยและทูตตางประเทศ

16 หมอบรดั เลย หรอื แดน บชี แบรดลีย หรือบางคนเขยี นเปน หมอบรดั เล หมอปรัดเล หรอื หมอปรัดเลย เปนนายแพทยช าวอเมริกนั ที่เขามา เผยแพรศ าสนาครสิ ตใ นประเทศไทยสมยั รชั กาลท่3ี และยังเปนผูเริ่มตนการพิมพอ กั ษรไทยใน ประเทศไทยเปนคร้ังแรก และทําการผาตัดในประเทศไทยเปนครัง้ แรก แดน บีช บรดั เลย เปน ชาวเมือ งมารเ ซลลสั (Marcellus) เกดิ เม่อื 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2347 บตุ รคนทีห่ า ของนายแดน บรดั เลยแ ละนาง ยูนิช บีช บรัดเลย สําเรจ็ การแพทยจากมหาวทิ ยาลยั นิวยอรก สมรสกับภรรยาคนแรก เอมลิ ี รอยส บรัดเลย และภรรยาคนที่สอง ซาราหแ บลคลี บรัดเลย คนไทยกบั คนอเมรกิ ันไดพ บเห็นหนา อยางเปน ทางการครงั้ แรกเม่ือในรัชกาลท๓ี่ ในคร้งั น้ันประธานาธิบดีแย็กสัน (Andrew Jackson) ไดแตง ตัง้ ใหเ อ มนิ ราบดั หรอื เอดมันด รอเบติ (Edmond Roberts) เปนทตู ขเี่ รือกําปน เขา มาทาํ หนังสอื สญั ญาทางพระ ราชไมตรแี ละการคาขายเมอื่ พ.ศ. ๒๓๗๕ (ภายหลังประเทศอังกฤษ) และตอ จากนั้น ๓ ป หมอบรดั เลยก น็ ั่งเรือใบเขามาหมอบรดั เลยเ ปนผเู ร่ิมตนการแพทยตะวันตกในเมืองไทยในเรอ่ื งของการผาตดั : ผาตดั เนอ้ื งอกท่ีหนา ผากของชาวบานคนหนงึ่ ตดั แขนคนไขท ่ีบาดเจบ็ จากเหตกุ ารณปนใหญระเบิด รกั ษาโรคตอกระจก และทส่ี าํ คัญที่สดุ คอื การปลกู ฝ ปองกนั ไขทรพษิ ในดา นการพิมพห มอบรดั เลย กระทาํ มาอยางตอเน่ือง นอกจากเรียบเรียงคัมภีรครรภทรกั ษากใ็ หค วามรูเรื่องการคลอดและ รณรงค ใหเลกิ อยไู ฟ ๑๐ ปแรกพมิ พห นงั สอื เผยแพรศ าสนาเปน หนงั สือเลม แรกที่เก่ียวขอ งกับศาสนา เขียน เม่อื ป ค.ศ. ๑๘๓๗ เขียนเก่ียวกบั การสรา งโลกของพระเยซู

17 พระยารัษฎานปุ ระดษิ ฐมหศิ รภกั ดี (คอซมิ บ๊ี ณ ระนอง) เกิดทีจ่ ังหวัดระนอง เมื่อวันพุธ เดือน 5 ปมะเส็ง พ.ศ. 2400 เปน บุตรชายคนสุดทอ งของ พระยารัตนเศรษฐี (คอซู เจียง) จนี ฮกเกยี้ นทไี่ ดร ับบรรดาศักดเิ์ ลอื่ นฐานะจากพอคาเปนขุนนาง พระยารัษฎานุประดิษฐฯมีมารดาเปน ชาวนา ชอ่ื ก้มิ มพี ่ีชายตา งมารดา 5 คนดงั น้คี อซมิ เจง (หลวงศรโี ลหภมู พิ ิทกั ษ ผูช วยราชการเมอื งระนอง) คอซมิ ก อง(พระยาดํารงสจุ ริตมหศิ รภกั ดี สมุหเทศาภิบาลมณฑลชมุ พร) คอซมิ จว๋ั (หลวงศักด์ศิ รสี มบตั ิ ผูชว ยราชการเมอื ง ระนอง) คอซมิ ขมิ (พระยาอษั ฎงคตทิศรักษาผูชวยราชการเมืองกระบุร)ี คอซิมเตก (พระยาจรญู ราชโภคากรณผ ู ชว ยราชการเมอื งหลังสวน) พระยารัษฎานุประดษิ ฐฯเรม่ิ รับราชการในแผน ดนิ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู ัวเมอ่ื พ.ศ. 2425โดยพ่ีชายคือ พระยารัตนเศรษฐี (คอซมิ กอ ง) เจา เมืองระนองขณะนัน้ เปนผูน ําตัวไปถวาย เปนมหาดเล็ก และไดรับพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหเ ปน ที่ หลวงบริรักษโลหะวไิ สยผชู วยเมืองระนอง แลวเล่ือนเปน ที่ พระวษั ฎงคตทิศรักษา เจาเมืองกระบรุ ี เมอ่ื พ.ศ. 2428 ไดแสดง ความสามารถ สรา งบา นบาํ รงุ เมอื งใหเ ปนที่ ปรากฎ จงึ ไดร ับพระมหากรณุ าธิคณุ โปรดเกลาฯใหเปน ที่ พระยารษั ฎานปุ ระดิษฐมหิศรภกั ดี เจา เมืองตรังในป พ.ศ. 2433 และในปพ .ศ. 2455 โปรดเกลาใหเปน สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลภเู กต็ 1. ดา นการปกครอง กศุ โลบาย หลักในการปกครองของทานคอื หลกั พอปกครองลกู ยงั ยดึ หลกั ในการแบง งาน และความรับผิดชอบแกผใู ตบ ังคับ บัญชา 2.ดานการสง เสริมอาชีพราษฎร 3. ดานการคมนาคม ใหความสาํ คญั เปน ที่สุดโดยเฉพาะการสรา งถนน 4. ดานการรักษาความสงบและปราบปรามโจรผูร า ย 5. ดา นการศกึ ษาทานกป็ ระจกั ษในคุณประโยชนข องการศกึ ษา ไดพยายามสนับสนุนในทุกทาง เร่มิ แรกใหใ ชว ดั เปน โรงเรียนจัดหาครไู ปสอน บางครัง้ ก็นิมนตพระสงฆไปสอน 6. ดานการสาธารณสุขบังคบั ใหร าษฎรดูแลบา นเรือน ใหส ะอาดเรียบรอย

พระยากลั ยาณไมตรี 18 (ฟรานซิส บ.ี แซร) พระยากัลยาณไมตรีเขามารบั ราชการในประเทศไทยในตําแหนง ที่ปรกึ ษากระทรวงการตางประเทศตง้ั แต พ.ศ.2466 ถงึ พ.ศ.2468ดร.แซรมบี ทบาทสาํ คญั ในการปลดเปลื้องของผกู พนั ตามสนธิสญั ญาเบาวรงิ ทไ่ี ทยทาํ ไวกับประเทศองั กฤษในสมัย รชั กาลที่ 4 และสนธิสัญญาลกั ษณะเดียวกนั ท่ีไทยทาํ ไวกับประเทศอ่ืนๆซ่งึ ฝา ยไทยเสียเปรียบมากในเร่อื งท่คี นในบงั คบั ตางชาติ ไมตอ งขึ้นศาลไทย และไทยจะเก็บภาษจี ากตางประเทศเกนิ รอยละ 3 ไมไ ดประเทศไทยพยายามหาทางแกไขสนธิสญั ญาตงั้ แต สมยั รัชกาลที่ 5 มาจนถงึ สมยั รัชกาลที่ 6 ปรากฏวามีเพยี ง ๒ประเทศทีย่ อมแกไขใหโดยยังมีขอ แมบางประการ ไดแ ก สหรัฐอเมริกาเปนประเทศแรกท่ียอมแกไ ขใน พ.ศ.2436 และญ่ปี ุนยอมแกไ ขใน พ.ศ.2466 เมอ่ื ดร.แซร เขา มาประเทศไทยแลว พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยหู วั ทรงแตง ต้งั ใหเ ปน ผแู ทนประเทศไทยไปเจรจาขอแกไ ขสนธสิ ัญญากับประเทศในยุโรป ดร.แซรถ วายบงั คมลาออกจากหนาทีก่ ลับไปสหรัฐอเมริกาใน พ.ศ.2486 แตก ็ยังยินดีที่จะชวยเหลอื ประเทศไทย ดังเชน ใน พ.ศ.2469 หลังจากท่พี ระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงขน้ึ ครองราชยไ ดไมนานดร.แซรไดถ วายคําแนะนาํ เกี่ยวกับ สถานการณบา นเมือง และแนวทางแกปญ หาตา ง ๆตามที่ทรงถามไปและยงั ไดรา งรัฐธรรมนูญถวายใหท รงพิจารณาดวยไดร บั พระราชทานบรรดาศักดเ์ิ ปนพระยากัลยาณไมตรีเม่อื พ.ศ.2470 และตอมาใน พ.ศ.2511 รฐั บาลไทยไดตั้งชอื่ ถนนขา งกระทรวง ตางประเทศ (วังสราญรมย) วา ถนนกัลยาณไมตรีพระยากลั ยาณไมตรถี ึงแกอ นิจกรรมทป่ี ระเทศสหรฐั อเมริกา เมื่อ พ.ศ.2515 อายไุ ด 87 ปดร.ฟรานซิส บ.ี แซร เปนชาวตะวันตกคนที่ 2 ที่ไดร ับพระราชทานบรรดาศกั ด์เิ ปนพระยากลั ยาณไมตรชี าวตะวัน ตกคนแรกที่เปน พระยากัลยาณไมตรเี ปนคนอเมริกันเชนเดยี วกบั ดร.แซร มีนามเดมิ วา เจนส ไอเวอรส ัน เวสเตนการด (Jens Iverson Westengard) เขา มารับราชการในประเทศไทยในสมยั รัชกาลท5่ี -6 โดยใน พ.ศ.2446-2451 เปนผูช วยทปี่ รึกษา ราชการแผนดินหลังจากนัน้ เปนที่ปรกึ ษาราชการแผนดินจนถงึ พ.ศ.2458 จงึ กราบถวายบงั คมลาออกกลบั ไปสหรฐั อเมริกาเวส เตนการด ไดรับพระราชทานบรรดาศักด์ิเปนพระยากลั ยาณไมตรี เม่อื พ.ศ.2454 และถึงแกกรรม เมือ่ พ.ศ. 2461 อายุ 47 ป

19 ศิลป พีระศร บรุ ษุ ผูไ ดรบั การยกยองวา เปน\"บดิ าแหง ศิลปะรว มสมัยของไทย\"เปนบิดาแหง มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร(ผกู อ ต้ังมหาวทิ ยาลยั )เปน ท้ังศิลปนและปราชญผูยิ่งใหญแหงกรงุ รัตนโกสนิ ทรศาสตราจารย มนี ามเดิมวา คอรราโดเฟโรจี ( Professor Corrado Feroci ) เปนชาวนครฟลอเรนซ ประเทศอติ าลี เกิดเมือ่ วันที่ 15 กนั ยายน พ.ศ.2435สมัยรชั กาลท่ี 6 มพี ระประสงคจะหาชา งปนมา ชว ยปฏิบัตริ าชการเพ่อื ฝกฝนใหค นไทยสามารถปนรูปไดอยา งแบบตะวนั ตกและสามารถมคี วามรูถึงเทคนคิ ตา งๆในงานมา ปฏิบัติราชการกบั รัฐบาลไทยทางรัฐบาลอิตาลีจึงเสนอนาย คอรร าโดเฟโรจีไทยกย็ นิ ดีรบั เขาเปน ขาราชการในตาํ แหนงชา งปน กรมศิลปากรกระทรวงวงั พ.ศ.2469 ทา นไดว างหลักสูตรอบรมกวา งๆและทําการสอนใหแ กผ ทู ่ีสนใจในวชิ าประตมิ ากรรมทัง้ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัตผิ ไู ดรบั การอบรมรนุ แรกๆสว นมากสาํ เร็จการศึกษาจากโรงเรยี นเพาะ-ชาง ผทู ่มี าอบรมฝกงานกับ ศาสตราจารย ศลิ ป พีระศรี ไมต อ งเสียคา ใชจา ยและคาธรรมเนยี มทั้งส้นิ เพราะทางราชการมนี โยบายสง เสรมิ ชา งปนชา งหลอให มีคณุ ภาพและมมี าตรฐานศาสตราจารยศ ลิ ป พีระศรี จงึ เร่ิมวางหลกั สูตรวชิ าจิตรกรรมและประติมากรรมขนึ้ ในระยะเริม่ แรกช่ือ \" โรงเรียนประณีตศลิ ปกรรม \" ตอมาเปล่ยี นชือ่ เปน \"โรงเรยี นศิลปากรแผนกชาง และไดมคี ําสัง่ ใหอธิบดีกรมศลิ ปากรในขณะ นน้ั คือพระยาอนุมานราชธนดาํ เนินการปรับปรงุ หลักสูตรและ ตราพระราชบัญญตั ิยกฐานะโรงเรียนศิลปากรข้ึนเปน มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรมคี ณะจิตรกรรมประตมิ ากรรม เปน คณะวิชาเดียวของมหาวิทยาลัยศิลปากรเปดสอนเพียง 2 สาขาวชิ า คอื สาขาจติ รกรรมและสาขาประติมากรรมและมี ศาสตราจารย ศลิ ป พรี ะศรีเปน ผูอํานวยการสอนและดาํ รงตาํ แหนงคณบดี คนแรกในปพ.ศ.2496 ศาสตราจารยศ ลิ ป พรี ะศรไี ดรับหนา ท่ีอนั มีเกียรติ คอื เปน ประธานกรรมการสมาคมศิลปะแหงชาติซ่ึง ข้ึนอยูก ับ สมาคมศิลปะนานาชาตใิ นปพ.ศ.2497ไดเปนผูแทนศิลปน ไทยไปรว มประชุมศลิ ปนระหวา งชาตคิ รง้ั แรกท่ปี ระเทศ ออสเตรยี ทา นไดน ําเอกสารผลงานศิลปะและบทความช่ือศลิ ปะรว มสมัยในประเทศไทย(Contemporary Art inThailand) ไป เผยแพรในการประชุมดว ยทาํ ใหนานาชาติรูจักประเทศไทยดีข้นึ และนับเปน คนแรกท่ที ําใหเกิดการแลกเปลยี่ นศิลปะระหวา ง ศิลปนไทยและศิลปน ตา งประเทศขึ้น

20 บรรณานกุ รม http://apinya-my.blogspot.com/2017/10/blog-post_19.html https://sites.google.com/site/bathluang52/ https://historyofthailand1.blogspot.com/p/14-600-claude-ceberet-du-boullay.html http://www.moi.go.th/portal/page_pageid=235,804615,235_804633&_dad=portal&_schema=P ORTA http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19561 http://www.gongtham.net/my_data/mydata_mahasamana/index.php https://sites.google.com/site/kingofth/phra-rach-prawati-phra-mha-ksatriy-mharach- thiy/rachkal-thi-8-phrabath-smdec-phra-pr-men-thr-mha-xa-nanth-mhidl https://www.newtv.co.th/news/12608 http://kingchulalongkorn.car.chula.ac.th/th/history/rama6_bio https://sites.google.com/site/kingofth/phra-rach-prawati-phra-mha-ksatriy-mharach- thiy/rachkal-thi-6-phrabath-smdec-phramngkudkela-cea-xyu-haw https://thepeople.co/francis-sayre-drafter-outline-preliminary-draft/ https://www.wikiwand.com/th/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B 8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0 %B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5_(%E0%B8%9F%E0%B8%A3 %E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%AA_%E0%B8%9A%E0%B8 %B5._%E0%B9%81%E0%B8%8B%E0%B8%A3%E0%B9%8C)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook