Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Le 4

Le 4

Published by gottarapas, 2017-09-19 08:46:37

Description: Le 4

Search

Read the Text Version

บทที่ 4การจดทะเบียนธุรกิจ

ความหมายและองค์ประกอบของแผนธุรกจิองค์ประกอบของแผนธุรกจิ ท่ี 5. การวเิ คราะห์ปัจจัยภายในประสบความสาเร็จ ต้องมีการลาดบั 6. พนั ธกจิความสาคญั ของเนือ้ หาทน่ี าเสนอ 7. โอกาสทางธุรกจิดังนี้ 8. กลยทุ ธ์ของธุรกจิ 9. กลยทุ ธ์การดาเนินงาน 1. บทสรุปสาหรับผ้บู ริหาร 10. การจดั การองค์กรและการ 2. วิสัยทศั น์ ดาเนนิ งาน 11. รายละเอียดและการประเมนิ คู่ 3. การวิเคราะห์ธุรกจิ / โครงการและ การวเิ คราะห์สถานการณ์ แข่งขนั ทางธุรกจิ 12. วธิ ีการตอบโต้ทางธุรกจิ 4. ปัจจยั ภายนอกทผ่ี ้ปู ระกอบการ ควรให้ความสนใจ



รูปแบบของธุรกจิ SMEsรูปแบบของธุรกจิ ในการลงทุนในธุรกจิ SMEs มีอยู่ด้วยกนั 4 ลกั ษณะคอื 1. ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดยี ว 2. คณะบุคคลและห้างหุ้นส่วนสามญั ไม่จดทะเบียน 3. บริษัทจากดั 4. บริษัทมหาชนจากดั

ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดยี ว เป็ นรูปแบบธุรกจิ ทอ่ี าจจะเรียกได้ว่าธรรมดาทสี่ ุดและได้รับความนิยมค่อนข้างมากสามารถจะนาเงินออมสะสมหรือเงินชดเชยทไี่ ด้รับไปประกอบธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดียว

ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดยี วในการทาธุรกิจลกั ษณะน้ีมีขอ้ ดี อยหู่ ลายประการ เช่น 1) จดั ต้งั ไดง้ ่าย 2) มีความคล่องตวั ในการดาเนินงาน 3) ใกลช้ ิดกบั ลกู คา้ ไดม้ ากข้ึน 4) เกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง 5) กฎหมายที่ใชบ้ งั คบั มีไม่มาก

ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดยี วแต่ส่วนทเ่ี ป็ นข้อเสียของการทาธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดยี วนีก้ ค็ อื 1) การมีความรู้ความชานาญเพยี งบางดา้ น ถา้ กิจการเติบโตมากข้ึนกอ็ าจจะเกิดปัญหาการขาดความรู้ และความชานาญงานในดา้ นอื่น ๆ ข้ึนได้ 2) อาจจะมีขอ้ จากดั ในดา้ นเงินลงทุน และเงินสดหมุนเวียนรวมถึงการเพม่ิ ทุน 3) ตอ้ งทางานหนกั ตอ้ งรับผดิ ชอบในทุก ๆ เร่ือง

คณะบุคคลและห้างหุ้นส่วนสามญั ไม่จดทะเบยี น เป็ นการประกอบการทม่ี บี ุคคลต้งั แต่ 2 คนขนึ้ ไป มาทาสัญญาร่วมกนั และยน่ื ขอจดทะเบียนพาณชิ ย์ต่อสานักงานบริการจดทะเบยี นธุรกจิ ของกรมพฒั นาธุรกจิ การค้า กระทรวงพาณชิ ย์เพอ่ื จดั ต้งั เป็ นองค์กรธุรกจิ

คณะบุคคลและห้างหุ้นส่วนสามญั ไม่จดทะเบียนสามารถแยกออกได้เป็ น 4 ประเภทใหญ่ ๆ คอื • คณะบุคคล • ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน • ห้างหุ้นส่วนสามัญนิตบิ ุคคล • ห้างห้นุ ส่วนจากัด



บริษัทจากดั เป็ นนิตบิ ุคคลท่กี ่อตงั้ ขึน้ เพ่อื วัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการ โดยมีการแบ่งทุนออกเป็ นห้นุ จานวนหน่ึงท่มี ีราคาห้นุ ห้นุ ละเท่า ๆ กันลักษณะนีเ้ ป็ นรูปแบบของธุรกจิ ท่ไี ด้รับความนิยมมากท่สี ุด

บริษัทจากดัข้อดขี องธุรกจิ รูปแบบบริษัทจากัด1. มีผ้รู ่วมถือห้นุ จานวนมาก2. มีการกาหนดตวั กรรมการผ้มู ีอานาจลงนามในการกระทาการแทน บริษัท3. ทนุ จดทะเบยี นของบริษัท จะต้องกาหนดจานวนเงนิ และจานวนห้นุ รวมถึงมลู คา่ ห้นุ เอาไว้ด้วย4. ผ้ถู ือห้นุ แตล่ ะคนจะร่วมรับผิดชอบในหนีส้ นิ เทา่ กบั มลู คา่ ห้นุ ท่ีตนถือ5. ต้องมผี ้สู อบบญั ชีรับอนญุ าตเป็ นผ้ตู รวจสอบความชว่ ยให้เกิดความ โปร่งใสในการดาเนินงานได้ในระดบั หนง่ึ

บริษทั มหาชนจากดั เป็ นบริษัทจากดั ท่สี ามารถจดั ตงั้ ได้ ภายใต้พระราชบญั ญัติบริษัทมหาชนจากดั พ.ศ. 2535 ซ่งึ ต้องเรียกบริษัทประเภทนีว้ ่า“บริษัท...จากัด (มหาชน)” และจะต้องมีผู้ถือห้นุ ตงั้ แต่ 100 คนขนึ้ ไป

บริษทั มหาชนจากดั บริษัทมหาชนจากัด มีกฎหมายเข้ามาเก่ียวข้องมาก ท่ีผู้ประกอบการ จะต้องยดึ ถือปฏิบัติ แต่ก็มขี ้อดีของการเป็ นบริษัทมหาชน คอื การเรียกระดมทุนเพ่มิ เตมิ จะทาได้โดยง่าย โดยเฉพาะอย่างย่งิ ถ้ากจิ การนัน้ มีผลการดาเนินงานท่ดี ี

การจดทะเบยี นพาณชิ ย์• พระราชบญั ญตั ทิ ะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 ผ้ปู ระกอบการพาณิชย์ที่อยใู่ นขา่ ยต้องจดทะเบียนและมีสานกั งานแห่งใหญ่อยใู่ นเขตท้องที่ที่ได้มีประกาศกระทรวงพาณิชย์ให้ไปจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั เริ่มประกอบพาณิชยกิจ

การจดทะเบียนพาณชิ ย์• ผู้ท่ไี ม่ต้องจดทะเบยี นพาณิชย์ 1) การค้าเร่ การค้าแผงลอย 2) พาณิชยกจิ เพ่อื การบารุงศาสนา หรือเพ่ือการกุศล 3) พาณิชยกจิ ของนิตบิ ุคคลซ่งึ ได้มีพระราชบัญญัตหิ รือพระราชกฤษฎีกา จดั ตงั้ ขนึ้ 4) พาณิชยกจิ ของกระทรวง ทบวง กรม 5) พาณิชยกจิ ของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ์ 6) พาณิชยกจิ ซ่งึ รัฐมนตรีได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

การจดทะเบียนพาณชิ ย์• ผู้ประกอบพาณิชย์ชยกจิ หมายถึง บคุ คลธรรมดาหรือนติ บิ คุ คล ซง่ึ ประกอบพาณชยกิจเป็ นอาชีพปกติ และให้ความหมายรวมถงึ ผ้เู ป็น ห้นุ สว่ นท่ีไมจ่ ากดั ความรับผดิ ชอบ

การจดทะเบยี นพาณชิ ย์• การย่นื คาขอจดทะเบยี นพาณิชย์ ผ้ปู ระกอบพาณิชยกิจที่ระบไุ ว้ในตามพระราชบญั ญตั ิทะเบียนพาณิชย์ 2499 จะต้องมีหน้าที่ยน่ื จดทะเบียนพาณิชย์ ท่ีกรมพฒั นาธรุ กิจการค้า

การจดทะเบยี นพาณชิ ย์• เอกสารท่ใี ช้ 1. คาขอจดทะเบียนพาณิชย์ 2. สาเนาบตั รประจาตวั 3. หนงั สอื มอบอานาจ (ถ้ามี)

การจดั ต้งั ห้างหุ้นส่วนจากดัการจดั ตงั้ ห้างหุ้นส่วนจากดั หรือการจดทะเบยี น แบ่งออกเป็ น 4ขัน้ ตอน ดังนี้ ขัน้ ตอนท่ี 1 ทาความตกลงระหวา่ งผ้เู ป็ นห้นุ สว่ นในเรื่องสาคญั ๆ ขัน้ ตอนท่ี 2 ขอตรวจสอบและจองชื่อห้างห้นุ สว่ นจากดั ขัน้ ตอนท่ี 3 จดั ทาคาขอจดทะเบยี นและเอกสารประกอบ ขัน้ ตอนท่ี 4 การยน่ื ขอจดทะเบยี น

การจัดต้งั ห้างหุ้นส่วนจากดัอัตราค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนจัดตงั้ ห้างห้นุ ส่วนจากดั คดิ ตามจานวนผู้เป็ นหุ้นส่วนผ้เู ป็ นห้นุ สว่ นไมเ่ กิน 3 คน คา่ ธรรมเนียม 1,000 บาทกรณีผ้เู ป็ นห้นุ สว่ นเกิน 3 คน คนที่เกินคดิ คา่ ธรรมเนียมเพม่ิ อีกคนละ 200 บาท 1. หนงั สือรับรองฉบบั ละ 100 บาท 2. ใบสาคญั การจดทะเบยี นฉบบั ละ 50 บาท 3. กรณีให้นายทะเบยี นรับรองเอกสารคาขอจดทะเบียนหน้าละ 50บาท

ข้อปฏิบัติตามกฎหมายในการจดทะเบยี น1) ผู้ประกอบพาณิชยกิจรายใหม่ต้องย่นื แบบขอจดทะเบยี นพาณิชย์ ภายใน 30 วนั นับตงั้ แต่วนั เร่ิมประกอบพาณิชยกจิ2) เม่ือได้รับใบทะเบียนพาณิชย์แล้ว ต้องแสดงไว้ในสานักงานของตนในท่เี ปิ ดเผยมองเหน็ ได้ง่าย

การจดทะเบยี นเลกิ ประกอบการ ผู้ประกอบการซ่งึ จดทะเบียนพาณิชย์ไว้แล้ว ภายหลังต่อมาได้เลกิ ประกอบพาณิชยกิจทงั้ หมดเพราะขาดทนุ หรือไม่ประสงค์จะประกอบการค้าต่อไป ให้ย่นื คาขอจดทะเบยี นเลิกประกอบพาณิชยกิจต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าท่ีภายในกาหนด 30 วัน นับแต่วนั เลิกประกอบกิจการให้กรอกรายการในคาขอจดทะเบียนเลิกประกอบพาณิชยกิจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook