Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนปรับอากาศเผยแพร่ 2 หน่วย

แผนการสอนปรับอากาศเผยแพร่ 2 หน่วย

Published by Sunate098, 2017-05-13 00:22:28

Description: แผนการสอนปรับอากาศเผยแพร่ 2 หน่วย

Search

Read the Text Version

เอกสารเผยแพร่เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105) สําหรับนักเรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) จัดทาํ โดย นายทนงศักด์ิ ป่ิ นคล้าย ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะชํานาญการ สาขาวชิ า เครื่องกล สาขางาน เทคนิคยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคชลบุรีสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ก คาํ นํา เอกสารประกอบการเรียนวชิ างานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2103) หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเคร่ืองกล เล่มน้ีได้แบ่งเน้ือหาออกเป็ น17 หน่วยการเรียนรู้ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้แบ่งเป็ นหวั ขอ้ การเรียนรู้ 1 ถึง 2 หวั ขอ้ โดยจดั ให้มีเน้ือหาความรู้ท้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิตามความเหมาะสมของแต่ละหัวขอ้ การเรียนรู้ จากประสบการณ์ของผจู้ ดั ทาํ ท่ีไดท้ าํ การสอนวชิ าปรับอากาศรถยนตม์ าเป็นระยะเวลานานทาํ ใหท้ ราบดีวา่ การที่นกั เรียนจะมีความรู้ความสามารถในการแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบปรับอากาศในรถยนตไ์ ดด้ ีน้นั ในเบ้ืองตน้ นกั เรียนตอ้ งมีความรู้พ้ืนฐานทางดา้ นทฤษฎีเป็ นอย่างดีเสียก่อน เม่ือไปสู่การปฏิบตั ิจึงจะสามารถนําหลักการทางทฤษฎีไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งมีเหตุมีผล ดงั น้นั ในภาคทฤษฎีจึงจดั ทาํ เป็ นใบความรู้ซ่ึงเป็นความรู้พ้ืนฐานที่จาํ เป็นบรรจุไวพ้ ร้อมภาพประกอบอยา่ งชดั เจน นกั เรียนสามารถอ่านทาํ ความเขา้ ใจไดโ้ ดยง่าย ในภาคปฏิบตั ิได้จดั ทาํ เป็ นใบปฏิบตั ิงานสําหรับให้นกั เรียนไดฝ้ ึ กปฏิบตั ิงานตามลาํ ดบั ข้นัพร้อมภาพประกอบอยา่ งชดั เจนเช่นกนั เพ่ือเป็ นการฝึ กทกั ษะใหเ้ ขา้ ใจลาํ ดบั ข้นั ของการปฏิบตั ิงาน การใช้เคร่ืองมืออยา่ งถูกตอ้ ง ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน ความมีระเบียบวินยั รวมถึงสามารถนาํ หลกั ทฤษฎีมาใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้ึนในการปฏิบตั ิงานได้ ผจู้ ดั ทาํ หวงั วา่ เอกสารประกอบการเรียนวชิ างานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2103) เล่มน้ีจะช่วยให้การเรียนในวิชางานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2103) บรรลุผลตามความมุ่งหมายของหลักสูตรโดยเฉพาะการพฒั นานกั เรียนให้เป็ นผทู้ ่ีมีความรู้ความเขา้ ใจในหลกั ทฤษฎี เป็ นผมู้ ีทกั ษะในการปฏิบตั ิงานเป็นผมู้ ีความรับผดิ ชอบ ตรงต่อเวลาและเป็นผมู้ ีจิตสาํ นึกท่ีดีในการเป็นช่างซ่อมระบบปรับอากาศรถยนต์ ทา้ ยน้ีผจู้ ดั ทาํ ตอ้ งขอขอบพระคุณท่านผอู้ าํ นวยการวทิ ยาลยั เทคนิคชลบุรี ดร.ไชยนนั ท์ แสงเมฆารองผูอ้ าํ นวยการวิทยาลัยเทคนิคชลบุรีทุกฝ่ าย และเพื่อนครูไว้ ณ ท่ีน้ีด้วยท่ีได้ให้คาํ ปรึกษา แนะนําและให้การสนับสนุนการพฒั นาผลงานทางด้านวิชาการของครูในสถานศึกษาเป็ นอย่างดีมาโดยตลอดซ่ึงเป็ นส่วนสําคัญยิ่งที่ทําให้เอกสารประกอบการเรี ยนวิชางานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2103)เล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ได้ ทนงศักด์ิ ป่ิ นคล้ายเอกสารเผยแพร่

สารบญัเอกสารเผยแพร่ 1เรื่องคาํ นาํ หนา้สารบญั กจุดประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า คาํ อธิบายรายวชิ า คหน่วยการเรียนรู้ 1การวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้จากหลกั สูตรรายวชิ า 2การวเิ คราะห์จุดประสงคก์ ารเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ 4แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 1 22แบบทดสอบเพื่อประเมินผล ก่อนการเรียนรู้ 23ใบความรู้ หน่วยท่ี 1 พ้ืนฐานปรับอากาศรถยนต์ 26ใบปฏิบตั ิงานที่ 1.1 การหาค่าความช้ืนสมั พทั ธ์ 29ใบปฏิบตั ิงานท่ี 1.2 งานวดั ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนต์ 46กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 50แบบทดสอบเพื่อประเมินผล หลงั การเรียนรู้ 55หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การติดต้งั อุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ 57แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 2 62แบบทดสอบเพื่อประเมินผล ก่อนการเรียนรู้ 63ใบความรู้ หน่วยท่ี 2 การติดต้งั อุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ 66ใบปฏิบตั ิงานท่ี 2 การติดต้งั อุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ 69กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 81แบบทดสอบเพ่ือประเมินผล หลงั การเรียนรู้ 88หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ 90แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 3 95แบบทดสอบเพ่ือประเมินผล ก่อนการเรียนรู้ 96ใบความรู้ หน่วยท่ี 3 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ 99ใบปฏิบตั ิงานที่ 3 งานบริการคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 102แบบทดสอบเพ่ือประเมินผล หลงั การเรียนรู้ 111 135 137

1 จุดประสงค์รายวชิ า / มาตรฐานรายวชิ า / คาํ อธบิ ายรายวชิ า วชิ างานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105) หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2556 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าเคร่ืองกล จํานวน 3 หน่วยกติ คาบการสอน 108 ช่ัวโมง_____________________________________________________________________________________จุดประสงค์รายวชิ า********1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการทาํ งานของเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ การถอดประกอบ***********และตรวจสภาพชิ้นส่วน********2. เพ่อื ใหส้ ามารถบาํ รุงรักษา บริการระบบปรับอากาศ รวมท้งั ประมาณราคาค่าบริการ********3. เพ่ือให้มีกิจนิสัยที่ดีในการทาํ งานด้วยความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ***********และปลอดภยัมาตรฐานรายวชิ า********1. เขา้ ใจหลกั การทาํ งานและการตรวจสอบ บาํ รุงรักษาระบบปรับอากาศรถยนต์********2. บาํ รุงรักษาระบบปรับอากาศรถยนต์********3. ตรวจสภาพส่วนประกอบของระบบปรับอากาศรถยนต์********4. ถอดประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของระบบปรับอากาศรถยนต์********5. ติดต้งั อุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์คําอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การทาํ งาน การตรวจสภาพ การถอดประกอบ ติดต้งั อุปกรณ์เคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ บรรจุน้าํ ยา หารอยรั่ว เติมน้าํ มนั หล่อล่ืน บริการบาํ รุงรักษาและประมาณราคาคา่ บริการเอกสารเผยแพร่

2 หน่วยการเรียนรู้รหสั 2101-2105 ชื่อวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ 6 ช่ัวโมง/สัปดาห์_____________________________________________________________________ หน่วย ช่ือหน่วย จํานวนการเรียนรู้ที่ ช่ัวโมง1 พ้ืนฐานปรับอากาศรถยนต์ 6เอกสารเผยแพร่2 การติดต้งั อุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ 63 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ 64 คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต 65 คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี 66 ตดั ทอ่ และดดั ทอ่ ระบบปรับอากาศรถยนต์7 บานทอ่ และต่อทอ่ ระบบปรับอากาศรถยนต์ 6 68 คอนเดนเซอร์และรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ 69 เอก็ แพนชนั่ วาลว์ 610 อีวาพอเรเตอร์ 611 อุปกรณ์ไฟฟ้ าระบบปรับอากาศรถยนต์ 612 วงจรไฟฟ้ าระบบปรับอากาศรถยนต์ 613 แมนิโฟลดเ์ กจและการตรวจขอ้ ขดั ขอ้ งดว้ ยแมนิโพลดเ์ กจ 614 การทาํ สุญญกาศและสารทาํ ความเยน็ 615 น้าํ มนั หล่อลื่นคอมเพรสเซอร์และประสิทธิภาพระบบปรับอากาศ 6 รถยนต์16 ตรวจรั่วและการบาํ รุงรักษาระบบปรับอากาศรถยนต์ 617 การวเิ คราะห์แกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งและการประมาณราคาค่าบริการ 6 สอบปลายภาค 6 รวม 108

3 การวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้จากหลกั สูตรรายวชิ าวชิ างานปรับอากาศรถยนต์ รหสั วชิ า 2101 - 2105 จาํ นวน 3 หน่วยกิต 6 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ พฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ จํานวนลาํ ดบั ช่ือหน่วยการเรียนรู้ พทุ ธิพสิ ัย ทกั ษะพสิ ัย จิตพสิ ัย คาบ ท่ี (ชม.)1. พ้ืนฐานระบบปรับอากาศรถยนต์  62. การติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์  63. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ  6เอกสารเผยแพร่4. คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต  65. คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี  66. ตดั ทอ่ และดดั ท่อระบบปรับอากาศรถยนต์    67. บานทอ่ และต่อท่อระบบปรับอากาศรถยนต์  68. คอนเดนเซอร์  69. เอก็ ซ์แพนชนั่ วาลว์  610 อีวาพอเรเตอร์  611 อุปกรณ์ไฟฟ้ าระบบปรับอากาศรถยนต์  612 วงจรไฟฟ้ าระบบปรับอากาศรถยนต์  613 พ้นื ฐานระบบปรับอากาศรถยนต์  614 การติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์  615 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ  616 คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต  617 คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี  618 สอบปลายภาค 6 รวม 108

4การวเิ คราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั วชิ า 2101 - 2105 จาํ นวน 3 หน่วยกิต 6 ชวั่ โมง/สปั ดาห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระดบั พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ ความรู้ ทกั ษะ กจิ นิสัยพนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ 123412121. อธิบายโครงสร้างและสถานะ  ของสสารได้2. บอกก ารถ่ายเทความร้ อนแต่ละวธิ ีได้เอกสารเผยแพร่  3. สามารถคาํ นวณค่าอุณหภูมิท่ีมีหน่วยการวดั ในระบบหน่ึงเป็ นอีก  ระบบหน่วยได้4. บอกองค์ประกอบของอัตรา  การถ่ายเทความร้อนได้5. บอกความหมายประเภท  ของความดนั และสุญญากาศได้6. บอกความหมายและการวัด  ความช้ืนได้7. บอกหน่วยการวดั ปริมาณความร้ อ น ค ว า ม ดั น สุ ญ ญ า ก า ศ  และอุณหภมู ิในแต่ละระบบได้8. บอกหลักเบ้ืองต้นของการปรับ  อากาศได้9 . บ อ ก วั ฏ จั ก ร เ บ้ื อ ง ต้ น  ของการปรับอากาศได้10. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั  และมีกิจนิสยั ที่ดีในการทาํ งานหมายเหตุ ระดบั ความรู้ 1 = ความจาํ 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนาํ ไปใช้ 4 = วเิ คราะห์ทกั ษะ 1 = การทาํ ตามแบบ 2 = ถูกตอ้ งแมน่ ยาํกจิ นิสัย 1 = การประเมินคุณค่า 2 = การจดั ระบบ

5การวเิ คราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั วชิ า 2101 - 2105 จาํ นวน 3 หน่วยกิต 6 ชวั่ โมง/สัปดาห์หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ระดบั พฤติกรรมทพี่ งึ ประสงค์การติดต้งั อปุ กรณ์ระบบปรับอากาศ ความรู้ ทกั ษะ กจิ นิสัยรถยนต์ 123412121. อธิบายการทาํ งานของระบบ  ปรับอากาศรถยนตไ์ ด้2. บอกการติดต้งั คอมเพรสเซอร์ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้เอกสารเผยแพร่  3. บอกการติดต้งั คอนเดนเซอร์  ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้4. บอกการติดต้งั รีซีฟเวอร์ดราย  เออร์ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้5. บอกการติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์  ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้6. บอกการติดต้งั ท่อสารทาํ ความ  เยน็ ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้7. ติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนต์ ได้8. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั  และมีกิจนิสยั ท่ีดีในการทาํ งานหมายเหตุ ระดับความรู้ 1 = ความจาํ 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนาํ ไปใช้ 4 = วเิ คราะห์ ทกั ษะ 1 = การทาํ ตามแบบ 2 = ถูกตอ้ งแมน่ ยาํ กจิ นิสัย 1 = การประเมินคุณคา่ 2 = การจดั ระบบ

22 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์เอกสารเผยแพร่

23 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี 1ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105) สอนคร้ังที่ 1ช่ือหน่วย พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ คาบรวม 6 คาบชื่อเร่ือง พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ จํานวนคาบ 6 คาบสาระสําคญั ศึกษาและปฏิบัติ โครงสร้างและสถานะของสสาร การถ่ายเทความร้อน คาํ นวณค่าอุณหภูมิองค์ประกอบของการถ่ายเทความร้อน ความดันและสุ ญญากาศ การวัดความช้ืน หลักเบ้ืองต้นของการปรับอากาศ วฏั จกั รเบ้ืองตน้ ของการปรับอากาศสมรรถนะประจําหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เก่ียวกบั ความหมาย หลกั การ พ้ืนฐาน หลกั เบ้ืองตน้ วฏั จกั ร ทฤษฎีการปรับอากาศจุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายโครงสร้างและสถานะของสสารได้ 2. บอกการถ่ายเทความร้อนแตล่ ะวธิ ีได้ 3. คาํ นวณคา่ อุณหภูมิที่มีหน่วยการวดั ในระบบหน่ึงเป็ นอีกระบบหน่วยได้ 4. บอกองคป์ ระกอบของอตั ราการถ่ายเทความร้อนได้ 5. บอกความหมายประเภทของความดนั และสุญญากาศได้ 6. บอกความหมายและการวดั ความช้ืนได้ 7. บอกหน่วยการวดั ปริมาณความร้อน ความดนั สุญญากาศ และอุณหภมู ิในแต่ละระบบได้ 8. บอกหลกั เบ้ืองตน้ ของการปรับอากาศได้ 9. บอกวฏั จกั รเบ้ืองตน้ ของการปรับอากาศได้ 10. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั และมีกิจนิสัยที่ดีในการทาํ งานเอกสารเผยแพร่

เอกสารเผยแพร่ 24สาระการเรียนรู้ 1. สสาร 2. ความร้อน 3. ความช้ืน 4. แรง 5. ความดนั 6. สุญญากาศ 7. การปรับอากาศ 8. วฏั จกั รเบ้ืองตน้ ของการปรับอากาศกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. เช็คชื่อนกั เรียนและลงชื่อในใบเขา้ ช้นั เรียน 2. พดู คุย ซกั ถาม หาขอ้ มูลพ้ืนฐานความรู้ 3. การดาํ เนินการสอน 3.1 บอกจุดประสงคแ์ ละคาํ อธิบายรายวชิ าและการวดั ผล 3.2 ใหผ้ เู้ รียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 3.3 ต้งั คาํ ถามเพ่ือนาํ เขา้ สู่บทเรียน สรุปคาํ ตอบ 3.4 อธิบายเน้ือหาและยกตวั อยา่ งประกอบ 3.4.1 สสาร 3.4.2 ความร้อน 3.4.3 ความช้ืน 3.4.4 แรง 3.4.5 ความดนั 3.4.6 สุญญากาศ 3.4.7 การปรับอากาศ 3.4.8 วฏั จกั รเบ้ืองตน้ ของการปรับอากาศ 3.5 ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น โดยใชว้ ธิ ีการถาม-ตอบ อธิบายซ้าํ 3.6 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาในบทเรียน 3.7 ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามใบงานและบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงาน 3.8 ใหน้ กั เรียนทาํ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 3.9 ใหน้ กั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 3.10 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน

25 3.11 ครูสังเกตพฤติกรรมรายบุคคลและบนั ทึกผล 3.12 อบรม คุณธรรม จริยธรรม 3.13 ใหน้ กั เรียนศึกษาคน้ ควา้ เรื่องที่จะเรียนคร้ังต่อไปล่วงหนา้ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอน วชิ างานปรับอากาศรถยนต์ 2. power point 3. รถยนตฝ์ ึกปฏิบตั ิปรับอากาศรถยนต์หลกั ฐานการเรียนรู้ทต่ี ้องการ 1. หลกั ฐานความรู้ท่ีตอ้ งการ 1.1 ร่องรอยการบนั ทึกองคค์ วามรู้บนสมุดบนั ทึก 1.2 ร่องรอยการศึกษาคน้ ควา้ เพิม่ เติมการวดั และประเมนิ ผล 1. วธิ ีการประเมินผล 1.1 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 1.2 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล 2. เคร่ืองมอื ประเมิน 2.1 แบบประเมินผลการเรียนรู้ 2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล 2.3 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาํ หน่วยที่ 1 3. เกณฑ์การประเมินผล 3.1 แบบประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑผ์ า่ น ทาํ ถูกตอ้ ง 50% ข้ึนไป 3.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล เกณฑผ์ า่ น ตอ้ งไมม่ ีช่องปรับปรุงเอกสารเผยแพร่

26 แบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผล ก่อนการเรียนรู้เอกสารเผยแพร่จงทาํ เครื่องหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อทถี่ ูกทส่ี ุด 1. การระเหิด หมายถึง อะไร ก. สสารเปล่ียนสถานะจากของแขง็ เป็นของเหลว ข. สสารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นกา๊ ซ ค. สสารเปลี่ยนสถานะจากของแขง็ เป็นเป็นกา๊ ซ ง. สสารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็ นของแขง็ 2. อุณหภมู ิของอากาศเท่ากบั 32 องศาฟาเรนไฮต์ จะมีคา่ เท่ากบั กี่องศาเซลเซียส ก. 10 องศาเซลเซียส ข. 0 องศาเซลเซียส ค. 20 องศาเซลเซียส ง. 30 องศาเซลเซียส 3. ความร้อนจากแดดเขา้ มาในห้องโดยสารรถยนตเ์ ป็นการถ่ายเทความร้อนแบบใด ก. การนาํ ความร้อน ข. การพาความร้อน ค. การถ่ายความร้อน ง. การแผร่ ังสีความร้อน 4. หลกั เบ้ืองตน้ ของการปรับอากาศคืออะไร ก. การนาํ ความร้อนท่ีอยใู่ นอากาศที่เราตอ้ งการปรับอากาศออกไป ข. การทาํ ใหอ้ ากาศที่เราตอ้ งการปรับอากาศใหเ้ ยน็ ลง ค. การนาํ อุณหภูมิในอากาศท่ีเราตอ้ งการปรับอากาศออกไป ง. การทาํ ใหอ้ ากาศท่ีเราตอ้ งการปรับอากาศเยน็ ลง 5. แรงกระทาํ ต่อหน่ึงหน่วยพ้นื ท่ี คือ อะไร ก. โมเลกลุ ข. ความดนั ค. ความช้ืน ง. ความร้อนแฝง

276. ความดนั อากาศเมื่อเทียบกบั ความดนั อวกาศ จะมีค่าประมาณเทา่ ไร ก. 14.71 lb/in2 ข. 14.75 lb/in2 ค. 15.71 lb/in2 ง. 15.75 lb/in27. เกจสุญญากาศ (Vacuum Guage) เป็นเครื่องมือที่ใชว้ ดั อะไร ก. ความร้อนแฝง ข. ความร้อนสมั ผสั ค. ปริมาณความร้อน ง. แรงดนั ท่ีต่าํ กวา่ บรรยากาศ8. อุปกรณ์ใดในวฏั จกั รปรับอากาศที่นาํ ความร้อนออกจากห้องโดยสารรถยนต์ ก. คอนเดนเซอร์ ข. เอก็ ซ์แพนชนั่ วาลว์ ค. อีวาพอเรเตอร์ ง. คอมเพรสเซอร์9. อากาศมีความช้ืนสมั พทั ธ์ 50% หมายความวา่ อะไร ก. ความช้ืนสัมพทั ธ์ทว่ั ไป ข. ความช้ืนที่มีอยใู่ นอากาศ ค. ความช้ืนที่สัมพทั ธ์กบั อุณหภมู ิ ง. อากาศท่ีมีไอน้าํ อยคู่ ร่ึงหน่ึง ณ จุดน้นั10. ปริมาณความร้อนท่ีไมท่ าํ ใหอ้ ุณหภมู ิของสสารเปลี่ยนแปลง แต่ทาํ ใหส้ สารน้นั เปลี่ยนแปลงสถานะ เรียกวา่ อะไร ก. ความร้อนแฝง ข. ความร้อนสมั ผสั ค. ความช้ืนสมั พทั ธ์ ง. ความดนั สุญญากาศเอกสารเผยแพร่

28เฉลยคาํ ตอบแบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผล ก่อนการเรียนรู้ ข้อ ก. ข. ค. ง. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เอกสารเผยแพร่

29 ใบความรู้ท่ี 1วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105) หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1ชื่อหน่วย พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ สัปดาห์ที่ 1 เวลา 3 ช่ัวโมงเรื่อง พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ ระบบปรับอากาศเป็ นอีกระบบหน่ึงที่ผูศ้ ึกษาการทาํ งานของระบบรถยนต์ตอ้ งทาํ ความเข้าใจกบั ทฤษฎีทางฟิ สิกส์เกี่ยวกบั ระบบปรับอากาศน้ีใหด้ ี เพราะระบบปรับอากาศไดน้ าํ ทฤษฎีทางดา้ นฟิ สิกส์ของสสารมาประยกุ ตใ์ ชจ้ นเกิดเป็นเคร่ืองปรับอากาศใชก้ นั อยใู่ นปัจจุบนัสสาร (Matter) 1. ความหมายของสสาร สสาร หมายถึง วตั ถุต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตวั เรา เช่น อากาศ ก๊าช ดิน กอ้ นหิน น้าํ ตน้ ไม้ มนุษย์เป็นตน้ หากสังเกตจะพบวา่ ทุกสิ่ง ทุกอยา่ งท่ีอยรู่ อบ ๆ ตวั เราลว้ นเป็นสสารท้งั สิ้น 2. โครงสร้างของสสาร สสารประกอบดว้ ยส่วนเล็ก ๆ มากมายประกอบกนั ข้ึนเป็ นสสาร ซ่ึงส่วนเล็ก ๆ น้ันเรียกว่าอะตอม และเมื่อนาํ หลาย ๆ อะตอมมารวมกนั เรียกวา่ โมเลกุลเอกสารเผยแพร่ รูปท่ี 1.1 โครงสร้างของสสาร ทม่ี า : สมนึก มงั กะระ. งานปรับอากาศรถยนต์. 2551 สสารใด ๆ กต็ ามตอ้ งการที่อยู่ เช่น ถว้ ยแกว้ ท่ีมองจากภายนอกดูวา่ วา่ งเปล่าท่ีจริงแลว้ มีอากาศอยภู่ ายในแต่มองไม่เห็น ลองเอากระดาษมาหน่ึงชิ้นใส่ลงไปในกน้ แกว้ เปล่า แล้วคว่าํ ถว้ ยแกว้ ลงไปในถงั น้าํ หรืออ่างน้าํ กดใหแ้ กว้ จมอยใู่ นน้าํ สกั ครู่ จึงยกถว้ ยแกว้ ข้ึนมาตรง ๆ จะเห็นวา่ กระดาษจะไมเ่ ปี ยกเพราะน้าํ เขา้ ไปในแกว้ ไม่ได้ แสดงว่ามีส่ิงใดสิ่งหน่ึงอยูใ่ นแกว้ นนั่ ก็คือ อากาศ ดงั น้นั อากาศก็ตอ้ งการที่อยนู่ ้าํ จึงเขา้ ไปในแกว้ ไม่ได้

30 นอกจากน้ีสสารยงั มีมวลน้าํ หนกั เช่น นาํ ลูกบอลที่ยงั ไม่ไดส้ ูบลมมาวางไวบ้ นตาชง่ั แลว้ ดูวา่หนกั เท่าไร หลงั จากน้นั นาํ ลูกบอลไปสูบให้อากาศเขา้ ไปจนเต็มลูกบอล แลว้ นาํ ไปวางบนตาชง่ั อีกคร้ังจะเห็นวา่ คร้ังน้ีลูกบอลจะหนกั กวา่ คร้ังแรกแสดงวา่ อากาศท่ีเพม่ิ เขา้ ไปในลูกบอลน้นั มีน้าํ หนกั เป็นตน้ 3. ลกั ษณะของสสาร สสารสามารถแบ่งออกได้ 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ สสารสามารถเปล่ียนจากสถานะหน่ึงไปยงั อีกสถานะหน่ึงได้ และสามารถเปล่ียนกลับไปกลับมาได้โดยอาศัยอุณหภูมิเช่น เปล่ียนจากสถานะของแขง็ เป็ นของเหลว จากสถานะของเหลวเป็ นก๊าซ และเปลี่ยนกลบั จากสถานะก๊าซเป็นของเหลวและของแขง็ ไดเ้ มื่ออุณหภมู ิเปล่ียนไป เช่น น้าํ รูปท่ี 1.2 สถานะของสสาร ทม่ี า : http://www.myfirstbrain.com ปกติน้าํ จะมีสถานะเป็นของเหลว หากเรานาํ น้าํ ไปแช่ตูเ้ ยน็ น้าํ จะกลายเป็ นน้าํ แขง็ ซ่ึงมีสถานะเป็ นของแข็ง แต่ถา้ นาํ น้าํ ไปตม้ ให้ความร้อน น้าํ จะเดือดกลายเป็ นไอ ซ่ึงจะอยูใ่ นสถานะก๊าซ เมื่อไอน้าํปะทะกบั ความเยน็ ก็จะกลบั มาเป็นน้าํ ซ่ึงอยใู่ นสถานะของเหลวอีกคร้ังเอกสารเผยแพร่

31ความร้อน (Heat)1. ความหมายของความร้อนความร้อน หมายถึง การท่ีโมเลกุลของวตั ถุเกิดการเคลื่อนท่ีและเกิดการเสียดสีระหว่างโมเลกุลความร้อนเป็ นพลงั งานชนิดหน่ึงซ่ึงสามารถทาํ งานและสามารถเปลี่ยนเป็ นพลงั งานรูปอ่ืน ๆได้ ปริมาณความร้อนเป็ นค่าท่ีบอกถึงจาํ นวนความร้อน วา่ มีมากนอ้ ยแค่ไหน โดยมีหน่วยการวดั ปริมาณความร้อนในแตล่ ะระบบดงั น้ี1) ระบบองั กฤษ มีหน่วยการวดั เป็ น บีทียู (B.T.U.) ซ่ึงยอ่ มาจาก British Thermal Units ปริมาณความร้อน 1 บีทียู มีมากแค่ไหนใหพ้ ิจารณาดงั น้ี ปริมาณความร้อน 1 บีทียู คือ ปริมาณความร้อนท่ีทาํ ให้เอกสารเผยแพร่น้าํ ท่ีมีมวล 1 ปอนด์ เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไป 1 องศาฟาเรนไฮต์2) ระบบเมตริก มีหน่วยการวดั เป็ น แคลอรี่ (Calorie) ปริมาณความร้อน 1 แคลลอร่ีมีมากแค่ไหนให้พิจารณาดังน้ี ปริ มาณความร้อน 1 แคลอร่ี คือ ปริ มาณความร้อนที่ทําให้น้ําท่ีมีมวล 1 กรัมเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไป 1 องศาเซลเซียส3) ระบบเอสไอ มีหน่วยการวดั เป็ น จูล (Joule) ปริมาณความร้อนที่ทาํ ให้น้าํ ที่มีมวล 1 กรัมมีอุณหภูมิเปล่ียนแปลงไป 1 องศาเซลเซียส มีค่าเท่ากบั 4.186 จูล 1 กิโลแคลอรี = 0.752 บีทียู = 0.968 กิโลแคลอรี 1 บีทียู 1 แคลอรี = 4.186 จลูความร้อนจาํ เพาะ (Specific heat) หมายถึง ปริมาณความร้อนท่ีทาํ ใหส้ ารหรือวตั ถุหน่ึงหน่วยน้าํ หนกั มีอุณหภูมิเปล่ียนแปลงไป 1 องศา หน่วยของความร้อนจาํ เพาะ แบ่งตามระบบท่ีใชค้ ือ ระบบองั กฤษ ความร้อนจาํ เพาะมีหน่วยเป็น Btu/lb °F ระบบเมตริก ความร้อนจาํ เพาะมีหน่วยเป็น kcal/kg °C ระบบเอสไอ ความร้อนจาํ เพาะมีหน่วยเป็น kJ/kg K2. การถ่ายเทความร้อนความร้อนสามารถถ่ายเทจากท่ีหน่ึงไปยงั อีกที่หน่ึงได้ โดยมีปัจจยั ที่สําคญั คือ อุณหภูมิ กล่าวคือความร้อนจะถ่ายเทจากท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูงไปยงั ที่ท่ีมีอุณหภูมิต่าํ และเม่ืออุณหภูมิเท่ากนั ความร้อนก็จะหยุดการถ่ายเท ซ่ึงเปรียบเสมือนน้าํ ท่ีโดยธรรมชาติแลว้ จะถ่ายเทหรือไหลจากที่ที่มีระดบั สูงไปยงั ท่ีท่ีมีระดบั ต่าํกวา่ และเม่ือน้าํ ท้งั สองมีระดบั เท่ากนั น้าํ ก็จะหยุดไหล โดยทวั่ ไปแลว้ ความร้อนสามารถถ่ายเทได้ 3 วธิ ีคือการนาํ ความร้อน การพาความร้อน การพาความร้อนและการแผร่ ังสีความร้อน

เอกสารเผยแพร่ 32 1) การนําความร้อน (Conduction) เป็ นวิธีการถ่ายเทความร้อนที่ต้องอาศัยสารตัวกลางโดยท่ีโมเลกลุ ของสารตวั กลางน้นั ไมม่ ีการเคล่ือนที่ เช่น ใชม้ ือจบั แท่งโลหะที่ปลายดา้ นหน่ึง แลว้ นาํ ปลายอีกดา้ นหน่ึงไปเผาไฟ สักครู่จะรู้สึกวา่ ปลายดา้ นที่ใชม้ ือจบั น้นั ร้อน รูปที่ 1.3 แสดงตวั อย่างการถ่ายเทความร้อนโดยการนําความร้อน ทมี่ า : สมนกึ มงั กะระ.งานปรับอากาศรถยนต์. 2551 2) การพาความร้อน (Convection) เป็นวธิ ีการถ่ายเทความร้อนที่ตอ้ งอาศยั สารตวั กลาง เช่นเดียวกบัการนาํ ความร้อน แต่การพาความร้อนน้ัน โมเลกุลของสารตวั กลางจะตอ้ งเคลื่อนที่เพ่ือพาความร้อนไปการพาความร้อนจะเกิดข้ึนกรณีที่สารตัวกลางเป็ นของเหลวหรื อแก๊สเท่าน้ัน ไม่สามารถเกิดข้ึนกบั สารตวั กลางที่เป็ นของแข็งได้ เพราะโมเลกุลของของเหลวและแก๊สสามารถเคล่ือนท่ีได้ ส่วนโมเลกุลของของแข็งน้นั อยกู่ บั ท่ี ตวั อย่างของการพาความร้อน เช่น การใช้เคร่ืองเป่ าผมใหแ้ ห้ง ซ่ึงความร้อนจากขดลวดความร้อนของเครื่องเป่ าผมจะถูกพาใหค้ วามร้อนน้นั มาทาํ ใหผ้ มแหง้ รูปท่ี 1.4 แสดงตวั อย่างการถ่ายเทความร้อนโดยการพาความร้อน ทม่ี า : สมนกึ มงั กะระ.งานปรับอากาศรถยนต์. 2551 3) การแผ่รังสีความร้อน (Radiation) เป็ นวิธีถ่ายเทความร้อนที่ไม่ตอ้ งอาศยั สารตวั กลางแต่การถ่ายเทความร้อนจะเกิดข้ึนในรูปของคลื่น ตัวอย่างการถ่ายเทความร้อนด้วยการแผ่รังสีคือการถ่ายเทความร้อนจากดวงอาทิตยม์ ายงั โลก

เอกสารเผยแพร่ 33 รูปท่ี 1.5 แสดงตวั อย่างการถ่ายเทความร้อนโดยการแผ่รังสีความร้อน ทม่ี า : สมนึก มงั กะระ.งานปรับอากาศรถยนต์. 2551 3. ชนิดของความร้อน ชนิดของความร้อน แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 3.1 ความร้อนสัมพทั ธ์ (Sensible Heat) เป็ นปริมาณความร้อนท่ีทาํ ให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยนแปลง แต่ไม่ทาํ ใหส้ สารเปลี่ยนสถานะ 3.2 ความร้อนแฝง (Latent Heat) เป็ นปริมาณความร้อนที่ไม่ทาํ ให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยนแปลง แตจ่ ะทาํ ใหส้ สารน้นั เปล่ียนสถานะ 4. ระดบั ความร้อน ระดับความร้อน หมายถึง ค่าที่บอกความร้อนว่า มีมากน้อยแค่ไหนของสสารน้ันหรือที่เรียกวา่ อุณหภูมิ (Temperature) อุปกรณ์ท่ีใชว้ ดั ระดบั ความร้อนคือ เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer)เม่ือตอ้ งการทราบอุณหภูมิของสสารใด ให้นาํ ส่วนรับความรู้สึกของเทอร์โมมิเตอร์ไปสัมผสั กบั สสารท่ีตอ้ งการทราบอุณหภูมิ สสารน้นั จะถ่ายทอดระดบั ความร้อนสู่เทอร์โมมิเตอร์ใหแ้ สดงผลบนสเกล (Scale)วา่ สสารมีอุณหภมู ิอยรู่ ะดบั ใด ค่าของอุณหภูมิที่วดั ไดป้ ัจจุบนั ที่ใชม้ ีอยู่ 2 หน่วย คือ องศาเซลเซียส (Celsius) ใชส้ ัญลกั ษณ์“0C” เป็นหน่วยวดั ระบบเมตริก และองศาฟาเรนไฮต์ (Fahrenheit) ใชส้ ัญลกั ษณ์ “0F” เป็ นหน่วยวดั ระบบองั กฤษ ซ่ึงสามารถเปรียบเทียบอุณหภูมิโดยใชส้ ูตร ดงั น้ี สูตร การเปรียบเทียบอุณหภูมิ C = F − 32 59 เมื่อ 0C หมายถึง ค่าอุณหภมู ิที่มีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส 0F หมายถึง ค่าอุณหภูมิที่มีหน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์

34ตวั อย่างท่ี 1 ถา้ เทอร์โมมิเตอร์ชนิดองศาเซลเซียสอา่ นค่าได้ 50 0C จะมีคา่ เท่ากบั ก่ีองศาฟาเรนไฮต์วธิ ีทาํ จากสูตร C = F − 32 เม่ือ 59 C = 50 F =? แทนค่า =50 F − 32 59 10 x 9 = F – 32 90+32 = F∴จะไดอ้ ุณหภูมิของอากาศ = 122 0Fเอกสารเผยแพร่แสดงวา่ อุณหภมู ิของอากาศ 500C มีคา่ เทา่ กบั 122 0Fตัวอย่างที่ 2 ถา้ เทอร์โมมิเตอร์ซ่ึงติดผนงั หอ้ งอ่านค่าได้ 86 องศาฟาเรนไฮต์ อุณหภูมิชนิดองศาเซลเซียสจะมีค่าเท่าไรวธิ ีทาํ จากสูตร C = F − 32 เม่ือ 59 F = 86 0F C=?แทนคา่ =C 86−32 59 C = 30∴จะไดอ้ ุณหภมู ิของอากาศ = 30 0Cแสดงวา่ อุณหภูมิของอากาศ 86 0F มีค่าเทา่ กบั 30 0C

เอกสารเผยแพร่ 35 5. ตนั ของการทาํ ความเยน็ (Ton of Refrigeration) ในสมยั ก่อนการกาํ หนดขนาดของเครื่องทาํ ความเยน็ กาํ หนดกนั เป็ นแรงมา้ (horse power; hp)ซ่ึงแรงมา้ ก็คือหน่วยทางทฤษฎีของพลงั งาน 1 แรงมา้ มีค่าเท่ากบั พลังงานซ่ึงสามารถทาํ งานได้ 33,000ฟุต-ปอนดต์ ่อนาที เคร่ืองทาํ ความเย็นเคยถูกกําหนดขนาดเป็ น ¼ แรงม้า, ½ แรงม้า, ¾ แรงม้า หรือ 1 แรงม้าซ่ึงหมายถึง ค่าผลการทาํ ความเย็นของเคร่ืองขนาดต่างๆ ขา้ งตน้ ต่อมาการกาํ หนดขนาดเป็ นแรงมา้ ถูกเปล่ียนมาใชเ้ ป็นเพยี งการกาํ หนดขนาดของคอมเพรสเซอร์เทา่ น้นั ก่อนทาํ ความเขา้ ใจถึงเรื่องตนั ของการทาํ ความเย็น จาํ เป็ นตอ้ งทราบเสียก่อนว่าจาํ นวนปริมาณความร้อนแฝงของการหลอมละลายของน้าํ แข็งหนกั 1 ปอนด์ที่อุณหภูมิ 32 องศาฟาเรนไฮต์ จะตอ้ งใช้ปริมาณความร้อนแฝง 144 บีทียู 1 ตนั ของการทาํ ความเยน็ ไดม้ าจากการนาํ น้าํ แขง็ หนกั 1 ตนั (2,000 ปอนด)์ ท่ี 32 องศาฟาเรนไฮต์มาหลอมละลายดูดรับปริมาณความร้อนกลายเป็นน้าํ 1 ตนั ที่ 32 องศาฟาเรนไฮตห์ มดพอในเวลา 1 วนั จากสูตร Q = mL โดยที่ Q คือ ปริมาณความร้อน = ? บีทียู M คือ ความร้อนแฝงของการหลอมละลายของน้าํ แขง็ มีคา่ = 144 บีทียู แทนคา่ Q = 2000 x 144 บีทียตู ่อวนั = 288,000 บีทียตู ่อวนั หรือ = 2882,4000 บีทียตู อ่ ชวั่ โมง = 12,000 บีทียตู ่อชวั่ โมง นน่ั คือ 1 ตนั ของการทาํ ความเยน็ มีค่าเทา่ กบั ความสามารถในการดูดรับปริมาณความร้อนของเครื่อง 12,000 บีทียตู อ่ ชวั่ โมง ในปัจจุบนั การกาํ หนดขนาดของเคร่ืองทาํ ความเย็นมกั กาํ หนดเป็ นบีทียูมากกว่าท่ีจะกาํ หนดขนาดของเคร่ืองเป็ นตนั หรือเป็ นแรงมา้ แต่ถา้ กาํ หนดเป็ นตนั ก็จะตอ้ งบอกค่าเป็ นบีทียกู าํ กบั ไวด้ ว้ ยเสมอเช่น เคร่ืองปรับอากาศขนาด 1 ตนั หรือ 12,000 บีทียตู ่อชวั่ โมง เป็นตน้ โดยปกติเครื่ องปรับอากาศรถยนต์มักมีขนาดเกินกว่า 1 ตันของการทําความเย็น ท้ังน้ีเพราะค่าปริมาณความร้อนภายในรถมีมาก ถ้าจะใช้เคร่ืองปรับอากาศขนาด 8,000 ถึง 10,000 บีทียูต่อชวั่ โมง ก็จะใหผ้ ลความเยน็ ไม่เพียงพอ

36ความชื้น (Humidity) 1. ความหมายของความชื้น ความช้ืน หมายถึง ปริมาณของไอน้าํ ท่ีมีอยใู่ นอากาศ เราจะสังเกตไดจ้ ากการนาํ น้าํ แข็งใส่แกว้วางทิ้งไวส้ ักครู่จะเห็นว่ามีหยดน้าํ ท่ีขา้ งแก้ว หยดน้ําน้ีมาจากไอน้าํ ที่อยู่ในอากาศ เมื่อไอน้าํ ในอากาศมาปะทะกบั ความเยน็ ของน้าํ แข็งที่แกว้ จะเกิดการกลนั่ ตวั หรือเปลี่ยนสถานะจากก๊าซกลายเป็ นของเหลวหรือหยดน้าํ นน่ั เอง ความช้ืนดงั กล่าวน้ีสามารถวดั ไดใ้ นรูปของความช้ืนสัมพทั ธ์ (Relative Humidity)เช่น ความช้ืนสัมพทั ธ์ 50% หมายความว่า อากาศมีปริมาณไอน้าํ อยู่คร่ึงหน่ึงของอากาศที่สามารถอุม้ ไอน้าํ ไวไ้ ดใ้ นอุณหภูมิ ณ จุดน้นั 2. การวดั ความชื้นในบรรยากาศ การวดั ความช้ืนในบรรยากาศ เราจะวดั เป็ นความช้ืนสัมพทั ธ์ด้วยเคร่ืองมือที่มีชื่อเรียกว่าไซโครมิเตอร์ (Psy grometer) ไซโครมิเตอร์ (Psy Chrometer) เม่ือนาํ เอาเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปี ยก และกระเปาะแห้งมารวมกนั จะมีชื่อเรียกวา่ ไซโครมิเตอร์ (Psy Chrometer) ซ่ึงเป็ นเครื่องมือที่ใชห้ าค่าความช้ืนสัมพทั ธ์เฉพาะท่ี โดยการเปรียบเทียบอุณหภมู ิของเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้เอกสารเผยแพร่เทอร์โมมเิ ตอร์กระเปาะแห้ง เทอร์โมมเิ ตอร์กระเปาะเปี ยก รูปท่ี 1.6 ไซโครมเิ ตอร์ ทม่ี า : www.kasetvirul.com . 2555

เอกสารเผยแพร่ 37 1) เทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแห้ง (Dry Bulb thermometer) เป็ นเทอร์โมมิเตอร์ที่บรรจุด้วยปรอท เมื่อนํากระเปาะของเทอร์โมมิเตอร์ไปสัมผัสกับความร้อนโดยตรงจะทําให้ปรอทเกิดการขยายตวั 2) เทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปี ยก (Wet Bulb thermometer) ซ่ึงกระเปาะของเทอร์โมมิเตอร์จะถูกหุม้ ไวด้ ว้ ยผา้ ที่เป็ นตาข่าย ผา้ หยาบท่ีสะอาด หรือสําลี แลว้ นาํ ไปจุ่มลงในน้าํ กลนั่ เพ่ือให้น้าํ ซึมผา่ นเขา้ ไปที่กระเปาะของเทอร์โมมิเตอร์ ทาํ ให้เกิดความช้ืนและทาํ ให้อุณหภูมิของอากาศรอบ ๆ กระเปาะลดลง จากน้ันนําเอาอุณหภูมิไปใช้หาค่าความช้ืนสัมพทั ธ์ จากค่าความต่างของระดับอุณหภูมิของเทอร์โมมิเตอร์ท้งั สองโดยการอา่ นค่าจากไซโครเมตริกชาร์ต รูปท่ี 1.8 แสดงภาพไซโครเมตริกชาร์ต ทมี่ า : สวสั ด์ิ บุญเถอ่ื น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555ตัวอย่างท่ี 3 การหาค่าความช้ืนสัมพันธ์จากไซโครมิเตอร์แบบกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้งจากไซโครเมตริกชาร์ต เช่น ถา้ อุณหภูมิจากเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแหง้ อ่านได้ 32 ◌ํC และอุณหภูมิของเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปี ยก อ่านได้ 22 ◌ํC จะหาคา่ ความช้ืนสัมพทั ธ์ไดเ้ ท่าไร

38 วธิ ีทาํ 1. ลากเส้นอุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ท่ี 32 ◌Cํ ไปในแนวต้งั 2. ลากเส้นอุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกที่ 22 ◌Cํ ไปในแนวเฉียงจากดา้ นบนซา้ ยลงล่าง 3. อา่ นคา่ ของเส้นความช้ืนสมั พทั ธ์เส้นโคง้ จากล่างซา้ ยไปบนขวา ท่ีจุดตดั ของเส้นอุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกและแหง้ 4. จากขอ้ 1,2 และขอ้ 3 จุดตดั คือค่าความช้ืนสัมพทั ธ์เทา่ กบั 60 เปอร์เซ็นต์แรง (Force) 1. ความหมายของแรง แรง หมายถึง อาํ นาจชนิดหน่ึงที่สามารถเปลี่ยนแปลงสถานภาพของวตั ถุ เช่น ทาํ ให้วตั ถุเคลื่อนที่จากหยดุ นิ่ง หรือเปลี่ยนทิศทาง หรือเคล่ือนท่ีเร็วข้ึนหรือชา้ ลง แรงยงั ทาํ ใหเ้ กิดการเปลี่ยนรูปร่างเช่น การบิดงอ เป็ นตน้ แรงมีหน่วยวดั เป็ นนิวตัน (Newton) โดยคาํ นวณหาแรงได้จากการนํามวลของวตั ถุคูณกบั การเคลื่อนที่ดว้ ยอตั ราเร่งของวตั ถุเอกสารเผยแพร่สูตร การคาํ นวณหาแรง F = maเม่ือ F = แรงมีหน่วยเป็นนิวตนั (N) m = มวลของวตั ถุมีหน่วยเป็นกิโลกรัม (kg) a = อตั ราเร่งของวตั ถุมีหน่วยเป็นเมตรต่อวนิ าที2 (m/s2)ตัวอย่างที่ 4 จงหาขนาดของแรงท่ีกระทาํ กบั วตั ถุมวล 10 กิโลกรัม ให้เคลื่อนที่ดว้ ยอตั ราเร่ง 15 เมตรต่อวนิ าที2 ในทิศทางที่ถูกแรงกระทาํ วธิ ีทาํ จากสูตร F = ma เมื่อ m = 10 kg a = 15 m/s2 แทนคา่ F = 10 kg x 15 m/s2 ∴จะไดข้ นาดของแรงกระทาํ = 150 kg m/s2 = 150 Nหมายเหตุ แรง 1 N หมายถึง แรงท่ีกระทาํ ใหม้ วลวตั ถุ 1 kg เคล่ือนที่ดว้ ยอตั ราเร่ง 1 m/s2

39ความดัน (Pressure) 1. ความหมายของความดัน ความดนั หมายถึง แรงที่มากระทาํ กบั วตั ถุต่อหน่วยของพ้ืนท่ี หรือเป็ นการวดั ความหนาแน่นของแรงท่ีจุดใดจุดหน่ึงบนพ้ืนท่ีผิวของวตั ถุ ขณะที่แรงกระทาํ บนพ้ืนที่ผิวท้งั หมดเท่ากนั สามารถคาํ นวณไดโ้ ดยใชแ้ รงท้งั หมดท่ีกระทาํ บนพ้ืนที่หารดว้ ย พ้ืนผวิ ท่ีรับแรงท้งั หมด สูตร การคาํ นวณหาความดนั P = F A เม่ือ P = ความดนั มีหน่วยเป็นนิวตนั ต่อตารางเมตร (N/m2) F = แรงกระทาํ มีหน่วยเป็นนิวตนั (N) A = พ้นื ท่ีมีหน่วยเป็นตารางเมตร (m2)ตัวอย่างท่ี 5 ถงั ทรงกระบอกขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 2 เมตร สูง 4 เมตร ถา้ บรรจุน้าํ เต็มถงั มวลของน้าํ หนกั ท้งั หมดหนกั 180 กิโลกรัม จงคาํ นวณหาค่าของ ก) แรงท่ีแรงทาํ ท่ีกน้ ถงั ข) ความดนั ที่กระทาํ ท่ีกน้ ถงัเอกสารเผยแพร่วธิ ีทาํ ก) จากสูตร F = ma เมื่อ m = 180 kg a = แรงโนม้ ถ่วงของโลกมีค่า = 9.81 m/s2 ∴จะไดแ้ รงที่กระทาํ กบั ถงั = 1765.8 N ข) จากสูตร P = F เม่ือ F = A 1765.8 N A= Πd 2 = 3.14x(2m)2 = 3.14 m2 44 แทนคา่ P = 1765.8 ∴จะไดค้ วามดนั ก่ีถงั = 3.14m 2 562.357 (N/m2)หมายเหตุ = 562.357 Pa ความดนั 1 N/m2 เท่ากบั ความดนั 1 Pa ความดนั 1 bar เท่ากบั ความดนั 100,000 Pa (105)

402. หน่วยการวดั ความดนัหน่วยท่ีใชส้ าํ หรับวดั ความดนั ในระบบต่าง ๆ ประกอบดว้ ย2.1 ระบบองั กฤษ มีหน่วยเป็น ปอนดต์ ่อตารางนิ้ว (lb/in2 หรือ psi)2.2 ระบบเมตริกมีหน่วยเป็น กิโลกรัมตอ่ ตารางเซนติเมตร (kg/cm2)2.3 ระบบเอสไอ มีหน่วยเป็น นิวตนั ต่อตารางเมตร (N/m2 หรือ bar) 1 lb/in2 = 0.07 kg/cm2 1 kg/cm2 = 14.226 in2 1 lb/in2 = 6892.857 Paเอกสารเผยแพร่ 1 bar = 100,000 Pa3. ประเภทของความดนัความดนั สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ 3.1 ความดนั เกจ (Gauge Pressure) - (Pg) หมายถึง ความดนั ท่ีวดั ค่าเทียบกบั ความดนับรรยากาศท่ีความดนั ปกติ จะอา่ นค่าท่ีความดนั เกจเท่ากบั ศนู ย์ 3.2 ความดนั บรรยากาศ (Atmospheric Pressure) - (Patm) หมายถึง ความดนั ของอากาศท่ีอยรู่ อบ ๆ ตวั เน่ืองจากอากาศท่ีอยรู่ อบตวั เราจะมีน้าํ หนกั หรือแรงอยู่ เม่ือแรงหรือน้าํ หนกั ของอากาศท่ีมากระทาํ บนพ้ืนท่ีของอากาศ จึงทาํ ให้อากาศเกิดแรงดนั ซ่ึงน้าํ หนักของอากาศท่ีอยู่ห่างจากผิวโลกไม่เท่ากนั จะทาํ ใหเ้ กิดความดนั บรรยากาศไมเ่ ทา่ กนั วดั เทียบความดนั บรรยากาศที่ระดบั ผิวน้าํ ทะเลจะมีค่าเทา่ กบั 14.7 lb/in2 3.3 ความดนั สมบูรณ์ (Absolute Pressure) - (Pabs) หมายถึง ผลรวมของความดนั เกจกบั ความดนั บรรยากาศ ความดนั สมบรู ณ์มีคา่ เทา่ กบั 101.325 KPa ท่ีความดนั บรรยากาศ (1 Patm)สุญญากาศ (Vacuum)1. ความหมายของสุญญากาศสุญญากาศ หมายถึง ปริมาตรของช่องว่างซ่ึงไม่มีสสารอยู่ภายใน มีค่าความดันท่ีต่าํ กว่าความดนั บรรยากาศ จึงทาํ ใหเ้ กจวดั ความดนั โดยทวั่ ไปไม่สามารถวดั ความดนั ท่ีต่าํ กวา่ บรรยากาศได้ ดงั น้นัจึงตอ้ งใชเ้ ครื่องมือท่ีวดั ไดเ้ ฉพาะสุญญากาศ ที่เรียกวา่ เกจสุญญากาศ (Vacuum Gauge)2. หน่วยการวดั สุญญากาศหน่วยท่ีใชส้ าํ หรับสุญญากาศในระบบตา่ ง ๆ ดงั น้ี2.1 ระบบองั กฤษ มีหน่วยเป็น นิ้วปรอท (in.Hg)

412.2 ระบบเมตริก มีหน่วยเป็น มิลลิเมตรปรอท (mm.Hg)2.3 ระบบ SI Unit มีหน่วยเป็น มิลลิเมตรปรอท (mm.Hg)การปรับอากาศ การปรับอากาศเป็ นการปรับและควบคุมอุณหภูมิของอากาศที่อยู่รอบ ๆ ตวั เรา ให้อยู่ในระดบัตามที่เราตอ้ งการ หรือให้อยู่ในระดบั ท่ีทาํ ให้ร่างกายของเรารู้สึกสบายมากที่สุด เช่น ขณะอากาศร้อนสามารถปรับทาํ ให้อากาศเย็นลง และถ้าอากาศเย็น ก็สามารถปรับให้อากาศร้อนข้ึน จนอยู่ในระดับที่เรารู้สึกสบายเอกสารเผยแพร่ หน้าทขี่ องเครื่องปรับอากาศ การปรับอากาศ เป็ นการควบคุมอุณหภูมิภายในห้องปรับอากาศให้มีความเหมาะสม ให้คนที่อยู่ภายในมีความรู้สึกสบาย ควบคุมความช้ืนสัมพทั ธ์ของอากาศ การระบายอากาศเสียทิ้ง รวมท้งั การหมุนเวยี นของอากาศบริสุทธ์ิและกรองอากาศที่สกปรกใหส้ ะอาด พอสรุปหนา้ ที่ของเครื่องปรับอากาศไดด้ งั น้ี 1. ควบคุมอุณหภูมิภายในหอ้ งปรับอากาศใหอ้ ยใู่ นช่วงที่เหมาะสม อุณหภูมิที่จะทาํ ให้รู้สึกสบายอยรู่ ะหวา่ ง 23 – 25 0C 2. ควบคุมความช้ืนสมั พทั ธ์ ท่ีมีผลตอ่ ความสบายของมนุษยม์ ากพอ ๆ กบั อุณหภมู ิถา้ ความช้ืนสัมพทั ธ์ต่าํ จะทาํ ใหเ้ หงื่อท่ีผวิ ระเหยไดง้ ่าย แตถ่ า้ ความช้ืนสมั พทั ธ์สูง เหงื่อท่ีผวิ หนงั จะระเหยได้ยาก และถา้ น้าํ ที่ผิวหนงั ระเหยตวั มากเกินไป จะมีผลทาํ ให้ผิวหนงั แห้งจึงรู้สึกไม่สบายตวั ค่าความช้ืนสัมพทั ธ์ที่เหมาะสมสาํ หรับมนุษย์ อยปู่ ระมาณ 50 – 55% 3. การหมุนเวียนของอากาศบริสุทธ์ิ ภายในห้องปรับอากาศ ตอ้ งคาํ นึงถึงความเร็วและความแรงของลมที่มาปะทะส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย 4. การควบคุมการหมุนเวียนของอากาศบริสุทธ์ิ เนื่องจากห้องปรับอากาศเป็ นห้องมิดชิดเครื่องปรับอากาศ จึงถูกสร้างให้ทาํ หน้าที่กําจัดสิ่งท่ีไม่พึงประสงค์ เช่น ฝ่ ุนละออง ควนั กลิ่นเพื่อใหอ้ ากาศบริสุทธ์ิหมุนเวยี นไดม้ ากท่ีสุด หลกั การเบือ้ งต้นของการปรับอากาศ สําหรับการปรับอากาศที่จะกล่าวถึงในที่น้ีเป็ นการปรับอากาศท่ีร้อนเกินไป ให้เย็นลงจนอยู่ในระดบั ที่เราตอ้ งการ เม่ืออากาศที่อยรู่ อบตวั เราร้อนหรือมีอุณหภูมิสูง ก็แสดงวา่ อากาศท่ีอยรู่ อบตวั เราน้นั มีความร้อนอยู่มาก การที่จะทาํ ให้อากาศเยน็ ลงหรือมีอุณหภูมิลดลง เราจาํ เป็ นจะตอ้ งนาํ เอาความร้อนออกจากอากาศ **เมื่อในอากาศมีปริมาณความร้อนลดลง อากาศกจ็ ะเยน็ ลงหรืออุณหภมู ิลดต่าํ ลงนนั่ เอง

เอกสารเผยแพร่ 42 วธิ ีการนาํ เอาความร้อนออกจากอากาศน้นั มีอยดู่ ว้ ยกนั หลายวธิ ี ใหพ้ ิจารณารูปตอ่ ไปน้ี รูปที่ 1.9 แสดงการปรับอากาศอย่างง่าย ทม่ี า : สวสั ด์ิ บุญเถอ่ื น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 จากรูป ถา้ ในถงั A บรรจุสารตวั กลางในการปรับอากาศซ่ึงเรียกวา่ “สารทาํ ความเยน็ ” โดยที่สารทาํ ความเยน็ ท่ีอย่ใู นถงั มีสถานะเป็ นของเหลว และวาล์ว B เป็ นลิ้น หรือวาล์วสําหรับปิ ด-เปิ ดให้สารทาํ ความเยน็ จากถงั A ไหลเขา้ ไปยงั ทอ่ C ทอ่ C เป็นทอ่ ที่ทาํ ดว้ ยโลหะที่มีคุณสมบตั ิการนาํ ความร้อนไดด้ ี เมื่อเปิ ดวาลว์ B เพียงเลก็ นอ้ ย ใหส้ ารทาํ ความเยน็ ในถงั A สามารถไหลผา่ นได้ สารทาํ ความเยน็ในถงั A ซ่ึงเป็ นของเหลวและมีความดนั สูงจะไหลผา่ นวาลว์ B เขา้ ไปในท่อ C เนื่องจากภายในท่อ Cมีความดนั ต่าํ กวา่ ความดนั ในถงั A ดงั น้นั เมื่อสารทาํ ความเยน็ ไหลผา่ นวาล์ว B ก็จะทาํ ให้สารทาํ ความเยน็ท่ีเขา้ ไปในท่อ C มีความดนั ลดลง ดัง ที่ ไ ด้ก ล่ า ว ม า แ ล้ว ค ว า ม ดัน ทํา ใ ห้ อุ ณ ห ภู มิ จุ ด เ ดื อ ด ข อ ง ส ส า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล งดังน้ันเม่ือสารทําความเย็นมีความดันลดลงก็จะทําให้จุดเดือดลดลงด้วย ถ้าให้อุณหภูมิจุดเดือดของสารทาํ ความเย็น ที่อยู่ในท่อ C ต่าํ กว่าอุณหภูมิของอากาศภายในห้องหรืออุณหภูมิของท่อ Cสารทาํ ความเยน็ ก็จะเกิดการเดือดหรือเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็ นแก๊ส แต่เน่ืองจากการเปล่ียนสถานะของสสารน้นั ตอ้ งใชค้ วามร้อนจาํ นวนหน่ึงในการเปลี่ยนแปลงสถานะ ดงั น้นั เมื่อสารทาํ ความเยน็ในท่อ C เดือดจะดึงความร้อนออกจากท่อ C เพ่ือนาํ มาใชใ้ นการเปล่ียนสถานะ ส่งผลใหท้ ่อ C มีปริมาณความร้อนนอ้ ยลงซ่ึงก็ทาํ ใหอ้ ุณหภมู ิของท่อ C ลดลงดว้ ย เม่ืออุณหภูมิของท่อ C ต่าํ กว่าอุณหภูมิของอากาศภายในห้อง ก็จะเกิดการถ่ายเทความร้อนจากอากาศในหอ้ งสู่ท่อ C และความร้อนน้ีกจ็ ะนาํ ไปใชใ้ นการเปล่ียนสถานะของสารทาํ ความเยน็ ในท่อ Cต่อไป ซ่ึงจากกระบวนการดงั กล่าวน้ีทาํ ให้อากาศในห้อง A มีอุณหภูมิลดลง และหาดลดลงต่าํ กว่า

เอกสารเผยแพร่ 43๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕อุณหภูมิ จากการท่ีมีการถ่ายเทความร้อนจากร่างกายจึงทาํ ให้รู้สึกเย็นสบายซ่ึงหากทาํ เป็ นแผนภาพแสดงการถ่ายเทความร้อนในกระบวนการปรับอากาศ ก็จะมีลกั ษณะดงั รูป รูปที่ 1.10 แสดงการถ่ายเทความร้อนในกระบวนการปรับอากาศอย่างง่าย ทมี่ า : สวสั ด์ิ บุญเถื่อน. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 การนําหลักการปรับอากาศไปใช้งานจริง จากหลักการเบ้ืองต้นดังที่กล่าวมา หากนําไปใช้จริ งอาจจะประสบปัญหาหลายประการเช่น สารทาํ ความเยน็ ท่ีใชห้ มดไปจนตอ้ งเติมบอ่ ยๆ พ้ืนที่ผวิ ของท่อ C มีนอ้ ยทาํ ใหถ้ ่ายเทความร้อนไดน้ อ้ ยเป็ นต้น ดังน้ันตอ้ งมีการปรับเปล่ียนหรือเพ่ิมเติมอุปกรณ์อ่ืนๆ เขา้ มา เพ่ือให้ระบบสามารถทาํ งานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1. เพ่ิมอุปกรณ์ที่นาํ น้าํ ยาในสถานะแก๊สท่ีจะปล่อยทิ้งไป กลบั มาใชใ้ หม่ โดยทาํ ใหเ้ ป็ นของเหลวอีกคร้ังหน่ึง การทาํ ให้แก๊สเป็ นของเหลวน้นั ทาํ ไดโ้ ดยใช้เคร่ืองอดั อดั ให้แก๊สมีความดนั สูงข้ึน ซ่ึงทาํ ให้อุณหภมู ิจุดเดือดของสารทาํ ความเยน็ สูงข้ึนไปดว้ ย และเม่ือระบายความร้อนออกจากแก๊สที่มีความดนั สูงน้ีกจ็ ะทาํ ใหแ้ ก๊สกลบั เป็นของเหลวอีกคร้ังหน่ึง เคร่ืองอดั ดงั กล่าวน้ีเรียกวา่ “คอมเพรสเซอร์” (Compressor) 2. เพ่ืออุปกรณ์ระบายความร้อนออกจากสารทาํ ความเยน็ ในสถานะแก๊สที่มีความดนั สูง หลงั จากที่มีเครื่องอดั หรือคอมเพรสเซอร์ อดั สารทาํ ความเยน็ ในสถานะแก๊สให้มีความดนั สูงข้ึน สารทาํ ความเย็นจะยงั ไม่เป็ นของเหลว จึงตอ้ งระบายความร้อนออกจากสารทาํ ความเยน็ เพื่อให้สารทาํ ความเยน็ มีสถานะเป็นของเหลว อุปกรณ์ที่ระบายความร้อนออกจากสารทาํ ความเยน็ เรียกวา่ “คอนเดนเซอร์” (Condenser) 3. ปรับเปลี่ยนถงั เก็บสารทาํ ความเยน็ A ใหส้ ามารถกรองสิ่งสกปรกออกจากสารทาํ ความเยน็และสํารองสารทาํ ความเยน็ ในสถานะของเหลวให้เพียงพอในระบบได้ ถงั เก็บสารทาํ ความเยน็ น้ีเรียกว่า”รีซีฟเวอร์ดรายเออร์” (Receiver-Drier) 4. ปรับเปล่ียนวาล์วปิ ด-เปิ ด B ให้สามารถปิ ด-เปิ ด ใหส้ ารทาํ ความเยน็ ไหลผ่านและลดแรงดนัของสารทําความเย็นในสถานะของเหลวลง วาล์วน้ีเรี ยกว่า “เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว” หรื อ T.E.V.(Thermostatic Expansion Valve)

44 5. ปรับเปลี่ยนท่อ C ให้มีพ้ืนท่ีผิวมากข้ึน เพื่อให้สามารถรับการถ่ายเทความร้อนจากอากาศภายในห้องได้มากข้ึน ดว้ ยการทาํ ให้มีความยาวเพ่ิมข้ึนแลว้ ทาํ เป็ นขดและมีครีบเพื่อให้พ้ืนที่ผิวมากข้ึนอุปกรณ์ดงั กล่าวน้ีเรียกวา่ “อิวาพอเรเตอร์” (Evaporator)เอกสารเผยแพร่A = รีซีฟเวอร์ดรายเออร์C = อวิ าพอเรเตอร์E = คอนเดนเซอร์B = เอก็ ซ์แพนชั่นวาล์ว D = คอมเพรสเซอร์รูปท่ี 10.11 แสดงโครงสร้างระบบปรับอากาศเพอื่ ใช้งานจริง ทมี่ า : สวสั ด์ิ บุญเถอื่ น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555วฏั จกั รเบือ้ งต้นของการปรับอากาศรถยนต์ จากหลกั การปรับอากาศดงั ท่ีกล่าวมา จะเห็นได้ว่าการปรับอากาศน้ันมีการทาํ งานเป็ นวฏั จกั รกล่าวคือ สารทาํ ความเยน็ ในสถานะของเหลวที่มีความดนั สูง จะถูกลดความดนั ลงโดยเอ็กซ์แพนชนั่ วาลว์และเขา้ ไปเปลี่ยนสถานะเป็ นแก๊สในอิวาพอเรเตอร์ แก๊สน้ีจะถูกคอมเพรสเซอร์ดูดไปเพื่อทาํ การอดั ให้มีความดนั สูงข้ึน แก๊สความดนั สูงจะไหลผา่ นคอนเดนเซอร์ ทาํ ใหอ้ ุณหภูมิของแก๊สลดลง จนแก๊สเปล่ียนสถานะเป็ นของเหลวอีกคร้ัง ของเหลวน้ี จะผ่านการกรองสิ่ งสกปรกออกและสะสมอยู่ในรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ จากน้นั กจ็ ะไหลเวยี นผา่ นเอ็กซ์แพนชนั่ วาล์วเพ่ือลดความดนั และเขา้ ไปเปล่ียนสถานะเป็ นแก๊สในอิวาพอเรเตอร์อีกวนเวยี นเป็ นวฏั จกั รเช่นน้ีตลอดเวลาที่เคร่ืองปรับอากาศทาํ งาน ดงั น้นั วฏั จกั รของการปรับอากาศจึงสามารถแสดงไดด้ งั รูป

45 รูปท่ี 10.12แสดงวฏั จกั รการปรับอากาศ ทมี่ า : สวสั ด์ิ บุญเถอ่ื น. งานปรับอากาศรถยนต์. 2555 จากรูป จะเห็นไดว้ ่า วฏั จกั รการปรับอากาศแบ่งเป็ น 2 ดา้ น คือ ด้านความดนั สูง (High Side)และดา้ นความดนั ต่าํ (Low Side) โดย ด้านความดันสูง จะเร่ิมต้งั แต่ทางออกของคอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์ รีซีฟเวอร์ดรายเออร์และสิ้นสุดท่ีทางเขา้ ของเอก็ ซ์แพนชนั่ วาลว์ ด้านความดันตํ่า จะเริ่มต้งั แต่ทางออกของเอ็กซ์แพนชนั่ วาล์ว อิวาพอเรเตอร์และสิ้นสุดที่ทางเขา้ของคอมเพรสเซอร์ ดงั น้ันจึงอาจกล่าวได้วา่ คอมเพรสเซอร์และเอ็กซ์แพนชนั่ วาล์วเป็ นตวั แบ่งวฏั จกั รการปรับอากาศออกเป็น 2 ดา้ น คือ ดา้ นความดนั สูงและดา้ นความดนั ต่าํเอกสารเผยแพร่

46 ใบปฏบิ ัตงิ านที่ 1.1 เร่ือง การหาค่าความชื้นสัมพทั ธ์สาระการเรียนรู้ - การวดั อุณหภูมิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ - การหาคา่ ความช้ืนสมั พทั ธ์ - การรายงานผลการปฏิบตั ิงานผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั 1. วดั อุณหภูมิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ ได้ 2. ใชเ้ คร่ืองมือในการวดั อุณหภูมิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ ได้ 3. หาคา่ ความช้ืนสมั พทั ธ์ได้ 4. ใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 5. แสดงใหเ้ ห็นถึงการปฏิบตั ิตามขอ้ กาํ หนดของการปฏิบตั ิงานท่ีต้งั ไว้เอกสารเผยแพร่

47วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105) ใบปฏิบตั งิ านที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1ชื่อหน่วย พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ สัปดาห์ที่ 1 เวลา 1 ช่ัวโมง 30 นาทีเรื่อง งานวดั ความชื้นสัมพทั ธ์ และความดันวงจรเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ การวดั ความชื้นสัมพทั ธ์หัวข้อ การวดั ความช้ืนสมั พทั ธ์เคร่ืองมอื เทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้วสั ดุและอปุ กรณ์ รถยนตท์ ี่มีเครื่องปรับอากาศรถยนต์ข้ันตอนการปฏิบัติงาน การทดลองหาค่าความช้ืนสัมพทั ธ์ การทดลองการหาค่าความชื้นสัมพทั ธ์นอกห้องโดยสารรถยนต์ 1. เตรียมเครื่องมือ วสั ดุ อุปกรณ์เอกสารเผยแพร่ 2. วดั ค่าอุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ นอกห้อง โดยสารรถยนต์ 3. อา่ นคา่ ความช้ืนจากไซโครเมตริกชาร์ต

48การทดลองการหาค่าความชื้นสัมพทั ธ์ในห้องโดยสารรถยนต์ 4. วดั ค่าอุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ ในหอ้ ง โดยสารรถยนต์ - นาํ เทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ เขา้ ห้อง โดยสารรถยนต์ ทิ้งไวป้ ระมาณ 10 นาที - อา่ นคา่ อุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ ในหอ้ ง โดยสารรถยนต์ 4. อา่ นคา่ ความช้ืนจากไซโครเมตริกชาร์ต 5. บนั ทึกผลลงในใบบนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานเอกสารเผยแพร่

49 แบบบันทกึ ผลการปฏบิ ัติงานที่ 1.1 เร่ือง การวดั ความชื้นสัมพทั ธ์1. ผลการวดั อณุ หภูมกิ ระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้งนอกห้องโดยสารรถยนต์ วดั อุณหภูมิกระเปาะเปี ยก ได.้ ..................................................................องศาเซลเซียส วดั อุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ได.้ ..................................................................องศาเซลเซียส2. ผลการหาค่าความชื้นสัมพทั ธ์จากไซโครเมตริกชาร์ตนอกห้องโดยสารรถยนต์ วดั ค่าความช้ืนสัมพทั ธ์ได.้ .......................................................................เปอร์เซ็นต์3. ผลการวดั อุณหภูมกิ ระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้งในห้องโดยสารรถยนต์ วดั อุณหภมู ิกระเปาะเปี ยก ได.้ ..................................................................องศาเซลเซียส วดั อุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ได.้ ..................................................................องศาเซลเซียส4. ผลการหาค่าความชื้นสัมพัทธ์จากไซโครเมตริกชาร์ตในห้องโดยสารรถยนต์ วดั ค่าความช้ืนสัมพทั ธ์ได.้ .......................................................................เปอร์เซ็นต์เอกสารเผยแพร่

50 ใบปฏบิ ัตงิ านที่ 1.2 เร่ือง งานวดั ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนต์สาระการเรียนรู้ - การทดลองวดั ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนต์ - การหาคา่ ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนต์ - การรายงานผลการปฏิบตั ิงานจุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองการวดั ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 2. วดั ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 3. ใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 4. แสดงใหเ้ ห็นถึงการปฏิบตั ิตามขอ้ กาํ หนดของการปฏิบตั ิงานท่ีต้งั ไว้เอกสารเผยแพร่

51 ใบปฏบิ ตั งิ านท่ี 1.2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สัปดาห์ที่ 1 เวลา 1 ช่ัวโมง 30 นาทีวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105)ชื่อหน่วย พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์เร่ือง งานความดันวงจรระบบปรับอากาศรถยนต์ งานทดลองวดั ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนต์หัวข้อ การวดั ความดนั ระบบปรับอากาศรถยนต์เคร่ืองมือ แมนิโฟลด์เกจวสั ดุและอุปกรณ์ รถยนตท์ ่ีมีเครื่องปรับอากาศรถยนต์ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน การทดลองการหาคา่ ความดนั วงจรปรับอากาศรถยนต์ 1. ติดต้งั ชุดแมนิโฟลดเ์ กจเขา้ กบั เคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ โดยครูผสู้ อนท้งั ดา้ นความดนั สูงและความดนั ต่าํเอกสารเผยแพร่2. วดั ความดนั ดา้ นต่าํ ขณะดบั เคร่ืองยนต์- อา่ นค่าความดนั ดา้ นต่าํ จากแมนิโฟลดเ์ กจ- อา่ นค่าความดนั ดา้ นสูงจากแมนิโฟลดเ์ กจ3. บนั ทึกผลลงในใบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน

52 ครูผู้สอนสตาร์ทเคร่ืองยนต์ 4. การวดั ความดนั ดา้ นต่าํ ขณะติดเคร่ืองยนต์ - อ่านคา่ ความดนั ดา้ นต่าํ จากแมนิโฟลดเ์ กจ - อ่านค่าความดนั ดา้ นสูงจากแมนิโฟลดเ์ กจ 5. บนั ทึกผลลงในใบรายงานผลการปฏิบตั ิงานเมื่อปฏบิ ตั ิงานตามใบปฏบิ ัติงานเสร็จ 1. ส่งงานกบั ครูผสู้ อน 2. ตรวจนบั ทาํ ความสะอาดเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ 3. เก็บเครื่องมือ วสั ดุและอุปกรณ์ ใหเ้ รียบร้อย 4. ทาํ ความสะอาดบริเวณปฏิบตั ิงาน 5. รับมอบหมายงานต่อไปจากครูผสู้ อนเอกสารเผยแพร่

53 แบบบันทกึ ผลการปฏิบตั ิงานที่ 1.2 เร่ือง การวดั ความดันระบบปรับอากาศรถยนต์1. ผลการวดั ความดันระบบปรับอากาศรถยนต์ขณะดับเครื่องยนต์ วดั ความดนั ดา้ นความดนั ต่าํ ได.้ .............กิโลกรัมตอ่ ตารางเซ็นติเมตร..............ปอนดต์ อ่ ตารางนิ้ว วดั ความดนั ดา้ นความดนั สูงได.้ .............กิโลกรัมต่อตารางเซ็นติเมตร..............ปอนด์ต่อตารางนิ้ว2. ผลการวดั ความดันระบบปรับอากาศรถยนต์ตดิ เคร่ืองยนต์ วดั ความดนั ดา้ นความดนั ต่าํ ได.้ .............กิโลกรัมตอ่ ตารางเซ็นติเมตร..............ปอนด์ต่อตารางนิ้ว วดั ความดนั ดา้ นความดนั สูงได.้ .............กิโลกรัมตอ่ ตารางเซ็นติเมตร..............ปอนด์ตอ่ ตารางนิ้วเอกสารเผยแพร่

54 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน เรื่อง พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ช่ือ-สกุล.........................................................รหัสประจําตัว....................................ระดับช้ัน..............กล่มุ ท.ี่ ......ลาํ ดับ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน หมาย 5 4 3 2 1 เหตุเกณฑ์ประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม 1. ความตรงต่อเวลาเอกสารเผยแพร่ 2. การแตง่ กาย 3. ความต้งั ใจในการปฏิบตั ิงาน 4. การทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่น 5. ความเสียสละ คะแนนรวมเกณฑ์ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน 1. การเตรียมและการเกบ็ รักษาเคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ์ 2. ทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน 3. ปฏิบตั ิงานถูกตอ้ งตามข้นั ตอน 4. ความถูกตอ้ งของงาน 5. การสรุปผลการปฏิบตั ิงาน คะแนนรวมเกณฑ์การวดั ผลและประเมินผล เกณฑ์การประเมนิ ผล ดมี าก = 5 คะแนน ดี = 4 คะแนน ใหแ้ สดงผลการประเมินเป็น ปานกลาง = 3 คะแนน พอใช้ = 2 คะแนน 46 – 50 =A ปรับปรุง = 1 คะแนน 41 – 45 =B 36 – 40 =C 31 – 35 =Dผลการประเมนิ = ………………. ต่าํ กวา่ 30 = F ลงช่ือ.....................................................ผปู้ ระเมิน ( )................................................................

55 กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้จงทาํ เคร่ืองหมาย  หน้าข้อทเ่ี หน็ ว่าถูก และเคร่ืองหมาย  หน้าข้อทเ่ี ห็นว่าผดิ ดงั ต่อไปนี้....................1. สสารประกอบดว้ ย อะตอมเลก็ ๆ มากมาย และเมื่อนาํ อะตอมหลาย ๆ อะตอม มารวมกนั เราเรียกวา่ โมเลกุล....................2. สสารสามารถเปลี่ยนจากสถานะหน่ึงไปเป็นอีกสถานะหน่ึงไดแ้ ละสามารถเปลี่ยน กลบั ไปกลบั มาไดโ้ ดยอาศยั ความร้อน....................3. ความร้อนสัมพทั ธ์เป็นปริมาณความร้อนที่ไม่ทาํ ใหอ้ ุณหภมู ิของสสารเปลี่ยนแปลง แตจ่ ะทาํ ใหส้ สารน้นั เปลี่ยนสถานะ....................4. อุณหภูมิ คือ ปริมาณความร้อนท่ีบอกระดบั ความร้อนของสสารวา่ มีมากนอ้ ย แคไ่ หน....................5. อุณหภมู ิของอากาศ 35๐C มีคา่ เท่ากบั 113๐F....................6. ถา้ เราใชม้ ือจบั แทง่ โลหะท่ีปลายดา้ นหน่ึงแลว้ นาํ ปลายอีกอา้ นหน่ึงไปเผาไฟ สกั ครู่ เราจะรู้สึกวา่ ปลายดา้ นที่ใชม้ ือจบั น้นั จะร้อน เป็นวธิ ีการถ่ายเทความร้อนดว้ ย การแผร่ ังสีความร้อน....................7. ปริมาณความร้อนที่ถ่ายเทจะแปรผนั ตรงกบั พ้นื ที่ผวิ กล่าวคือ ถา้ มีพ้ืนที่ผวิ มาก ความาร้อนก็ถ่ายเทไดม้ าก หากพ้ืนท่ีผวิ นอ้ ยความร้อนกน็ อ้ ยลง....................8. หน่วยการวดั ความดนั ในระบบองั กฤษใชส้ ัญลกั ษณ์ N/m2....................9. เกจสุญญากาศ (Vacuum Gauge) เป็นเครื่องมือที่ใชว้ ดั สุญญากาศ....................10. ความช้ืน คือ จาํ นวนไอน้าํ ที่มีอยใู่ นอากาศซ่ึงเกิดจากการกลนั่ ตวั เป็นของเหลวเอกสารเผยแพร่

56 เฉลยกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้จงทาํ เครื่องหมาย  หน้าข้อทเี่ ห็นว่าถูก และเคร่ืองหมาย  หน้าข้อทเ่ี ห็นว่าผดิ ดังต่อไปนี้....................1. สสารประกอบดว้ ย อะตอมเลก็ ๆ มากมาย และเมื่อนาํ อะตอมหลาย ๆ อะตอมมารวมกนั เราเรียกวา่ โมเลกลุ....................2. สสารสามารถเปล่ียนจากสถานะหน่ึงไปเป็นอีกสถานะหน่ึงไดแ้ ละสามารถ เปลี่ยนกลบั ไปกลบั มาไดโ้ ดยอาศยั ความร้อน....................3. ความร้อนสัมพทั ธ์เป็นปริมาณความร้อนท่ีไม่ทาํ ใหอ้ ุณหภมู ิของสสาร เปล่ียนแปลง แต่จะทาํ ใหส้ สารน้นั เปลี่ยนสถานะ....................4. อุณหภมู ิ คือ ปริมาณความร้อนที่บอกระดบั ความร้อนของสสารวา่ มีมากนอ้ ย แคไ่ หน....................5. อุณหภมู ิของอากาศ 35๐C มีค่าเท่ากบั 113๐F....................6. ถา้ เราใชม้ ือจบั แท่งโลหะที่ปลายดา้ นหน่ึงแลว้ นาํ ปลายอีกอา้ นหน่ึงไปเผาไฟ สกั ครู่เราจะรู้สึกวา่ ปลายดา้ นท่ีใชม้ ือจบั น้นั จะร้อน เป็นวธิ ีการถ่ายเทความร้อน ดว้ ยการแผร่ ังสีความร้อน....................7. ปริมาณความร้อนท่ีถ่ายเทจะแปรผนั ตรงกบั พ้นื ท่ีผวิ กล่าวคือ ถา้ มีพ้ืนท่ีผวิ มาก ความาร้อนก็ถ่ายเทไดม้ าก หากพ้ืนที่ผวิ นอ้ ยความร้อนก็นอ้ ยลง....................8. หน่วยการวดั ความดนั ในระบบองั กฤษใชส้ ัญลกั ษณ์ N/m2....................9. เกจสุญญากาศ (Vacuum Gauge) เป็นเคร่ืองมือท่ีใชว้ ดั สุญญากาศ....................10. ความช้ืน คือ จาํ นวนไอน้าํ ที่มีอยใู่ นอากาศซ่ึงเกิดจากการกลนั่ ตวั เป็นของเหลวเอกสารเผยแพร่

57 แบบทดสอบเพอื่ ประเมินผล หลงั การเรียนรู้เอกสารเผยแพร่จงทาํ เคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อทถี่ ูกทสี่ ุด1. แรงกระทาํ ต่อหน่ึงหน่วยพ้ืนท่ี คือ อะไร ก. โมเลกลุ ข. ความดนั ค. ความช้ืน ง. ความร้อนแฝง2. สสาร หมายถึง อะไร ก. สิ่งต่างๆ ท่ีอยรู่ อบตวั เรา ข. สิ่งใดๆ กต็ ามที่ตอ้ งการท่ีอยู่ ค. สิ่งใดๆ กต็ ามท่ีตอ้ งการที่อยแู่ ละมีมวล ง. มวลสารต่างๆ ท่ีประกอบข้ึนดว้ ยตวั มนั เอง3. เกจสุญญากาศ (Vacuum Guage) เป็นเครื่องมือท่ีใชว้ ดั อะไร ก. ความร้อนแฝง ข. ความร้อนสมั ผสั ค. ปริมาณความร้อน ง. แรงดนั ท่ีต่าํ กวา่ บรรยากาศ4. ความดนั อากาศเมื่อเทียบกบั ความดนั อวกาศ จะมีคา่ ประมาณเท่าไร ก. 14.71 lb/in2 ข. 14.75 lb/in2 ค. 15.71 lb/in2 ง. 15.75 lb/in25. อากาศมีความช้ืนสัมพทั ธ์ 50% หมายความวา่ อะไร ก. ความช้ืนสมั พทั ธ์ทว่ั ไป ข. ความช้ืนที่มีอยใู่ นอากาศ ค. ความช้ืนท่ีสมั พทั ธ์กบั อุณหภมู ิ ง. อากาศที่มีไอน้าํ อยคู่ ร่ึงหน่ึง ณ จุดน้นั

586. ปริมาณความร้อนท่ีไม่ทาํ ใหอ้ ุณหภูมิของสสารเปล่ียนแปลง แตท่ าํ ใหส้ สารน้นั เปล่ียนแปลง สถานะ เราเรียกวา่ อะไร ก. ความร้อนแฝง ข. ความร้อนสมั ผสั ค. ความช้ืนสมั พทั ธ์ ง. ความดนั สุญญากาศ7. การใชเ้ คร่ืองเป่ าผมใหแ้ ห้งเป็นการถ่ายเทความร้อนแบบใด ก. การนาํ ความร้อน ข. การพาความร้อน ค. การถ่ายความร้อน ง. การแผร่ ังสีความร้อน8. อุณหภูมิของอากาศเท่ากบั 32 องศาฟาเรนไฮต์ จะมีค่าเท่ากบั กี่องศาเซลเซียส ก. 2 องศาเซลเซียส ข. 0 องศาเซลเซียส ค. 8 องศาเซลเซียส ง. 3 องศาเซลเซียส9. ขอ้ ใดอธิบายความแตกตา่ งของอุณหภมู ิ ถูกต้องทสี่ ุด ก. ถา้ วตั ถุมีอุณหภมู ิคงที่ ปริมาณความร้อนจะถ่ายเทไดเ้ ป็นอยา่ งดี ข. ถา้ วสั ดุมีความแตกต่างของอุณหภมู ินอ้ ย ปริมาณความร้อนก็จะถ่ายเทไดม้ าก ค. ถา้ วสั ดุมีความแตกตา่ งของอุณหภมู ิมาก ปริมาณความร้อนก็จะถ่ายเทไดน้ อ้ ย ง. ถา้ วสั ดุมีความแตกตา่ งของอุณหภมู ินอ้ ย ปริมาณความร้อนก็จะถ่ายเทไดน้ อ้ ย10. หลกั เบ้ืองตน้ ของการปรับอากาศคืออะไร ก. การนาํ ความร้อนท่ีอยใู่ นอากาศท่ีเราตอ้ งการปรับอากาศออกไป ข. การทาํ ใหอ้ ากาศที่เราตอ้ งการปรับอากาศใหเ้ ยน็ ลง ค. การนาํ อุณหภูมิในอากาศที่เราตอ้ งการปรับอากาศออกไป ง. การทาํ ใหอ้ ากาศที่เราตอ้ งการปรับอากาศเยน็ ลงเอกสารเผยแพร่

59เฉลยคาํ ตอบแบบทดสอบเพอื่ ประเมนิ ผล หลงั การเรียนรู้ ข้อ ก. ข. ค. ง. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เอกสารเผยแพร่

60 พฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคลท่ี ทํางาน ความสนใจ การแสดง การตอบ การยอมรับ ตามทไ่ี ด้รับ หมายเหตุ ช่ือ-สกลุ ความคดิ เหน็ คาํ ถาม ฟังคนอน่ื มอบหมาย 4321 4321 4321 4321 4321เอกสารเผยแพร่เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดงั น้ี ดมี าก = 4 สนใจฟัง ไม่หลบั ไมพ่ ดู คุยในช้นั มีคาํ ถามที่ดี ตอบคาํ ถามถูกตอ้ ง ทาํ งานส่งครบ ตรงเวลา ดี = 3 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 70% ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 50% ปรับปรุง = 1 เขา้ ช้นั เรียน แต่การแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไม่ครบ ไม่ตรงเวลา ลงช่ือ……………………………….ผ้สู ังเกต (……………………………….)

เอกสารเผยแพร่ 61 บนั ทกึ หลงั การสอน หน่วยท่ี 1 เร่ือง พนื้ ฐานปรับอากาศรถยนต์ผลการใช้แผนการสอน 1. ดาํ เนินการตามแผนการสอน  ครบถว้ น  ไมค่ รบถว้ น เพราะ……………..…......………………………............................................................ 2. ความเหมาะสมของเวลาที่ใชใ้ นการเรียนการสอน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุง เพราะ…............................................................................................................................ 3. ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุง เพราะ……......................................................................................................................... 4. ความเหมาะสมการใชส้ ื่อการสอน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุง เพราะ ……………............................................................................................................ 5. ความเหมาะสมในการวดั และประเมินผล  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุง เพราะ ……….................................................................................................................... 6. บรรยากาศในการเรียนการสอน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุง เพราะ ...............................................................................................................................ผลการเรียนของนกั เรียน 7. ดา้ นพุทธิพสิ ยั (ความรู้) ประเมินจากแบบทดสอบทา้ ยบทเรียน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุงเพราะ………………………………………….... 8. ดา้ นจิตพสิ ยั (ความสนใจ ฯลฯ) ประเมินจากแบบสังเกตและแบบตรวจสอบ ผลการปฏิบตั ิ  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุงเพราะ...………………………….. 9. ดา้ นทกั ษะพสิ ัย (ทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน) ประเมินจากแบบใบงานและใบปฏิบตั ิงาน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุงเพราะ..………………………………………….. 10. ร่วมมือกบั ครูใชส้ ่ือการสอน  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุงเพราะ...………………………………………….. 11. ร่วมมือกบั ครูในการวดั และประเมินผล  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุงเพราะ...…………………………………………..ผลการสอนของครู 12.  น่าพอใจ  ตอ้ งปรับปรุงพราะ…..……………………................................ 13. ปัญหา , แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ...................................................……………..

62 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2การตดิ ต้งั อปุ กรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์เอกสารเผยแพร่

63 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ (2101-2105) สอนคร้ังที่ 2ชื่อหน่วย การติดต้ังอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ คาบรวม 6 คาบชื่อเรื่อง การติดต้ังอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ จํานวนคาบ 6 คาบสาระสําคญั ศึกษาและปฏิบตั ิ การทาํ งานของระบบปรับอากาศรถยนต์ การติดต้งั คอมเพรสเซอร์ การติดต้งัคอนเดนเซอร์ การติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ การติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์ การติดต้งั ท่อสารทาํ ความเยน็การติดต้งั ระบบไฟฟ้ าเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์เอกสารเผยแพร่สมรรถนะประจําหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และทกั ษะ การทาํ งานของระบบปรับอากาศรถยนต์ การติดต้งั อุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการทาํ งานของระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 2. บอกการติดต้งั คอมเพรสเซอร์ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 3. บอกการติดต้งั คอนเดนเซอร์ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 4. บอกการติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 5. บอกการติดต้งั ชุดอีวาพอเรเตอร์ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 6. บอกการติดต้งั ท่อสารทาํ ความเยน็ ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 7. ติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 8. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั และมีกิจนิสัยที่ดีในการทาํ งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook