Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาสถาปัตยกรรมปรางค์สองพี่น้อง

การศึกษาสถาปัตยกรรมปรางค์สองพี่น้อง

Published by muandej1, 2019-05-01 06:36:57

Description: เอกสารประกอบการจัดนิทรรศการ

Search

Read the Text Version

ที่มาและความสาํ คญั ปรางค์สองพี่น้อง ต้ังอยู่บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ ต้ังอยู่ท่ีเลขท่ี 208 หมู่ 13 ตําบลศรีเทพ อําเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นสถาปัตยกรรมใน วัฒนธรรมเขมร พบว่ามีปรางค์ ๒ องค์ตงั้ อยู่เคียงกัน องค์หน่ึงใหญ่ องค์หนง่ึ เล็ก จึง เรียกว่าปรางค์สองพ่ีน้อง มีลักษณะเป็นปราสาทที่ก่อด้วยอิฐสององค์ ต้ังอยู่บนฐาน ศิลาแลงเดียวกัน อยู่ในรูปสี่เหล่ียมจตุรัสเพิ่มมุมด้านนอกทั้ง 4 ด้าน องค์ปราสาท ค่อนขา้ งสงู เท่าทเ่ี หลืออยสู่ ูงประมาณ 7 เมตรปรางค์สองพี่น้องน้ีคงสรา้ งขึน้ เพือ่ เป็น เทวาลัยเน่อื งในศาสนาฮินด(ู พราหมณ์)ลัทธิไศวนิกายในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 17 แล้ว ต่อมาจึงได้ถูกเปลี่ยนแปลงเป็นศาสนสถานเน่ืองในพุทธศาสนาลัทธิมหายานในรัช สมยั ของพระเจ้าชยั วรมนั ที่ 7 จดุ ประสงค์ 1. เพ่อื ศึกษาองค์ประกอบทางสถาปตั ยกรรมของปรางคส์ องพ่ีนอ้ ง 2. เพอ่ื ศกึ ษาจุดประสงคใ์ นการสรา้ งปรางคส์ องพี่น้อง 3. เพือ่ ศกึ ษาความเชอื่ เก่ียวกบั โบราณวัตถทุ พี่ บบริเวณปรางค์สองพ่นี ้อง ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 1. ทราบองคป์ ระกอบทางสถาปัตยกรรมของปรางคส์ องพี่น้อง 2. ทราบจุดประสงคใ์ นการสร้างปรางค์สองพีน่ ้อง 3. ทราบความเชอื่ เกีย่ วกับโบราณวตั ถทุ พี่ บบรเิ วณปรางค์สองพี่น้อง

การศึกษา “ลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรมปรางค์สองพ่นี อ้ ง” โดยใช้วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ ขน้ั กาํ หนดปัญหา จากการทีค่ ณะผศู้ กึ ษาได้ลงพื้นท่ีศกึ ษาอทุ ยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ จังหวัดเพชรบรู ณ์ ทางคณะผูศ้ ึกษาได้สนใจศึกษาในหัวขอ้ ปรางค์สองพน่ี อ้ ง โดยศึกษาในประเดน็ องค์ประกอบทาง สถาปัตยกรรมของปรางค์สองพ่ีน้อง จุดประสงคใ์ นการสร้างปรางค์สองพน่ี ้อง และความเชอ่ื เกีย่ วกบั โบราณวตั ถทุ พ่ี บบริเวณปรางค์สองพี่น้อง

ขนั้ ตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินคณุ คา่ ของหลักฐาน การศึกษาเกย่ี วกับการศกึ ษาสถาปัตยกรรมของปรางค์สองพี่นอ้ ง คณะผู้ศกึ ษานํา ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการเกบ็ ข้อมูลต่างๆ มาจัดประเภทความสําคญั ของขอ้ มูลและประเมิน คณุ ค่าของหลกั ฐานดงั น้ี การประเมินคุณค่าภายนอก (External criticism) คอื การพิจารณาตรวจสอบ การเปรียบเทียบกบั หลักฐานอ่นื ที่ไดเ้ ลือกไวแ้ ต่ละชน้ิ วา่ มีความนา่ เชอื่ ถอื เพยี งใด แต่ เปน็ เพียงการประเมินตวั หลักฐาน ไมไ่ ดม้ งุ่ ท่ี ข้อมูลในหลักฐาน ดังนั้นขัน้ ตอนนีเ้ ปน็ การ สกดั หลกั ฐานทไ่ี ม่นา่ เชือ่ ถือออกไปการวพิ ากษข์ อ้ มลู หรอื วพิ ากษ์ ภายใน การประเมินคณุ ค่าภายใน (Internal criticism) คือ การพิจารณาเนือ้ หาหรือ ความหมายที่ แสดงออกในหลักฐาน ค้นหาความมีเหตุผล ความคงเสน้ คงวา ความเป็น จริง และที่สาํ คญั สิ่งที่เปน็

ขน้ั ตีความและสงั เคราะหข์ ้อมูล คณะผู้ศกึ ษาได้วิเคราะห์ขอ้ มูลทน่ี าํ มาจากการลงพืน้ ที่จริง และศึกษาหลักฐาน ดังตอ่ ไปน้ี - ศึกษาจากหนังสือที่เก่ยี วขอ้ ง - การสัมภาษณ์วิทยากรจากอุทยานประวัตศาสตร์ศรีเทพ - แผน่ พับแนะนําอุทยานประวัตศิ าสตร์ศรีเทพ - เว็บไซต์ท่ีเก่ียวขอ้ ง การศึกษาขอ้ มูลท่ีได้เรยี บเรยี งมาน้นั จะมีความน่าเช่อื ถอื มากนอ้ ยเพยี งใด ตาม ประเภท หลกั ฐานชั้นต้นและหลักฐานชนั้ รอง สามารถนาํ มาใช้อ้างองิ โดยวิเคราะห์ตาม จดุ ประสงคค์ ือ 1. เพ่อื ศึกษาองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของปรางค์สองพีน่ อ้ ง 2. เพื่อศึกษาจดุ ประสงคใ์ นการสรา้ งปรางคส์ องพนี่ อ้ ง 3. เพื่อศกึ ษาความเช่อื เกี่ยวกบั โบราณวตั ถุทพี่ บบริเวณปรางค์สองพ่นี อ้ ง แลว้ นําข้อมูลทว่ี ิเคราะห์มาตีความ สรุปและสงั เคราะห์เพือ่ ให้ได้องค์ความรู้ใหม่

ข้นั นาํ เสนอขอ้ มลู นําขอ้ มูลท่ผี า่ นการสังเคราะห์ข้อมูล มาสรปุ ผลเพอื่ อธิบายหรอื ตอบประเด็น วัตถปุ ระสงคท์ ่ี กําหนด ตลอดจนนาํ ความรูแ้ ละส่ิงท่คี น้ พบจากการศกึ ษาคน้ คว้าจาก หลกั ฐานหรือแหลง่ ข้อมูลต่างๆมา อ้างอิงประกอบเป็น เหตุผล น าเสนอข้อมลู โดยใช้ การอธิบายและอภปิ รายผลในลกั ษณะขนั้ ตอนทางประวัติศาสตร์มาเรยี บเรียงจัดทํา เป็น รปู เล่มรายงาน นาํ ขอ้ มูลทเี่ รียบเรียงนํามาจดั ทาํ สอ่ื และเตรยี ม นําเสนอในรปู แบบของ การจดั นทิ รรศการให้ ความรู้ โดยนําเสนอในลกั ษณะของการบรรยายแลกเปล่ยี น เรียนรู้ หรือการถามตอบใหค้ วามรแู้ กผ่ ูท้ ส่ี นใจศกึ ษา -

ผลการศกึ ษาค้นควา้ ในการศกึ ษาเร่ือง สถาปัตยกรรมของปรางค์สองพนี่ อ้ ง จากการลงพน้ื ที่จรงิ การสัมภาษณ์ ศึกษาจากหนงั สือตาํ ราทเ่ี กี่ยวข้องและบทความทางอินเตอรเ์ น็ต สามารถสรปุ ผลการศกึ ษาไดด้ ังนี้ 1. ลักษณะทางสถาปตั ยกรรมของปรางค์สองพ่นี ้อง ลักษณะท่ัวไปของปรางคป์ ระธาน ภาพที่ 1 : ปรางค์ประธาน ด้านทิศตะวันตก ลักษณะของปรางคป์ ระธานหรอื ปรางค์พ่ี เป็นปราสาทก่ออฐิ ไมส่ ่อปูน หันหน้า ไปทางทต่ี ะวนั ตก ต้งั อยบู่ นฐานศลิ าแลง มที างเขา้ ทางเดยี วคอื ทางด้านทิศตะวนั ตก อีกสามทางเป็นประตหู ลอก เป็นสถาปตั ยกรรมเนื่องในศิลปะเขมร

ฐานปรางค์ ภาพท่ี 2 : ฐานแตล่ ะช้นั ขององค์ปรางค์ ฐานสี่เหล่ียมย่อมมุ ขนาดใหญ่ ทําเปน็ ฐานซ้อน 3 ช้ัน ฐานกอ่ ดว้ ยศิลาแลง ฐานชั้นแรกเป็นฐานไพทีที่ใชร้ ว่ มกับปรางค์องคเ์ ลก็ ผงั องคป์ รางค์อยใู่ นรูปสี่เหล่ยี ม จตั รุ ัสเพิ่มมุม ฐานขั้นที่สองขององคป์ รางค์ทาํ เป็นฐานปัทมเ์ ชน่ เดียวกับฐานช้ัน ลา่ งสุด แต่ฐานขน้ั ท่ีสองดา้ นทิศตะวนั ตก ซ่ึงเป็นทางเข้าองคป์ รางคจ์ ะทา่ ย่ืนออกไป เพอื่ รับผนังมขุ ด้านนี้ สว่ นฐานขั้นทส่ี าม เปน็ ฐานทีอ่ ยรู่ อบองคป์ รางคเ์ ทา่ น้นั มี ลกั ษณะเช่นเดียวกบั ฐานชั้นท่ีสอง องค์ปรางคม์ ีฐานรองรับอกี 1 ช้ัน อยู่ในระดบั ประมาณครง่ึ หน่ึงของประตหู ลอก

องค์ปรางค์ ภาพที่ 3 : ปรางคป์ ระธานดา้ นทิศตะวนั ออก องค์ปรางค์สงู ประมาณ 7 เมตร มีมขุ ย่นื ออกมาทงั้ 4 ทิศ ดา้ นทิศตะวนั ตก ทํายาวออกมาประมาณ 10 เมตร สว่ นมุขปรางค์ทางด้านทศิ เหนือ ทศิ ตะวนั ออก และทิศใต้ เปน็ มขุ ส้นั ตดิ กับตวั ปราสาทโดยทาํ ยอ่ มุมด้านละ 3 มมุ ย่อมมุ ชน้ั ท่ี 1 ชั้นในสดุ ทตี่ ิดกบั องค์ปรางค์ มีลกั ษณะต่างจากยอ่ มมุ ช้ันอนื่ ๆ คือตอนบนของยอ่ มมุ แทนท่จี ะทาํ เป็นหนา้ บันมใี หเ้ หน็ เป็นเพียงแทน่ รปู สเ่ี หลี่ยมผืนผ้าเท่านน้ั ด้านบนของแท่นสเ่ี หลย่ี มผืนผา้ นจ้ี ะอยู่ในระดบั ช้นั เชงิ บาตร พอดี ยอ่ มุมชน้ั ท่ี 2 ทําเปน็ หนา้ บันอยตู่ อนบนของย่อมุม หน้าบนั อยใู่ นรูปทรง สามเหลี่ยม ไม่ปรากฏลวดลายให้เห็นในปัจจุบนั ยอดของหน้าบันจะอยใู่ นระดบั เดียวกับช้นั เชงิ บาตรพอดี ฐานรองรบั หนา้ บนั มีลักษณะเชน่ เดยี วกับฐานรองรบั แท่น สเี่ หลี่ยมผืนผา้ ท่ีอยู่ตอนบน ย่อมมุ ชนั้ ที่ 3 หรือย่อมมุ อนั หน้าสดุ หนา้ บันในช้นั นี้จะมีขนาดเลก็ กว่าหนา้ บันช้ันที่ 2 ยงั คงอยู่ในรูปสามเหลี่ยมเช่นเดยี วกัน ผนงั ยอ่ มุมของข้นั นี้จะมีขนาดเล็ก จนกลายเปน็ ลักษณะเสารองรบั หน้าบันไป ฐานอยใู่ นระดบั เดยี วกับฐานลา่ งสุดของ ฐานในตัวองคป์ รางค์ ใตห้ น้าบนั เป็นทบั หลัง แตป่ ัจจบุ นั ไม่ปรากฏใหเ้ หน็ ทั้ง 3 ด้าน ใต้ทบั หลังลงมาทาํ เปน็ ประตปู ลอมท้ัง 3 ด้าน

องค์ปรางค์ ภาพท่ี 4 : ซ้มุ จรนาํ และฐานโยนี ท่ีมา : https://phetchabun.org/1358 ภายในปราสาทภายในองค์ปรางคก์ ็อยใู่ นรปู สี่เหลย่ี มจตุรสั เชน่ กัน ผนงั ภายในท้งั 3 ดา้ น คือ ดา้ นทิศเหนอื ทิศตะวันออก และทิศใต้ เจาะเปน็ ซ้มุ จร นาํ เข้าไป ซุ้มจรนาํ นีย้ อดซมุ้ เป็นรปู สามเหลย่ี ม ภายในองค์ปรางค์ปรากฏมแี ท่น เสยี บศิวลงึ คท์ ําดว้ ยศิลาแลงตง้ั อยู่

ชั้นหลงั คาของปรางค์สองพ่นี ้อง ภาพที่ 5 : หลงั คาปรางคส์ องพน่ี อ้ ง ภาพท่ี 6 : หลงั คาปราสาทเขาพนมรงุ้ ช้ันหลังคาของปรางค์สองพี่น้องปัจจุบัน พังทลายจนไม่เห็นรูปทรง แต่จากการ ขุดแต่งพบกลีบมะเฟืองประดับหลังคาสลักจากศิลาแลง จึงสันนิษฐานว่าส่วนบนคงทํา เป็นเรือนซ้อนช้ันลดหล่ันกันขึ้นไป แต่ละช้ันประดับด้วยนาคปักจนถึงส่วนยอดที่เป็น กลศ รูปทรงโดยรวมของส่วนบนคงเป็นทรงพุ่มเช่นเดียวกับปราสาทหินพิมายและ ปราสาทเขาพนมรุ้ง

ปรางคอ์ งคเ์ ลก็ ภาพที่ 7 : ปรางคอ์ งคเ์ ลก็ หรือ ปรางคน์ ้อง ปรางค์องคเ์ ล็กตงั้ อยทู่ างดา้ นทิศใต้ของปราสาท ฐานชัน้ ล่างสดุ ของปราสาทหรือ ปรางคอ์ งค์เล็กเป็นฐานปัทมก์ อ่ ด้วยศลิ าแลง เชอ่ื มตอ่ เปน็ ฐานเดยี วกนั กับฐานชั้นแรกของ องคใ์ หญ่ ถดั ขนึ้ มาเปน็ ส่วนขององคป์ รางค์ ก่อด้วยอฐิ ลกั ษณะการก่ออฐิ เป็นแบบเดยี วกบั ปรางคอ์ งคใ์ หญ่ แผนผังภายนอกขององคป์ รางค์กเ็ ปน็ รูปสี่เหลีย่ มจตุรสั เพิ่มมุม ทางด้าน ทศิ ตะวันตกคือทางดา้ นประตูทางเขา้ สคู่ รรภคฤหะหรือหอ้ งภายในองคป์ รางค์ บรเิ วณ หน้าบันมีการติดตัง้ ทบั หลงั จําหลกั รปู พระอมุ ามเหศวร ส่วนอีก ๓ ดา้ น คอื ด้านทศิ เหนอื ทิศตะวนั ออก และทศิ ใตท้ าํ เป็นประตหู ลอก

ผลการศกึ ษาคน้ คว้า 2. จดุ ประสงคใ์ นการสร้างปรางค์สองพ่ีน้อง จากการศกึ ษาเอกสารและหลกั ฐานทางขุดพบบรเิ วณปรางค์สองพนี่ ้อง สันนษิ ฐานได้ว่า ปรางค์สองพี่น้องคงเปน็ เทวสถานในศาสนาฮนิ ดูไศวนิกาย จากการพบแท่งศิวลึงค์ ฐานโยนี และโคนนทิ ภายในองค์ปรางค์แห่งนี้ และต่อมาถูกเปล่ียนแปลงเป็นเทวสถานต่อมาถกู ปรบั เปล่ยี นให้เปน็ วัดในพทุ ธศาสนาแบบนิกายมหายาน ในรชั สมัยของพระเจา้ ชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ. 1724-1760) ซึ่งเปน็ ท่ีเชอื่ ถอื ศรทั ธาแพร่หลายมากในช่วงระยะเวลานนั้

ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ 3. ความเชื่อเกี่ยวกับโบราณวัตถทุ ี่พบบรเิ วณปรางค์สองพี่น้อง โบราณวตั ถทุ พี่ บบริเวณปรางค์สองพน่ี อ้ งได้แก่ ทบั หลงั อมุ ามเหศวร ศิวลงึ ค์ โคนนทิ ฐานโยนี เสาประดับกรอบประตรู ูปโยคี ล้วนสร้างขึน้ ตามความเช่ือในศาสนาพราหมณ์ฮนิ ดู ไศวนกิ ายทน่ี บั ถือพระศิวะ เทวรูปพระอาทิตย์มีอายเุ ก่าแกก่ วา่ โบราณสถาน สนั นษิ ฐานว่าถกู นําเข้ามาในภายหลงั แสดงให้เห็นถึงการนับถอื สุริยเทพที่ดินแดนศรีเทพ ภาพท่ี 8 : ทับหลงั อมุ ามเหศวร ภาพที่ 10 : ฐานโยนี ทม่ี า : http://www.tourphetchabun.com ภาพที่ 9 : ศิวลึงคท์ ่ีพบบริเวณปรางค์สองพ่ีน้อง ภาพที่ 11 : โคนนทิ ภาพท่ี 13 : รูปปั้นสุรยิ เทพ ที่มา : หนังสอื อุทยานประวตั ศิ าสตร์ศรีเทพ ภาพที่ 12 : เสาประดับกรอบประตู

คณะผู้จัดทาํ นางสาวฐาปนี คาํ เกษ รหัสนักศึกษา 59101205104 นายอภวิ ัฒน์ ฝ่ายเทศ รหัสนกั ศกึ ษา 59101205117 นางสาวกง่ิ กาญจน์ เหมอื นเดช รหัสนักศึกษา 59101205120 นางสาวธนั ยพร ก้วั มาลา รหสั นักศึกษา 5910120512 นางสาวพยิ ดา หตั ถสาร รหสั นกั ศกึ ษา 59101205132 นางสาวภคั นนั ท์ ไชยนา รหสั นกั ศึกษา 59101205133






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook