Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

คู่มือการปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

Published by sgt.kanjana, 2019-12-17 02:18:09

Description: คู่มือการปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

Search

Read the Text Version

{'luFtl4tlJouIfAluFQ/rtA #iuT:r rd{rilr ruu?flfi $rlu n d1 rYry fi nu'r

คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ส่วนการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั กองพทุ ธศาสนศึกษา สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ จดั พิมพ์เผยแพร่ พุทธศกั ราช ๒๕๕๗

คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา พิมพ์คร้งั ท่ี ๑ พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ จานวน ๑,๐๐๐ เล่ม ISBN ที่ปรกึ ษา: ประธานกลมุ่ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา นายนพรตั น์ เบญจวัฒนานันท์ ผอู้ านวยการสานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ นายพนม ศรศิลป์ รองผอู้ านวยการสานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ นายบุญเลศิ โสภา ผ้อู านวยการกองพุทธศาสศึกษา ขอ้ มูล/รวบรวมเรยี บเรียง: คณะทางานและคณะอนกุ รรมการจดั ทาคมู่ ือการปฏิบตั งิ านสาหรับผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา จัดรปู เลม่ /พสิ จู น์อกั ษร: นักวชิ าการศาสนาปฏบิ ตั ิการ นางสาววาริกา นรคมิ นักวิชาการศาสนาปฏบิ ตั ิการ นายไพฑูรย์ พลอาจ นกั วิชาการศาสนศึกษา นางสาวญานกิ า กา้ นจกั ร บรรณาธกิ าร/ตรวจตน้ ฉบบั : ประธานกลมุ่ โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มท่ี ๙ พระครปู ริยัตวิ ีราภรณ์ ผอู้ านวยการส่วนการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญ นายแก้ว ชดิ ตะขบ พิมพ์ที่: โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ ๓๑๔ – ๓๑๖ ปากซอยบ้านบาตร ถนนบารุงเมือง เขตปอ้ มปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๓๓๕๑, ๐ ๒๒๒๓ ๕๕๔๘ โทรสาร ๐ ๒๖๒๑ ๒๕๑๐ นายสรุ พล วิรยิ ะ ผู้พมิ พ์ผโู้ ฆษณา

คำนำ กำรศึกษำพระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำ เป็นการศึกษาท่ีวัดโดยพระสงฆ์ดาเนินการจัด การเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาให้แก่พระภิกษุสามเณรได้เล่าเรียนวิชาพระพุทธศาสนาตามหลักสูตร การศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ควบคู่ไปกับวิชาสามัญตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยโรงเรียนมีสถานภาพเป็นสถานศึกษาข้ันพื้นฐานตามกฎกระทรวง ว่าด้วยสิทธิใน การจดั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน โดยสถาบนั พระพทุ ธศาสนา พ.ศ. ๒๕๔๘ จัดเป็นโรงเรียนในระบบเช่นเดียวกับ รปู แบบโรงเรียนของรฐั และเอกชนทั่วไป ซ่ึงคณะสงฆ์โดยมหำเถรสมำคม ได้ออกประกำศมหำเถรสมำคม วำ่ ด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๕๓ กาหนดให้มีการบริหารจดั การศึกษาตาม หลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมกำรกำรศึกษำพระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำกาหนด ด้วยเหตุน้ี โรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำ จึงนับเป็นสถานศึกษาแห่งสถาบันพระพุทธศาสนาภายใต้การกากับ ดูแลของคณะสงฆ์โดยมหาเถรสมาคม ในการสนับสนุนส่งเสริมของสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติโดย เป็นสถานศึกษาท่ีมีบทบาทสาคัญในการสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน ที่ด้อยโอกาสและ ยากจนจานวนมากในพื้นท่ีต่างๆ ท่ีไม่สามารถหรือไม่มีโอกาสได้ศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐและ เอกชนทั่วไปได้ นอกจากน้ี ยังเป็นสถานศึกษาที่มีเป้าหมายในการจัดการศึกษาเป็นเอกลักษณ์และมี วัตถปุ ระสงคพ์ เิ ศษ กล่าวคือ เปน็ โรงเรียนเฉพาะทางด้านพระพทุ ธศาสนาที่มุ่งเน้นการสร้างศาสนทายาทที่ดี เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้พร้อมเป็นพุทธศาสนทายาทที่เป่ียมปัญญาพุทธธรรม ประพฤติปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามหลักพระธรรมวินัยอันเป็นพุทธบัญญัติ มีหลักพุทธธรรมนาชีวิตอันเป็น คณุ ลกั ษณะปรยิ ตั ิสามัญท่ีพึงประสงค์ และสามารถทาหน้าท่ีเผยแผ่พุทธธรรมเพ่ือพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และคุณภาพชีวิตของประชาชนในเชิงบูรณาการวิชาการทั้งทางธรรมและทางโลกได้อย่างดีมีวิธีการ ท่ีเหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบันอีกด้วย ซ่ึงเป็นท่ีน่าช่ืนชมว่า นับต้ังแต่ได้มีการก่อตั้งโรงเรียนประเภทน้ี มาตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๑๔ จวบจนถึงปัจจุบัน เจ้าอาวาสซ่ึงเป็นผู้รับใบอนุญาตจัดต้ังโรงเรียน พร้อมทั้ง ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้ร่วมกันกาหนดแนวทางบริหารจัดการศึกษาพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศกึ ษาเพื่อให้ได้รับความศรัทธาเชื่อม่ันจากผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้ามาบวชเรียน ซ่ึงนับวา่ โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา มแี นวทางการปฏิบัตงิ านทสี่ บื ทอดกันมาโดยลาดับ สำนักงำนพระพุทธศำสนำแห่งชำติ ในฐานะหน่วยงานของรัฐที่มีภารกิจสนองงานคณะสงฆ์ ได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการดาเนินการจัดการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาดังกล่าว จึงไดใ้ ห้การสนบั สนุนส่งเสริมด้วยดีตลอดมา โดยมีความมุ่งม่ันปรารถนาท่ีจะรังสรรค์ความเจริญงอกงามให้ เกิดแกโ่ รงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาอยา่ งยั่งยนื ตลอดไป ในการน้ี ได้กาหนดเป็นนโยบายที่จะ สนับสนุนส่งเสริมพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนให้มีคุณภาพและมาตรฐานเท่าเทียมกับโรงเรียน ของรฐั และเอกชนท่ัวไปในทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านการดาเนินงานบริหารโรงเรียน ซึ่งได้พิจารณา เห็นว่า โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษานั้น แม้ว่าจะได้รับการจัดตั้งดาเนินการต้ังแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๑๔ เป็นต้นมา แต่ในสภาพปัจจุบัน โรงเรียนได้มีการบริหารจัดการศึกษาภายใต้กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ประกาศ คาส่ัง นโยบาย และแนวปฏิบัติต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนท้ังตาม นโยบายของมหาเถรสมาคมและตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ โดยกฎ ระเบียบดังกล่าวนั้นได้มีการปรับปรุง เปล่ียนแปลง แก้ไข และเพ่ิมเติมมาโดยลาดับ ดังนั้น จึงสมควร ดาเนนิ การรวบรวมขอ้ มูลกฎระเบียบและแนวปฏบิ ัติตา่ งๆ เปน็ รปู เลม่ และจดั พิมพ์เผยแพรเ่ ปน็ หนงั สือค่มู อื

-๒- การปฏิบัติงานที่มีมาตรฐานแห่งแนวทางปฏิบัติงานตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเป็นเอกภาพเดียวกันในทุก โรงเรยี น ทงั้ น้ี เพ่อื เปน็ การอานวยความสะดวก ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ความคล่องตัวและสร้างสามัคคีภาพเป็น มาตรฐานเดียวกันในการปฏิบตั ิงานของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทเ่ี กย่ี วข้อง ในการน้ี สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้มอบภารกิจให้กองพุทธศำสนศึกษำ ดาเนินการ ดังกล่าวในนามของ คณะอนุกรรมกำรและคณะทำงำนจัดทำคู่มือปฏิบัติงำนสำหรับผู้บริหำร ครู และ บุคลำกรทำงกำรศึกษำโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำ ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ท่ีมีความรู้ความชานาญในด้านการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นที่ประจักษ์ ซ่ึงคณะอนุกรรมการและคณะทางานดังกล่าวได้ทาหน้าที่ตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยการประชุมพิจารณาศึกษาวิเคราะห์กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง นโยบาย และ แนวปฏิบัติต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง แล้วสังเคราะห์เน้ือหาสาระให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันรวบรวมเรียบเรียง จัดทาเป็นต้นฉบับจนแล้วเสร็จสมบูรณ์พร้อมท่ีจะจัดพิมพ์เผยแพร่ พร้อมทั้งจัดให้มีการประชุมระดม ความคิดรับฟังขอ้ เสนอแนะปรับปรุงแก้ไขในการจัดทาต้นฉบับจากประธานกลุ่มโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักวิชาการศาสนศึกษาผู้ประสานงานกลุ่มโรงเรียน และบุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติงานในโรงเรียน ซง่ึ ได้รับความร่วมมือเป็นอยา่ งดียง่ิ หนังสือ “คู่มือปฏิบัติงำนสำหรับผู้บริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำ”ท่ีจัดพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษา ๒๕๕๗ น้ี แบ่งเน้ือหาการจัดพิมพ์ เป็น ๒ เล่ม โดยเล่มที่ ๑ เรยี กว่า “ค่มู อื ปฏบิ ัตงิ ำนโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำ” มีเนื้อหา ว่าด้วยแนวทางการปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ท่ีกาหนดไว้ ๔ หมวด คือ หมวดท่ี ๑ การบรหิ ารงานวิชาการ หมวดที่ ๒ การบริหารงานงบประมาณ หมวด ที่ ๓ การบริหารงานบุคคล และหมวดที่ ๔ การบรหิ ารงานทั่วไป สาหรับเล่มท่ี ๒ เรียกว่า “คู่มือปฏิบัติงำน ตำมกฎหมำย กฎ ระเบียบ ประกำศ และคำสั่งที่เก่ียวกับโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษา” มีเน้ือหาว่าด้วยประมวลหลักกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ และคาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ขอขอบพระคุณ ขอบคุณคณะอนุกรรมการและคณะทางาน ทุกรูปทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการจัดทาหนังสือ “คู่มือปฏิบัติงำนสำหรับผู้บริหำร ครู และบุคลำกร ทำงกำรศึกษำโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำ” ท้ังสองเล่มจนแล้วเสร็จสมบูรณ์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ท่ำนประธำนกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสำมัญศึกษำ กลุ่มที่ ๙ และคณะ ท่ีเมตตา เอื้อเฟ้ือรวบรวมข้อมูลยกร่างจัดพิมพ์ต้นฉบับ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือปฏิบัติงานท้ังสองเล่มนี้ จะอานวยประโยชน์ในเชิงปฏิบัติงานแก่ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบงานการศกึ ษาสงฆ์ ซง่ึ จักได้ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานสนับสนุนส่งเสริมการจัดการศึกษา พระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ให้เจรญิ มั่นคงสืบไป (นายนพรัตน์ เบญจวฒั นานันท)์ ผูอ้ านวยการสานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ

สารบญั หนา้ คานา ๑ สารบัญ ๔ ขอ้ มูลการจดั การศึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ๕ โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา ๕ การบริหารงานวชิ าการ ๑๔ ๑. การพัฒนาหรอื การดาเนินการเก่ยี วกบั การใหค้ วามเห็นการพัฒนาสาระ ๑๕ หลักสูตรท้องถ่นิ ๑๗ ๑๘ ๒. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ ๒๒ ๓. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา ๓๔ ๔. การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศึกษา ๓๔ ๕. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ๓๕ ๖. การวัดผล ประเมนิ ผล และดาเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน ๔๖ ๗. การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ๔๘ ๘. การพัฒนาและสง่ เสรมิ ให้มีแหล่งเรยี นรู้ ๖๕ ๙. การนเิ ทศการศึกษา ๖๕ ๑๐. การแนะแนว ๖๙ ๑๑. การประกันคณุ ภาพการศึกษา ๑๒. การส่งเสริมชุมชนใหม้ คี วามเข้มแขง็ ทางวิชาการ ๖๙ ๑๓. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาและองค์กรอ่ืน ๘๙ ๑๔. การสง่ เสริมและสนับสนุนงานวชิ าการแกบ่ ุคคล ครอบครัว องคก์ ร ๙๑ หนว่ ยงานสถานประกอบการ และสถาบันอนื่ ทจี่ ดั การศกึ ษา ๙๒ ๑๕. การจดั ทาระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับงานด้านวชิ าการของสถานศกึ ษา ๙๒ ๑๖. การคดั เลือกหนงั สือ แบบเรียนเพ่ือใช้ในสถานศึกษา ๙๒ ๑๗. การพฒั นาและใชส้ ่ือเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา ๙๖ ๑๗๑ การบรหิ ารงานงบประมาณ ๑๗๒ ๑. การจดั ทาแผนงบประมาณและคาของบประมาณ ๒. การจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารใชจ้ ่ายเงนิ ตามท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณ ๓. การอนมุ ตั กิ ารใชจ้ ่ายงบอุดหนนุ ทไ่ี ดร้ ับจดั สรร ๔. การจัดทาบญั ชีการเงนิ ๕. การพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่ือการจัดทาและจดั หาพสั ดุ

การบรหิ ารงานบคุ คล หน้า ๑. การวางแผนอัตรากาลัง ๒. การสรรหาและบรรจุแต่งต้งั ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๔๕ ๓. การดาเนินการเกีย่ วกบั การเลื่อนเงนิ เดือน ๒๔๕ ๔. การลาทุกประเภทของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ๒๔๖ ๕. การประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ๒๔๗ ๖. การดาเนินการทางวนิ ัยและการลงโทษ ๒๔๘ ๗. การอุทธรณ์และการรอ้ งทุกข์ ๒๕๐ ๘. การออกจากราชการ ๒๕๓ ๙. การจดั ระบบและการจัดทาทะเบียนประวัติ ๒๕๗ ๑๐. การสง่ เสรมิ และยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ ๒๕๗ ๑๑. การสง่ เสรมิ มาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๕๘ ๑๒. การรเิ รม่ิ ส่งเสริมการขอรบั ใบอนุญาต ๒๕๘ ๑๓. การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา การดาเนนิ การทเี่ ก่ยี วกบั ๒๖๒ การบริหารงานบคุ คลใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายทว่ี า่ ด้วยการน้ัน ๒๗๐ ๒๗๒ การบริหารงานทวั่ ไป ๑. การจดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศภายในโรงเรยี น ๒๗๓ ๒. การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศกึ ษา ๒๗๘ ๓. การวางแผนการบริหารงานการศึกษา ๒๙๖ ๔. การจัดระบบบรหิ ารและการพัฒนาองค์กร ๓๙๗ ๕. การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ๓๐๑ ๖. การดาเนินงานธรุ การ ๓๐๒ ๗. การดแู ลอาคารสถานที่และสภาพแวดลอ้ ม ๓๐๕ ๘. การจัดทาสามะโนผูเ้ รยี น ๓๔๗ ๙. การจดั การเรียนรู้นอกสถานที่ ๓๕๓ ๑๐. งานกจิ การนักเรยี น ๓๕๕ ๑๑. การประชาสมั พันธ์งานการศกึ ษา ๓๖๐ ๑๒. การรายงานผลการปฏิบัติงาน ๓๖๒ ๑๓. แนวการจดั กิจกรรมเพื่อปรับเปลีย่ นพฤติกรรมนกั เรยี น ๓๖๖ ๓๙๔ บรรณานกุ รม ภาคผนวก

๑ ข้อมูลการจดั การศกึ ษาพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ประวตั ิความเปน็ มา การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นการศึกษาท่ีรัฐกาหนดให้มีขึ้น ตามความประสงค์ของคณะสงฆ์ โดยพระปรารภของสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (จวน อุฏฐายีมหาเถระ) ว่า “การศึกษาทางโลกเจริญก้าวหน้ามากข้ึนตามความ เปลีย่ นแปลงของโลก การศึกษาพระปริยัติธรรม ก็จาเป็นต้องอนุวัตรไปตามความเปลี่ยนแปลงของโลกบ้าง จงึ เห็นสมควรท่ีจะมีหลักสูตรในการเรียนพระปริยัติธรรมเพ่ิมขึ้นอีกแผนกหน่ึง คือหลักสูตรพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ทั้งน้ี เพ่ือให้ผู้ศึกษาได้มีโอกาสบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ทั้งทางโลกและทางธรรม ควบคู่กันไป” ซึ่ง กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศระเบียบกระทรวงฯ ว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ข้ึนเม่ือวันท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๑๔ และระเบียกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อเป็นแนวทางดาเนินการจัดการศึกษาและส่งเสริม สนบั สนุนของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธกิ ารในสมยั นนั้ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ทาให้มีหน่วยงานที่ดูแลรับ สนองงานคณะสงฆ์และพัฒนากิจการพระพุทธศาสนาโดยตรง คือ สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ซ่ึงแยกมาจากกรมการศาสนา ดังนน้ั เพอื่ ให้การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นไปอย่างต่อเน่ือง มีระเบียบควบคุมการดาเนินงานท่ีชัดเจน สานักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ จึงได้ออกระเบียบสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้การศึกษาในโรงเรียนดังกล่าวเป็นประโยชน์ต่อ ฝ่ายศาสนจักรและฝ่ายบ้านเมอื ง กล่าวคือ ทางฝ่ายศาสนจักร ก็จะได้ศาสนทายาทท่ีดี มีความรู้ความเข้าใจ ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง เป็นผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ดารงอยู่ในสมณธรรม สมควร แก่ภาวะ สามารถธารงและสืบต่อพระพุทธศาสนาให้เจริญสถาพรต่อไป และถ้าหากพระภิกษุสามเณร เหลา่ นล้ี าสกิ ขาไปแลว้ กส็ ามารถเขา้ ศึกษาตอ่ ในสถานศึกษาของรัฐได้ หรือเข้ารับราชการสร้างประโยชน์ให้ กา้ วหน้าแกต่ นเองและบา้ นเมืองสบื ตอ่ ไปดว้ ยเชน่ กนั ต่อมา โดยท่ีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไข (เพิ่มเติม) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กาหนดไว้ในหมวดที่ ๒ มาตรา ๑๒ ว่า “นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท้ังนี้ ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง” และมาตรา ๑๘ (๒) กาหนดว่า “โรงเรียนได้แก่โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนท่ีสังกัด สถาบนั พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาอื่น” ดังนั้น จึงถือได้ว่า โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งหนึ่งตามพระราชบัญญัตินี้ ในการนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อความใน มาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัตินี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกกฎกระทรวง ว่าด้วย สิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสถาบันพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๔๘ เพ่ือให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. การศกึ ษาแหง่ ชาติ กาลต่อมา เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและกฎกระทรวงดังกล่าว โดย มุ่งเน้นให้วัดท่ีจัดต้ังโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ดาเนินการจัดการเรียนการสอนให้ คู่มือการปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๒ สอดคลอ้ งกับนโยบายของคณะสงฆ์เปน็ สาคัญ มหาเถรสมาคม จึงได้ออกประกาศมหาเถรสมาคม ว่าด้วย โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยกาหนดให้มีการบริหารจัดการศึกษา ตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษากาหนด ซ่ึงคณะกรรมการดังกล่าวมีอานาจหน้าท่ีกาหนดนโยบาย มาตรฐาน แผนการจัดการศึกษา ให้คาแนะนา ส่งเสริมการจัดการศึกษา และพิจารณาวินิจฉัย ชี้ขาดปัญหาข้อขัดข้องต่าง ๆ มี สมเด็จพระวันรัต เปน็ ประธานกรรมการ ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ มีผู้แทน จากบุคคลและหน่วยงานสาคัญต่าง ๆ อาทิ ประธานกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้อานวยการสานักงบประมาณ เลขาธิการสภาการศึกษา เป็นคณะกรรมการ โดยมีผู้อานวยการกองพุทธศาสนศึกษา สานักงาน พระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ รปู แบบการศกึ ษา โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา โดยแบ่งเป็น ๒ ระดับ หรือ ๒ ช่วงช้ัน คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย จดั เปน็ โรงเรียนในระบบเช่นเดียวกับรูปแบบโรงเรียนของรัฐและเอกชนทั่วไป โดยใช้หลักสูตรการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงมีกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ กาหนด ๘ กล่มุ สาระ คือ ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) วิทยาศาสตร์ ๔) สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕) สุขศึกษา และพลศกึ ษา ๖) ศิลปะ ๗) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘) ภาษาตา่ งประเทศ และมีวิชาเฉพาะ ที่กาหนดให้นักเรียนคือพระภิกษุสามเณรต้องเรียนตามนโยบายของคณะสงฆ์ โดยมหาเถรสมาคม คือ วิชาภาษาบาลี และวิชาพระพุทธศาสนา (อันประกอบด้วยพุทธประวัติ ธรรมวินัย และศาสนปฏิบัติ) เพ่ือเป็นพื้นฐานในการศึกษาหลักพระพุทธศาสนาในคัมภีร์พระไตรปิฎก สามารถนาไปเป็นเครื่องมือเผยแผ่พระพุทธศาสนา อันเป็นหน้าท่ีสาคัญของพระภิกษุสามเณร ในฐานะ ที่เป็นศาสนทายาทผู้สบื ทอดพระพุทธศาสนา การบรหิ ารจัดการศกึ ษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จัดตั้งอยู่ในวัด ที่ธรณีสงฆ์ หรือท่ีดินของมูลนิธิ ทางพระพุทธศาสนา จัดการศึกษาเฉพาะสาหรับพระภิกษุสามเณรเท่าน้ัน โรงเรียนจะได้รับการจัดตั้งได้ ก็ต่อเม่ือได้รับอนุญาตหรือเห็นชอบจากมหาเถรสมาคม โดยสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นผู้ออก ใบอนญุ าต แก่เจ้าอาวาสวัดที่ขอจัดตงั้ โรงเรยี น การบริหารจัดการโรงเรียน เจ้าอาวาสวัดหรือพระภิกษุท่ีเจ้าอาวาสมอบหมายเป็นผู้จัดการ และผู้จัดการเป็นผู้คัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามท่ีกาหนดไว้ในประการคณะกรรมการการศึกษา พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา รูปหนึ่งทาหน้าท่ีเป็นผู้อานวยการโรงเรียน ซ่ึงจะดาเนินการคัดเลือก พระภิกษแุ ละคฤหสั ถเ์ พอื่ เสนอแต่งตง้ั เปน็ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาของโรงเรียน คูม่ ือปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓ อตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา นอกจากจะจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของกระทรวงศึกษาธิการแล้ว ยังได้สนองงานคณะสงฆ์ด้านการ จัดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและบาลีอีกด้วย โดยได้จัดให้มีการเรียนการสอนตาม หลักสูตรนักธรรมและบาลีให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะสงฆ์โดยมหาเถรสมาคม ท้ังนี้ ในการประชุม มหาเถรสมาคม เม่อื วนั ท่ี ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕ ทปี่ ระชุมมหาเถรสมาคมมีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงโครงสร้าง เวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ตามคาส่ังประธาน คณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่ ๑/๒๕๕๕ ลงวันท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๕๕ เรื่องการปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสอบผ่านธรรมสนามหลวงและบาลีสนามหลวงได้ โดยเพิ่มหน่วยกิตวิชาภาษา บาลี และวิชาพระพุทธศาสนา (พุทธประวัติ ธรรมวินัย และศาสนปฏิบัติ) ท้ังน้ี ผู้ที่จะจบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นได้ ต้องสอบได้นักธรรมช้ันตรีเป็นอย่างต่า และจะจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายได้ ต้องสอบไดน้ กั ธรรมช้นั โทเป็นอยา่ งตา่ (มตมิ หาเถรสมาคมที่ ๓๘๘/๒๕๕๕) นอกจากน้ี สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ยังได้ปรับตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ของโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา โดยให้ใช้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนตามเป้าหมาย เฉพาะของสถานศึกษา (หลักสูตรารายวิชาเพ่ิมเติมคือวิชาพุทธประวัติและธรรมวินัย วิชาศาสนปฏิบัติ และวิชาภาษาบาลี) นอกจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐานอีกด้วย ในการน้ี เพ่ือดาเนินการดังกล่าว สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จึงได้ร่วมกับสถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) หรือ สทศ. จดั ให้มีการสอบวัดผลทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นพระพุทธพุทธศาสนา หรอื เรียกยอ่ ว่า B-NET (Buddhism National Educational Test) คู่มือปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๔ โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา คู่มอื ปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

ค่มู ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา การบรหิ ารงานวชิ าการ

๕ การบรหิ ารงานวิชาการ งานวิชาการ ถือเป็นงานที่มีความสาคัญท่ีสุด เป็นหัวใจของการจัดการศึกษา ซ่ึงทั้งผู้บริหาร โรงเรียน คณะครู และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย ต้องมีความรู้ความเข้าใจ ให้ความสาคัญและมีส่วนร่วม ในการวางแผน กาหนดแนวทางปฏิบัติ การประเมินผล และการปรับปรุงแก้ไขอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง งานวิชาการของโรงเรียนประกอบด้วยงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเป็นหลัก ซึ่งโรงเรียน จะต้องสร้างหลักสูตรของตนเอง เรียกว่า หลักสูตรสถานศึกษา ดังน้ัน ครูจะต้องทาหน้าท่ีในการสร้างและ พัฒนาหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ซึ่งงานวิชาการท่ีครูจะต้องปฏิบัติ จะประกอบดว้ ยภารกิจหลกั ดงั นี้ ๑. การพัฒนาหรอื การดาเนนิ การเก่ียวกับการให้ความเห็นการพฒั นาสาระหลกั สูตรท้องถน่ิ ๑.๑ การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาสสู่ าระท้องถ่นิ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งเนื้อหาองค์ความรู้ท่ี เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นในด้านต่างๆ เช่น สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ประวัติความเป็นมา สภาพเศรษฐกิจ สังคม การดารงชีวิต การประกอบอาชีพอิสระ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา ตลอดจนสภาพปัญหาและสิ่งท่ีควรได้รับการถ่ายทอดพัฒนาในชุมชนและสังคมนั้นๆ ท่ีสถานศึกษากาหนด การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นของตนเอง ซึ่งมีแนวทาง ในการจัดทาสาระทอ้ งถิน่ ดงั น้ี ๑. ศึกษาวิเคราะห์เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และกรอบสาระ การเรยี นรู้ทีพ่ ัฒนาโดยคณะกรรมการการศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา ๒. ศึกษาศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและภูมิภาค ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพปัญหา และความตอ้ งการของสงั คม ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ ๓. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและประเมินสถานภาพสถานศึกษา เพ่ือร่วมกาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย รวมทั้ง คณะกรรมการโรงเรียนพระ ปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา ๔. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น/ระดับช้ัน ของกลุ่มสาระหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือมาตรฐานการเรยี นรขู้ องกลุม่ สาระ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ๕. จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ และกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ปฏิบัติงานตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการ สถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ๖. ดาเนนิ การจัดทาสาระท้องถ่ินในลกั ษณะ ๑) จัดทาเปน็ รายวิชาเพ่ิมเติม ๒) ปรับกจิ กรรมการเรยี นการสอน หรอื จดั กิจกรรมเสรมิ หรือบูรณาการ ๗. ขอความเห็นชอบใช้หลักสูตรสถานศึกษาจากคณะกรรมการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา โดยประธานคณะกรรมการเป็นผู้ลงนามในประกาศ คมู่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๖ ๘. การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑) การจัดสาระการเรยี นรู้ ๒) การกาหนดคา่ นา้ หนกั และเวลาเรยี นช่วงชน้ั ที่ ๓ -๔ ๓) การกาหนดรหัสวชิ า ๔) การกาหนดระดับผลการเรียน ๙. การบูรณาการภายในและระหว่างสาระการเรียนรู้/การบูรณาการเฉพาะเรื่องตามลักษณะ สาระการเรียนรู้ การบรู ณาการที่สอดคล้องกับวถิ ีของผูเ้ รยี น ๑๐. ประเมนิ ผลการใช้หลักสูตรและปรับปรงุ หลกั สูตรใหม้ ีคุณภาพย่ิงขนึ้ ๑.๒ การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ๑. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามสาระและหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญและจัดเตรยี มสือ่ การเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกับผูเ้ รียน ๑) วิเคราะห์หลกั สตู รและเน้อื หาสาระ ๒) มาตรฐานการเรียนรู้ ๓) ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั ๒. จัดกระบวนการเรียนรู้ให้ยืดหยุ่นตามความเหมาะสม โดยจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่มีความสามารถพิเศษและผู้ที่มีความบกพร่อง หรือด้อยโอกาส โดยฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์การประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาในชีวิตประจาวัน การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและการปฏิบัติจริง สร้างสถานการณต์ วั อย่าง ๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักการอ่านและใฝ่เรียนใฝ่รู้อย่างต่อเน่ือง การผสมผสานความรู้ต่างๆ ใหส้ มดุลกนั ๔. ปลูกฝังผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สอดคล้อง กบั เนอ้ื หาสาระกิจกรรม ๕. จดั บรรยากาศ ส่ิงแวดลอ้ ม แหล่งเรยี นรู้ใหเ้ อื้อต่อการเรียนรู้ ๖. นาภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ และประสานความร่วมมือเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่นเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดการเรียนการสอนตามความเหมาะสม เพ่ือรว่ มกนั พฒั นาผเู้ รยี นเต็มตามศักยภาพ ๗. จัดให้มีการนิเทศการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยเป็นการนิเทศท่ีร่วมมือ ชว่ ยเหลอื กันแบบกลั ยาณมติ ร นิเทศแบบเพ่อื นช่วยเพื่อน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกันของบุคลากร ภายในสถานศึกษา ๘. ส่งเสรมิ ใหใ้ ช้การวจิ ัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ (การวจิ ยั ในช้ันเรียน) ๙. ส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนา วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายและต่อเน่ือง เพอื่ พัฒนากระบวนการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม คูม่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๗ ๑๐. จัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ได้แก่ จดั กจิ กรรมแนะแนว โดย ๑) จดั เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๒) จัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ แบบบนั ทกึ และจดั ทาสอื่ ๓) ใหค้ าปรกึ ษาการแก้ไขข้อบกพร่องและพฒั นาตนเอง ๔) ให้คาปรกึ ษาการศกึ ษาต่อและแนะนาอาชีพ จดั กจิ กรรมนักเรียน โดย ๑) สนบั สนุนเกอื้ กลู ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เชน่ โครงงาน ๒) ส่งเสรมิ ความถนัด ความสนใจ ความสามารถ ความต้องการของผ้เู รียน เชน่ ชมรมทางวชิ าการ ๓) ส่งเสริมการทาประโยชน์ตอ่ สังคม เช่น กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ ๔) สง่ เสรมิ การฝึกทางานที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสว่ นรวม ๕) จดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละจดั หาวัสดุอปุ กรณ์การเรียน ๖) จดั ทาแผนการจดั กจิ กรรม แบบบันทกึ รายงานผล ๑.๓ การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป็นข้ันตอนท่ีสาคัญท่ีสุดในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เพราะเป็นส่วนท่ีนามาตรฐานการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติ ในการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพได้ มาตรฐาน อย่างแทจ้ ริง ผูเ้ รียนจะบรรลุมาตรฐานหรือไม่ อยา่ งไร ก็อยู่ที่ข้ันตอนนี้ ดังน้ันการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐานอย่างแท้จริงทุกองค์ประกอบ ของหน่วยการเรียนรู้ต้องเช่ือมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดชั้นปี โดยครูต้องเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ได้ว่าสิ่งท่ีต้องการให้นักเรียนรู้และปฏิบัติ ไดใ้ นมาตรฐานและตวั ชี้วดั ช้ันปนี ้นั คอื อะไร องค์ประกอบทสี่ าคญั ของหน่วยการเรยี นรูอ้ ิงมาตรฐาน มี ๖ องค์ประกอบ ดงั น้ี ๑. ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ ๓. สาระสาคัญของหนว่ ยการเรียนรู้ ๔. ชนิ้ งานหรือภาระงานทใ่ี ห้นกั เรยี นปฏบิ ัติ ๕. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ๖. การวดั และประเมินผล ๑.๔ กระบวนการจดั ทาหน่วยการเรียนรอู้ งิ มาตรฐาน การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานใช้หลักการของ Backward Design คือ เร่ิมจากการ กาหนดมาตรฐานเป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ จากน้ันจึงกาหนดว่า ร่องรอยหลักฐานอะไรท่ีให้ นักเรียนปฏิบัติแล้วสามารถสะท้อนความสามารถของผู้เรียน ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานน้ัน แล้วจึงวางแผน จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้สอดคล้องกับส่ิงท่ีกาหนดให้นักเรยี นปฏบิ ตั ิ การออกแบบถอยหลังกลับหรือ Backward Design ท่ีนามาใช้ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน เป็นกระบวนการออกแบบท่ียึดเป้าหมายสุดท้ายของการเรียน คือ มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นหลักกระบวนการออกแบบวางแผนของครูผสู้ อน ตอ้ งเกี่ยวเน่อื งสมั พันธ์กัน ๓ ขนั้ ตอน ดงั นี้ คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

๘ ขนั้ ตอนที่ ๑ มาตรฐานการเรียนร้ตู ้องการใหน้ ักเรยี นรู้อะไร และสามารถทาอะไรได้ ขน้ั ตอนท่ี ๒ อะไรคือร่องรอยหลกั ฐานท่ีแสดงวา่ นกั เรียนรแู้ ละสามารถทาไดต้ ามท่ีมาตรฐาน กาหนด ขัน้ ตอนที่ ๓ จัดกิจกรรมอย่างไรจึงจะสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ที่ฝังแน่นตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ อย่างไรก็ตามกระบวนการจัดทาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน มีความยืดหยุ่นสามารถเร่ิมจาก การกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดช้ันปี และวิเคราะห์คาสาคัญในตัวชี้วัดช้ันปี เพื่อกาหนดสาระ หลักและกิจกรรมต่อไปหรืออาจเร่ิมจากประเด็นปัญหาสาคัญในท้องถ่ิน หรือส่ิงที่นักเรียนสนใจแล้ว จึงพิจารณาวา่ ประเด็นปญั หาดังกลา่ วเช่ือมโยงกับมาตรฐานและตัวช้ีวัดชัน้ ปขี ้อใด ดังแนวทางตอ่ ไปน้ี รูปแบบท่ี ๑ แนวทางการจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรูเ้ ริม่ จากการกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วดั ช้ันปี ระบมุ าตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชวี้ ัดชัน้ ปี กาหนดสาระ กาหนดชิ้นงาน/ภาระงานท่ีนกั เรยี นปฏบิ ตั ิ กาหนดเกณฑ์การประเมนิ วางแผนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กาหนดช่อื หน่วยการเรยี นรู้ กาหนดเวลาเรยี น คมู่ ือปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๙ รปู แบบท่ี ๒ แนวทางการจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้เรมิ่ จากการกาหนดปัญหาสาคัญในทอ้ งถ่นิ หรือสงิ่ ที่นักเรียนสนใจ กาหนดประเดน็ ปญั หา/ส่ิงทนี่ ักเรยี นสนใจ กาหนดสาระสาคัญ ระบมุ าตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชว้ี ัดชัน้ ปี กาหนดชิน้ งาน/ภาระงานท่นี ักเรียนปฏิบตั ิ กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ วางแผนจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กาหนดชอื่ หน่วยการเรียนรู้ กาหนดเวลาเรยี น คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๑๐ ๑.๕ การพฒั นาหลักสูตรท้องถ่ิน หลักสูตรท้องถ่ิน หมายถึง หลักสูตรที่สร้างข้ึนจากสภาพปัญหาและความต้องการของผู้เรียน หลักสูตรท้องถิ่นจะสอดคล้องเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นนั้นๆ เป็นการเรียนรู้ จากภูมิปัญญาที่มีอยู่ในท้องถ่ิน ผู้เรียนแสวงหาองค์ความรู้ท่ีตอบสนองกับวิถีชีวิตของตนเอง ปรับตนเอง ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ผู้เรียนจะเรียนรู้ตามสภาพจริงของตนเอง สามารถ นาความรู้ไปใช้การพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ (กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน. ๒๕๔๓:๓) จึงอาจสรุปได้ว่า หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง ประสบการณ์การเรียนรู้ที่จัดให้กับกลุ่มผู้เรียน ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ท่ีจัดตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้เรียนในท้องถิ่นน้ัน ๆ เป้าหมายหลัก คือ ต้องการให้ผู้เรียน ได้นาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของผเู้ รียนให้ดขี ้ึน ๑.๖ หลกั การพัฒนาหลักสูตรทอ้ งถนิ่ หลกั สตู รทอ้ งถนิ่ มีหลักในการพัฒนาท่สี ง่ ผลใหก้ ลุ่มเป้าหมายได้เกิดปญั ญา หรือเกิดการเรยี นรู้ ดังนี้ ๑) การเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ มีเป้าหมายมุ่งที่การเรียนรู้สภาพปัญหา วิธีการแก้ปัญหา และการปรับปรุงอย่างลึกซ้ึง คือ ให้รู้และเข้าใจอย่างกระจ่างว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันจนสามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์เปน็ องคค์ วามรู้ของตนเองได้ ๒) การเรียนรูเ้ พอ่ื พัฒนาความสามารถในการปฏบิ ตั จิ รงิ มีเปา้ หมายมุ่งท่ีการเรียนรู้ในการวิเคราะห์ สถานการณเ์ พื่อการปฏบิ ัตจิ รงิ จนเกิดความชานาญและสามารถปฏบิ ัติได้ในทุกสถานการณ์ ๓) การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกัน มีเป้าหมายมุ่งที่การเรียนรู้ เพื่อเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ด้วยการมีความเชื่อ และตระหนักว่ามนุษย์ทุกคนต้องร่วมมือกัน พึ่งพาอาศัยกันและอยู่ด้วยกันอย่างมี ความสุข ๔) การเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาศักยภาพ เป้าหมายมุ่งที่การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาตนเองให้มีชีวิตที่งอก งาม ปรบั ปรุงบคุ ลิกภาพอย่างมนั่ ใจ เน้นการมีเหตผุ ลและมวี สิ ัยทัศน์ ๑.๗ ความสาคญั ของหลักสตู รทอ้ งถ่นิ หลักสูตรท้องถิ่น เป็นหลักสูตรบูรณาการท่ีผู้เรียน ชุมชนและครูร่วมกันสร้างขึ้น เพ่ือมุ่งเน้นให้ ผเู้ รียน เรยี นจากชวี ติ เรียนแล้วเกิดการเรียนร้สู ามารถนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตอย่างมีคุณภาพและเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคมอย่างมีความสุข การเรียนการสอนจะสอนตามความต้องการของผู้เรียน โดยครูเป็นผู้คอย ให้คาแนะนา ผู้เรยี นเป็นผคู้ น้ ควา้ หาความรูด้ ้วยตนเอง ดงั นั้น หลักสตู รท้องถนิ่ จงึ มีความสาคัญ ดังต่อไปนี้ ๑) เป็นหลักสูตรท่ีตอบสนองการเรียนรู้ของรู้เรียนเฉพาะเน้ือหาสาระของหลักสูตรสอดคล้อง กับความต้องการของผเู้ รียนตามสภาพปญั หาท่เี ปน็ จรงิ ๒) ทาให้กิจกรรมการเรียนรู้มีความหมายต่อผู้เรียน เพราะผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริงได้ ๓) ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้ เพื่อที่จะมาใช้เป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงของ ตนเองในวันข้างหน้า รวมทั้งวิธีวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล เพ่ือการตัดสินใจที่เหมาะสมกับการดาเนินชีวิต ของตนเอง ๔) ชุมชนและภูมิปัญญาในชุมชน มีโอกาสมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียน ซ่ึงเป็น สมาชกิ ของชมุ ชน คมู่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๑๑ ๑.๘ ลักษณะของหลกั สตู รทอ้ งถนิ่ ๑) เป็นหลักสูตรท่ีตอบสนองความหลากหลายของปัญหามุ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้เหมาะสม กับเพศ วัย มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด และทักษะเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ จริงจนเกดิ ทกั ษะและสามารถนาไปใช้กบั สถานการณ์อ่นื ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๒) เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมให้ท้องถ่ิน มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรของตนเอง เพื่อให้ผู้เรียน ไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเรียนรู้ท้องถิ่นตนเอง เป็นการเชื่อมโยงระหว่างการเรียนกับชีวิตจริงและการทางาน รวมทั้งปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรักและความผูกพันกับท้องถ่ินของตนมีการส่งเสริมให้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการจดั การศึกษา ๓) เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับการดาเนินชีวิตจริง และมุ่งเน้นการเรียนรู้อย่างบูรณาการ ไม่แยก สว่ นของกระบวนการเรียนรู้ โดยผ้เู รยี นเป็นผูจ้ ดั กระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ครูจะเปน็ ผคู้ อยให้คาแนะนา ใหค้ าปรกึ ษา และชว่ ยเหลืออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน อันจะนาไปสู่การคิดเป็น ทาเป็น และสามารถแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ได้ ๔) เป็นหลกั สูตรท่สี ามารถพัฒนาไดต้ ลอดเวลา เพอื่ ให้สอดคล้องกบั สถานการณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงไป ๕) เป็นหลกั สตู รทีส่ ง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นเปน็ คนทม่ี ีคุณภาพของสงั คมในด้านศีลธรรม จริยธรรมและการ ธารงไวซ้ ่งึ สังคมประชาธิปไตย การรกั ษาสิ่งแวดล้อม เกิดศรัทธาเช่ือม่ันในภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่น ของชุมชนและของประเทศชาติ ๑.๙ กระบวนการพฒั นาหลักสตู รท้องถ่นิ กระบวนการพัฒนาหลักสตู รท้องถิน่ ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนหลัก ๔ ขั้นตอน ดังน้ี ขน้ั ที่ ๑ การสารวจสภาพปญั หาของชุมชน ขนั้ ที่ ๒ การวเิ คราะห์สภาพปัญหาชมุ ชนและความต้องการของผเู้ รียน ขัน้ ที่ ๓ การเขียนผังหลกั สูตร ขนั้ ที่ ๔ การเขียนหลักสตู ร ๑. การสารวจสภาพปัญหาของชุมชน คือ การศึกษาข้อมูลเป็นอยู่ของชุมชน เพื่อให้ได้ซึ่งข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถ่ิน ผู้สารวจได้แก่ ครูการศึกษานอกโรงเรียน ผู้เรียน และ ผู้เกี่ยวข้อง โดยสารวจข้อมูลจากเอกสารซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิ เช่น ข้อมูลจากการวางแผนของศูนย์บริการ การศกึ ษานอกโรงเรียนอาเภอ ข้อมูลจาก จปฐ. ข้อมูลจาก กชช.๒ ค และจากหน่วยงานอื่นๆ ที่ได้รวบรวมไว้ แล้ว และสารวจข้อมูลปฐมภูมิท่ีผู้สารวจไปรวบรวมข้อมูลจากชุมชน เป็นข้อมูลที่สาคัญและเป็นประโยชน์ อย่างยิง่ ซึ่งเป็นข้อมลู ท่ีแทจ้ รงิ และเปน็ ปจั จบุ ันของผู้เรียนและชมุ ชน ประเด็นในการสารวจข้อมูล เช่น โครงสร้างด้านกายภาพ และประวัติชุมชนข้อมูลประชากร เศรษฐกิจ การศกึ ษา สังคม และวฒั นธรรม การเมอื ง การปกครองและข้อมูลเกย่ี วกับความต้องการของชมุ ชน วิธีการสารวจสภาพปัญหาของชุมชน อาจใช้หลายๆ วิธีการผสมผสานกันเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง สมบูรณแ์ ละเปน็ รูปธรรม เช่น การสมั ภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การสงั เกต หรือการจดั เวทีประชาคม เปน็ ตน้ ๒. การวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน เม่ือทาการสารวจชุมชนเสร็จแล้ว ข้อมูลท่ีได้จะมีสภาพปัญหาของชุมชนท่ีหลากหลาย มีท้ังปัญหาที่เป็นระดับความต้องการ (What) และ ปัญหาความจาเป็น (Need) ดังนั้น จะต้องนาปัญหานั้นมาวิเคราะห์ จัดหมวดหมู่ของปัญหา เช่น แบ่งตาม ประเภทความรุนแรงของปัญหา ความยากง่ายในการดาเนินการแก้ไขปัญหา ความเร่งด่วนของปัญหา และข้อมูล เกี่ยวกบั ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน และนาทรพั ยากรใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๑๒ ๓. การจัดทาผงั หลักสูตร คาว่าผังหลกั สูตร หมายถึง กรอบความคิดหัวข้อของหลักสูตร ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบด้วยหัวข้อเร่ือง หรือหัวข้อเนื้อหาหลัก และหัวข้อย่อยท่ีได้จากความ ต้องการ (เป็นผลจากการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา จากการสารวจมาจากชุมชน) ให้นาหัวข้อความ ตอ้ งการมาจดั ทาผงั หลกั สตู รทอ้ งถนิ่ โดยโครงสร้างของผงั หลักสูตร ประกอบด้วย หัวเรื่องหลัก (Theme) หรือหัวข้อเนื้อหาหลักเป็นหัวข้อที่บอกถึงช่ือเร่ืองใหญ่ได้จากกลุ่มความ ต้องการ (ผลการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา) ซง่ึ จะคลุมความตอ้ งการย่อยๆ ในขอบข่ายเรื่องเดียวกนั หัวข้อย่อย (Title) เป็นหัวข้อเร่ืองที่ตั้งจากความต้องการย่อยที่อยู่ในกลุ่มความต้องการใหญ่ ซงึ่ อาจมีหลายเร่ือง ในการพจิ ารณาหัวข้อยอ่ ย ให้พิจารณาความต้องการยอ่ ยท่วี ิเคราะห์แล้วก่อน ถ้าเร่ืองใด เปน็ เรอ่ื งกลุ่มเดียวกนั โดยรวมเป็นหวั ข้อเดยี วกนั การสร้างกรอบหัวเรื่องย่อย จะต้องจัดลาดับเน้ือหาจากง่ายไปสู่เน้ือหาท่ียากขึ้นตามลาดับ หรือจัดลาดับจากความเร่งด่วน ไปสู่เนื้อหาท่ีเร่งด่วนน้อยกว่าการสร้างกรอบหัวเร่ืองย่อยสามารถ สร้างเพิ่มเติมได้ ดังน้ัน ในแต่ละหัวข้อหลักควรมีกรอบว่างไว้ด้วยเมื่อพบปัญหาใหม่ในเร่ืองเดียวกัน ก็สามารถมาใสก่ รอบเพ่ิมเติมได้ ๔. การเขียนหลักสูตรท้องถ่ิน การเขียนหลักสูตรท้องถ่ิน ทาบา (Taba; อ้างถึงในกองพัฒนา การศึกษานอกโรงเรียน. ๒๕๔๓) มีแนวคิดว่าการพัฒนาหลักสูตร ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบอย่างไร ควรมี องค์ประกอบ ๔ ประการด้วยกัน คือ ๑) วัตถุประสงค์ท่ัวไปและวัตถุประสงค์เฉพาะวิชา ๒) เน้ือหาวิชา และจานวนช่วั โมงสอนแต่ละวิชา ๓) กระบวนการเรยี นการสอนและ ๔) โครงการประเมนิ ผลตามหลกั สตู ร ดังนนั้ การเขียนหลกั สูตรทอ้ งถน่ิ ไดก้ าหนดโครงสร้างการเขยี นหลกั สูตรไวด้ งั นี้ คือ ๑) ช่ือหลักสตู ร ๒) ความสาคญั ๓) จุดมุ่งหมาย ๔) วัตถุประสงค์ ๕) เนอ้ื หาหลักสตู ร ๖) เวลาเรียน ๗) แหล่งเรยี นร้แู ละสื่อประกอบการเรยี น ๘) การวัดและประเมินผลการเรยี น ๙) ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ ๑๐) โครงสร้างเนอ้ื หาของหลักสูตร หลกั ในการเขียนหลักสูตร มีดังนี้ ๑) ความสาคัญของหลักสูตรท้องถิ่น เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาสามารถสร้างข้ึน เพ่ือแก้ปัญหา ของผู้เรียนในด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นข้ึนมา เพ่ือสนองตอบต่อความต้องการเรียนรู้ เรื่องใดเร่ืองหน่ึงของชุมชน โดยพัฒนาเนื้อหาสาระแบบมีส่วนร่วมของบุคคลหลายๆ ฝ่ายอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน และเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ซึ่งสามารถ ตอบสนองความต้องการของตนเอง ชุมชน และสงั คมในภาพรวมได้ คมู่ ือปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๑๓ ๒) จุดมุ่งหมาย (Aims) หมายถึง ข้อกาหนดทั่วไปท่ีแสดงให้เห็นถึงลักษณะและทิศทางเพ่ือนาไปสู่ การปฏิบัตทิ ่ีชดั เจน ท่อี อกแบบไว้ให้บรรจุ ซ่ึงผลผลิต หรือพฤตกิ รรมในอนาคต ตวั อยา่ ง จุดม่งุ หมายของอาชีพโฮมสเตย์ - เพอื่ ให้ชุมชนท้องถิน่ ได้พัฒนาคณุ ภาพชีวิต - เพ่อื ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ชุมชนในทอ้ งถ่นิ มีความร้แู ละทักษะความสามารถ - จดั การทอ่ งเท่ียวในชมุ ชนได้ ๓) วัตถุประสงค์ (Objective) เป็นคาที่มีความเฉพาะเจาะจงเป็นเครื่องบ่งชี้ผลลัพธ์กับหลักสูตร เปน็ ลกั ษณะจดุ ประสงค์ปลายทาง ตวั อยา่ ง การเขยี นวัตถปุ ระสงค์ วัตถุประสงค์ เพอ่ื ให้ผเู้ รียน - มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในเร่ืองการจัดการโฮมสเตย์ (Home Stay) - สามารถบรหิ ารจัดการโฮมสเตย์ และจัดกิจกรรมนาเท่ียวได้ - มีความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อม การอนุรักษ์วัฒนธรรมของท้องถนิ่ ๔) เน้ือหาหลักสูตร เป็นการนาหัวข้อหลัก (Theme) ท่ีกาหนดไว้มาเขียน ซ่ึงเน้ือหาสาระของ หลักสูตร จะต้องตอบสนองต่อการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรทาบา (Taba. ๑๙๗๓: อ้างถึง ในหรรษา นิลวิเชียร. ๒๕๔๔: ๑๒๖) เสนอแนะเกณฑ์ในการเลือกเนื้อหาของหลักสูตร ซ่ึงเน้ือหาของ หลักสูตรจะต้องถูกต้องและมีความสาคัญ ซึ่งสะท้อนให้เห็นความรู้ท่ีเป็นวิทยาศาสตร์ท่ีทันสมัยและเป็น ความรู้พ้ืนฐานท่ีสาคัญ เน้ือหาจะต้องสอดคล้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน มีความสมดุลทั้ง ความกว้างและความลึก สนองวัตถุประสงค์หลากหลายอันได้แก่การหาความรู้ใหม่ การคิดอย่างมีประสิทธิภาพ เจตคติ ความสนใจ นิสัยท่ีเหมาะสมและทักษะสอดคล้องกับประสบการณ์ของผู้เรียน และผู้เรียนสามารถ เรียนได้ และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและความสนใจของผู้เรยี น ๕) เวลาเรียน ให้ระบุเวลาเรียนตลอดหลักสูตร ใช้เวลาก่ีช่ัวโมง และแยกเป็นภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ ใช้เวลาทัง้ หมดกี่ช่ัวโมง การกาหนดเวลาเรียนต้องมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและวิธกี ารสอน ๖) แหล่งการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียน บอกแหล่งการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน เช่น ศกึ ษาจากเอกสารวิชาการ ศึกษาจาก VCD ศึกษา Website ศึกษาจากผรู้ ู้ และภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น เป็นต้น ๗) การวัดและประเมินผล ระบุว่ามีการวัด และประเมินผลด้วยวิธีใด เช่น การสังเกต การทดสอบ การวัดจากชนิ้ งาน เปน็ ต้น ๘) ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ บอกความคาดหวังของผลลัพธ์ทางการศึกษา ทั้งในระดับกว้างและ ระดบั เฉพาะ เชน่ - ผ้เู รยี นสามารถบรหิ ารจัดการโฮมสเตย์ได้ - ผ้เู รยี นและชมุ ชนมรี ายได้เพมิ่ ขนึ้ เกดิ ความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกิจของชมุ ชน - ชมุ ชนมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาอาชพี โฮมสเตย์ ๙) โครงสร้างเน้ือหาของหลักสตู ร ใหน้ าหัวขอ้ หลักและหัวข้อย่อย เนือ้ หาของหลักสูตรในแต่ละ เร่อื งทงั้ หมดมาเขยี นไว้พรอ้ มระบจุ านวนชั่วโมง ในแต่ละหัวข้อหลัก คู่มอื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๑๔ ๒. การวางแผนงานด้านวชิ าการ งานวิชาการเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษาท่ีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มุ่งให้กระจายอานาจในการบริหารจัดการให้สถานศึกษา มากท่ีสุด ด้วยเจตนารมณ์ที่จะให้สถานศึกษาดาเนินการได้โดยอิสระคล่องตัว รวดเร็ว สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซ่ึงจะ เป็นปจั จัยสาคญั ทาให้สถานศึกษามคี วามเขม้ แขง็ ในการบริหารและการจดั การ สามารถพัฒนาหลักสูตรและ กระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมท้ังการวัดปัจจัยเก้ือหนุน การพัฒนาคุณภาพ นักเรียน ชุมชนท้องถ่ินได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน การปฏิบัติงานวิชาการจึงต้องมีการ วางแผน โดยมีการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริหารจัดการหลักสูตร สถานศึกษา นิเทศเพ่ือการพัฒนาการใช้หลักสูตรภายในสถานศึกษา และมีการติดตามประเมินผลและ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและรายงานผลให้หน่วยงานต้นสังกัดรับทราบ การวางแผนงานด้าน วชิ าการที่สาคัญมี ดงั นี้ ๒.๑. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ (๑) จดั ทาแผนการเรยี นรู้ โดยผู้เรยี นมสี ว่ นร่วม (๒) จัดกระบวนการเรยี นรู้ให้ยดื หยนุ่ ตามความเหมาะสม ท้งั ด้านเวลาสาระการเรยี นรู้ และผ้เู รยี น (๓) จดั กระบวนการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ ให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ดว้ ยการปฏบิ ัตจิ ริง จากแหล่งการเรยี นรู้และเครือขา่ ยการเรยี นรู้ (๔) ใชก้ ารแนะแนวเปน็ สว่ นหนึง่ ของการจัดกระบวนการเรยี นรู้ (๕) ให้ผู้ปกครอง ครอบครวั ชุมชนและสงั คมเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ (๖) ส่งเสริมให้ครูไดร้ ับการพัฒนา วธิ กี ารจดั กระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายและ ตอ่ เนอื่ ง ๒.๒ การวดั ผล ประเมนิ ผลและการเทยี บโอนผลการเรียน (๑) กาหนดระเบียบการวดั และประเมินผลของสถานศกึ ษา (๒) จัดทาเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาให้เป็นไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลของ สถานศึกษา (๓) วัดผล ประเมนิ ผล เทยี บโอนประสบการณ์ เทยี บโอนผลการเรียนและอนุมตั ผิ ลการ เรียน (๔) จัดใหม้ กี ารประเมินผลการเรียนทุกช่วงชนั้ และจดั ให้มีการซ่อมเสรมิ กรณที ่มี ผี ้เู รยี นไม่ ผ่านเกณฑ์การประเมิน (๕) จดั ให้มกี ารพฒั นาเครื่องมือในการวดั และประเมนิ ผล (๖) มีการเทยี บโอนผลการเรียนโดยคณะกรรมการ (๗) จดั ระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมนิ ผลและการเทียบโอนผลการเรยี น เพอื่ ใช้ใน การอ้างอิง ตรวจสอบและใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรียนการสอน คูม่ อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๑๕ ๒.๓ การประกันคณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา (๑) จดั ให้มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดับสถานศึกษา (๒) สนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้มีระบบการประกันคุณภาพในระดบั หนว่ ยงานภายในสถานศึกษา (๓) กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและรายงานผลการประกนั คุณภาพการศึกษา (๔) ของสถานศึกษา (๕) ปรับปรงุ และพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ๒.๔ การพัฒนาและใชส้ อื่ และเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา (๑) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้ครูผลติ พฒั นา และใช้ส่อื เทคโนโลยีท่เี หมาะสมเพื่อการศกึ ษา (๒) จัดหา จัดทาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้กับครูและผู้เรียนอย่างเพียงพอและ หลากหลาย ๒.๕. การพฒั นาและสง่ เสริมใหม้ แี หล่งเรียนรู้ (๑) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้พอเพียงและสอดคล้องกับ การจัดกระบวนการเรียนรู้ (๒) ส่งเสริมให้ครู และผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนา การเรียนรู้ ๒.๖ การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (๑) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทาวิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียน หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การใช้สือ่ และอุปกรณ์การเรียนการสอน (๒) รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ครู นาผลการวจิ ัยมาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๒.๗ การส่งเสริมชมุ ชนให้มคี วามเข้มแขง็ ทางวิชาการ (๑) ดาเนินการเสริมความรู้และประสบการณ์ให้กับชุมชน โดยร่วมมือกับบุคคลในชุมชน องคก์ ร หน่วยงานและสถาบนั ทางสงั คมอนื่ (๒) ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหช้ ุมชนสามารถเลือกสรรภูมิปญั ญา ๓. การจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา ๓.๑ การวางแผนดา้ นงานวิชาการ (๑) การรวบรวมข้อมลู และจดั ทาระเบยี บแนวปฏบิ ัติเกีย่ วกับงานวชิ าการ (๒) การทาแผนงานวิชาการ ๓.๒ การบรหิ ารงานวชิ าการ (๑) การกาหนดหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ (๒) การจัดกล่มุ การเรียน (๓) การจัดตารางสอน (๔) การจดั ครเู ข้าสอนตามตารางสอน (๕) การจัดครสู อนแทน คมู่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๑๖ ๓.๔. งานพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ (๑) การจดั ทาการใช้การปรับปรงุ หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรยี นรู้ (๒) การจดั กระบวนการเรียนรู้ (๓) การจัดหาจัดทาใช้บารงุ รกั ษาและส่งเสรมิ การผลิตส่ือการจัดการเรียนรู้ (๔) การจดั สอนซ่อมเสริม ๓.๕ งานกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๓.๖ งานวัดผล ประเมนิ ผลและเทียบโอนผลการเรียน (๑) การดาเนินการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียน (๒) การสร้างและปรบั ปรุงเคร่ืองมือการวัดผลการเรยี น (๓) การจัดให้มเี อกสารและแบบฟอร์มเก่ียวกบั การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียน (๔) การดาเนนิ การเก่ียวกบั หลักฐานการวดั ผลและประเมินผลการเรยี น ๓.๗ งานสามะโน การรบั และทะเบียนนกั เรียน ๓.๘ งานวจิ ัยเพื่อพัฒนาคณุ ภาพ (๑) โรงเรียนส่งเสรมิ ให้ครูไดร้ ับการพัฒนาทางด้านวิชาการอย่างนอ้ ย ๒๐ ช่วั โมงตอ่ ปี (๒) การพัฒนาครทู างด้านวิชาการ (๓) การสง่ เสรมิ การวเิ คราะหว์ จิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน ๓.๙ งานพัฒนาส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยี (๑) การนานวตั กรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนนิ งานทางวิชาการ (๒) การส่งเสรมิ การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้ ๓.๑๐ งานพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ ๓.๑๑ งานนเิ ทศการศกึ ษา ๓.๑๒ งานแนะแนวการศกึ ษา ๓.๑๓ งานพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา (๑) การจดั ระบบการประกันคุณภาพภายใน (๒) การควบคมุ ภายใน (๓) การประเมินผลการดาเนินงานประกนั คุณภาพ ๓.๑๔ งานส่งเสริมและพฒั นาความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ (๑) การสง่ เสริมความเปน็ เลิศทางวชิ าการ (๒) งานนักเรยี นพระราชทาน คมู่ ือปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๑๗ ๓.๑๕ งานสง่ เสริมและประสานงานการศกึ ษา ในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย (๑) โรงเรียนจดั กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาชุมชน (๒) โรงเรยี นได้รบั การสนบั สนุนจากชมุ ชน (๓) การมีส่วนร่วมในการพฒั นาชมุ ชน ๓.๑๖ งานกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (๑) การจดั ครูสอนแทน (๒) การจดั สอนซ่อมเสรมิ ๓.๑๗ การประเมนิ ผลการดาเนินงานฝา่ ยวิชาการ (๑) การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานวิชาการ (๒) การประเมินผลในดา้ นคุณภาพการจัดการเรยี นการสอน ๔. การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศึกษา ๔.๑ การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา (Curriculum Development) หมายถึง การจัดทา หลักสูตร การปรับปรุง การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้ดีขึ้น เพ่ือให้เหมาะกับความต้องการของบุคคล และ สภาพสังคม ๔.๒ สาเหตุท่ีทาใหม้ กี ารพัฒนาหลกั สตู ร การพัฒนาหลักสูตร มีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องพิจารณาถึงข้อมูลพ้ืนฐานในด้านต่างๆ เพ่ือให้ หลักสูตรที่สร้างขึ้นมานั้น สมบูรณ์ สามารถสนองความต้องการของบุคคล และสังคม พ้ืนฐานด้านต่างๆ ทีน่ กั พัฒนาหลักสตู รต้องนามาพจิ ารณานัน้ มหี ลายประการ ซ่งึ มีนักการศึกษาไดใ้ ห้ความคิดเห็นว่าพ้ืนฐานใน การพัฒนาหลักสตู รดา้ นต่างๆ ที่ควรนามาพจิ ารณาในการพฒั นาหลักสูตร มี ๕ ดา้ น ดงั น้ี (๑) พน้ื ฐานทางดา้ นปรชั ญาการศึกษา (๒) พ้ืนฐานทางด้านจิตวิทยา (๓) พ้ืนฐานทางดา้ นสังคมและวัฒนธรรม (๔) พ้ืนฐานทางด้านเศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง (๕) พื้นฐานทางดา้ นวทิ ยาการและเทคโนโลยี ๔.๓ กระบวนการพฒั นาหลักสูตร กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท่ีตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ตามความเชื่อท่ีว่าผู้เรียน มพี ้ืนฐานแตกตา่ งกัน โดยกาหนดกระบวนการพัฒนาหลกั สตู รไว้ ๗ ข้นั ตอน ดังน้ี (๑) วินิจฉัยความต้องการ สารวจสภาพปัญหา ความต้องการ และความจาเป็นต่างๆ ของสังคม และผเู้ รยี น (๒) กาหนดจุดมุ่งหมาย หลังจากได้วินิจฉัยความต้องการของสังคมและผู้เรียนแล้วจะ กาหนดจดุ มุ่งหมายท่ตี ้องการให้ชัดเจน (๓) คัดเลือกเนื้อหาสาระ จุดมุ่งหมายท่ีกาหนด แล้วจะช่วยในการเลือกเนื้อหาสาระให้ สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย วัย ความสามารถของผู้เรียน โดยเน้ือหาต้องมีความเชื่อถือได้ และสาคัญต่อการ เรียนรู้ ค่มู ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๑๘ (๔) จดั เนื้อหาสาระ เน้ือหาสาระท่ีเลือกได้ ยังต้องจัดโดยคานึงถึงความต่อเน่ือง และความ ยากง่ายของเนือ้ หา วุฒภิ าวะ ความสามารถ และความสนใจของผู้เรยี น (๕) คัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ ครูผู้สอนหรือผู้ที่เก่ียวข้องจะต้องคัดเลือกประสบการณ์ การเรยี นรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาวิชา และจุดม่งุ หมายของหลกั สูตร (๖) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ ประสบการณ์การเรียนรู้ควรจัดโดยคานึงถึงเน้ือหาสาระ และความต่อเนื่อง (๗) กาหนดส่ิงท่ีจะประเมินและวิธีการประเมินผล ตัดสินใจว่าจะต้องประเมินอะไร เพ่ือ ตรวจสอบผลว่าบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ และกาหนดด้วยว่าจะใช้วิธีประเมินผลอย่างไร ใช้ เคร่อื งมอื อะไร การพัฒนาหลักสูตรให้มีความครอบคลุมถึงการร่างหลักสูตรข้ึนมาใหม่ และการปรับปรุง หลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีข้ึนด้วย การใช้หลักสูตรและการประเมินหลักสูตรน้ัน เป็นกระบวนการอันหนึ่ง ของการพัฒนาหลกั สูตร โดยได้จัดลาดบั ข้ันตอนของการพฒั นาหลกั สูตรไวด้ งั น้ี คอื (๑) การวเิ คราะห์ข้อมูลพ้นื ฐาน (๒) การกาหนดจุดม่งุ หมาย (๓) การคัดเลือกและจัดเนอื้ หาสาระ (๔) การกาหนดมาตรการวัดและการประเมนิ ผล (๕) การนาหลักสตู รไปใช้ (๖) การประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตร (๗) การปรับปรงุ แก้ไขหลักสูตร ๕. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ๑) จดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วมตามสาระและหนว่ ยการเรียนรแู้ บบบูรณาการโดย (๑) วเิ คราะห์หลักสตู รและเน้ือหาสาระ (๒) มาตรฐานการเรียนรู้ (๓) ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง (๔) ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและจัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกบั ผเู้ รียน (๕) ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒) จัดกระบวนการเรียนรู้ให้ยืดหยุ่นตามความเหมาะสม โดยจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่มีความสามารถพิเศษ และผู้ที่มีความบกพร่อง หรือด้อยโอกาส โดยฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์การประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาในชีวิตประจาวัน การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและการปฏิบัติจริง สร้างสถานการณ์ ตวั อย่าง ๓) สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนรักการอา่ นและใฝร่ ู้อยา่ งต่อเน่ือง การผสมผสานความรตู้ า่ งๆ ให้สมดุลกัน ๔) ปลกู ฝงั ผเู้ รียนให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทดี่ ีงาม มีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์สอดคล้อง กบั เนอ้ื หาสาระกจิ กรรม ๕) จดั บรรยากาศ สง่ิ แวดล้อม แหลง่ เรียนรู้ใหเ้ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ๖) นาภูมิปัญูญาท้องถิ่นและประสานความร่วมมือเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่นเข้ามา มีสว่ นรว่ มในการจดั การเรยี นการสอนตามความเหมาะสม เพอื่ ร่วมกนั พฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพ คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๑๙ ๗) จัดให้มีการนิเทศการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ โดยเป็นการนิเทศท่ีร่วมมือ ชว่ ยเหลอื กันแบบกลั ยาณมิตร นิเทศแบบเพอ่ื นช่วยเพื่อน เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกันของบุคลากร ภายในสถานศกึ ษา ๘) สง่ เสริมใหใ้ ช้การวิจัยเป็นส่วนหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นรู้ (การวิจัยในชน้ั เรียน) ๙ ส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนา วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายและต่อเนื่อง เพอื่ พฒั นากระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม ๑๐) จัดกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ได้แก่ ๑๐.๑) จัดกจิ กรรมแนะแนว โดย (๑) จดั เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (๒) จัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ แบบบันทกึ และจัดทาส่ือ (๓) ใหค้ าปรึกษาการแก้ไขข้อบกพร่องและพัฒนาตนเอง (๔) ให้คาปรึกษาการศึกษาตอ่ และแนะนาอาชีพ ๑๐.๒) จัดกจิ กรรมนักเรยี น โดย (๑) สนบั สนนุ เก้ือกลู ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เช่น โครงงาน (๒) สง่ เสริมความถนดั ความสนใจ ความสามารถ ความตอ้ งการของผูเ้ รียน เช่น ชมุ นมุ ทาง วชิ าการ (๓) ส่งเสริมการทาประโยชนต์ ่อสังคม ตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรืองของพระพทุ ธศาสนา (๔) สง่ เสริมการทางานเป็นทมี ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและส่วนรวม (๕) จัดกิจกรรมการเรยี นร้แู ละจดั หาวสั ดอุ ุปกรณ์ (๖) จดั ทาแผนการจดั กจิ กรรม แบบบันทกึ รายงานผล ๕.๑ การออกแบบการเรียนรู้องิ มาตรฐาน การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐานน้ี เป็นขั้นตอนที่สาคัญท่ีสุดในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เพราะเป็นส่วนที่นามาตรการการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติในการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน อย่างแทจ้ ริง ผ้เู ขียนจะบรรลุมาตรฐานหรือไม่ อย่างไร ก็อยู่ท่ีข้ันตอน ดังน้ัน การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐานอย่างแท้จริงทุกองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ ต้องเช่ือมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ เเละตัวชี้วัดชั้นปี โดยครูต้องเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ว่าสิ่งที่ต้องการให้นักเรียนรู้ และปฏิบัติได้ ในมาตรฐาู นเเละตัวชี้วดั ช้ันปนี ั้นคืออะไร องค์ประกอบทส่ี าคญั ของหนว่ ยการเรยี นรอู้ งิ มาตรฐาน มี ๖ องค์ประกอบ ดังนี้ ๑) ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ๒) มาตรฐานการเรยี นรู้ ๓) สาระสาคัญของหนว่ ยการเรยี นรู้ ๔) ชิน้ งานหรือภาระงานทใี่ ห้นักเรียนปฏบิ ตั ิ ๕) กิจกรรมการเรยี นการสอน ๖) การวดั และประเมินผล คู่มือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๒๐ ๕.๒. กระบวนการจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้องิ มาตรฐาน การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานใช้หลักการของ Backward Design คือ เริ่มจาก การกาหนดมาตรฐานเป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ จากนั้นจึงกาหนดว่า ร่องรอยหลักฐานอะไรท่ีให้ นกั เรยี นไปปฏบิ ัติ แล้วสามารถสะท้อนความสามารถของผเู้ รียนตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานน้ันแล้วจึงวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้ องกับสิ่ งที่กาหนดให้นักเรียนปฏิบั ติการออกแบบถอยหลั งกลั บหรือ Backward Design ที่นามาใช้ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้องิ มาตรฐาน เป็นกระบวนการออกแบบที่ยึด เป้าหมายสุดท้ายของการเรียน คือมาตรฐานการเรียนรู้เป็นหลัก กระบวนการออกแบบวางแผนของ ครผู ู้สอนต้องเกย่ี วเน่ืองสัมพนั ธ์กนั ๓ ข้นั ตอนดงั นี้ ข้นั ตอนท่ี ๑ มาตรฐานการเรียนรตู้ อ้ งการใหน้ กั เรียนรอู้ ะไร และสามารถทาอะไรได้ ข้นั ตอนท่ี ๒ อะไรคือรอ่ งรอยหลกั ฐานท่แี สดงว่านกั เรยี นสามารถทาได้ตามทม่ี าตรฐานกาหนด ขัน้ ตอนท่ี ๓ จัดกิจกรรมอย่างไรจึงจะสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ที่ฝังแน่นตามที่มาตรฐาน กาหนดไว้ อย่างไรก็ตาม กระบวนการจัดทาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานมีความยืดหยุ่นสามารถเริ่มจาก การกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี และวิเคราะห์คาสาคัญในตัวช้ีวัดช้ันปีเพื่อกาหนดภาระ หลักแล้วกิจกรรมต่อไปหรืออาจเร่ิมจากประเด็นปัญหาสาคัญในท้องถิ่นหรือสิ่งท่ีนักเรียนสนใจแ ล้ว จงึ พิจารณาวา่ ประเด็นปัญหาดังกลา่ วเช่ือมโยงกบั มาตรฐานและตัวชี้วดั ชน้ั ปีขอ้ ใดดงั แนวทางต่อไปน้ี ๕.๓ ส่ิงสาคญั ของการจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้อิงมาตรฐาน มดี ังนี้ ๑) การจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ต้องนาพาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐาน และต้วช้ีวัด ชั้นปที ่ีระบไุ วใ้ นหนว่ ยการเรียนรู้นน้ั ๆ ๒) การวดั และประเมินผลช้นิ งานหรือภาระงานท่กี าหนดในหนว่ ยการเรียนรู้ ควรเปน็ การประเมิน การปฏิบัติ ๓) ชิ้นงานหรือภาระงานท่ีกาหนดให้นักเรียนปฏิบัติ ควรเชื่อมโยงมาตรฐานและตัวช้ีวัด ๒ – ๓ มาตรฐานตวั ช้วี ัด ๔) มีความยืดหยุ่นในกระบวนการและขั้นตอนการจัดทาหน่วยการเรียนรู้ เช่น อาจเริ่มต้นจาก การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เเละตัวชี้วัดช้ันปี หรืออาจเร่ิมจากความสนใจของนักเรียนหรือสภาพ ปัญหาของชุมชนกไ็ ด้ ๕.๔ กระบวนการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ ตามที่ได้นาเสนอแนวทางการจัดทาหน่วยการเรียนรู้ไว้ ๒ แนวทาง ในท่ีน้ีจะนาเสนอ เฉพาะแนวทาง การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรทู้ ีเ่ รม่ิ จากการกาหนดมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชี้วดั ชน้ั ปดี ังต่อไปน้ี ๕.๕ ข้ันระบุมาตรฐานและตวั ชีวดั ชั้นปี/ชว่ งชั้น ทุกหน่วยการเรียนรู้ต้องระบุมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดช้ันปีช่วงชั้นที่เป็นเป้าหมายในการ พัฒนานักเรียนสาหรับหน่วยการเรียนรู้น้ันๆ ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งแต่ละหน่วยงานอาจจะมีมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวช้ีวัดชั้นปี/ช่วงชั้นไว้มากกว่าหน่ึงมาตรฐานและมากกว่าหน่ึงตัวชี้วัดช้ันปี/ช่วงช้ัน แต่ก็ไม่ควร มากเกนิ ไป ซงึ่ อาจเปน็ มาตรฐานจากกลมุ่ สาระเดียวกัน หรือต่างกล่มุ สาระที่สอดคลอ้ งกนั ก็ได้ คมู่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๑ ๕.๖ ขน้ั กาหนดสาระสาคญั ในส่วนสาระสาคัญน้ีเป็นการกาหนดเน้ือหาและทักษะที่จะจัดการเรียนการสอนในหน่วยน้ันๆ สาระสาคัญได้จากการวิเคราะหต์ ัวชี้วัดชั้นปีว่าอะไร คือสิ่งที่นักเรียนต้องรู้และปฏิบัติได้ ที่ระบุอยู่ในตัวชี้วัด ชั้นปีของหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ หรือสาระสาคัญอาจนามาจากสาระการเรียนรู้แกนกลางของตัวช้ีวัดช้ันปี แตล่ ะตัวชีว้ ดั อาจมกี ารสอนหรอื ฝกึ ซา้ ได้ในหน่วยการเรียนรอู้ นื่ ๆ เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นไดเ้ รียนรตู้ ามความเหมาะสม ๕.๗ ขนั้ กาหนดชิ้นงานหรอื ภาระงานทน่ี กั เรียนปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงาน อาจเป็นสิ่งที่ครูกาหนดให้ หรือครูและนักเรียนร่วมกันกาหนดข้ึน เพ่ือให้ นักเรียนได้ลงมอื ปฏบิ ัติในแต่ละหน่วย ชนิ้ งานหรือภาระงานต้องแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการในการเรียนรู้ของ นักเรียน ได้ใช้ความรู้ที่ลึกซึ้ง ใช้ทักษะ/กระบวนการคิดชั้นสูง และเป็นร่องรอยหลักฐานแสดงว่ามีความรู้ เเละทกั ษะถึงตัวชี้วดั ชั้นปีทกี่ าหนดไว้ในหน่วยการเรยี นรู้นัน้ ตวั อย่าง ชน้ิ งานหรือภาระงาน ๑) งานเขยี น : เรียงความ จดหมาย โคลงกลอน การบรรยาย การเขยี นตอบ ฯลฯ ๒) ภาพ/แผนภูมิ : แผนผงั แผนภมู ิ ภาพวาด กราฟ ตาราง ฯลฯ ๓) การพดู /รายงานปากเปล่า : การอา่ น กลา่ วรายงาน โตว้ าที รอ้ งเพลง สัมภาษณ์ ฯลฯ ๔) ส่ิงประดษิ ฐ์ : งานประดิษฐ์ งานแสดงนิทรรศการ ห่นุ จาลอง ฯลฯ ๕) งานทมี่ ลี กั ษณะผสมผสานกนั : การทดลอง การสาธิต ละคร วดี ิทศั น์ ฯลฯ การกาหนดช้ินงานหรือภาระงานให้นักเรียนปฏิบัติต้องมีความสอดคล้องเหมาะสมสัมพันธ์กับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี และกิจกรรมที่กาหนดในหน่วยการเรียนรู้ช้ินงานหรือภาระงานหน่ึง ช้นิ เชอื่ มโยงสัมพันธก์ ับมาตรฐานเดยี วกนั หรอื หลายมาตรฐานในเวลาเดียวกนั ได้ ๕.๘ วิธกี ารเลือกชิ้นงานหรือภาระงาน ชิ้นงานหรอื ภาระงานที่จะเปน็ เครื่องพิสูจน์ว่านักเรียนบรรลุถึงมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดชั้น ปีนั้นพิจารณาไดจ้ าก ๑) ชิ้นงาน ภาระงานตามที่ระบุไวใ้ นมาตรฐานการเรยี นรหู้ รือตัวช้วี ัดช้ันปีน้นั (ถ้ามี) ๒) พิจารณาจากกิจกรรรมการเรียนรู้ในหน่วยว่านักเรียนต้องสร้างชิ้นงาน หรือปฏิบัติงานใดบ้าง ระหวา่ งการจดั กิจกรรมจึงจะพฒั นาถึงมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัดชนั้ ปีที่ตอ้ งการ ๓) ระดับความคิดกับเพื่อนครูหรือนักเรียน เพ่ือเลือกงานที่เหมาะสมให้นักเรียนปฏิบัติ เพื่อพัฒนา นักเรียนให้ได้มาตรฐานท่ีกาหนด ถ้าช้ินงานยังไม่ครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดช้ันปีที่กาหนดไว้ อาจเพ่มิ หรือปรับกจิ กรรมเพือ่ ให้ครอบคลมุ ๔) ขณะวางแผนกาหนดช้ินงานหรือภาระงาน ควรพิจารณาการพัฒนาสติปัญญาหลายๆ ด้านพร้อมๆ กัน (Multiple lntelligence) ครูอาจเลือกช้ินงานประเภทเรียงความการแสดงละคร หรือ บทบาทสมมติ การเคลื่อนไหวร่างกาย/มนุษยสัมพันธ์ ซ่ึงเป็นงานที่เหมาะสมกับสมณสารูปที่จะส่งเสริม ให้นักเรียนได้พัฒนาหลายๆ ด้าน และมีโอกาสได้เรียนรู้และปฏิบัติงานด้วยวิธีการที่เขาชอบ งานน้ันจึงจะ เกดิ ประโยชน์อย่างแท้จริง ๕) นาไปสู่การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) โดยบุคคลต่างๆ เช่น เพื่อน นักเรยี น ครู ผูป้ กครอง หรอื ประเมินตนเอง ใหท้ างเลือกในการปฏบิ ัติ หรือใช้วิธีปฏิบตั ไิ ด้หลากหลาย คมู่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๒ ๕.๙ ขนั้ การประเมนิ ผล ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แต่ละครง้ั ครูต้องกาหนดเกณฑ์การประเมนิ ผล ซึง่ ควรใหน้ ักเรียน มสี ว่ นรว่ มในการกาหนดด้วย และควรแจง้ ให้นักเรยี นทราบลว่ งหนา้ ถงึ วิธีการเเละเกณฑใ์ นการประเมนิ การประเมนิ ผลควรมลี ักษณะ ดงั น้ี ๑) มีเกณฑก์ ารประเมินที่เชื่อมโยงกับตัวช้วี ัดชน้ั ปที ่ีกาหนดในหน่วยการเรียนรู้ ๒) อธบิ ายลักษณะชิน้ งานหรือภาระงานที่คาดหวงั ได้อย่างชัดเจน ๓) รวมอยู่ในกระบวนการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนการสอนมีคาอธิบายคุณภาพงาน ทชี่ ัดเจนและบง่ บอกคุณภาพงานในแตล่ ะระดับ ๔) ใช้ผลการประเมินในการปรับปรุงการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับนักเรียนแต่ละคนแต่ละ กลมุ่ หรอื ทง้ั ชั้น ๕) แจ้งผลการประเมินเก่ียวกับการเรียนรู้และพัฒนาการของนักเรียน เพื่อเทียบเคียงไปสู่ มาตรฐาน ให้นักเรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชนทราบเปน็ ระยะ ๖) นาผลการประเมนิ เปน็ ข้อมลู ประกอบในการปรบั ปรุงหลักสูตร ๗) การประเมินผลงานท่ีได้รับให้นักเรียนปฏิบัติ และกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนทุกกิจกรรม ครูจะต้องกาหนดแนวการให้คะแนน เพ่ือตรวจสอบว่านักเรียนมีความรู้อะไร และทาอะไรได้บ้าง ตามท่ี มาตรฐานการเรยี นรู้กาหนดไว้แตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ ๖. การวดั ผล ประเมนิ ผล และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น ๖.๑ การกาหนดระเบียบวดั และประเมนิ ผล ร่วมเป็นคณะกรรมการจัดทาระเบียบวัดและประเมินผล โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายพิจารณา ยกรา่ งระเบยี บประเมินผลการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๑) ประชาพจิ ารณ์โดยผู้เก่ียวข้องทกุ ฝ่าย ๒) เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ ๓) ประกาศใชร้ ะเบยี บ ๔) ปรบั ปรงุ พัฒนา แกไ้ ขใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั เหตกุ ารณ์ทเ่ี ปลี่ยนแปลง ๖.๒ ภารกิจการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑) การประเมินผลการเรยี นรูต้ ามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๘ กลุม่ สาระ และสาระพระพุทธศาสนา (๑) ครูผู้สอนเป็นผู้ประเมินและตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา โดยประเมินตามผลการ เรยี นรู้ทค่ี าดหวัง (มาตรฐานชั้นป)ี (๒) ดาเนนิ การประเมนิ ผลก่อนเรยี น เพ่ือตรวจสอบ ปรับปรงุ พืน้ ฐานของผ้เู รียน (๓) ประเมินผลระหว่างเรยี น หลังการเรยี น และปลายปี เพ่อื นาผลไปตดั สนิ การผ่านผลการ เรียนรทู้ ค่ี าดหวงั และตัดสนิ ผลการเรยี นรายวิชา (๔) เลือกวิธีการประเมิน เคร่ืองมือการประเมินอย่างหลากหลาย เน้นการประเมินสภาพ จรงิ ครอบคลุมสาระและเหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องผ้เู รยี น (๕) ซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียนท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และ สง่ เสริมผเู้ รียนทีผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน ใหพ้ ัฒนาสงู สุดเต็มความสามารถ คมู่ อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๓ (๖) การตดั สินการผา่ นรายวิชาตามเกณฑก์ ารผ่านผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง (มาตรฐานช้ันปี) ท่ีกาหนด และประเมินให้ระดับผลการเรียนจากคะแนนการประเมินการผ่านผลการเรียนท่ีคาดหวังทุกข้อ ร่วมกนั (๗) จัดการเรียนซ่อมเสริม และเรียนซ้ารายวิชาท่ีไม่ผ่านการตัดสินผลการเรียน และให้ ประชุมพิจารณาให้ผเู้ รียนทีม่ ผี ลการเรียนทุกรายวิชามีระดบั การเรียนเฉลยี่ ไม่ถึง “๑” ใหเ้ รียนซ้าช้นั (๘) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาเปน็ ผอู้ นมุ ตั ผิ ลการประเมนิ และตัดสนิ ผลการเรียน ๒) การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น (๑) ครูผคู้ วบคมุ กิจกรรมเปน็ ผู้ประเมินและตัดสินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนเปน็ รายกิจกรรม (๒) ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน ๒ ด้าน คือ การผ่านจุดประสงค์ของกิจกรรม และ การมีส่วนรว่ มในกจิ กรรม โดยพิจารณาจากจานวนเวลาเรยี นทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม (๓) ตัดสินผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเป็น ๒ ระดับ คอื ผา่ นและไม่ผ่าน โดยผไู้ ดร้ ับการตัดสินให้ ผา่ นจะต้องผ่านเกณฑ์การประเมินท้งั ๒ ดา้ น (๔) ประเมินและตัดสินกิจกรรมการผ่านช่วงช้ันตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด (ผู้บริหาร สถานศกึ ษาเป็นผูอ้ นุมตั ิผลการประเมินและตัดสนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมพฒั นาผู้เรียน) ๓) การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (๑) ร่วมเป็นคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา จากผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย (๒) กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา (๓) กาหนดแนวทางการดาเนินการเป็นรายบุคคล โดยประเมินท้ังในห้องเรียนและนอก หอ้ งเรียน (๔) ดาเนนิ การประเมนิ และสรุปผลเปน็ รายปี (๕) การประเมินใหผ้ ู้เรยี นทราบและปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง (๖) ประเมนิ ผ่านชว่ งช้นั ตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากาหนด ๔) การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน (๑) รว่ มเปน็ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการกาหนดมาตรฐานเกณฑแ์ นว ทางการประเมินและการซ่อมเสริมผู้เรยี นทไ่ี มผ่ ่านการประเมนิ ผลช่วงชนั้ (๒) ประกาศแนวทางและวิธกี ารประเมนิ (๓) แตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมิน (๔) ดาเนินการประเมนิ ปลายปีและประเมินผา่ นชว่ งช้นั (๕) ผู้บรหิ ารอนมุ ตั ผิ ลการประเมิน ๕) การประเมนิ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั ชาติ (๑) เตรยี มตัวผูเ้ รยี นใหม้ ีความพร้อมทจ่ี ะรับการประเมนิ (๒) เตรียมตัวบคุ ลากร สถานท่ี และอานวยความสะดวกในการรบั การประเมิน (๓) สรา้ งความตระหนัก ความเข้าใจ และความสาคัญแก่ครแู ละผเู้ รียน (๔) นาผลการประเมินมาพัฒนา ปรับปรงุ คณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๔ ๖.๓ การพฒั นาเคร่ืองมือวัดและประเมินผล ๑) เข้ารับการอบรมพฒั นาการจัดสร้างเครื่องมือวดั และประเมินผล เพอ่ื ใหค้ รูไดม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ๒) จดั สรา้ งเคร่ืองมอื วัดและประเมินผลใหส้ อดคล้องกบั ผลการเรียนทคี่ าดหวัง (มาตรฐาน ช้นั ป)ี สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และสภาพผ้เู รียน ๓) นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการสรา้ งเคร่ืองมือ และใช้เป็นเคร่อื งมือวดั ผลและ ประเมนิ ผล ๔) พัฒนา ปรับปรุงให้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน ๖.๔ งานทะเบยี น ๑) ดาเนินการลงทะเบียน กรอกข้อมลู ประวัตขิ องนกั เรียนในทะเบียนตามระเบียบ ๒) ออกเลขประจาตวั ให้กบั นักเรยี นใหม่ทุกคน ๓) รับมอบตัวนักเรียนและดาเนินงานเร่ืองการย้ายเข้าและย้ายออกของนักเรียนในช่วง ระหว่างปีการศกึ ษา ๔) สารวจรายชือ่ นักเรียนทุกระดับชนั้ และจดั ทารายชอ่ื ใหถ้ ูกต้องและเป็นปัจจบุ นั ๕) การจดั ทารายงานขอ้ มูลสถติ เิ กีย่ วกับจานวนนกั เรียน ๖) ประสานงานกับกล่มุ ทด่ี แู ลนักเรียนเพอ่ื แจง้ การเปลย่ี นแปลงรายช่ือ/จานวนนกั เรียน ๗) ดาเนนิ การดา้ นการยา้ ย ลาออก การเปลยี่ นแปลงทะเบียนนกั เรียน ๘) งานเกี่ยวกับการจดั ทา ขออนมุ ตั ิ และรายงานผลการเรยี นของนกั เรียน ๙) งานเก่ียวข้องกับการจัดทา และบริการเอกสาร หลักฐานทางการเรียนของนักเรียน เช่น รบ.ต่าง ๆ หลักฐานผลการเรียน ประกาศนียบัตร รวมทั้งหนังสือรับรองผลการเรียนทุก ประเภท ๑๐)ตรวจสอบความผูกพนั ของนกั เรียนต่อฝา่ ยหมวดงานอนื่ ๆ ก่อนออกหลักฐานทางการเรียน ให้ ๑๑)งานเก็บรักษาและรวบรวมสถิติข้อมูลผลการเรียนของนักเรียน รวมท้ังเผยแพร่และ รายงานผเู้ กี่ยวข้องทราบ ๑๒)เก็บรวบรวมข้อมูลสาหรบั โปรแกรม OBEC ๑๓)งานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ๖.๕ การเทียบโอนผลการเรียน ๑) ประสานการจัดการวัดผลประเมินผลระดับสถานศกึ ษา (๑) แตง่ ต้งั คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรียน จดั ทามาตรฐาน กรอบและเกณฑ์การ ประเมิน เพ่ือการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษา (๒) จัดทาแผนการวดั ผลและประเมินผล สร้างเครือ่ งมือแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆในการดาเนินการ เทียบโอน (๓) จัดและดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน (๔) ประกาศผลการเทียบโอนผลการเรียน คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๕ ๒) เทียบโอนผลการเรียนจากการย้ายท่เี รียนจากสถานประกอบการ จากพ้ืนฐานการประกอบอาชีพ (๑) พิจารณาหลกั ฐานการศึกษาแสดงถงึ ความรคู้ วามสามารถของผูเ้ รียน (๒) พิจารณาจากความรู้และประสบการณต์ รงจากการปฏบิ ัติจรงิ โดยการทดสอบ (๓) จัดทาทะเบียนขอเทียบโอน ระเบียนผลการเรียน และออกหลักฐานการเรียน/การเทียบ โอน ๖.๖ การตดั สินและอนมุ ตั ผิ ลการเรยี นผ่านชว่ งชัน้ ๑) นายทะเบียนของสถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียนที่มีคุณสมบัติครบถ้วน ตามเกณฑ์การจบชว่ งชัน้ ของสถานศึกษา ๒) จัดทาบัญชีรายชอ่ื ผู้เรียนท่ีจบช่วงชน้ั พร้อมตรวจทานความถูกต้องไม่ให้มขี ้อผดิ พลาดใด ๆ ทง้ั ส้ิน ๓) เสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการ เพื่อใหเ้ ห็นชอบ ๔) ผู้บริหารสถานศึกษาออกคาส่ังแต่งต้ังผู้จัดทาเอกสารรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.๓) ประกอบดว้ ย ผู้เขยี น ผู้ทาน ผู้ตรวจ และมีนายทะเบยี นเป็นหวั หนา้ ๕) ผบู้ รหิ ารอนุมัตผิ ลการเรียน โดยลงนามในเอกสารรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา ๖) จัดสง่ เอกสารให้หน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ ง ๖.๗ การออกหลักฐานแสดงผลการจบการศึกษา การจดั ทาเอกสารประเมนิ ผลตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน - ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.๑) - หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ปพ.๒) - แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.๓) - แบบแสดงผลการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.๔) - เอกสารบันทึกผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น (ปพ.๕) - เอกสารรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนรายบุคคล (ปพ.๖) - ใบรบั รองผลการศึกษา (ปพ.๗) - เอกสารระเบียนสะสม (ปพ.๘) - สมดุ บนั ทึกผลการเรยี นรู้ (ปพ.๙) ก. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาควบคมุ และบังคับแบบ เป็นเอกสารสาคัญทางการศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดทาข้ึน เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการให้การรับรอง ผลการเรียนและวุฒิการศึกษาของผู้เรียน ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้รับศักดิ์และสิทธ์ิตามวุฒิการศึกษา ท่ีได้รับการรับรองนั้นตลอดชีวิต ในขณะเดียวกันเอกสารท่ีจัดทาข้ึนนี้จะใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ รับรอง และยืนยันวุฒิการศึกษาของผู้เรียนตลอดไป สถานศึกษาจึงต้องดาเนินการจัดทาโดยใช้แบบพิมพ์ วิธีการจัดทา การควบคุม การตรวจสอบรับรองเอกสารเป็นไปอย่างมีเอกภาพและมีมาตรฐานในการ ดาเนนิ การอยา่ งเดียวกัน เอกสารหลกั ฐานการศึกษาควบคมุ และบังคับ มีดังนี้ ๑) ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) ปพ.๑ เป็นเอกสารบันทึกผลการเรียนของผู้เรียน ตามสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาและกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีได้เรียนในแต่ละช่วงชั้นของหลักสูตรการศึกษาข้ัน พื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสาเร็จ ในการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคนและ คู่มือปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๖ ใช้เป็นหลักฐานในการสมัครเขา้ ศึกษาตอ่ สมคั รเข้าทางาน หรือดาเนินการในเรื่องอื่นที่เก่ียวข้อง ข้อกาหนด ของเอกสาร มีดังน้ี (๑) สถานศึกษาจะต้องจัดทาระเบียนแสดงผลการเรียนของผู้เรียนโดยใช้แบบพิมพ์ ท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนดเทา่ น้ัน ซงึ่ จัดซ้ือได้จากหน่วยงานที่กระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายใหจ้ ัดพิมพจ์ าหนา่ ย เพื่อให้ใช้เป็นแบบเดียวกัน และเกิดความสะดวกในการ ตรวจสอบขอ้ มลู และส่งต่อ เอกสารระหว่างสถานศึกษาและหนว่ ยงานต่าง ๆ (๒) สถานศึกษาจะตอ้ งจดั ทาตน้ ฉบับระเบียนแสดงผลการเรียนของผู้เรียนทุกคนเก็บรักษา ไว้ตลอดไป และระมัดระวังดูแลรักษาไม่ให้ชารุดเสียหาย หรือมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ขอ้ มลู ไดเ้ ป็นอันขาด เพ่อื ความสะดวกในการค้นหาข้อมูล สถานศึกษาอาจเก็บข้อมูลใน เอกสารนี้ไวใ้ นรูปของ CD-ROM หรือเทคโนโลยีอนื่ ใดอกี ทางหนึง่ กไ็ ด้ (๓) เมอื่ ผ้เู รยี นสาเรจ็ การศึกษาแต่ละช่วงสถานศึกษา ต้องจัดทาระเบียนแสดงผลการเรียน ให้แก่ผู้เรียนทกุ คน โดยดาเนนิ การจดั ทาตามท่คี าสง่ั กาหนด (๔) กรณีผู้เรียนย้ายสถานศึกษาสถานศึกษาจะต้องจัดทาทะเบียนแสดงผลการเรียนของ นักเรียนในช่วงชั้นที่กาลังศึกษาอยู่กรอกข้อมูลที่เป็นปัจจุบันให้ถูกต้องสมบูรณ์ ให้ผเู้ รยี นนาไปเป็นหลักฐานการสมัครเข้าเรียนท่ีสถานศึกษาใหม่ ให้สถานศึกษาใหม่ท่ี รับผู้เรียนไว้จัดทาต้นฉบับระเบียนแสดงผลการเรียนของนักเรียน สาหรับผู้เรียนใหม่ โอนผลการเรียนและใชเ้ อกสารท่ีจดั ทาใหใ้ หม่ บันทกึ ผลการเรียนของผเู้ รียนต่อไป ส่วน ตน้ ฉบับจากสถานศึกษาเดิมให้ถ่ายเอกสารเก็บไว้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบควบคู่ กับเอกสารท่ีจัดทาข้นึ ใหม่ (๕) กรณีผู้เรียนรับระเบียนแสดงผลการเรียนของนักเรียนของตนไปแล้วเกิดการชารุด สูญหาย ถ้าผู้เรียนต้องการเอกสารฉบับใหม่ ให้สถานศึกษาออกเอกสารฉบับใหม่แก่ ผเู้ รยี น โดยคัดลอกจากต้นฉบับเอกสารท่ีเก็บรักษาไว้ โดยหัวหน้าสถานศึกษาและนาย ทะเบยี นท่ปี ฏบิ ัตหิ น้าที่ในขณะนน้ั เปน็ ผู้ลงนาม (๖) กรณีผู้เรียนต้องการระเบียนแสดงผลการเรียนเป็นภาษาอังกฤษให้ออกเอกสารตาม ขอ้ มูลเดิมของต้นฉบับเอกสารดว้ ยภาษาอังกฤษ (๗) กรณีต้นฉบบั เอกสารเกิดการสูญหายใหแ้ จ้งยกเลกิ การใชเ้ อกสาร ๒) หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ปพ.๒) หรือ ประกาศนียบัตรเป็นเอกสารที่สถานศึกษาออก ให้กับผู้สาเร็จการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี และผู้สาเร็จการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือแสดงศักด์ิและสิทธ์ิของ ผ้สู าเร็จการศึกษา และรับรองวฒุ ิการศึกษาของผ้เู รียนใหผ้ ้เู รยี นนาไปใชเ้ ปน็ หลกั ฐานแสดงวฒุ ิการศึกษาของ ตน ข้อกาหนดของเอกสาร มีดังนี้ (๑) เปน็ เอกสารแสดงวฒุ ิการศึกษาของผสู้ าเร็จการศึกษาเป็นรายบุคคล (๒) เป็นเอกสารท่ีออกให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษา โดยสมบูรณ์ ดังนี้ผู้สาเร็จการศึกษา ภาคบงั คบั ๙ ปี (ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓) (๓) กระทรวงศึกษาธกิ ารเป็นผูก้ าหนดรูปแบบเอกสาร ใบแทนเอกสาร และใบแปลเอกสาร เพื่อให้สถานศึกษานาไปใช้ออกให้แก่ผู้เรียนที่จบการศึกษา โดยสถานศึกษาเป็นผู้ ควบคุมการจดั ทาการเกบ็ รกั ษาและการออกเอกสารทัง้ การออกใบแทนเอง (๔) กรณผี ูเ้ รียนรบั เอกสารไปแล้วถ้าผู้เรียนมีความประสงค์ขอรับเอกสารนี้ใหม่สถานศึกษา จะต้องออกเป็นใบแทนให้ โดยใบแทนจะมีลักษณะแตกต่างจากเอกสารจริงตาม รูปแบบท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด คู่มือปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๒๗ (๕) สถานศึกษาจะต้องเก็บรักษาและควบคุมแบบพิมพ์ของเอกสารให้ปลอดภัยอย่าให้ ชารุดสญู หายหรือมีผนู้ าไปใชใ้ นทางมชิ อบเป็นอนั ขาด ๓) แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เป็นแบบบันทึกรายงานรายช่ือและข้อมูลของ ผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบยืนยัน และ รับรองความสาเร็จ และวุฒิการศึกษาของผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละคนต่อเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ กระทรวงศึกษาธิการ ขอ้ กาหนดของเอกสาร มดี ังน้ี (๑) เอกสารสาหรับบันทึกรายงานรายชื่อและข้อมูลผู้สาเร็จหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน แต่ละช่วงชั้น ได้แก่ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ สาหรับหลักสูตร การศกึ ษา ๙ ปี (ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓) (๒) ใหส้ ถานศึกษาใช้แบบพิมพเ์ อกสารตามรูปแบบท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด (๓) ให้สถานศึกษาจัดทาเอกสารนี้สาหรับช่วงช้ันที่ ๑ และช่วงช้ันท่ี ๒ จานวน ๑ ชุด เก็บรักษาไว้ที่สถานศึกษา สาหรับช่วงชั้นท่ี ๓ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ให้สถานศึกษา จัดทาเอกสารน้ี จานวน ๓ ชุด เก็บรักษาไว้ที่สถานศึกษา ๑ ชุด ท่ีสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษา ๑ ชุดและกระทรวงศึกษาธิการ อีก ๑ ชุด ท่ีเก็บรักษาที่กระทรวงศึกษาธิการ ถือเป็นเอกสารตน้ ฉบับ (๔) สถานศกึ ษาและหน่วยงานที่เกบ็ รักษาเอกสารนจี้ ะต้องดูแลรักษาเอกสารนี้อย่าให้ชารุด สูญหาย หรือข้อมูลถูกเปล่ียนแปลงแก้ไขเป็นอันขาด และต้องเก็บรักษาไว้ในสถานที่มี ความปลอดภัยไว้ตลอดไปเพื่อความสะดวกในการค้นหาข้อมูล สถานศึกษาอาจเก็บ ขอ้ มลู ในเอกสารน้ไี ว้ในรปู ของ CD-ROM หรือเทคโนโลยอี ื่นใดอีกทางหนง่ึ กไ็ ด้ (๕) สถานศึกษาจะต้องจัดทาส่งเอกสารท่ีจัดทาเรียบร้อยแล้วไปให้หน่วยงานท่ีกาหนด ภายในเวลา ๓๐ วนั หลงั จากผู้เรยี นได้รับการอนุมัตใิ ห้สาเรจ็ การศึกษา ข. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่ีสถานศึกษาดาเนนิ การเอง เป็นเอกสารหลักฐานทางการศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดทาข้ึน เพื่อใช้สาหรับบันทึกตรวจสอบรายงาน และรับรองข้อมูลผลการดาเนินการพัฒนาผู้เรียนตามภารกิจในการประเมินผลการเรียนของสถานศึ กษาใน ลักษณะต่าง ๆ ดังนั้น เพ่ือให้การจัดทาเอกสารของสถานศึกษามีความสอดคล้องกับแนวปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ ซ่ึงแต่ละสถานศึกษาได้กาหนดไว้ทาให้เกิดความคล่องตัวและประสิทธิภาพในการดาเนินการของ สถานศึกษา จึงให้แต่ละสถานศึกษาสามารถดาเนินการออกแบบจัดทาและควบคุมการใช้เอกสารหลักฐาน การศึกษาส่วนหน่ึงได้เอง เอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีสถานศึกษาสามารถดาเนินการเองที่กาหนดใน แนวปฏิบตั ิในการวดั และประเมินผลการเรียน มีดังน้ี ๑) แบบแสดงผลการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.๔) เป็นเอกสารรายงานพัฒนาการ ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์อื่นท่ี สถานศึกษากาหนดข้ึน เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นพิเศษเพ่ือการแก้ปัญหาหรือสร้างเอกลักษณ์ให้ผู้เรียนตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน เป็นการรายงานผลการประเมินท่ีแสดงถึงสภาพหรือระดับคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในแต่ละช่วงชั้นสถานศึกษาจะต้องจัดทาเอกสารน้ีให้ ผเู้ รยี นทกุ ๆ คน ควบคูก่ ับระเบยี นแสดงผลการเรียน เพื่อนาไปใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณลักษณะของผู้เรียน เพอื่ ประกอบในการสมคั รเข้าศึกษาต่อหรือสมัครทางาน ขอ้ กาหนดของเอกสาร มีดงั น้ี คูม่ ือปฏิบัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๒๘ (๑) เป็นเอกสารแสดงพัฒนาการ หรือสภาพของคุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละประการ ของผู้เรยี นในแต่ละชว่ งชน้ั (๒) ขอ้ มลู ท่ีจะบันทึกในเอกสารสถานศกึ ษา สามารถกาหนดตามความเหมาะสม ดังนี้ - เลขท่เี อกสาร - ชือ่ สถานศกึ ษา - ชว่ งชนั้ ท่ีเรียน - ชอ่ื -สกุลและข้อมูลส่วนตวั ของผ้เู รยี น - รายการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์อ่ืน ๆ - ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคแ์ ต่ละประการ - รูปถ่ายของผเู้ รียน - ลายมือชื่อของผู้จดั ทาเอกสาร - ลายมอื ชอื่ ของหัวหนา้ สถานศึกษาและประทับตราสถานศึกษา - วัน เดอื น ปที ่ีออกเอกสาร (๓) สถานศกึ ษาเปน็ ผอู้ อกแบบและจดั ทาเอกสารให้มีความสวยงามและคงทนถาวร สามารถเกบ็ รักษาไว้ไดต้ ลอดไป (๔) สถานศกึ ษาจะต้องออกเอกสารน้ีใหก้ ับผสู้ าเรจ็ การศึกษาแต่ละชว่ งชน้ั ใหส้ อดคลอ้ งกับ เกณฑ์การผ่านช่วงชน้ั ตา่ ง ๆ และต้องจดั ทาสาเนาเอกสารที่ออกให้กบั ผูส้ าเร็จการศึกษาเกบ็ รักษาตลอดไปด้วย (๕) กรณีผู้เรยี นรับเอกสารนี้ไปแล้วถ้ามีความประสงคจ์ ะรับเอกสารนีใ้ หมส่ ถานศึกษา จะตอ้ งออกเปน็ ใบแทนให้ โดยใบแทนจะมีลกั ษณะแตกต่างจากเอกสารจริงตามลักษณะที่สถานศึกษา กาหนด และจะมีข้อมลู เพิ่มเติมจากเอกสารจริง คือ - อ้างเลขท่ขี องเอกสารจรงิ ทเ่ี คยออกใหไ้ ปแลว้ - สาเหตุของการออกเอกสารใบแทน (๖) สถานศึกษาจะต้องเก็บรักษาต้นฉบับเอกสาร และควบคุมแบบฟอร์มของเอกสาร ให้ปลอดภัยอย่าให้สูญหาย มีการเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อมูล หรือมีผู้ใดนาไปใช้ในทางมิชอบเป็นอันขาด ให้ผู้เรียนเก็บรักษาเอกสารนี้ไว้เป็นหลักฐานจากการศึกษาเช่นเดียวกับระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ. ๑) เพราะจะต้องนาไปแสดงเพ่อื การสมัครเข้าศึกษาต่อหรือสมัครงานควบค่กู ัน ๒) เอกสารบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (ปพ.๕) เป็นเอกสารสาหรับผู้สอนใช้บันทึก เวลาเรียน ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียนและข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนแต่ละคนท่ีเรียนในห้องหรือกลุ่มเดียวกันเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริม และตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน รวมทั้งใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน สภาพการเรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนแต่ละคน ซ่ึงข้อกาหนดของ เอกสาร คือ ใช้บันทึกเวลาเรียน ข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียน และข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรียนทั้งหอ้ งหรือกล่มุ ทเ่ี รยี นรว่ มกัน โดยบนั ทกึ เป็นรายบุคคล ขอ้ มูลทีจ่ ะบนั ทกึ ในเอกสารสถานศกึ ษา สามารถพจิ ารณากาหนดได้ตามความเหมาะสม - ข้อมลู ของสถานศึกษา - ชอื่ -สกลุ ผสู้ อนหรอื ทป่ี รึกษา คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๙ - ช่ือ-สกุลและเลขประจาตัวประชาชนของผู้เรียนทุกคนท่ีเรียนในห้องหรือกลุ่มท่ี เรยี นร่วมกนั - กาหนดลักษณะการใช้เวลาในการเข้าเรียนหรือร่วมกิจกรรมการเรียน ผู้เรียน ในช่วงเวลาที่สถานศึกษากาหนดให้เป็นเวลาเรียน จาแนกเป็นเวลามา มาสาย ปว่ ย ลา ขาด - สรปุ รวมเวลาเรียนของผู้เรียนแตล่ ะคน - เวลาเรยี นของแต่ละคนคดิ เป็นรอ้ ยละของเวลาเรยี นเตม็ - รายการผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวังรายปี (ของรายวิชาที่ใชเ้ อกสาร) - ระดับผลการเรยี น - เกณฑ์การประเมินให้ระดบั ผลการเรยี น - รายการคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องสถานศึกษา - เกณฑห์ รือข้อบ่งชใี้ นการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา - ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศกึ ษา - ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนของผเู้ รยี น ลักษณะการบันทึกข้อมลู (๑) การบันทึกเวลาเรียนตามลักษณะเวลาเรียนของแต่ละวิชา โดยบันทึกเวลาเรียนของผู้เรียน ท้งั ห้องหรือกลมุ่ ตลอดการเรียนในแตล่ ะรายวิชา (๒) การบันทึกข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนให้บันทึกคะแนนและข้อมูลการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนเปน็ รายวิชา โดยบันทึกข้อมูลของทุกคนในห้องหรือกลุ่มเดียวกันจากผู้ประเมินทุกฝ่าย ไวใ้ นเอกสารเลม่ เดยี วกันให้เสร็จสมบรู ณแ์ ต่ละรายวชิ า (๓) การบันทึกผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้บันทึกผลการประเมินผู้เรียนทุกคนใน ห้องหรือกลุ่มเดียวกันจากผู้ประเมินทุกฝ่ายไว้ในเอกสารเล่มเดียวกัน โดยอาจารย์ท่ีปรึกษาเป็นผู้บันทึกผล การประเมิน อาจบันทึกเป็นคะแนนที่ได้จากเครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินแต่ละประเภทหรือบันทึกเป็น เสน้ พฒั นาการ (Profile) หรอื คาบรรยายคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ตล่ ะประการได้ (๔) การบันทึกผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ให้บันทึกผล การประเมินผู้เรียนทุกคนในห้อง หรือกลุ่มเดียวกันจากผู้ประเมินท่ีสถานศึกษากาหนดไว้ในเอกสารเล่ม เดยี วกนั โดยอาจารยท์ ี่ปรึกษาเป็นผ้บู นั ทกึ (๕) การออกแบบและจัดทาเอกสารสถานศึกษาเป็นผู้ออกแบบจัดทาเอกสาร โดยคานึงถึงความ ถูกต้องครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล ความสะดวกชัดเจนในการบันทึกข้อมูลการนาเอกสารไปใช้เป็นสาคัญ สถานศึกษาอาจออกแบบให้บันทึกข้อมูลในข้อ ๑) ๒) และ ๓) ไวใ้ นเล่มเดียวกันหรอื แยกกันกไ็ ด้ (๖) กรณีผู้เรียนย้ายสถานศึกษาระหว่างปี (สาหรับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓, ๔-๖ และ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓) ให้สถานศึกษาจัดทาใบแจ้งจานวนเวลาเรียน ข้อมูลผลการเรียนผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และผลการประเมินความสามารถการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียนของผู้เรียนในปี หรือภาคเรียนที่กาลังเรียน โดยคัดลอกจากเอกสารนี้ให้ผู้เรียนนาไปให้สถานศึกษาที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อ ใช้เป็นข้อมลู สาหรับรวมกับข้อมลู ท่จี ะเกิดขนึ้ ในสถานศึกษาใหม่เป็นขอ้ มูลผลการพัฒนาของผเู้ รียนต่อไป (๗) แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เมื่อใช้กรอกข้อมูลแล้ว สถานศึกษาควรเก็บข้อมูลไว้ เปน็ หลักฐานสาหรับตรวจสอบเป็นเวลาอยา่ งนอ้ ย ๓ ปี คูม่ ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๐ ๓) เอกสารรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ.๖) เป็นเอกสารสาหรับบันทึก ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับผลการเรียน พัฒนาการในด้านต่าง ๆ และข้อมูลอ่ืน ๆ ของผู้เรียน ท้ังที่สถานศึกษาและที่ บา้ นเพือ่ ใชส้ าหรบั ส่ือสารระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครองของผู้เรียนให้รับทราบและเกิดความเข้าใจในตัว ผู้เรยี นร่วมกัน ขอ้ กาหนดของเอกสาร มดี ังน้ี (๑) เป็นเอกสารสาหรบั บนั ทึกข้อมลู เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล (๒) ข้อมูลท่ีบันทึกในเอกสารสถานศึกษาสามารถพิจารณากาหนดตามความเหมาะสม ข้อมลู สว่ นตัวของผูเ้ รียนและเลขประจาตัวประชาชนของผเู้ รยี น - เวลาเรียน - การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นและการตัดสินผลการเรยี น - ผลงานหรือความสาเรจ็ ทน่ี า่ ภาคภมู ใิ จ (เปน็ การนารายชื่อผลงานดีเดน่ ของผ้เู รียน ท้งั ที่เกิดจากการเรยี นโดยตรง และเกิดจากการดาเนินงานส่วนตวั มาบนั ทึกไวป้ ลี ะ ๑-๒ ชิ้น โดยผเู้ รียนเปน็ ผกู้ รอกแลว้ ให้ผปู้ กครองและสถานศึกษารว่ มกนั รับรอง และแสดงความคดิ เห็นต่อผลงานแต่ละชนิ้ )ความเห็นชอบของสถานศึกษาและ ผู้ปกครองท่มี ีต่อผเู้ รยี นเกีย่ วกับผลการเรียน - รายการคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา - ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงคแ์ ต่ละประการ อาจรายงานผลการ ประเมิน - เป็นเสน้ พฒั นาการ (Profile) หรือคาบรรยายสรปุ สภาพของคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคก์ ็ได้ - รายการกจิ กรรมและผลการประเมนิ กิจกรรม - ผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น - รปู ถ่ายของผเู้ รียน - ลายมือชือ่ ของผจู้ ัดทาเอกสาร - ลายมอื ชอ่ื ของหวั หน้าสถานศึกษาและประทบั ตราสถานศึกษา - วัน เดือน ปที ีร่ ายงานข้อมูล - ข้อมลู ทสี่ ถานศึกษาเหน็ สมควรนามาบันทกึ ไว้ (๓) สถานศึกษาเปน็ ผอู้ อกแบบจดั ทาเอกสารนใ้ี ช้เองใหเ้ หมาะสมกับสถานศึกษาของตน (๔) สถานศกึ ษาจะต้องบนั ทึกข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นปจั จบุ ันและส่งเอกสารนใ้ี ห้ผู้ปกครองของ ผเู้ รียนอย่างต่อเน่อื ง เมื่อมกี ารบันทึกข้อมูลใหม่ ๆ ไม่ควรน้อยกว่าภาคเรยี นละ ๒ ครัง้ (๕) กรณีผูเ้ รยี นยา้ ยสถานศึกษาให้ผเู้ รยี นนาเอกสารรายงานผลการพฒั นาผเู้ รียนรายบุคคล ฉบับทก่ี าลงั ใชอ้ ยู่ไปให้สถานศึกษาแหง่ ใหม่ เพ่ือใช้ดุลพินจิ วา่ จะใช้เอกสารฉบับเดิมตอ่ ไปหรอื จัดทาเอกสาร ใหม่ ถ้าสถานศกึ ษาแห่งใหมจ่ ะทาเอกสารใหม่ เมอ่ื คัดลอกข้อมลู จากเอกสารเดิมลงในเอกสารใหม่แลว้ ให้คนื เอกสารเดิมแกผ่ ้เู รยี นนาไปเก็บรักษาไว้ (๖) ใหผ้ ูเ้ รยี นเก็บสะสมเอกสารนี้ไว้ใหค้ รบถว้ นตลอดเวลา การศกึ ษาตามหลักสูตร การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานท้ัง ๑๒ ปี โดยเก็บรวมไวก้ บั ระเบยี นสะสม (ปพ.๘) คูม่ ือปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๑ ๔) ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.๗) เป็นเอกสารที่สถานศึกษาออกให้ผู้เรียนเป็นการเฉพาะกิจ เพ่ือรบั รองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นการชั่วคราว ทั้งในกรณีผู้เรียนยังไม่สาเร็จการศึกษาและ สาเรจ็ การศึกษาแล้ว ขอ้ กาหนดของเอกสาร มดี งั น้ี (๑) เป็นเอกสารรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นการชั่วคราวสถานศึกษา ออกให้แก่ผู้เรียน เพ่ือนาไปใช้แทนระเบียนแสดงผลการเรียน แบบแสดงพัฒนาการคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ หรือหลกั ฐานแสดงวฒุ ทิ างการศกึ ษาในการสมคั รสอบสมคั รงานหรือศึกษาต่อ (๒) เป็นเอกสารทส่ี ถานศกึ ษาออกให้กับผู้เรียนทุกระดับช้ัน (๓) ข้อมูลที่จะบันทึกในเอกสารสถานศึกษา สามารถพิจารณากาหนดได้ตามความ เหมาะสม - ชื่อสถานศึกษาและสถานที่ตง้ั - ชือ่ -สกุลผู้เรียน เลขประจาตวั นักเรียนและเลขประจาตัวประชาชน - สถานภาพทางการศึกษาของผ้เู รยี นที่สถานศกึ ษาให้การรับรอง - วนั เดือน ปที ี่ออกเอกสาร - รูปถา่ ยของผ้เู รียน - ลายมือชอ่ื ผจู้ ดั ทาเอกสาร - ลายมือช่ือผู้บรหิ ารสถานศึกษา (๔) สถานศึกษาเปน็ ผู้ออกแบบจัดทาและควบคมุ การออกเอกสารเอง (๕) ใบรับรองผลการเรียนมีช่วงเวลารับรอง ๑๒๐ วัน ๕) เอกสารระเบียนสะสม (ปพ.๘) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการและ ผลงานด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน ท้ังที่สถานศึกษาและท่ีบ้าน เพ่ือประโยชน์ในการแนะแนวผู้เรียนในทุก ๆ ด้าน ข้อกาหนดของเอกสาร มีดังน้ี ๑) รายการสาหรบั บนั ทกึ ขอ้ มูลเก่ียวกบั พฒั นาการของผเู้ รยี นในดา้ นต่าง ๆ เปน็ รายบุคคล ๒) สถานศึกษาเป็นผู้ออกแบบจัดทาเอกสารให้เหมาะสมกับสถานศึกษาของตนและให้มี ความคงทนสามารถเก็บรกั ษาและใช้ต่อเน่ืองได้ตลอด ๑๒ ปี ๓) เป็นเอกสารท่ีผู้เรียนใช้ต่อเน่ืองกันได้ตลอด ๑๒ ปี ท้ังกรณีศึกษาในสถานศึกษา เดียวกันหรือย้ายสถานศกึ ษาหรอื เปล่ียนรูปแบบการศกึ ษา ๖) สมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาจัดทาขึ้น เพื่อบันทึกรายการ รายวิชาต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนจะต้องเรียนในแต่ละช่วงชั้น ตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา พร้อมด้วยผล การประเมินผลการเรียนของแต่ละรายวิชา เป็นเอกสารที่สถานศึกษาออกให้ผู้เรียน สาหรับใช้ศึกษาและ นาไปแสดงให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ีสนใจได้ทราบโครงสร้างหลักสูตรและรายละเอียดของรายวิชาต่าง ๆ ของสถานศึกษา พร้อมด้วยผลการเรียนของผู้เรียนจากการเรียนแต่ละรายวิชา กรณีท่ีผู้เรียนย้าย สถานศกึ ษา ขอ้ มูลในสมุดบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้จะเปน็ ประโยชน์ในการนาไปใช้เป็นข้อมูลในการเทียบโอนผล การเรียน จากสถานศึกษาเดิมไปเป็นผลการเรียนตามหลักสูตรของสถานศกึ ษาใหม่ คูม่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๒ (๑) การจัดทาสมุดบันทึกผลการเรยี นรู้ (ปพ.๙) สถานศึกษาต้องจัดทาสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) โดยสถานศึกษาดาเนินการ ออกแบบและจดั ทาแบบพิมพ์ของเอกสารเอง ควรออกแบบให้มีความสวยงาม สะดวกในการใช้และมีความ คงทนถาวร ไม่ฉีกขาดหรือชารุดเสียหายง่าย เพื่อให้ผู้เรียนเก็บรักษาไว้ตลอดไปสาหรับเป็นหลักฐานแสดง โครงสรา้ งหลักสูตร รายละเอยี ดของรายวิชาตา่ ง ๆ และผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนเองซ่ึงผู้เรยี นเองอาจจะต้อง นาไปแสดงเป็นหลักฐานในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครงาน หรือเพื่อการอ่ืนใดที่ผู้เรียนจะต้องแสดง รายละเอียดของผลการเรียนตามหลักสูตรท่ีได้ศึกษามา เน่ืองจากหลักสูตรของแต่ละสถานศึกษา ไม่ เหมอื นกนั ลักษณะของสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ควรออกแบบเป็นสมุดบรรจุรายวิชา ทัง้ หมดทสี่ ถานศึกษาสร้างข้นึ เพ่ือใหผ้ ้เู รียนเลอื กเรียนในแต่ละช่วงชั้นและข้อมูลอืน่ ๆ ดงั น้ี แตล่ ะรายวชิ าควรบรรจขุ อ้ มูล ดงั นี้ - ชือ่ รายวชิ า - รหสั ของรายวชิ า - นา้ หนกั /เวลาเรยี นของรายวชิ า - ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวัง - มาตรฐานการเรยี นร้ชู ว่ งชนั้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง - คาอธบิ ายรายวิชา - ผลการเรียนรูด้ า้ นคณุ ภาพและปรมิ าณ - ลายมอื ชือ่ ผู้สอนหรอื อาจารย์ทีป่ รึกษา - ข้อมูลผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น - ข้อมลู ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน - ข้อมลู ประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - ขอ้ มลู สรปุ ผลการเรยี นตลอดช่วงชน้ั - ลายมือช่ือผบู้ ริหารสถานศกึ ษา สถานศึกษาสามารถออกแบบสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ให้เป็นส่วนหน่ึงของ แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ.๖) ให้บันทึกและรายงานผลการเรียนส่วนที่เป็น ผลการเรียนรายวิชาตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ และใช้เป็นเอกสารควบคู่กันเพื่อไม่ให้เกิดความซ้าซ้อน ในการบนั ทึกข้อมูลและการจัดทาเอกสารได้ สถานศึกษาจัดทาสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ให้ผู้เรียนแต่ละคน เม่ือเริ่ม การศึกษาแต่ละช่วงช้ัน โดยบันทึกผลการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ที่เรียนในแต่ละภาคหรือปีการศึกษาและ บันทึกสะสมเรื่อยไปตลอดชว่ งชั้นกรณีรบั ผ้เู รียนใหม่เข้าเรยี นระหวา่ งช่วงชน้ั ให้ผู้เรียนใหม่นาสมุดบันทึกผล การเรียนรู้ (ปพ.๙) จากสถานศึกษาเดิมไปใช้เปน็ ข้อมูลในการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนตามระเบียบ การเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษา แล้วดาเนินการจัดทาสมุดบันทึกผลการเรียนรายวิชาฉบับของ สถานศึกษาให้กับผู้เรียนใหม่ให้ได้รายวิชาต่าง ๆ ตามหลักสูตรของสถานศึกษาตามท่ีเทียบโอนได้แล้ว ดาเนนิ การบนั ทึกผลการเรียนรู้ของผู้เรียนสะสมต่อไปตามปกติ ส่วนสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ฉบับ ของสถานศึกษาเดิมใหค้ นื ผเู้ ป็นเจา้ ของนาไปเกบ็ รกั ษาไว้ต่อไปตามปกติ คมู่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๓ เมื่อส้ินสุดภาคเรียนหรือส้ินปีการศึกษา ให้สถานศึกษาส่งสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ที่บนั ทกึ ข้อมลู ผลการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ทเี่ รยี นในภาคเรียนหรือปนี ้นั ๆ แล้วใหผ้ ู้ปกครองรับทราบ พรอ้ มกบั แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนรายบคุ คล (ปพ.๖) เมื่อผ้เู รยี นจบช่วงชัน้ ให้สถานศกึ ษาสรุปผลการเรียนตามรายการในแบบฟอร์มสรุปผล การเรียนตลอดช่วงชั้น แล้วมอบสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ให้ผู้เรียนนาไปเก็บรักษาแล้วใช้เป็น หลักฐานอ้างองิ ผลการเรยี นของตนต่อไป กรณีผูเ้ รยี นออกจากสถานศึกษาระหวา่ งช่วงชน้ั ให้สถานศึกษากรอกขอ้ มูลผลการเรียน ท้ังหมดของผู้เรียนที่เรียนได้ รายวิชาท่ีอยู่ระหว่างกาลังศึกษา ให้กรอกผลการเรียนเท่าท่ีมีทั้งหมด รวมท้ัง จัดทาสรุปผลการเรียนตามที่เป็นจริงด้วย ให้ผู้เรียนนาสมุดนี้ไปมอบให้สถานศึกษาท่ีเข้าศึกษาใหม่ เพื่อใช้ เปน็ ขอ้ มูลในการขอเทยี บโอนผลการเรยี นตอ่ ไป เม่ือส้ินสุดภาคเรียนหรือสิ้นปีการศึกษา ให้สถานศึกษาส่งสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ท่ีบันทึกผลการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ที่เรียนในปีน้ัน ๆ แล้วให้ผู้ปกครองรับทราบพร้อมกับแบบ รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนรายบุคคล (ปพ.๖) เม่อื ผเู้ รยี นจบช่วงชัน้ ให้สถานศึกษาสรปุ ผลการเรียนตามรายการในแบบฟอร์มสรุปผล การเรียนตลอดช่วงช้ัน แล้วมอบสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.๙) ให้ผู้เรียนนาไปเก็บรักษาและใช้เป็น หลักฐานอ้างอิงผลการเรยี นของตนต่อไป รายวิชาที่อยู่ระหว่างกาลังศึกษาให้กรอกผลการเรียนเท่าท่ีมีทั้งหมด รวมท้ังจัดทา สรุปผลการเรียนตามท่ีเป็นจริงด้วย ให้ผู้เรียนนาสมุดน้ีไปมอบให้สถานศึกษาที่เข้าศึกษาใหม่ เพ่ือใช้เป็น ข้อมลู ในการขอเทียบโอนผลการเรยี นต่อไป (๒) การออกใบสทุ ธิและใบรับรองสถานศกึ ษา (พน้ กาหนด ๑๐ ปี) เม่ือมีผู้มายื่นขอให้สถานศึกษาออกใบสุทธิและใบรับรองที่ขอรับเมื่อพ้นกาหนด ๑๐ ปี ให้ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาตรวจสอบว่า จบการศึกษาตามหลักสูตรดังกล่าวจริงหรือไม่ แล้วจึงออกใบสุทธิหรือ ใบรบั รองได้โดยปฏบิ ัติราชการแทนเลขาธกิ ารคณะกรรมการ (๓) การออกใบสทุ ธแิ ละหนงั สือรบั รองความรู้ของสถานศึกษา (กรณีสูญหายหรือเสียหาย) - เม่ือมีผู้มาย่ืนขอให้สถานศึกษาออกใบสุทธิหรือหนังสือรับรองความรู้ในกรณีที่ เอกสารเดิมเกดิ การสูญหายหรือเสียหายใหส้ ถานศกึ ษาดาเนินการ ดังน้ี - ให้ผู้ขอแจ้งความถึงเหตุแห่งการสูญหายหรือเสียหายต่อเจ้าพนักงานตารวจเพ่ือลง บนั ทึกประจาวัน - ยื่นคาร้องพร้อมแนบเอกสารการแจง้ ความตอ่ สถานศึกษา - สถานศกึ ษาตรวจหลกั ฐานทางทะเบยี นท่เี กี่ยวขอ้ ง - ออกใบแทนใบสุทธิหรือหนังสือรบั รองความรู้ - ลงบนั ทกึ ในหมายเหตปุ ระจาวนั ของสถานศกึ ษาไว้เป็นหลกั ฐาน - จดั ทาทะเบียนการออกหนังสือรบั รองความรู้ คมู่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๔ ๗. การวจิ ยั เพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา ๑) ศึกษาและสร้างความตระหนักเก่ียวกับการศึกษาวิเคราะห์ วิจัย และการนาผลวิจัยมาใช้ใน การบรหิ ารจดั การและการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ของสถานศึกษา ๒) ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ ๓) ดาเนินการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาการเรียนรู้ และใช้เปน็ แนวทางการแก้ปัญหาคุณภาพการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ๔) ศึกษาเอกสารท่ีเกียวกับข้อมูลและแผนงานวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้และ พฒั นาคุณภาพนักเรยี นในความรับผิดชอบ ๕) สร้างเครือข่ายในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ท้ังภายในโรงเรียน ระหวา่ ง โรงเรียน ๖) วิจยั ประเมนิ ผล เพ่อื พัฒนานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ของสถานศึกษา ๘. การพัฒนาและส่งเสริมใหม้ แี หล่งการเรยี นรู้ ๑) สารวจแหล่งการเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพทั้งในและนอกสถานศึกษาท้ังใน และนอกเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาที่โรงเรียนสังกัด ๒) จัดทาเอกสารรวบรวมเผยแพร่แหล่งเรียนรู้แก่ครู บุคลากร ครอบครัว องค์กรหน่วยงาน สถานศึกษาอ่นื ๆ ท่จี ัดการศึกษาบริเวณใกลเ้ คียง ๓) มีสว่ นรว่ มในการจดั ตง้ั และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น รวมทั้งพัฒนาให้เกิดองคค์ วามรู้ ๔) ประสานความร่วมมือ วางแผนกับสถานศึกษาอ่ืน บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานท่ีจัด การศึกษา โดยสง่ เสรมิ การใช้แหล่งเรียนรู้ที่แต่ละแหลง่ มี เพือ่ ใชป้ ระโยชนใ์ หเ้ กิดการเรยี นร้รู ่วมกนั ๕) มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนให้เพ่ือนครูได้ใช้แหล่งเรียนรู้เชิงอนุรักษ์ท้ังภายใน และภายนอก สถานศึกษา โรงเรียนในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ใหค้ รอบคลุมถึงภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ การพัฒนางานห้องสมดุ ๑) มีส่วนร่วมในการจัดหาหนังสือ เอกสารวิชาการ วัสดุอุปกรณ์ สาหรับให้บริการแก่นักเรียน บคุ ลากรในโรงเรยี น และชุมชนอยา่ งเพียงพอและทนั สมยั ๒) ศึกษาการจัดระบบการเก็บข้อมูล ทะเบียนหนังสือ เอกสารประเภทต่าง ๆ ให้บริการ ยืม – คนื หนังสือ ซ่อมบารงุ เอกสารและสื่อดา้ นเทคโนโลยีทีท่ นั สมยั และมีประสทิ ธิภาพ ๓) มสี ่วนรว่ มในการพัฒนาหอ้ งสมุด ท้ังการบรกิ ารบคุ ลากรในโรงเรยี นและการให้บริการชุมชน ๔) มสี ่วนรว่ มในการปรับปรุง พฒั นาห้องสมุดให้เปน็ สถานที่ที่สามารถสรา้ งองค์ความรู้และพัฒนา คุณภาพ การศึกษาทมี่ ีคุณภาพ ๕) ใชบ้ รกิ ารเย็บเล่ม เข้าปกหนงั สอื และเคลือบพลาสตกิ เอกสารต่อหน่วยงานในโรงเรียน ๖) ดแู ลและประสานงานกบั ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการสง่ เสรมิ การเรียนรโู้ ดยใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต ๗) มีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ครู นักเรียน และบุคคลในชุมชนรักการ อา่ นและการเรียนรู้ เชน่ สปั ดาห์ห้องสมุด กิจกรรมรักการอา่ น เปน็ ต้น ๘) สรปุ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านเสนอตอ่ ผู้บรหิ ารทุกภาคเรียน ๙) ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่อ่ืน ๆ ท่โี รงเรยี นมอบหมายเก่ียวกับการพฒั นาหอ้ งสมุด คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๕ ๙. การนิเทศการศกึ ษา ๑) ศกึ ษาระบบการนเิ ทศงานวชิ าการและการเรียนการสอนภายในสถานศึกษา - รว่ มเปน็ คณะกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษา - ร่วมวางแผนนเิ ทศภายในสถานศึกษาโดยใช้กจิ กรรมทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกบั สถานศกึ ษา - จดั ทาเครื่องมือนเิ ทศงานวชิ าการและการเรยี นการสอน ๒) ดาเนนิ การนเิ ทศงานวชิ าการและการเรียนการสอนตามที่ไดร้ บั มอบหมาย - สรา้ งความตระหนักความรู้ความเข้าใจกับผูเ้ กย่ี วข้อง - กาหนดปฏิทนิ การนเิ ทศ - ดาเนินการตามแผนนิเทศ ๓) ประเมนิ ผลระบบและกระบวนการนเิ ทศภายในสถานศึกษา - ต้งั คณะกรรมการประเมินผลการนเิ ทศ - จัดทาเคร่ืองมือประเมนิ ผลการนิเทศ - ประเมินผลการนเิ ทศอย่างต่อเนื่อง ๔) ประสานงานกบั เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา เพอ่ื พัฒนาระบบและกระบวนการนิเทศงานวชิ าการและ การเรียนการสอนของสถานศึกษา - ขอความรว่ มมอื เป็นวิทยากร พัฒนาผู้นเิ ทศเก่ียวกบั ความรู้และทกั ษะการนิเทศงานวชิ าการ การเรยี นการสอนและการสร้างเคร่ืองมอื นิเทศ - ขอความร่วมมือประเมนิ ระบบและกระบวนการนิเทศภายในสถานศกึ ษา ๕) แลกเปล่ียนเรียนรู้และประสบการณ์การจัดระบบการนิเทศภายในกับสถานศึกษาอ่ืนหรือ เครือข่ายการนเิ ทศภายในเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ภายในจังหวดั หรือภายในกลมุ่ โรงเรยี น - รวบรวมขอ้ มูลสถานศกึ ษาท่จี ดั การนเิ ทศภายในสถานศึกษาดีเด่น - ศึกษาดูงานสถานศกึ ษาท่จี ัดการนิเทศภายในสถานศึกษาดีเดน่ - พัฒนาระบบการนิเทศภายในสถานศึกษา โดยหัวหน้ากลุ่มสาระและผู้บริหารแบบ กัลยาณมิตรหรือระหว่างครูผู้สอน ศึกษาสถานการณ์โลกและสังคมที่เปลี่ยนแปลง เพ่ือเชื่อมโยงกับองคค์ วามร้แู ละประสบการณ์เดมิ - ปรบั ปรงุ พฒั นาองค์ความรใู้ หม่อยา่ งตอ่ เนื่องจนเกิดผลดตี อ่ การจัดประสบการณ์เรยี นรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรรู้ ะหว่างครู กล่มุ สาระ สถานศึกษาหรอื สถานบนั อนื่ ๆ ระบบข้อมูลและสารสนเทศ สาหรับการวางแผนและบริหารการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานในเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา สาระสาคัญพ้นื ฐานเกี่ยวกับระบบข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการวางแผนและการบริหาร ข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล คือตัวเลข ภาษา ข้อความ หรือสัญลักษณ์ต่างๆ ท่ีใช้แทนคนสิ่งของ และความคิด ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ส่ือความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือข้อมูลที่ผ่านกระบวนการ จัดกระทา (Processing) แล้วให้สารท่ีสามารถส่ือความหมาย เพิ่มความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ใช้ เป็นข้อมูล ที่ผ่านการจัดกระทาให้มีความหมายหรือมีคุณค่าใช้ในการตัดสินใจได้ดังตัวอย่างข้อมูล และสารสนเทศ ท่ีเป็นประโยชน์ทางการศึกษา เช่น จานวนนักเรียน จานวนครู หรือค่าใช้จ่าย แต่เม่ือนาข้อมูลเหล่าน้ัน คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๖ มาวิเคราะห์แจกแจง เพ่ือให้ผู้บริหารได้ใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจ สารสนเทศ ปรากฏในรูปอัตราส่วน นักเรยี นตอ่ รปู หรือค่าใช้จา่ ยรายหวั เป็นตน้ แนวคิดและหลกั การพื้นฐานในการจัดระบบขอ้ มลู สารสนเทศ แนวคิดพื้นฐานที่เก่ียวข้องกับการจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศเ พื่อการบริหารนั้นปัจจุบันนี้ ได้มีวิวัฒนาการก้าวหน้าค่อนข้างมาก และเม่ือถึงยุคข้อมูลสารสนเทศ (Infomation age) ก็ได้พบว่าข้อมูล และสารสนเทศที่เคยจากัดวงอยู่แต่ภายในองค์การหรือหน่วยงาน และเฉพาะส่วนงานที่เก่ียวข้องกับตัว ผู้บริหารโดยตรงนั้น ได้ขยายขอบข่ายออกไป เป็นอันมาก มีหลากหลาย และมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วมาก จนตดิ ตามเเทบจะไม่ทัน อย่างไรก็ตาม หลักการพื้นฐานแบบง่ายๆ ท่ีน่าจะช่วยให้เข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ เพ่ือการ บริหารนั้น พัฒนามาจากการที่ผู้บริหารต้องตัดสินใจในเรื่องหนึ่งเรื่องใด โดยมีการคิดพิจารณาอย่างเป็น ระบบรอบคอบ ซ่งึ จะใช้แต่ระเบยี บ กฎเกณฑ์และประสบการณ์ ดงั เช่นท่เี คยใช้ในอดีตอีกต่อไปไม่ได้ ต้องใช้ ข้อมูลและสารสนเทศเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานของการตัดสินใจในเร่ืองต่างๆท่ีเก่ียวข้อง เช่ือกันว่าการ ตัดสินใจ โดยใช้ระบบข้อมูลและสารสนเทศเป็นฐานน่าจะเป็นการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพสูง ในโลก ปจั จุบันท่มี ีการแขง่ ขันค่อนขา้ งสงู สิ่งสาคัญคือการที่จะต้องมีข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง และมีความหมาย มีคุณค่าต่อ การพิจารณาตอ่ การตัดสินใจในเรือ่ งน้นั ๆ การจะจัดใหม้ ีสง่ิ ดังกล่าวในแต่ละองค์การ หรือในแต่ละหน่วยงาน เพ่อื รองรับการตัดสนิ ใจของผู้บรหิ ารหรือคณะผทู้ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งไดเ้ ปน็ อย่างดนี น้ั วิชาระบบขอ้ มูลและสารสนเทศ ระบุว่าต้องมีรายงาน (Report) ที่เกี่ยวข้องในเร่ืองน้ันๆ ให้พร้อมมูล ทันสมัย ทันต่อเวลา เป็นข้อมูลและ สารสนเทศท่ีถูกต้อง และตรงต่อความต้องการของกระบวนการตัดสินใจด้วยระบบข้อมูลและสารสนเทศ รายงานดังกล่าวนี้คือ ข้อมูลและสารสนเทศ สาหรับการตัดสินใจในเรื่องนั้นๆ น่ันเอง ซึ่งผู้ท่ีจะบอกได้ว่า ต้องการรายงานอะไรต้องการข้อมูลและสารสนเทศในประเด็นใดบ้างท่ีเก่ียวข้อง บุคคลที่ดีท่ีสุดท่ีน่าจะระบุ เรื่องนี้ได้ดีท่ีสุด ในตรรกะ แบบเดิมคิดกันว่าน่าจะเป็นตัวผู้บริหารเอง ตัวผู้บริหารเท่าน้ันท่ีน่าจะต้องบอก ออกมาให้ได้ ให้ชัดว่าต้องการ ข้อมูลใดต้องการสารสนเทศอย่างไร แต่ในโลกที่ก้าวหน้าได้พบว่าสุดวิสัยท่ี ผู้บริหารจะบอกได้ในทุกเรื่องจึงมีนักจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศเข้ามาช่วย ทาหน้าท่ีดาเนินการหาให้ ด้วยวิธีการแบบต่างๆ ทั้งด้วยวิธีการรวบรวม การแจงนับ จัดกระทา สารวจ วิเคราะห์ ประมวลด้วยตนเอง ด้วยการลงมือด้วยตนเองในแบบท่ีเรียกกันว่า Manual ด้วยการรวบรวมตัวเลข ข้อความ สาระท่ีเกี่ยวข้อง จดั ทาเป็นตารางเปน็ ขอ้ มูลเชิงตีความ เปน็ องค์ประกอบทใี่ ชช้ ้ีวัดได้ เพอ่ื ใหไ้ ด้ Report ขอ้ มลู และสารสนเทศ ท่ีเกี่ยวข้อง ทีมีคุณค่าและความหมาย มีประโยชน์ต่อการใช้ในการตัดสินใจสาหรับการบริหารสาหรับการ วางแผน หรอื ตดั สินใจในปัญหาใดปัญหาหนึง่ ในหนว่ ยงาน กระบวนการจัดกระทากับข้อมูล และรายละเอียดท่ีเก่ียวข้องน้ันในภายหลังได้มีความก้าวหน้า เป็นอันมาก ในเทคนิคและกระบวนการจัดกระทา เร่ิมต้ังแต่การใช้วิชาสถิติเข้าช่วย ใช้วิธีการวิเคราะห์ ทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative) และเชิงคุณภาพ (Qualitative) เข้าช่วย จนกระทั่งการใช้เครื่อง คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงทาใหก้ ระบวนการจดั กระทากับข้อมูล (Processing) เพอ่ื ใหเ้ ป็นขอ้ มลู และสารสนเทศท่ีทัน ต่อเวลา เป็นระบบและเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว กระบวนการจัดกระทากับข้อมูลเพื่อให้ได้รายงานที่มี ความหมาย มีคุณค่าต่อการบริหารการวางแผนและการตัดสินใจ ได้ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วมาก สามารถ จัดเป็นระบบเฉพาะท่ีเราเรียกกันว่าระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information system - MIS) ขนึ้ และนยิ มใช้กันอยา่ งแพร่หลาย จากข้อมูลกับประสบการณ์ของผู้บริหาร มาเป็นระบบท่ีมีเจ้าหน้าที่ช่วยจัดหาจัดเตรียมให้ ต่อมาได้กลายเปน็ ระบบอัตโนมัติท่ีก้าวหน้า เม่ือมาถึงยุคปัจจุบันนี้ ก็ได้พบว่านอกจากระบบที่ก้าวหน้าแล้ว คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๗ การมีเครือข่าย Internet ทาให้แหล่งข้อมูลที่สามารถเลือกมาใช้กระบวนการจัดกระทา หรือใช้ประกอบ ในการประมวลให้ได้รายงาน (Report) นั้น ได้ขยายวงและแหล่งข้อมูลไปอย่างกว้างขวางมาก แหล่งข้อมูล ท่สี ามารถเลือกมาใช้ในกระบวนการจดั กระทากับขอ้ มูลนใ้ี นอดีตเคยเรียกกันว่า ฐานข้อมูล หรือ Data Base นนั่ เอง โครงสรา้ งท่วั ไปและรปู แบบระบบข้อมลู และสารสนเทศ ด้วยสาระที่เสนอนี้จะช่วยให้เห็นได้ว่า ระบบข้อมูลและสารสนเทศนั้น แท้ท่ีจริงแล้วหลักการ พื้นฐานอยู่ที่ข้อมูลและสารสนเทศที่เก่ียวข้องกับการตัดสินใจในการบริหาร ในการวางแผนหรือในการคิด แก้ไขปัญหาของหน่วยงาน โดยใช้ข้อมูลและสารสนเทศเป็นฐาน ข้อมูลและสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องนั้น ได้มาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ จากฐานข้อมูลหรือจากแหล่งข้อมูลที่สาคัญๆ แล้วนามา จัดกระทาด้วยเทคนิค วิธีการและเคร่ืองมือที่ก้าวหน้าขึ้นมาเร่ือยๆ จนถึงยุคคอมพิวเตอร์และยุคข้อมูล และสารสนเทศ ซ่งึ สามารถจดั อย่างเป็นระบบได้ในแบบอตั โนมัติ โครงสร้างท่ัวไปของระบบขอ้ มลู และสารสนเทศ มลี กั ษณะทีป่ ระกอบด้วยองคป์ ระกอบพื้นฐาน ดงั นี้ รายงานขอ้ มลู /สารสนเทศ กระบวนการจัดกระทา แหลง่ /ฐานข้อมูล ที่ใช้ (Report) (Data Processing) (Data Bases) จากตัวแบบนี้จะเห็นได้ว่า วิธีการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหาร และ การวางแผนการศึกษา โดยอาศัยการปฏิบัติการตามหลักพ้ืนฐาน จะเริ่มต้นจากการที่ต้องกาหนดให้ได้ใน ข้ันต้นว่าในการบริหารจัดการการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีจะต้องรับผิดชอบนั้น มีระบบงานเป็นอย่างไรขอบเขต หน้าท่ีและความรับผิดชอบในงานด้านการศึกษามีมากน้อย แค่ไหนเพียงใด เก่ียวข้องกับเรื่องใดบ้าง และ งานหรือภาระท่ีต้องรับผิดชอบน้ัน จะต้องมีการบริหารจัดการอย่างไร ต้องมีการตัดสินใจสาคัญๆ ในเร่ืองใดบ้าง รายงาน/ข้อมลู และสารสนเทศทจ่ี าเป็นตอ้ งใชค้ อื อะไร ประกอบด้วยอะไรบ้างรายงานข้อมูลและสารสนเทศ ท่ีพึงมีหรือควรมีเตรียมไว้คืออะไร รายงาน/ข้อมูลและสารสนเทศ ที่ถ้าสามารถจัดให้มีเพ่ิมเติมไว้ได้ น่าจะ เป็นส่งิ ท่ีจะมผี ลดีต่อการบริหารจัดการงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่อยู่ในขอบเขตความรับผิดชอบน้ัน น่าจะ เป็นรายงานข้อมูลและสารสนเทศในเรอ่ื งใด ต่อจากนั้นจึงคิดวิธีการประมวลผล และการให้ได้มาซ่ึงข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องโดยที่ สามารถประกันความน่าเช่ือถือได้ของข้อมูลเหล่านั้น ส่วนการท่ีจะจัดให้เป็นระบบท่ีก้าวหน้าได้มากน้อย เพียงใดจะเป็นระบบที่ก้าวหน้าทันสมัย เป็นระบบอัตโนมัติ หรือจะเป็นระบบพ้ืนฐานท่ีเหมาะสมกับกาลัง ความสามารถ และทรพั ยากรกต็ าม เปน็ สงิ่ ทอ่ี ยใู่ นวสิ ัยทอ่ี าจใชด้ ลุ ยพินจิ ในการเลอื กจดั ไดแ้ ตกต่างกนั ส่ิงที่สาคัญก็คือต้องเป็นระบบที่สามารถให้ข้อมูลและสารสนเทศท่ีมีความหมาย มีคุณค่าต่อการ บรหิ ารตอ่ การวางแผนและการตัดสินใจ ให้ข้อมูลและสารสนเทศที่ทันต่อเวลา ได้อย่างรวดเร็วตรงต่อความ ต้องการเป็นระบบ และสามารถจัดเป็นระบบเฉพาะ ท่ีเราเรียกว่าระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ การบรหิ าร (Management Infomation System-MIS) สาหรบั หนว่ ยงานของเราไดส้ ารสนเทศสาหรบั การ วางแผนและบริหารการศึกษาขั้นพ้นื ฐานในเขตพ้นื ที่การศึกษา ต่อไปน้ีจะเป็นข้อมูลตัวอย่างบางประการ ที่คาดว่าพึงมีในระบบข้อมูลและสารสนเทศของ หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลการบริหารจัดการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานแต่ละแห่ง สารสนเทศที่จาเป็น สาหรบั การวางแผนและบริหารการศึกษาด้านปรมิ าณและด้านคุณภาพ เช่น คู่มอื ปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๘ ๑) จานวนประชากรทอี่ ย่ใู นวยั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒) จานวนนกั เรียนทีอ่ ยใู่ นระบบ ๓) จานวนนักเรียนที่ออกกลางคนั ๔) ครู ภารโรง และบคุ ลากรทางการศึกษา ๕) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น ๖) อัตราซา้ ชนั้ ๗) อตั ราการขาดเรียน ๘) ระดบั สุขภาพของนักเรียน ๙) อตั ราการเล่อื นช้นั ๑๐) อัตราการเรียนต่อ ๑๑) ฯลฯ ด้านการสนบั สนนุ เช่น ๑) อาคารเรยี น อาคารประกอบ ๒) ครภุ ัณฑ์ และสิง่ อานวยความสะดวก ๓) งบประมาณ ๔) ฯลฯ ดา้ นอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เชน่ ๑) ด้านประชากร หมายถึง ข้อมูลทางด้านประชากรทกุ เร่ืองท่ีเกย่ี วขอ้ งหรือมีผลกระทบ ต่อการจดั การศึกษาด้านตา่ งๆ ข้อมูลพืน้ ฐานข้ันต้น ประกอบด้วยขอ้ มลู ท่ีแสดงถึงความต้องการทางการ ศึกษา ซึง่ จาเป็นต้องเตรยี มการ หรอื ตอ้ งวางแผนเพื่อสนองความตอ้ งการไว้ล่วงหน้า ข้อมูลประชากรนี้อาจ ใช้ในรูปของกลมุ่ ประชากรจาแนกตามอายุ เพศ อัตราและแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของประชากรในพน้ื ที่ นนั้ ๆ ๒) ด้านเศรษฐกิจ เปน็ ข้อมูลทม่ี ีความสาคญั ต่อการวางแผน เชน่ ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ ทใ่ี ห้ ภาพรวมระดบั ประเทศ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) ผลิตภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) งบประมาณทางการศึกษา และงบประมาณทงั้ หมดของประเทศ ๓) ดา้ นสังคมและสภาพแวดล้อมทางนเิ วศวิทยา ขอ้ มูลนีเ้ ริ่มตั้งแต่สภาพแวดลอ้ ม ทาง ภูมิศาสตรข์ องเขตจังหวัด ซง่ึ มกั แสดงเปน็ แผนทแี่ สดงทต่ี ้ังและพื้นท่ีสว่ นต่างๆของจังหวัด สถานท่ีตง้ั ของ โรงเรียน เขตการปกครอง ลกั ษณะอาชีพของคนในท้องถ่ิน การกระจายของอาชีพ สภาพของทรัพยากรท่ี ผกู พันกบั อาชีพ รวมท้ังสภาพเเละปญั หาดา้ นภาษา ศาสนา ความเชอ่ื และคา่ นิยมตา่ งๆ ทจ่ี ะมผี ลกระทบ ต่อการจดั การศึกษา ๔) ความต้องการกาลงั คนและการมงี านทา ขอ้ มูลเหลา่ นเ้ี ป็นข้อมลู ทีจ่ าเป็นสาหรบั การ วางแผนการศกึ ษาในแต่ละจังหวัด การเกบ็ ข้อมลู ในขัน้ แรก อาจทาได้ดว้ ยความยากลาบาก แตค่ ุ้มค่าต่อ การลงทุนและแสวงหา เพื่อใช้ประกอบการวางแผนและบริหารการศกึ ษาในพ้นื ทส่ี ่วนการศึกษาน้ัน คู่มอื ปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๙ ดชั นีทางการศึกษา ดชั นีหรือตวั บง่ ช้ี คือส่ิงที่ชีบ้ อกหรือช้ใี ห้เห็นสงิ่ ใดส่งิ หน่งึ ได้ค่อนขา้ งแม่นยาได้ ลักษณะที่สาคัญของ ดัชนีคอื จะมีการกาหนดเป็นเชงิ ปรมิ าณ หรือคา่ เป็นตวั เลขได้ มใิ ชเ่ ปน็ การบรรยายเป็น ข้อความ การตีความ หมายถึง ค่าตัวเลขของดัชนีแต่ละตัวน้ัน จะต้องนามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือ สถานท่ีจดั ทาไว้ เปน็ การเฉพาะในระยะหรอื ช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ขึ้นอยู่กับระยะเวลาท่ีจะนามาใช้และ การ ตคี วาม สาหรับดัชนีทางการศึกษา คือดัชนีท่ีนามาใช้วัดหรือช้ีสภาพการณ์ของการศึกษาในช่วงเวลาท่ี ต้องการวัดหรือตรวจสอบ ที่พบว่าใช้ค่อนข้างบ่อยมาก ได้แก่ อัตราส่วนมากนักเรียนต่อประชากรในระบบ การศกึ ษา ร้อยละของค่าใชจ้ ่ายทใี่ ช้เพื่อการศึกษาต่อผลิตภัณฑม์ วลรวมประเทศชาติ (GNP) เป็นต้น การสร้างดัชนีและการนาดัชนีมาใช้นั้นมิได้มุ่งหมายหลายประการ มีดัชนีหลายตัวที่ทั้งนักวางแผน การศึกษา นักบริหาร และนักวิจัยใช้ในลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันและให้จุดมุ่งหมายเหมือนกันแต่บางคร้ัง ก็อาจจะใช้ดัชนีเฉพาะบางตัวแตกต่างกันออกไป การใช้ประโยชน์หรือตัวช้ีวัดทางการศึกษา มีใช้ในเร่ือง ตา่ งๆ เชน่ ๑) ใชป้ ระกอบกบั การกาหนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละนโยบาย การกาหนดวัตถุประสงค์และนโยบายนั้น ส่วนใหญ่แล้วมักจะอยู่ในลักษณะที่กว้างๆ ดังนั้น การนาดัชนีมาช่วยเป็นส่วนประกอบจะช่วยให้ทราบถึง ส่งิ ที่ตอ้ งการใหบ้ รรลผุ ลได้ชัดเจนขน้ึ ดังตัวอยา่ งนี้ - วัตถปุ ระสงค์ : ให้เดก็ กอ่ นวยั เรียนไดร้ ับบรกิ ารเตรยี มความพร้อมก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ มากขน้ึ และมคี วามเสมอภาคในโอกาสการเขา้ รับบริการดังกล่าว - นโยบาย : รัฐจะเร่งขยายการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เด็กก่อนวัย เรียนได้รับบริการเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับมากข้ึน โดยเฉพาะเด็กในชนบทพร้อม ท้ังส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหเ้ อกชนเข้าร่วมรบั ภาระให้มากยง่ิ ขึ้น จากวัตถุประสงค์และนโยบายท่ีกาหนดไว้ จะเห็นได้ว่าเป็นข้อมูลกว้างๆ จาเป็นต้องทาให้ มีความชัดเจนย่ิงข้ึน เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติงาน โดยกาหนดดัชนีเข้าช่วย เช่น อาจกาหนดไว้ว่า เมื่อส้ินช่วงแผนพัฒนา จะมีเด็กก่อนวัยเรียนได้เข้ารับบริการเตรียมความพร้อมร้อยละ ๓๐ ของประชาชน กลุ่มอายุ ๓ – ๕ ปี ทั้งในเขตเมืองและชนบท หรือจะขยายบริการก่อนประถมศึกษาให้เด็กได้เข้ารับบริการ เปน็ จานวนเพ่ิมขน้ึ โดยสว่ นรวมในอตั ราการเพมิ่ ร้อยละ ๑๐ ต่อปี โดยในชนบทมีอัตราเพิ่มร้อยละ ๓๐ ต่อปี และในเมืองมีอัตราเพ่ิมรอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี การใชด้ ัชนีประกอบในลักษณะหน่ึงข้างต้นน้ี จะเป็นเคร่ืองมือสาคัญ ที่ชว่ ยให้นักวางแผนการศึกษาสามารถระบุส่งิ ท่ีต้องการใหเ้ กดิ ขนึ้ ได้อย่างชดั เจน ๒) ใช้ประโยชน์ในการติดตามผลการศึกษา โดยใช้ดัชนีทางการศึกษาในการติดตามผลทางการ เปล่ียนแปลงในระบบการศึกษา เช่น การเปล่ียนแปลงเก่ียวกับสัดส่วนจานวนนักเรียนต่อประชากร ช่วยให้ ตรวจสอบไดว้ า่ การเปลยี่ นแปลงดงั กล่าวเป็นไปในทิศทางทีต่ อ้ งการ ท่พี ึงประสงคห์ รอื ไม่ มากนอ้ ยเพยี งใด ๓) ใช้ประโยชน์ในการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา ใช้ดัชนีทางการศึกษาเพ่ือแทนลักษณะ บางประการของระบบการศึกษาในงานวิจัยท่ีต้องการศึกษาเปรียบเทียบงานการศึกษาท้ังหมดของประเทศ หรือการเปรียบเทียบระบบการศึกษากับระบบย่อยอื่นๆ ในสังคม หรืองานวิจัยท่ีต้องการวัดความ เปลี่ยนแปลงและการพฒั นาของการศึกษาในประเทศหน่ึงๆ หรือในเขตการศึกษา การสร้างดัชนีและใช้เป็น หน่วยในการวิเคราะห์ในงานวิจัยจะดีกว่าการใช้ตัวแปร (Variable) หลายๆ ตัวหรือเลือกใช้ตัวแปรเฉพาะ บางตวั มาเปน็ หนว่ ยในการวเิ คราะห์ คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๔๐ ๔) ใช้ในการจัดลาดับในระบบการศึกษา เพ่ือช่วยกระตุ้นในการพัฒนาและช่วยจัดลาดับข้ันตอน การพัฒนาของระบบการศึกษา ที่ค่อนข้างเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือได้ การใช้ดัชนีเพ่ือจัดลาดับระบบ การศึกษาจะช่วยให้นักวางแผน ผู้บริหารข้อมูลที่ใช้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนสมาชิก การจัดลาดับนี้อาจจะนามาใช้เปรียบเทียบกันระหว่างพ้ืนที่ก็ได้ จะช่วยช้ีให้เห็นถึงลักษณะที่เหมือนกัน หรือท่ีแตกต่างกันโดยการใช้ดัชนีเดียวกันเป็นเครื่องวัด การจัดลาดับของ เขตพื้นท่ีการศึกษาในกลุ่มพ้ืนท่ี ใกลเ้ คยี งกัน จะช่วยให้เห็นว่าท่ีใดยังตา่ กวา่ เกณฑ์เฉลี่ย ดัชนพี ้ืนฐานท่สี าคญั บางตัวและการคานวณหาค่าดชั นี อัตราการเขา้ เรยี น (Enrollment rate) อตั ราการเข้าเรียน คืออัตราส่วนจานวนนักเรียนเข้าใหม่ ในช้ันเรียนต่อจานวนผู้ท่ีมีคุณสมบัติท่ีพร้อมท่ีจะเข้าเรียนในช้ันนั้น โดยทั่วไปจะใช้กับช้ันประถมปีท่ี ๑ ซึง่ คานวณไดโ้ ดยสูตร อัตราการเข้าเรียนชั้น ป.๑ = จานวนนักเรียนเข้าใหม่ในช้ัน ป.๑ ในปี ก./จานวนเด็กที่มีอายุ ๖ ปี ในปี ก. อัตราดังกล่าวนี้ ใช้ประโยชน์มากในการคาดคะเนจานวนนักเรียนที่จะเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษา ปที ี่ ๑ อัตราการซ้าช้ัน (repetition rate) อัตราการซ้าชั้น คืออัตราส่วนจานวนนักเรียนที่ตก ซ้าช้ันใด ชัน้ หนึ่งตอ่ จานวนนกั เรยี นท้ังหมดเมอ่ื ต้นปกี ารศึกษาในช้นั นัน้ การคานวณใชส้ ตู รดังน้ี อตั ราการซา้ ชัน้ ของ = จานวนนกั เรียนตกซ้าชนั้ ป.๑ ในปกี ารศกึ ษา ก. ป.๑ ปีการศกึ ษา ก. จานวนนักเรยี นท้ังหมดเมื่อตน้ ปีการศกึ ษา ก. อัตราการเลื่อนช้ัน (promotion rate) อัตราการเล่ือนช้ัน คืออัตราส่วนจานวนนักเรียนที่อยู่ใน ขัน้ สูงขน้ึ ต่อจานวนนักเรียนทง้ั หมดเมือ่ ต้นปีการศึกษา อาจเขยี นเปน็ สูตรตัวอย่างการคานวณ ดงั นี้ อัตราการเลอ่ื นช้นั = จานวนนกั เรียน ป.๑ ที่เลื่อนชนั้ ไปอยู่ ป.๒ ป.๒/ป.๑ ปกี ารศกึ ษา ก. จานวนนักเรยี นชั้น ป.๑ ทั้งหมดเม่ือตน้ ปกี ารศกึ ษา ก. อัตราการออกกลางคัน (drop-out rate) อัตราการออกกลางคัน คืออัตราส่วนจานวนนักเรียน ท่ีออกไปจากการเรียนในช้ันหนึ่ง โดยไม่ได้ไปเรียนต่อท่ีอื่นใด ต่อจานวนนักเรียนในชั้นนั้นทั้งหมดเมื่อต้นปี การศกึ ษา คานวณได้ดงั น้ี อตั ราการออกกลางคัน = จานวนนกั เรียน ป.๑ ทอี่ อกกลางคันในปกี ารศกึ ษา ก. ของ ป.๑ ปกี ารศึกษา ก. จานวนนกั เรียน ป.๑ ทงั้ หมดเมื่อตน้ ปีการศึกษา ก. อัตราการเล่ือนช้ัน อัตราการซ้าชั้น และอัตราการออกกลางคันนี้ นอกจากจะเป็นดัชนีท่ีใช้ ในการคาดคะเนจานวนนักเรียนในอนาคตแล้ว ยังเป็นดัชนีท่ีเป็นประโยชน์ต่อการคานวณหาอัตราการ สูญเปล่า (wastage ratio) ของระบบการศึกษา ใช้ช้ีวัดในเร่ืองประสิทธิภาพภายใน (Internal effciency) ของระบบการศึกษาอีกดว้ ย อัตราการเรียนต่อ (transition rate) คือ อัตราส่วนจานวนนักเรียนเข้าใหม่ในชั้นต้นของระบบ การศึกษาท่ีสูงกว่าในปีการศึกษาหนึ่ง ต่อจานวนผู้สาเร็จการศึกษาของระดับการศึกษาท่ีต่ากว่าในปี การศึกษาที่ผา่ นมา เช่น คมู่ อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๔๑ อัตราการเรยี นตอ่ ม.๑ = จานวนนกั เรียน ม.๑ เขา้ ใหมป่ กี ารศึกษา ก. จานวนผู้จบ ป.๖ ปกี ารศึกษา ก เกณฑม์ าตรฐาน มาตรฐาน คือสภาพท่ีพึงประสงค์ทั้งในเชิงคุณภาพหรือปริมาณ ซ่ึงสามารถแสดงให้เห็นได้ ทั้งในเชิงปัจจัย กระบวนการ และผลผลิตที่ผู้บริหารและครูจะต้องใช้เป็นเป้าหมายในการดาเนินการ ในเร่ืองน้ันๆ เพ่ือพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ เช่น มาตรฐานด้านผลผลิต มาตรฐานคุณภาพนักเรียน มาตรฐานการเรยี นการสอน และมาตรฐานการบรหิ ารโรงเรียน องคป์ ระกอบของมาตรฐาน โดยท่ัวไปมักจะประกอบดว้ ยมาตรฐาน ตัวบ่งช้ีและระดบั คณุ ภาพ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ สภาพท่ีพึงประสงค์ ซ่งึ ระบถุ ึงสภาพปัจจุบัน วิธีการดาเนินงาน หรือสภาพผลผลิต ที่มีคุณภาพและต้องการให้เกิดข้ึนทุกโรงเรียน เช่น มาตรฐานการเรียนการสอนกาหนดไว้เพ่ือเป็นแนวทาง ใหค้ รจู ดั การเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ เป็นตัวเกณฑ์ที่ใช้วัดเพื่อนาผลมาเป็นตัวแสดง เป็นตัวชี้ หรือเป็นตัวแทนที่ให้แสดงถึง มาตรฐานหรือสภาพที่พึงประสงค์ สาหรับมาตรฐานแต่ละตัว เป็นประเด็นที่ใช้พิจารณาและแสดงถึง มาตรฐานนัน้ ๆ ระดับคุณภาพ เป็นการให้ค่าระดับคุณภาพ ตัดสินโดยพิจารณาจากแต่ละตัวบ่งชี้ ซึ่งข้ึนอยู่กับ การจัดระดับคุณภาพ ไม่ว่าจะเป็นของผลผลิต หรือของกระบวนการ ว่าจัดไว้อย่างไร มีผลน่าพอใจอย่างไร ระดับใด ตัวอย่างเช่น ถ้าจาแนกเป็น ๓ ระดับ เเต่ละระดับ หมายถึงคุณภาพ อาจมีผลน่าพอใจแตกต่าง กันได้ ดังน้ี ระดบั ๑ คณุ ภาพทมี่ ีผลนา่ พอใจข้ันตา่ ระดับ ๒ คณุ ภาพที่มีผลนา่ พอใจคอ่ นขา้ งสูง ระดบั ๓ คุณภาพท่ีมีผลน่าพอใจขนั้ สงู บทบาทของคอมพวิ เตอร์กับการพฒั นาระบบสารสนเทศ ในระบบสารสนเทศจะมีฐานขอ้ มูล ซ่ึงเป็นศูนย์การเก็บสะสมข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมไว้อย่างมีระบบ ตามลักษณะความสัมพันธ์ของข้อมูล ไม่มีการซ้าซ้อน สามารถเรียกใช้ได้สะดวกเพื่อให้ผู้บริหารใช้ หรือให้ แก่ผู้ใชห้ ลายฝา่ ยพร้อมกันไดต้ ามความตอ้ งการ ฐานข้อมูล เป็นแหล่งสะสมข้อมูลท้ังหมดขององค์การ การเก็บข้อมูลจานวนมากไว้ในที่เดียวกัน สามารถกระทาได้ โดยใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยเกบ็ ไวใ้ นแถบแม่เหล็ก จานแม่เหล็กเป็นต้น ในการเรียกใช้ ข้อมูลจะกระทาได้โดยใช้ระบบโปรแกรม ซ่ึงทาหน้าที่ค้นหาข้อมูลท่ีต้องการและส่งให้กับโปรแกรม เพอ่ื จดั กระทาหรอื ประมวลผลให้เป็นสารสนเทศสาหรบั ประกอบการตดั สินใจในการบริหารและการวางแผน ตามท่ีต้องการ ในระบบสารสนเทศที่ดี จะต้องเป็นระบบสารสนเทศที่มีส่วนการรวบรวมข้อมูล และการเก็บ รักษาข้อมูล คือ ส่วนที่ข้อมูลทั้งหลายจะต้องถูกบันทึกและเก็บเอาไว้ ส่วนตัวไปเป็นส่วนการวิเคราะห์และ การประเมินข้อมูล และอีกส่วนจะเป็นส่วนของการเรียกข้อมูลมาใช้และการรายงานข้อมูลที่รวบรวมไว้ ซึ่งปัจจุบันน้ีคอมพิวเตอร์มีบทบาทเป็นอย่างมากในการทางานทั้ง ๓ ส่วน และในการพัฒนาระบบข้อมูล และสารสนเทศเพ่อื การบริหารให้ทันสมัย ในงานสารสนเทศด้านเอกสาร คอมพิวเตอร์ก็จะมีส่วนช่วยเป็นอย่างมาก ในการทารายงานบัญชี แสดงรายละเอียดของเอกสาร รายการเลขหมู่หนังสือ บทคัดย่อ บันทึกรายละเอียดต่างๆของเอกสารและ หนังสือ ตลอดจนใช้ในการค้นหา และจัดทาสารสนเทศจากเอกสาร ได้อย่างกว้างขวางและมีความสะดวก คมู่ อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๔๒ และใช้ได้ง่ายระบบคอมพิวเตอร์โดยลาพังไม่ใช่ระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร์เป็นเพียงเคร่ืองมือท่ีใช้ช่วย เพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิตและให้บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศจะ เริ่มจากการรับข้อมูลเข้ามาในหน่วยรับข้อมูลต่างๆ เพื่อบรรจุไว้ในฐานข้อมูลหรือคลังข้อมูล (data base) เเล้วแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของสารสนเทศตามที่ต้องการ ไว้สาหรับบริการแก่ผู้ใช้ และแสดงผลลัพธ์หรือ แสดงสารสนเทศผ่านทางหนว่ ยแสดงผล เมอื่ มีการเรยี กใชต้ ามที่ต้องการ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การจัดการเรียนการสอน ในยุคปฏิรูปการศึกษา ส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษาครู ศึกษานิเทศก์ ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการจัด กระบวนการเรียนรู้ ทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วม ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก์ ผู้ปกครอง ฯลฯ ควรร่วมมือกันจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการ เรยี น และเรียนอยา่ งมคี วามสขุ แผนภูมิแสดงการมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นใหผ้ ้เู รียน นกั วชิ าการศาสนศึกษาประจากล่มุ / วางแผน/จัดเนอื้ หา/เสนอเทคนคิ /จดั กจิ กรรม/ประเมนิ ผล ในอดีต การจัดกระบวนการเรียนรู้ เปน็ การจดั การสอนตรงจากครถู ึงนักเรียนโดยตรงนักเรียนจะได้ ความรู้จากครูโดยตรงเท่านั้น การจัดสถานการณ์การเรียนรู้มีน้อยมาก เพราะทุกอย่างมอบภารกิจ การจัด กระบวนการเรียนรใู้ หค้ รเู ท่านัน้ ปจั จบุ ัน ในยุคปฏิรปู การศึกษา มีการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เชน่ ครู เปน็ ผู้จัดเนื้อหาสาระการเรยี นรู้ กิจกรรม ใหส้ นองกบั ความต้องการของผู้เรียน เป็นผู้จัดอานวย ความสะดวกมากกว่าผู้สอน สนับสนุน ให้นักเรียนพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง การจัดกระบวนการเรียน การสอนโดย เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมมากข้ึน แทนการที่จะสอนให้นักเรียนรับความรู้จากครูเพียง ด้านเดียวเท่านั้น นักวิชาการศาสนศึกษาประจากลุ่มโรงเรียน มีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมกาหนด เป้าหมาย ร่วมกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมประเมินผลการเรียนรู้ เสนอเทคนิคการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ใหข้ อ้ เสนอแนะ ฯลฯ คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา